97
แผนการจัดการเรียนรูรหัส 3204-2103 วิชาการประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชา พาณิชยกรรม จัดทาโดย ครูแอนนา กาทอง แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจัดการเรียนรู้rms.pktc.ac.th/files/12123_19043011114552.pdfค าน า แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบรายวิชา

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • แผนการจัดการเรียนรู ้

    รหัส 3204-2103 วิชาการประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม หลักสูตรประกาศนยีบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557

    ประเภทวิชา พาณิชยกรรม

    จัดท าโดย ครูแอนนา กาทอง

    แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

    แผนกวิชาคอมพวิเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ ์ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

  • ค าน า

    แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบรายวิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม รหัส 3204 – 2103 เล่มนี้ จัดทําขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางในการเรียนการสอน สําหรับอาจารย์ผู้สอนและบุคคลที่เกี่ยวข้องที่จะสามารถ นําไปใช้ในด้านการจัดการเรียนการสอนได้อยางมีประสิทธิภาพ แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ แบ่งออกเป็น 13 บท / หน่วย

    ผู้จัดทําขอขอบคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนที่มีส่วนร่วมในการจัดแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ หากมี ข้อบกพร่องประการใด ขอความกรุณาให้ข้อคิดเห็นและคําแนะนํา เพ่ือจะนําไปสู่การปรับปรุงในการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม ให้ดียิ่ งขึ้นต่อไป และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเปน็ประโยชน์ต่ออาจารย์ นักศึกษาตลอดจนบุคคลทั่วไป

    ลงชื่อ.................................................. ( นางสาวแอนนา กาทอง )

  • แผนการเรียนรู้แบบบูรณาการ ชื่อรายวิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม รหัสวิชา 3204-2103

    หมวดวิชาชีพ สาขางาน ประเภทวิชา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

    จ านวน 3 หน่วยกติ 4 ชั่วโมง/สัปดาห์ รวม 72 ชั่วโมง

    --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- จุดประสงค์รายวิชาเพื่อให้

    1. เข้าใจการประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม 2. มีทักษะ สร้างสื่อประสม นําเสนอ และเผยแพร่ 3. มีคุณลักษณะนิสัยที่พึงประสงค ์และเจตคติท่ีดีในวิชาชีพคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

    สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการสื่อประสม 2. พัฒนางานสื่อประสมตามข้อกําหนด

    ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้าง แก้ไขสื่อประเภทภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ และจัดทําโครงร่างเรื่องราว (Story Board) การสร้าง พัฒนา และประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม การนําเสนอและเผยแพร่ผลงานสื่อประสม กรณีศึกษา

  • สารบัญ เรื่อง หน้า ตารางวิเคราะห์คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะห์การประเมินผลตามสภาพจริง แผนการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน แผนจัดการเรียนรู้เรื่อง รู้จักสื่อประสมและหลักการออกแบบCAI เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 1 แผนจัดการเรียนรู้เรื่อง การจัดทําโครงเรื่องราว (Storyboard) เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่2 แผนจัดการเรียนรู้เรื่อง พ้ืนฐานเบื้องต้นโปรแกรม Adobe Flash CS6 เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 3 แผนจัดการเรียนรู้เรื่อง การวาดรูปและการลงสี เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 4 แผนจัดการเรียนรู้เรื่อง การจัดการวัตถุ เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 5 แผนจัดการเรียนรู้เรื่อง การสร้างข้อความ เฉลยแบบฝึกหัด บทที่ 6 แผนจัดการเรียนรู้เรื่อง ซิมโบลและอินสแตนซ์ เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 7 แผนจัดการเรียนรู้เรื่อง การนําเข้าภาพและไฟล์วิดีโอ เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 8 แผนจัดการเรียนรู้เรื่อง เข้าใจพื้นฐานการสร้างแอนนิเมชั่น เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 9 แผนจัดการเรียนรู้เรื่อง มูฟวี่คลิปและปุ่มกด เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 10 แผนการเรียนรู้ เรื่อง การทํางานกับไฟล์เสียง เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 11 แผนการเรียนรู้ เรื่อง กําหนดให้ชิ้นงานโต้ตอบกับผู้ใช้งาน เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 12 แผนการเรียนรู้ เรื่อง การเผยแพร่ชิ้นงาน เฉลยแบบฝึกหัด หน่วยที่ 11

  • วิชา การใช้โปรแกรมสื่อประสม รหัสวิชา 3204-2403 จ านวน 3 หน่วยกิต

    ระยะเวลาเรียน 18 สัปดาห์ จ านวน 4 ชั่วโมง / สัปดาห์ รวมจ านวน 72 ชั่วโมง

    ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ พฤติกรรมที่คาดหวังต่อการเรียนการสอน 1 ครั้ง

    ความรู้ ทักษะ จิตพิสัย รวม(ชม.) 1 รู้จักสื่อประสมและหลักการออกแบบ 1 2 1 4 2 การจัดทําโครงเรื่องราว (Storyboard) 1 2 1 4 3 พ้ืนฐานเบื้องต้นโปรแกรม Adobe Flash CS6 1 2 1 4 4 การวาดรูปและการลงสี 1 2 1 4 5 การจัดการวัตถุ 1 2 1 4 6 การสร้างข้อความ 2 4 2 8

    7-8 ซิมโบลและอินสแตนซ์ 2 4 2 8 9 การนําเข้าภาพและไฟล์วิดีโอ 1 2 1 4

    10-11 เข้าใจพื้นฐานการสร้างแอนนิเมชั่น 2 4 2 8 12-13 มูฟวี่คลิปและปุ่มกด 2 4 2 8

    14 การทํางานกับไฟล์เสียง 1 2 1 4 15-16 กําหนดให้ชิ้นงานโต้ตอบกับผู้ใช้งาน 2 4 2 8

    17 การเผยแพร่ชิ้นงาน 1 2 1 4 การประเมินผลการเรียน รวม 72

  • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

    ชื่อรายวิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม (ปวส.) รหัสวิชา 3204-2103 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 รู้จักสื่อประสมและหลักการออกแบบ จ านวน 3 หน่วยกิต เรื่อง รู้จักสื่อประสมและหลักการออกแบบ จ านวน 2 ชั่วโมง

    ค าอธิบายรายวิชา

    ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้าง แก้ไขสื่อประเภทภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ และจัดท าโครงร่างเรื่องราว (Story Board) การสร้าง พัฒนา และประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม การน าเสนอและเผยแพร่ผลงานสื่อประสม กรณีศึกษา สมรรถนะประจ าหน่วยการเรียนรู้

    แสดงความรู้เกี่ยวกับประสมและหลักการออกแบบ สาระส าคัญ

    สื่อประสมหรือมัลติมีเดีย คือเทคโนโลยีที่ช่วยในการผสมผสานของสื่อต่างๆ ประกอบเข้าด้วยกันเช่น ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วีดีโอ และเสียง จนสามารถสร้างสรรค์ผลงานใหม่ขึ้นมาได้ โดยท าให้เกิดประสิทธิภาพที่สูงมากขึ้น ในปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนามากขึ้นเรื่อยๆ จึงก่อให้เกิดสื่อประสมที่มีความหลากหลาย มีความน่าสนใจ รวมถึงรูปแบบในการน าเสนอสื่อประสมในช่องทางที่หลากหลายมากยิ่งขึ้นอีกด้วย

    จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของสื่อประสมได้อย่างชัดเจน 2. บอกส่วนประกอบของสื่อประสมหรือมัลติมีเดียได้ 3. อธิบายหลักการออกแบบสื่อมัลติมีเดียได้ 4. สามารถอธิบายได้ว่าสื่อประสมสามารถน าไปใช้งานประเภทใดบ้าง

  • กิจกรรมการเรียนรู้

    กจิกรรมครู กจิกรรมผู้เรียน

    ขั้นเตรียมกิจกรรม 1. ครูชี้แจงจุดประสงค์และค าอธิบายรายวิชา 2. ครูชี้แจงระเบียบว่าด้วยเวลาเรียนและการประเมินผล 3. ครูตกลงกับผู้เรียนในการจัดกิจกรรมกระบวนการ

    เรียนการสอน 4. ครูก าหนด เอกสารและใบงานครูกับผู้เรียน

    สร้างความเป็นกันเองและความคุ้นเคยเพ่ือลดอาการเครียด

    1. ผู้เรียนดู , ฟัง และจดบันทึก 2. ให้ผู้เรียนพูดคุยและซักถาม ข้อสงสัย

    ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1. ครูน าเข้าสู่บทเรียนโดยให้ผู้เรียนในห้องแสดงความ

    คิดเห็นเกี่ยวกับ สื่อประสม 2. ทดสอบก่อนเรียนโดยการ ถาม – ตอบ 3. ครูสรุปและอธิบาย พร้อมกับยกตัวอย่าง

    1. ผู้เรียนฟัง และตอบค าถามครูด้วยความตั้งใจ เป็น

    การวัดความรู้เดิมของผู้เรียน 2. ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นและน าเสนอ 3. ผู้เรียนปรึกษาหากันในห้องเรียน ศึกษาจากเอกสาร

    ประกอบการเรียนและช่วยกันระดมความคิดแล้วตอบค าถาม

    ขั้นด าเนินการสอน 1. ทดสอบก่อนเรียนโดยการ ถาม–ตอบ 2. ครูบรรยาย และยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ

    อย่างชัดเจนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจ าได้ง่าย

    1. ให้ผู้เรียน ตอบค าถาม 2. ผู้เรียนร่วมกันคิดและน าเสนอในห้องเรียน 3. ให้ผู้เรียน ร่วมกันประเมินผลเพ่ือนที่ออกแสดงความ

    คิดเห็น ว่าถูกหรือไม่ อย่างไร 4. ผู้เรียนสนใจ ตั้งใจฟังครูบรรยายพร้อมจดบันทึก

    3. สุ่มให้ผู้เรียนลุกขึ้นสรุปบทเรียน 4. ให้ท าใบงาน 5. ครูตรวจใบงาน พร้อมแจกคืนให้ผู้ เรียน เพ่ือน า

    กลับไปแก้ไขข้อที่ผิดแล้วส่งใหม่จนกว่าจะถูกต้องหรือหมดเวลาที่ก าหนดในการส่งใบงาน

    5. ให้ผู้เรียนสรุปผลร่วมกับครูผู้สอนและจดบันทึกผลการสรุป

    6. ผู้ เรียนท าใบงานที่มอบหมายส่งในเวลาที่ผู้สอนก าหนด

    7. ถ้าใบงานในข้อใดไม่ถูกต้องผู้เรียนต้องท าการแก้ไขใบงานให้ถูกต้อง

    8. ผู้เรียนท าแบบฝึกหัดหลังเรียน 9. ผู้ เรียนช่วยกันเฉลยแบบฝึกหัดหลังเรียนร่วมกับ

    ครูผู้สอน

  • กิจกรรมครู กิจกรรมผู้เรียน ขั้นสรุป ครูแนะน าให้ผู้เรียน ไปศึกษาจากเอกสารประกอบการเรียน 6. ทดสอบหลังเรียน 7. ครูและผู้ เรียนร่วมกันสรุปบทเรียนและการน าไป

    ประยุกต์ใช้

    10. ผู้เรียนบอกวิธีที่น าความรู้จากบทเรียนไปประยุกต์ใช้

    ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป

    5. สื่อการเรียนการสอนประจ าหน่วย

    1. เอกสาร วิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม 2. ใบความรู้ประจ าหน่วย 3. ใบงานที่ 1.1 เรื่องรู้จักสื่อประสมและหลักการออกแบบ 4. เครื่องคอมพิวเตอร์ 5. สื่อการสอน Power Point เรื่อง รู้จักสื่อประสมและหลักการออกแบบ

    6. วัดผลประเมินผลประจ าหน่วย

    1. สังเกตผู้เรียนมีความสนใจ เกิดความเข้าใจในสาระการเรียนรู้ ตลอดจนแสดงความกระตือรือร้นในการแสดงความคิดเห็นและสรุปสาระการเรียนรู้ประจ าหน่วย

    2. ท าใบงานได้อย่างถูกต้อง ทันเวลาที่ก าหนด ใบงานสะอาดและเป็นระเบียบ 3. ผู้เรียนท าแบบฝึกหัดหลังเรียนได้ถูกต้อง โดยได้คะแนน 50% เป็นอย่างต่ า

    7. กิจกรรมเสนอแนะประจ าหน่วย

    1. ผู้เรียนต้องให้ความสนใจในการศึกษา เพ่ือหาเทคนิค วิธีการ หรือหลักการง่ายเพ่ือให้ เข้าใจโดยการ ตั้งใจฟังหลักการ เทคนิควิธีการที่ครูผู้สอนสรุปในขณะที่ท าการสอน และน าข้อสงสัยซักถามครูในการเรียนทุกครั้งที่เกิดความสับสน และไม่เข้าใจ

    2. ผู้มีการทบทวนบทเรียน ตลอดเพ่ือเสริมสร้างความเข้าใจอย่างแท้จริง 3. ผู้เรียนหมั่นท าใบงาน แบบฝึกหัด และแก้ไขข้อที่ผิดให้ถูกต้องเสมอ 4. ผู้เรียนต้องสร้างมโนภาพให้เกิดความคิดรวบยอดในสาระการเรียนรู้และเทคนิควิธีการพร้อมกับ

    ความจ าเป็นในการน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดขึ้นโดยตนเองให้ได้เพ่ือเกิด่ความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริงไม่ใช่เกิดจากการท่องจ า

  • เกณฑ์การประเมินผล วัดผลสัมฤทธิ์จากแบบประเมินผลการเรียนรู้ ร้อยละ 80-100 หมายถึง ผลการเรียนดีมาก ร้อยละ 70-79 หมายถึง ผลการเรียนดี ร้อยละ 60-69 หมายถึง ผลการเรียนปานกลาง ร้อยละ 50-59 หมายถึง ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ ต่ ากว่าร้อยละ 50 หมายถึง ผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์

    แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 8-10 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมดี 5-7 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมพอใช้ ต่ ากว่า 5 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมที่ต้องปรับปรุง

    แบบและเกณฑ์ประเมนิพฤติกรรมรายบุคคล ค าชี้แจง ให้ผู้ประเมินขีดเครื่องหมายถูก ✓ในช่องพฤติกรรมที่คาดหวังให้เกิดกับนักเรียน เกณฑ์การตัดสิน 2 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับแบบสม่ าเสมอ 1 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับผ่านเกณฑ์ 0 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับไม่ผ่านเกณฑ์

    เกณฑ์การประเมิน 8 - 10 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมดี 5 - 7 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมพอใช้ ต่ ากว่า 5 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมที่ต้องปรับปรุง

  • บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................... .......................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2) ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................... ....................... ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................... .................................... .............................................................................................. ................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 3) แนวทางแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. .................................................

  • ใบความรู้หน่วยท่ี 1

    ความหมายของโปรแกรมสื่อประสมสื่อประสม หมายถึง การน าเสนอที่ประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว วีดีโอ เสียงมาผสมผสานกัน เพ่ือสร้างเป็นสื่ออย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สื่อโทรทัศน์ ภาพยนตร์ โฆษณา เว็บต่างๆ เป็นต้น ซึ่งสื่อเหล่านี้จะเป็นสื่อทางธุรกิจเป็นส่วนใหญ่ และมักจะมีค าจ ากัดความที่มีความเหมาะสมมากกว่าค าว่า "สื่อประสม" สื่อประสม มักใช้กับสื่อการเรียนการสอน ซึ่งมีความหมายว่า การน าเอาสื่อหลายๆ ประเภทมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน เพ่ือให้เกิดคุณค่าและส่งเสริมซึ่งกันและกัน โดยสื่ออย่างหนึ่งอาจใช้เพ่ือให้เกิดสิ่งเร้าความสนใจ ส่วนสื่ออย่างหนึ่งอาจใช้เพ่ือน าเสนอข้อมูลสารสนเทศ และอีกส่วนเพ่ือเพ่ิมความเข้าใจให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นคอมพิวเตอร์สื่อประสม สื่อประสมโดยทั่วไปมักจะบรรจุอยู่ในสื่อบันทึก เช่น แผ่นซีดีและดีวีดี หรืออาจจะอยู่ในอินเทอร์เน็ต สื่อประสมเป็นการน าตัวอักษร ภาพ ภาพเคลื่อนไหว วีดีโอ มาผสมผสานกัน เพื่อน าเสนอทางจอภาพ

    องค์ประกอบของสื่อประสม องค์ประกอบของสื่อประสมได้แก่ 1. ข้อความ เกี่ยวกับ ตัวอักษร การใช้รูปแบบของข้อความแบบต่างๆ 2. รูปภาพ การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพไม่ว่าจะเป็นการปรับแต่ง การจัดเก็บ การสร้าง ซึ่งภาพที่นิยม คือ แบบ Bitmap หรือ Raster และแบบ Vector 3. ภาพเคลื่อนไหว หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าภาพ " แอนนิเมชั่น" (Animation) ภาพเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ในการจ าลองสถานการณ์จริง เช่น ขั้นตอนการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ 4. ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดีทัศน์ การใช้ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดีทัศน์จะต้องมีอุปกรณ์เฉพาะในการจัดท า เช่น กล้องถ่ายวีดีโอ ภาพประเภทจะมีขนาดใหญ่จ าเป็นจะต้องบีบอัดไฟล์ก่อนใช้งานซึ่งไฟล์ที่บีบอัดและนิยมใช้ได้แก่ AVI, MPGE และ QuickTime เป็นต้น

    5. เสียง การใช้เสียงในงานสื่อประสมจ าเป็นจะต้องมีการบันทึกและจัดรูปแบบเฉพาะเพ่ือให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและใช้ได้ เช่น .WAV, .SWA, .VOX, .PCM, AIFF เป็นต้น

    6. ส่วนประสาน สื่อประสมบางอย่างจ าเป็นต้องมีส่วนประสานเพ่ือโต้ตอบกับผู้ใช้งาน เช่น การเลือกบทเรียนที่ต้องการเรียนในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) หลักการท างานของระบบส่ือประสม

    1. ก าหนดความต้องการและก าหนดเป้าหมาย ในขั้นตอนนี้เป็นการก าหนดจุดประสงค์ของชิ้นงานว่าต้องการสื่อในเรื่องใด ต้องการให้ผู้เรียนรู้อะไร

    กลุ่มเป้าหมายคือใคร เช่น ต้องการผลิตซอฟต์แวร์สื่อประสม วิชาการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ ส าหรับนักศึกษาในระดับ ปวช. จะต้องหาความต้องการของผู้เรียนโดยการศึกษาถึงปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชาประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งเมื่อพบปัญหา เช่น นักศึกษาไม่สามารถรู้จักอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ได้

  • เนื่องจากไม่สามารถมองเห็นอุปกรณ์ได้ครบทุกตัว อีกทั้งเป็นการสอนแบบบรรยายจึงท าให้นักศึกษาไม่สนใจการเรียนเท่าที่ควร และนักศึกษาไม่สามารถทดลองประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ครบทุกคนเนื่องจากสื่อการเรียนมีจ านวนจ ากัด แบบนี้เป็นต้น ดังนั้นจึงควรก าหนดจุดประสงค์หรือก าหนดเป้าหมายเพื่อสามารถแก้ไขปัญหาเบื้องต้นได้ เช่น - ให้ผู้เรียนทราบองค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ - ให้ผู้เรียนสามารถประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ 2. รวบรวมทรัพยากรต่างๆ เป็นการรวบรวมทรัพยากรต่างๆ ที่น ามาใช้เพ่ือการผลิตซอฟต์แวร์สื่อประสมเช่น อุปการณ์คอมพิวเตอร์ เครื่องแสกนเนอร์ กล้องดิจิตอล กล้องถ่ายวีดีโอ ไมโครโฟน ซอฟต์แวร์และเอกสารต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เป็นต้น

    3. เรียนรู้เนื้อหาที่แท้จริง เป็นการศึกษาที่จะใช้ในการสร้างซอฟต์แวร์สื่อประสม สมมุติว่าต้องการสร้างซอฟต์แวร์สื่อประสม วิชาการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องศึกษาว่าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอะไรบ้าง อุปกรณ์แต่ละตัวมีหน้าที่อย่างไร และการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมีหลักการประกอบอย่างไร เป็นต้น

    4. การสร้างแนวคิด (Generate Ideas) เป็นการคิดเพ่ือที่จะสื่อความหมายให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจเนื้อหาให้มากท่ีสุด การสร้างแนวคิดนั้นต้องมีความรู้ด้านศิลปะและต้องมีจินตนาการพอสมควร แต่ถ้าไม่มีความรู้ด้านศิลปะก็อาศัยประสบการณ์จากสื่ออ่ืนๆ ที่เคยพบเห็นมาประกอบการท างาน เช่น ถ้าต้องการให้นักศึกษาสามารถประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ จะต้องท าอย่างไร ซึ่งอาจจะมีแนวความคิดท่ีจะน าภาพอุปกรณ์เมนบอร์ดมาวางไว้เป็นตัวหลัก และระบุต าแหน่งที่จะให้เสียบในสล็อตต่างๆ หรือต่อพ่วงอุปกรณ์ โดยให้นักศึกษาคลิกเลือกอุปกรณ์ท่ีคิดว่าถูกต้อง ซึ่งแนวคิดนี้ช่วยให้นักศึกษาสามารถทดลองประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนประกอบจริงได้

    5. การออกแบบ เป็นการออกแบบหน้าต่างการใช้แต่ละส่วน โดยควรออกแบบให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและเนื้อหาของบทเรียน เช่น ถ้ากลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาในระดับชั้นปวช. ควรออกแบบชิ้นงานที่มีการน าเสนอสบายๆ ไม่เครียดมากนัก มีสีสันสวยงามและมีความตื่นเต้นเร้าใจ

    6. จัดวางล าดับ การจัดวางล าดับ เป็นการล าดับขั้นตอนการท างานว่าขั้นตอนไหนควรท าก่อน ขั้นตอนไหนควรท าทีหลัง เช่น เมื่อเข้าไปในซอฟต์แวร์สื่อประสม วิชาการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีขั้นตอนการทานดังนี้ - การน าเข้าบทเรียน - การรับข้อมูลของผู้เรียน เช่น ชื่อ-สกุล, เลขที,่ ห้อง - การเลือกบทเรียน

  • กิจกรรมท้ายบทที่ 1

    วิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม บทที่ 1 รู้จักสื่อประสมและหลักการออกแบบ

    ค าสั่ง : จงตอบค าถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. จงอธิบายความหมายของสื่อมัลติมีเดีย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. องค์ประกอบของมัลติมีเดียมีอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. บอกประโยชน์ของสื่อมัลติมีเดียมา 5 ข้อ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. บอกหลักการของการใช้ตัวอักษรในการออกแบบสื่อมัลติมีเดีย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จงบอกหลักการของการใช้ภาพประกอบในการออกแบบสื่อมัลติมีเดีย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    ชื่อ-สกุล....................................................................................................................ระดับชั้น................................

  • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

    ชื่อรายวิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม (ปวส.) รหัสวิชา 3204-2103 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การจัดท าโครงเรื่องราว (Storyboard) จ านวน 3 หน่วยกิต เรื่อง การจัดท าโครงเรื่องราว (Storyboard) จ านวน 4 ชั่วโมง

    ค าอธิบายรายวิชา

    ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้าง แก้ไขสื่อประเภทภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ และจัดท าโครงร่างเรื่องราว (Story Board) การสร้าง พัฒนา และประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม การน าเสนอและเผยแพร่ผลงานสื่อประสม กรณีศึกษา สมรรถนะประจ าหน่วยการเรียนรู้

    แสดงความรู้เกี่ยวกับประสมและหลักการออกแบบ สาระส าคัญ

    การจัดท าโครงร่างเรื่องราวหรือสตอรี่บอร์ด (story board) เป็นการจัดวางล าดับความส าคัญของเนื้อหา เพ่ือให้นักเรียนสามารถพัฒนาการเรียนรู้ต่อไปได้ เช่น เนื้อหาสาระเริ่มแรกอาจเป็นเนื้อหาที่มีความง่ายและไม่ซับซ้อน และเพ่ิมระดับความซับซ้อนหรือความยากของเนื้อหาขึ้นตามล าดับ

    จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการวางแผนการผลิตได้ 2. อธิบายหลักการเขียนสตอรี่บอร์ดได้ 3. บอกประโยชน์ของการเขียนสตอรี่บอร์ดได้ 4. อธิบายขั้นตอนการเขียนสตอรี่บอร์ดได้ 5. บอกส่วนประกอบสตอรี่บอร์ดได้ 6. ออกแบบสตอรี่บอร์ดให้เหมาะสมกับสื่อประสมได้

  • กิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน

    ขั้นเตรียม 1. ให้นักเรียนอ่านเอกสารประกอบการเรียน เพ่ือท า

    ความเข้าใจ 2. ครูตอบข้อสงสัย ของนักเรียน

    1. นักเรียนเอกสารประกอบการเรียน และท าความเข้าใจเกี่ยวกับค าสั่ง การจัดวางเนื้อหาบนหน้าเว็บ 2.นักเรียน ซักถามข้อสงสัย 3.จดบันทึกค าตอบของครูผู้สอน

    ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1. ครูเขียนตัวอย่าง 2. ครูชมเชยนักเรียนที่มีความพยายามตอบค าถามและ

    แสดงความคิดเห็น และให้นักเรียนในห้องมีส่วนร่วมในการแสดงความชื่นชมกับผู้ที่ตอบค าถาม ทั้งผู้ที่ตอบถูก และผู้ที่ตอบไม่ถูก

    1.นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ตัวอย่าง 2.นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็น และตอบค าถาม 3.นักเรียนช่วยกันแสดงความชื่นชมกับผู้ที่มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตอบค าถาม

    ขั้นด าเนินการสอน 1 .บรรยาย อธิบาย และยกตัวอย่างประกอบ 2. ครูแนะน าเทคนิค 3. ให้นักเรียนออกแบบstory board

    1. จดบันทึก 2. นักเรียนปฏิบัติติตาม 3. นักเรียนซักถามข้อสงสัย 4. ให้นักเรียนออกแบบ story board ในเรื่องที่ตนเอง

    สนใจมาคนละ 1 เรื่อง มอบหมายให้ เสร็จทันภายในเวลาที่ก าหนด

    ขั้นสรุป 1. ครูให้นักเรียนน าเสนอ story board ที่ได้ออกแบบ

    ไว้ 2. ครูกับนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนและวิธีการน าไป

    ประยุกต์ใช้

    1 .นั ก เรี ยน บ อกวิ ธี ที่ น าค วาม รู้ จ ากบ ท เรี ย น ไป

    ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป

  • 4. กิจกรรมการเรียนรู้ ก่อนเรียน

    1. นักเรียนท าแบบฝึกหัดก่อนเรียน โดยการตอบค าถามเกี่ยวกับหน่วยการเรียนตามภูมิความรู้ความสามารถของนักเรียน

    2. ครูใหน้ักเรียนอ่านใบความรู้เพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนและตอบค าถามครูผู้สอน ขณะเรียน 1. นักเรียนร่วมกันศึกษาเนื้อหาตามใบงานแล้วตอบค าถามและแสดงความคิดเห็น 2. ให้นักเรียนออกแบบ story board ในเรื่องท่ีตนเองสนใจมา 1 เรื่อง 3. น าเสนอหน้าชั้นเรียน 4. จดบันทึก เทคนิค แนวการที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน จากข้อแนะน าของครูผู้สอน 5. นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการเรียนตามความเป็นจริง จากภูมิความรู้ของนักเรียนแต่ละคน 6. นักเรียนซักถามในหัวข้อที่สงสัยในเนื้อหาการเรียนรู้

    5.สื่อการเรียนการสอนประจ าหน่วย

    1. เอกสาร วิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม 2. ใบความรู้ประจ าหน่วย 3. เอกสาร story board 4. เครื่องคอมพิวเตอร์ 5. สื่อการสอน Power Point เรื่อง การสร้าง Storyboard

    6. วัดผลประเมินผล 1. นักเรียนปฏิบัติภาระงานที่มอบหมายเสร็จทันเวลาที่ก าหนด 2. ตอบค าถามและสรุปผลงานได้อย่างถูกต้อง 3. น าเสนอชิ้นงานหน้าชั้นเรียน 4. สนใจกระตือรือร้นในการเรียนรู้ ตอบค าถาม สรุปสาระการเรียนรู้ และกล้าแสดงความคิดเห็น

    7. กิจกรรมเสนอแนะ ถ้านักเรียนมีการเตรียมตัวในการเรียนที่ดี เช่น อ่าน และท าการศึกษาหนังสือเกี่ยวกับหน่วยการเรียน

    มากก่อน ถึงชั่วโมงเรียน นักเรียน จะสามารถเรียน และท ากิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูผู้สอนมอบหมาย ได้อย่างมีความสุข และเกิดความชอบ และสนุกกับการเรียนในชั้นเรียน

  • เกณฑ์การประเมินผล วัดผลสัมฤทธิ์จากแบบประเมินผลการเรียนรู้ ร้อยละ 80-100 หมายถึง ผลการเรียนดีมาก ร้อยละ 70-79 หมายถึง ผลการเรียนดี ร้อยละ 60-69 หมายถึง ผลการเรียนปานกลาง ร้อยละ 50-59 หมายถึง ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ ต่ ากว่าร้อยละ 50 หมายถึง ผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์

    แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 8-10 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมดี 5-7 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมพอใช้ ต่ ากว่า 5 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมที่ต้องปรับปรุง

    แบบและเกณฑ์ประเมนิพฤติกรรมรายบุคคล ค าชี้แจง ให้ผู้ประเมินขีดเครื่องหมายถูก ✓ในช่องพฤติกรรมที่คาดหวังให้เกิดกับนักเรียน เกณฑ์การตัดสิน 2 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับแบบสม่ าเสมอ 1 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับผ่านเกณฑ์ 0 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับไม่ผ่านเกณฑ์

    เกณฑ์การประเมิน 8 - 10 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมดี 5 - 7 คะแนน หมายถึง มีพฤติกรรมพอใช้ ต่ ากว่า 5 คะแนน หมายถึง มพีฤติกรรมที่ต้องปรับปรุง

  • บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................... .......................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2) ปัญหาที่พบ ....................................................................................................................................................... ....................... ........................................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................... .................................... ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................... .......................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 3) แนวทางแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................... .......................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

  • เอกสารประกอบการสอนบทที่ 2

    ...................................................................................... ......................................................................................

    .............................................................................. ........ ......................................................................................

    ...................................................................................... ................................................................. .....................

    ...................................................................................... ......................................................................................

    ...................................................................................... .......................................................................... ............

    ...................................................................................... ......................................................................................

    ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ......................................................................................

  • ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ......................................................................................

    ...................................................................................... ...................................................................................... .................................................................................... .. ...................................................................................... ...................................................................................... ....................................................................... ...............

    ...................................................................................... ...................................................................................... ......................................................... ............................. ...................................................................................... ...................................................................................... ......................................................................................

  • ...................................................................................... .................................................................... .................. ...................................................................................... ...................................................................................... ........................................................... ........................... ......................................................................................

    ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ......................................................................................

    ...................................................................................... ...................................................................................... .............................................................................. ........ ...................................................................................... ...................................................................................... ................................................................. .....................

  • บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI)

    เรื่อง/บทที่………………………………………………………..…………………………..…….…………………….. หัวข้อเรื่อง……………………………………………………..………………… หมายเลขหน้า………………… ผู้จัดท า………………………………….…………….……..……..….………… ห้อง….……………….….…….…

    ชื่อไฟล…์……………………………………..……………………..

    Linkจากไฟล์/หน้า………………………………………………

    Script ส าหรับการบรรยาย : ..…………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………..………………………………………………………

    CAI Storyboard

    เกณฑ์การประเมิน

    ผ่าน ไม่ผ่าน แก้ไข

    วันที่ส่ง …………………..….

    วิชาการประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์

  • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3

    ชื่อรายวิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม (ปวส.) รหัสวิชา 3204-2103 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พ้ืนฐานเบื้องต้นโปรแกรม Adobe Flash CS6 จ านวน 3 หน่วยกิต เรื่อง พ้ืนฐานเบื้องต้นโปรแกรม Adobe Flash CS6 จ านวน 4 ชั่วโมง

    ค าอธิบายรายวิชา

    ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้าง แก้ไขสื่อประเภทภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ และจัดท าโครงร่างเรื่องราว (Story Board) การสร้าง พัฒนา และประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม การน าเสนอและเผยแพร่ผลงานสื่อประสม กรณีศึกษา สมรรถนะประจ าหน่วยการเรียนรู้

    แสดงความรู้เกี่ยวกับประสมและหลักการออกแบบ สาระส าคัญ

    ปัจจุบัน การน าเสนอข้อมูลบนสื่อต่างๆ มีการพัฒนาขึ้นมาอย่างรวดเร็ว สามารถน าเสนอได้ทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสียงพร้อมๆ กันได้ทันที แต่ต้องอาศัยเทคนิคจากโปรแกรมมากมายที่มีความยุ่งยากและซับซ้อน ยิ่งกว่านั้นผลงานที่สร้างออกมายังมีขนาดใหญ่อีกด้วย แต่เราก็พบทางออกของทุกๆ ปัญหาที่กล่าวมาโดยการใช้งานโปรแกรม Adobe Flash CS6

    จุดประสงค์การเรียนรู้

    1. รู้จักและเข้าใจกระบวนการท างานของโปรแกรม Flash CS6 เบื้องต้น 2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม Flash CS6 3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการท างานของโปรแกรม Flash CS6

  • 4. กิจกรรมการเรียนการสอน

    กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1. ตรวจสอบรายชื่อนักศึกษาที่เข้าเรียน 2. ให้นักศึกษาค้นคว้าโปรแกรม Flash 3. ร่วมสนทนาเกี่ยวกับโปรแกรม Flash

    1. ให้ความร่วมมือกับครูในการตรวจสอบ 2. ค้นคว้าเรื่อง โปรแกรม Flash 3. ร่วมสนทนาและแสดงความคิดเห็น

    ขั้นด าเนินการสอน 1. บอกจุดประสงค์การเรียน 2. บรรยาย อธิบาย ยกตัวอย่าง ในแต่ ละหัวข้อการเรียนให้

    นักศึกษา 3. ครูบอกวิธีการ และแนวคิดในการปฏิบัติที่ถูกต้องให้แก่ผู้เรียน 4. ประเมินพฤติกรรมรายบุคคลโดยครูจะซักถามในแต่ละคน

    1. ฟัง ท าความเข้าใจและซักถาม 2. แบ่งกลุ่ม 3. ฟัง ท าความเข้าใจและปฎิบัติตาม 4. ผู้เรียนซักถามข้อสงสัยและจดบันทึก 5. รับการประเมิน

    ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระส าคัญ 2. เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย 3. มอบหมายให้ไปหัดท าและศึกษาเพ่ิมเติม 4. ท าแบบทดสอบ

    1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระส าคัญ 2. นักเรียนสอบถามข้อสงสัย 3. ฟังและจดบันทึก 4. ท าแบบทดสอบท้ายบท

    5. กิจกรรมการเรียนรู้

    ก่อนเรียน ค้นคว้าเกี่ยวกับ โปรแกรม Flash

    ขณะเรียน 1. แบ่งกลุ่มเพื่อศึกษา 2. จดบันทึก สาระการเรียนรู้ 3. ท าใบงาน ตรวจสอบใบงาน แก้ไขใบงาน 4. ทบทวนเนื้อหา

  • หลังเรียน

    1. ร่วมกันสรุปบทเรียน พร้อมบันทึกผลการสรุป แล้วลุกขึ้นน าเสนอกับครูผู้สอน 2. ผู้เรียนและครูผู้สอนร่วมกันประเมินข้อสรุปของผู้เรียนที่ออกแสดงความคิดเห็นเพ่ือให้ได้ข้อสรุปที่

    ถูกต้อง และครูผู้สอนแสดงความชื่นชมกับผู้เรียนทุกคนที่ออกแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มอบหมาย

    3. ท าแบบฝึกหัดหลังเรียน 4. ร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัด

    6. สื่อการเรียนการสอนประจ าหน่วย 1. เอกสาร วิชา การประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อประสม 2. ใบความรู้ประจ าหน่วย 3. ใบงานที่ 3 4. เครื่องคอมพิวเตอร์ 5. สื่อการสอน Power Point เรื่อง พ้ืนฐานเบื้องต้นโปรแกรม Adobe Flash CS6

    7. วัดผลประเมินผลประจ าหน่วย 1. สังเกตผู้เรียนมีความสนใจ เกิดความเข้าใจในสาระการเรียนรู้ ตลอดจนแสดงความกระตือรือร้นใน

    การแสดงความคิดเห็นและสรุปสาระการเรียนรู้ประจ าหน่วย 2. ท าใบงานได้อย่างถูกต้อง ทันเวลาที่ก าหนด ใบงานสะอาดและเป็นระเบียบ 3. ผู้เรียนท าแบบฝึกหัดหลังเรียนได้ถูกต้อง โดยได้คะแนน 50% เป็นอย่างต่ า

    8. กิจกรรมเสนอแนะประจ าหน่วย 1. ผู้เรียนต้องให้ความสนใจในการศึกษา เพ่ือหาเทคนิค วิธีการ หรือหลักการง่ายเพ่ือให้หาค าตอบ

    ได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว โดยการ ตั้งใจฟังหลักการ เทคนิควิธีการที่ครูผู้สอนสรุปในขณะที่ท าการสอน และน าข้อสงสัยซักถามครูในการเรียนทุกครั้งที่เกิดความสับสน และไม่เข้าใจ

    2. ผู้มีการทบทวนบทเรียน ตลอดเพ่ือเสริมสร้างความเข้าใจอย่างแท้จริง 3. ผู้เรียนหมั่นท าใบงาน แบบฝึกหัด และแก้ไขข้อที่ผิดให้ถูกต้องเสมอ 4. ผู้เรียนต้องสร้างมโนภาพให้เกิดความคิดรวบยอดในสาระการเรียนรู้และเทคนิควิธีการพร้อมกับ

    ความจ าเป็นในการน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดขึ้นโดยตนเองให้ได้เพ่ือเกิดความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริงไม่ใช่เกิดจากการท่องจ า

  • ใบความรู ้

    เรื่องส่วนประกอบของโปรแกรม Adobe Flash Professional CS6 ค าสั่ง : จงบอกชื่อส่วนประกอบของโปรแกรม และหน้าที่การท างาน

    ชื่อส่วนประกอบ หน้าที่การท างาน

    1.แถบเมนูค าสั่ง (Menu Bar)

    แถบเมนูท่ีใช้แสดงค าสั่งทั้งหมดในโปรแกรมโดยคลิกเลือกเมนูค าสั่ง จะปรากฏเมนูย่อยตามที่ต้องการ

    2.กล่องเครื่องมือ (Tool Box)

    กล่องเครื่องมือท่ีรวบรวมเครื่องมอืต่างๆที่ใช้ในการสร้าง ปรับแต่งวัตถุ ซึ่งเครื่องมือแต่ละชิ้นจะมสีัญลักษณเ์ป็นไอคอนภาพ

    3. สเตจ (stage)

    พื้นที่การท างานในหน้าจอที่ใช้จัดวางวัตถุต่างๆ ท่ีต้องการแสดงให้เห็นในช้ินงาน เหมือนเวท ี

    4. พาเนล (Panels)

    หน้าต่างท่ีใช้ก าหนดค่าในการปรับแต่งวัตถุต่างๆ ไว้อย่างเป็นหมวดหมู เช่น พาเนลcolor พาเนลproperties พาเนลLibrary

    5 ไทม์ไลน์ (TimeLine)

    ใช้ส าหรับการสร้างและก าหนดรายละเอยีดของการเคลื่อนไหว มี 2 ส่วนคือ เลเยอร์ (Layer) และ เฟรม (Frame)

    1

    2

    3 4

    5

    วิชา การประยกุตใ์ช้โปรแกรมส่ือประสม

  • ใบความรู ้เรื่อง เครือ่งมอืที่ใช้ในโปรแกรม Adobe Flash cs6

    ชื่อเครื่องมือ หน้าที่การท างาน

    selection Tool ใชส้ ำหรบัเลอืกออ็บเจก็ต ์(Object) โดยกำรคลกิ หรอืคลกิแลว้ลำกใหเ้ป็น

    บรเิวณสีเ่หลีย่มรอบออ็บเจก็ตท์ีต่อ้งกำรเลอืก

    Sub selection Tool ใชส้ ำหรบัเลอืกจดักำรกบัออ็บเจก็ตเ์ฉพำะบำงสว่น

    Free Transform ใชส้ ำหรบัปรบัแต่งรปูทรงของออ็บเจก็ตใ์นแบบต่ำงๆ อยำ่งอสิระ

    Gradient Transform ปรบัแนวสเีกรเดยีนท ์

    3D Rotation tool กำรปรบัแต่งรปูทรงออ็บเจก็ตแ์บบ 3 มติ ิ

    Bone tool สรำ้งขอ้ต่อกระดกูใหก้บัชิน้งำน ท ำใหช้ิน้งำนมกีำรเคลื่อนไหวทีส่มจรงิ

    มำกยิง่ขึน้

    Lasso Tool ใชส้ ำหรบัเลอืกออ็บเจก็ต ์โดยกำรวำดเสน้แบบอสิระรอบออ็บเจก็ต์

    Pen Tool วำดรปูทรง เสน้ตรง เสน้โคง้

    Add Anchor Point เพิม่จุดแองเคอร ์

    Delete Anchor Point ลบจดุแองเคอร ์

    Text Tool ใชส้ ำหรบัสรำ้งตวัอกัษร หรอืขอ้ควำม

    Rectangle Tool ใชส้ ำหรบัวำดรปูสีเ่หลีย่ม

    Rectangle Primitive วำดสีเ่หลีย่มทีป่รบัแต่งมมุไดภ้ำยหลงั

    Oval Tool ใชส้ ำหรบัวำดวงกลม หรอืวงร ี

    Oval Primitive Tool วำดวงกลมหรอืวงรทีีป่รบัแต่งรปูแบบไดภ้ำยหลงั

    PolyStar Tool วำดรปูหลำยเหลีย่มและรปูดำว

    Line Tool ใชส้ ำหรบัวำดเสน้ตรง

    Pencil Tool ใชส้ ำหรบัวำดลำยเสน้แบบอสิระ

    Brush Tool ใชส้ ำหรบัระบำยสคีลำ้ยพูก่นั หรอืแปลงทำส ี

    Paint Bucket Tool ส ำหรบ