36
“สถานีวิทยุคมนาคม: ความจาเป็น และความเสี่ยงที่ต้องหาจุดสมดุล” กสทช. ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา

“สถานีวิทยุคมนาคม ความจ าเป็น และความเสี่ยงที่ต้องหาจุดสมดุล”nbtcrights.com/wp-content/uploads/2015/12/ppt-17-12-58.------------------------1.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

“สถานีวิทยุคมนาคม: ความจ าเป็น และความเสี่ยงที่ต้องหาจุดสมดุล”

กสทช. ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา

การสื่อสารโทรคมนาคม

คลื่นความถี่คืออะไร ?

คลื่นความถี่ คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่ เกิดจากการท าให้สนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กเปลี่ยนแปลง สามารถถ่ายเทพลังงานจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้โดยอาศัยอากาศเป็นตัวกลาง น ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันในหลายด้านเช่น ด้านโทรคมนาคม การแพทย์ เป็นต้น

คลื่นความถี่คืออะไร ?

คลื่นความถี่คืออะไร ? ตัวอย่าง คลื่นความถี่ประเภทต่างๆ ที่ กสทช. น ามาจัดสรร

สถานีวิทยุคมนาคมคืออะไร ?

ตัวอย่างสถานีวิทยุคมนาคม

ตัวอย่างสถานีวิทยุคมนาคม

โครงข่ายโทรคมนาคมคืออะไร ?

ภาพรวมการขยายโครงข่ายฯ/ตั้งสถานีฯ ของคลื่น 2100 MHz

ภาพรวมการขยายโครงข่ายฯ/ตั้งสถานีฯ ของคลื่น 2100 MHz

• ข้อมู ลจากรายงานการก ากับดู แลการประกอบกิจการโทรคมนาคมเคลื่อนที่สากล ย่าน 2.1 GHz เดือนธันวาคม ๒๕๕๗ ซึ่งเป็นการครบก าหนด 2 ปีนับแต่ กสทช. มีการจัดสรรคลื่นความถี่

คลื่นความถี่มีผลกระทบอะไร ?

• ในปัจจุบัน ผลกระทบของคลืน่แม่เหล็กไฟฟ้าต่อสุขภาพมนุษย์ ยังคงเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันยังมิได้ข้อยุติ ว่ามีอันตรายมากน้อยเพียงใด

• มี ง า น วิ จั ย ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ ว่ า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์

คลื่นความถี่มีผลกระทบอะไร ?

ในปี 2011 ที่ประชุมองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ก าหนดให้คลื่นไมโครเวฟจากมือถือเป็นปัจจัยที่อยู่ในกลุ่ม 2B คือหมายถึงกลุ่มที่อาจจะเพิ่มโอกาสการเป็นเนื้องอกสมอง (possibly carcingenic to humans) ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกับเครื่องส าอางบางชนิด

กฎหมาย/ประกาศของ กสทช. ที่เกี่ยวข้อง

ในเรื่องความปลอดภัยของสุขภาพมนุษย์จากการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม กสทช. โดย กทช. (เดิม) ได้ออกเป็นประกาศไว้ด้วยกัน 2 ฉบับ คือ 1) ประกาศ กทช. เรื่อง มาตรฐานความปลอดภัยต่อสุขภาพมนุษย์จากการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม 2) ประกาศ กทช. เรื่อง หลักเกณฑ์และมาตรการก ากับดูแลความปลอดภัยต่อสุขภาพของมนุษย์จากการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม

กฎหมาย/ประกาศของ กสทช. ที่เกี่ยวข้อง

1) ประกาศ กทช. เรื่อง มาตรฐานความปลอดภัยต่อสุขภาพมนุษย์จากการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมนั้น จะเป็นการก าหนดขีดจ ากัดในการปล่อยคลื่นและวิธีการวัดส าหรับการได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของมนุษย์ในย่านความถี่วิทยุ 9 kHz – 300 GHz

กฎหมาย/ประกาศของ กสทช. ที่เกี่ยวข้อง

ประกาศ กทช. ฉบับนี้ ก าหนดโดยอ้างอิงขีดจ ากัดตามเอกสาร ICNIRP Guidelines for Limiting Exposure to Time-Varing Electric, Magnetic, and Electromagnetic Fields (Ups to 300GHz)(1998) จัดท าขึ้นโดย The International Commission on Non-lonizing Radiation Protection (ICNIRP) ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาและก าหนดแนวทางป้องกันอันตรายจากการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและองค์การอนามัยโลก (WHO)

กฎหมาย/ประกาศของ กสทช. ที่เกี่ยวข้อง

2) ประกาศ กทช. เรื่อง หลักเกณฑ์และมาตรการก ากับดูแลความปลอดภัยต่อสุขภาพของมนุษย์จากการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม จะเป็นการก าหนดหลักเกณฑ์การก ากับดูแลความปลอดภัยของสถานีวิทยุคมนาคมประเภทต่างๆ ,ขอบข่ายการบังคับใช้และข้อยกเว้น ,มาตรการก ากับดูแล ต่างๆ ให้สอดคล้องกับประกาศ กทช. เรื่อง มาตรฐานความปลอดภัยต่อสุขภาพมนุษย์จากการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม

กฎหมาย/ประกาศของ กสทช. ที่เกี่ยวข้อง ข้อ 12 การแสดงความสอดคล้องตามมาตรฐานความปลอดภัยของสถานีวิทยุคมนาคมที่จะตั้งใหม่

จัดท ารายงานประเมินระดับการแผ่คลื่นฯ เพื่อใช้ประกอบการอนุญาตตั้งสถานีฯ (12.1)

ติดป้ายแสดงสัญลักษณ์ หมายเลขติดต่อของผู้รับผิดชอบไว้บริเวณที่ตั้งสถานีฯ (12.4)

ต้องท าความเข้าใจกับประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่ตั้งสถานีฯ (12.5)

หากเปลี่ยนแปลงลักษณะทางเทคนิค ที่มีผลต่อระดับการแผ่คลื่นฯ ต้องจัดท ารายงานส่งให้ส านักงาน กสทช. ภายในหนึ่งเดือน (12.2)

ติดป้ายเตือนในบริเวณที่มีความเสี่ยงในการได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (12.3)

กฎหมาย/ประกาศของ กสทช. ที่เกี่ยวข้อง

กฎหมาย/ประกาศของ กสทช. ที่เกี่ยวข้อง ข้อ 13 การแสดงความสอดคล้องตามมาตรฐานความปลอดภัยของสถานีวิทยุคมนาคมที่ตั้งอยู่เดิม

ต้องจัดท ารายงานข้อมูลความสอดคล้องตามมาตรฐานระดับการแผ่คลื่นฯ ของสถานีฯ ทั้งหมดที่มีส่งให้ส านักงาน กสทช. เพื่อเก็บข้อมูล (13.1)

หากเปลี่ยนแปลงลักษณะทางเทคนิค ที่มีผลต่อระดับการแผ่คลื่นฯ ต้องจัดท ารายงานส่งให้ส านักงาน กสทช. ภายในหนึ่งเดือน (13.2)

ติดป้ายเตือนในบริเวณที่มีความเสี่ยงในการได้รับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (13.3)

ติดป้ายแสดงสัญลักษณ์ หมายเลขติดต่อของผู้รับผิดชอบไว้บริเวณที่ตั้งสถานีฯ (13.4)

กฎหมาย/ประกาศของ กสทช. ที่เกี่ยวข้อง ข้อ 15 หากพบว่า มีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ในประกาศนี้ ให้ ลสทช. ด าเนินการตามความเหมาะสมและสภาพของความผิดนั้น ดังต่อไปนี ้

แจ้งเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร (15.1)

สั่งให้แก้ไข ปรับปรุง ระงับการจ าหน่าย/ใช้งานเครื่องวิทยุฯ ที่ไม่ได้มาตรฐาน (15.2)

เปรียบเทียบปรับหรือด าเนินคดีกับผู้ที่กระท าผิด (15.3)

กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

- พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535

- พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543

- พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2550

ตัวอย่างค าสั่งของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ตัวอย่างค าสั่งของหน่วยงานอื่นๆที่เก่ียวข้อง

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่น่าสนใจ

ศาลอุทธรณ์ตูนิเซียเห็นถึงอันตรายต่อชุมชน สั่งรื้อถอนเสาโทรศัพท์มือถือที่ตั้งบนหลังคาบ้าน

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่น่าสนใจ

สหภาพครูแหง่นครลอสแองเจิลลีส ที่มีสมาชิกถึง 40,000 คน มีมติไม่ให้ใช้เทคโนโลยีไร้สายในโรงเรียน

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่น่าสนใจ

สภาล่างของประเทศฝรั่งเศส ให้โรงเรียนตดิตั้งระบบสาย แทนการใชส้ัญญาณไวไฟ (Wifi)

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่น่าสนใจ

ศาลฎีกาของอิตาลี พิพากษายืนตามค าพิพากษาของศาลชั้นต้นให้โจทก์เป็นผู้ชนะคดี ที่โจทก์ต้องใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อ "ท างาน" นานระหว่าง 5-6 ชั่วโมงต่อวัน ต่อเนื่องกันยาวนาน 12 ปี สุดท้ายเขาเกิดก้อนเนื้อซึ่งไม่ใช่มะเร็งขึ้นในศีรษะด้านข้างตรงที่ใช้โทรศัพท์แนบอยู่เป็นกิจวัตร แม้ไม่เป็นมะเร็งก็จริง แต่จ าเป็นต้องผ่าตัดออก

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่น่าสนใจ

โดยโจทก์ฟ้องร้องเรียกเงินค่าเสียหาย เป็นสินไหมทดแทนจากองค์การหลักประกันพนักงาน หรือ "อินาอิล" ของทางการอิตาลี ซึ่งทางองค์การปฏิเสธ อ้างว่าเขาไม่มีข้อพิสูจน์ว่าการท างานเป็นสาเหตุให้เกิดก้อนเนื้อ มาร์โคลินี่ ยื่นฟ้องร้องต่อศาลชั้นต้นในเมืองเบรสชา ศาลพิพากษาว่า มีหลักฐานเพียงพอที่จะยืนยันว่าการท างานของเขาก่อให้เกิดก้อนเนื้อ ทางองค์การฯ อุทธรณ์ต่อศาลสูงสุด ค าพิพากษาของศาลสูงอิตาลีเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2012 ให้พิพากษายืน คดีเป็นอันสิ้นสุด

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่น่าสนใจ

ศาลเมืองมาร์เซย ประเทศฝรั่งเศส พิพากษาจ่ายเงินชดเชยจ านวนเงิน 500 ปอนด์ต่อเดือนให้กับสตรีวัย 39 ปีรายหนึ่งที่เจ็บป่วยด้วยโรคภูมิแพ้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Hypersensitivity) จนเป็นสาเหตุที่ท าให้เธอต้องอพยพย้ายออกจากเมืองไปอาศัยอยู่ในเขตชนบทที่ไม่ มีกระแสไฟฟ้าใช้

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่น่าสนใจ

ที่มา http://www.independent.co.uk/news/world/europe/woman-allergic-to-wifi-granted-disability-allowance-by-french-court-10474902.html

โรค EHS มีสาเหตุจากการแพ้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ออกมาจากอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคลื่นจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์ Wi-Fi และเสาส่งสัญญาณโทรคมนาคม โดยผู้ป่วยจะมีอาการปวดหัว อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ และผู้ป่วยบางรายอาจมี อ าการปวดหู ปัญหา เกี่ ย วกั บความจ าและสมาธิ เป็นต้น

ข้อเสนอแนะและทางออกเรื่องการตั้งสถานีฯ

ข้อเสนอแนะและทางออกเรื่องการตั้งสถานีฯ

ข้อเสนอแนะและทางออกเรื่องการตั้งสถานีฯ

ข้อเสนอแนะและทางออกเรื่องการตั้งสถานีฯ

ค าถามและ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น