10
จัดทําโดย .ดร. เดช ดํารงศักดิ199 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เครื่องมือวัด (254372) ( ) ( ) t v t v v c c i i o ω ω sin sin = จะไดแรงดันไฟฟาขาออกเทากับ เมื่อ v i = แอมปริจูดของ transducer signal v c = แอมปริจูดของ carrier signal หรือ ( ) ( ) [ ] t t v v v i c i c c i o ω ω ω ω + = cos cos 2 แรงดันไฟฟาขาออกเปนสัญญาณผสมระหวางสัญญาณจากหัววัดและสัญญาณ พาหะ จึงตองนํามาผานกระบวนการ Demodulation เพื่อแยกสัญญาณจาก หัววัดออกจากสัญญาณพาหะ ดังไดอะแกรมตอไปนีจัดทําโดย .ดร. เดช ดํารงศักดิ200 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เครื่องมือวัด (254372) กระบวนการ Modulation และ Demodulation สเปกตรัมความถี(Frequency Spectrum) ของสัญญาณขาออก กระบวนการ Demodulation กระบวนการแยกสัญญาณจากหัววัด (transducer signal) ออกจากสัญญาณพาหะ (carrier signal) โดยอาศัย Rectifier และ Filter

Chapter 09

  • Upload
    grid-g

  • View
    341

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Chapter 09

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 199

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

( )( )tvtvv cciio ωω sinsin=

จะไดแรงดันไฟฟาขาออกเทากับ

เมื่อ vi = แอมปริจูดของ transducer signalvc = แอมปริจูดของ carrier signal

หรือ( ) ( )[ ]ttvvv icic

cio ωωωω +−−= coscos

2

• แรงดันไฟฟาขาออกเปนสัญญาณผสมระหวางสัญญาณจากหัววัดและสัญญาณพาหะ → จึงตองนํามาผานกระบวนการ Demodulation เพื่อแยกสัญญาณจากหัววัดออกจากสัญญาณพาหะ ดังไดอะแกรมตอไปน้ี

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 200

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

กระบวนการ Modulation และ Demodulationสเปกตรัมความถี่ (Frequency Spectrum) ของสัญญาณขาออก

กระบวนการ Demodulation – กระบวนการแยกสัญญาณจากหัววัด (transducer signal) ออกจากสัญญาณพาหะ (carrier signal) โดยอาศัย Rectifier และ Filter

Page 2: Chapter 09

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 201

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

บทที่ 9เกจวัดความเครียดแบบความตานทาน

ลักษณะของเกจวัดความเครียดที่ตองพิจารณามีดังนี้9.1 บทนํา

- คาความไวสําหรับเกจตองมีเสถียรภาพ ตองไมเปล่ียนตามเวลา หรือ อุณหภูมิ- ความแมนยํา +/- 1 µin./in. (µm/m)- เกจควรมีขนาดเล็ก และงายในการติดตั้งและใชงาน- ไมควรขึ้นกับอุณหภูมิและส่ิงแวดลอมตางๆ- มีการตอบสนองตอความเครียดแบบเชิงเสนในชวงกวาง- สามารถใชงานรวมกับหัววัดแบบอื่นๆ ได เชน หัววัดแรง

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 202

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

9.2 การติดตั้งเกจวัดความเครียด- ทําความสะอาดพื้นผิวที่จะติดตั้งเกจความเครียด เพื่อทําการติดตั้งตามขั้นตอนดังรูป

(a) เลือกตําแหนงติดตั้งเกจ(b) ดึงเกจยอนกลับไปอีกดาน(c) ทากาวลงตรงบริเวณที่จะติด

เกจความเครียด(d) ติดเกจลงไป แลวใชนิ้วกดไล

กาวสวนเกินใหออกไป

Page 3: Chapter 09

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 203

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

Three lead wires – ติดตั้งดังรูป เพื่อชดเชยความผิดพลาดของเกจความเครียดเนื่องจากอุณหภูมิ

9.3 วีทสโตนบริดจสําหรับแปลงสัญญาณ

วีทสโตนบริดจใชในการแปลงการเปลี่ยนแปลงความตานทาน ∆R/R จากเกจความเครียดไปเปนแรงดันไฟฟาออก vo โดยสามารถติดเกจที่ตําแหนงตางๆ ของวีทสโตนบริดจ โดยแบงออกเปน 4 กรณี ดังนี้

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 204

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

การวางตําแหนงของเกจความเครียด 4 แบบในวีทสโตนบริดจ

Page 4: Chapter 09

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 205

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

กรณีที่ 1เกจความเครียดถูกติดตั้งที่ตําแหนง R1 โดยปราศจากการชดเชยความผิดพลาดจากอุณหภูมิ

⇒ R1 = Rg⇒ บริดจสมดุล เมื่อ R1R3 = R2R4

∈∆

=⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

∆∆

∆== o

gg

oggcgs

vRR

vRRSSS

//

⇒ ความไวของระบบเกจความเครียดและวีทสโตนบริดจ คือ

หรือ gggs RpSr

rS+

=1

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 206

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

กรณีที่ 2เกจความเครียดถูกติดตั้งที่ตําแหนง R1 และติดดัมม่ีเกจ (เกจหลอก) ที่ตําแหนง R2 เพื่อชดเชยความผิดพลาดจากอุณหภูมิ

⇒ เกจวัดและดัมม่ีเกจ จะตองเปนเกจที่เหมือนกัน⇒ ดัมม่ีเกจ จะถูกติดตั้งที่บริเวณที่ไมมีความเคน สําหรับชดเชยความผิดพลาดจากอุณหภูมิ⇒ การเปลี่ยนแปลงความตานทานของเกจวัดและดัมมีเกจ ไดดังนี้

Tg

g

g

g

ag

g

RR

RR

RR

∆∈⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛ ∆+⎟

⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛ ∆=⎟

⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛ ∆

Tg

g

dg

g

RR

RR

∆⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛ ∆=⎟

⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛ ∆และ

Page 5: Chapter 09

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 207

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ถา ∆R3 = ∆R4 = 0 จะไดการเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟาออก ∆vo ดังสมการ

( ) ⎥⎥⎦

⎢⎢⎣

⎡⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛ ∆−⎟

⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛ ∆+⎟

⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛ ∆

+=∆

∆∆∈ Tg

g

Tg

g

g

gso R

RRR

RR

rrvv 21

gggs RpSS21

=

• ความไวของระบบเมื่อติดดัมม่ีเกจที่ตําแหนง R2 จะลดประสิทธิภาพของวงจรลง ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงไดโดยการจัดวางตําแหนงของเกจความเครียดตามกรณีที่ 3

⇒ r = 1 เนื่องจาก R1 = R2 ⇒ บริดจสมดุล และไดความไวของระบบดังนี้

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 208

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

กรณีที่ 3เกจความเครียดถูกติดตั้งที่ตําแหนง R1 และติดดัมม่ีเกจ (เกจหลอก) ที่ตําแหนง R4 เพื่อชดเชยความผิดพลาดจากอุณหภูมิ

⇒ r จะไมถูกจํากัดดวยเงื่อนไขสมดุลของบริดจ⇒ ความไวของระบบจะเหมือนกับในกรณีที่ 1 คือ

gggs RpSr

rS+

=1

⇒ สามารถชดเชยความผิดพลาดจากอุณหภูมิไดเหมือนกับในกรณีที่ 2 โดยไมสูญเสียประสิทธิภาพของวงจร

Page 6: Chapter 09

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 209

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

กรณีที่ 4เกจความเครียดถูกติดตั้งที่ทุกตําแหนง R1 , R2 , R3 และ R4

⇒ ดังนั้นจะได r = 1⇒ เกจ 1 และ 3 ถูกติดบนพื้นผิวที่รับแรงดึง⇒ เกจ 2 และ 4 ถูกติดบนพื้นผิวที่รับแรงกด

4

4

2

2

3

3

1

1 RR

RR

RR

RR ∆

−=∆

−=∆

=∆

จะไดการเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟาออก ∆vo ดังสมการ

g

gs

g

gso R

Rv

RR

vv∆

=⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛ ∆=∆ 4

41

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 210

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

ดังนั้น ความไวของระบบเกจความเครียดและวีทสโตนบริดจ คือ

( ) ggggggs RpSRpSS 2421

==

- ความไวของระบบจะเปน 2 เทาของกรณีที่ 1 และ 3- ความไวของระบบจะเปน 4 เทาของกรณีที่ 2

• อยางไรก็ตาม ไมแนะนําใหใชเกจความเครียดหลายตัวเพื่อใหไดคาความไวที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากมีคาใชจายที่สูงขึ้นตาม

• ดังนั้นจึงอาจเลือกใชตัวขยายสัญญาณที่มีราคาไมแพงนัก แตมีคุณภาพสูงและมี gain ที่สูงดวย เพื่อเพิ่มความแรงของสัญญาณขาออก

Page 7: Chapter 09

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 211

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

9.4 ผลกระทบของลวดตัวนํา (Effect of Lead Wires)- เมื่อเกจความเครียดถูกติดตั้งไกลจากวีทสโตนบริดจและเครื่องมือวัดแรงดันไฟฟา จะทําให 1.) สัญญาณที่วัดไดมีคาลดลง (Signal Attenuation) และ 2.) เกิดความผิดพลาดเนื่องจากผลของอุณหภูมิ

9.4.1 ระบบลวดตัวนํา 2 สาย (Two-Lead-Wire System)

จากรูปวงจรจะได

Lg RRR 21 +=

เมื่อ RL คือ ความตานทานของลวดตัวนํา

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 212

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

( )gL

gL

RRRR

L/21

/2+

=

จะไดความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงความตานทานดังนี้

( )LRR

RRR

RR

g

g

Lg

g −∆

=+∆

=∆ 1

21

1

เมื่อ L คือ ปจจัยการสูญเสียสัญญาณ (Signal Loss Factor)

- หลีกเลี่ยงการใชลวดตัวนําที่ยาวมาก เพราะจะทําใหมีปจจัยสูญเสียมากขึ้น- เกิดความผิดพลาดเนื่องจากอุณหภูมิ เพราะลวดตัวนําที่ตําแหนง R1 ยาวมาก ในขณะที่ความยาวของลวดตัวนําที่ตําแหนง R4 ส้ัน

Page 8: Chapter 09

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 213

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

Signal Loss Factor เปนฟงกชั่นของ RL/Rg ถูกแสดงไวดังกราฟ

ตารางแสดงความตานทานและปจจัยสูญเสียสัญญาณของลวดทองแดง

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 214

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

- ถาเกจความเครียดรวมถึงลวดตัวนําทุกเสนไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ∆T จะไดแรงดันไฟฟาดังสมการ

( ) ⎢⎢⎣

⎡⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

+

∆+⎟

⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

+

+=∆

∆∈ TLg

g

Lg

gso RR

RRR

Rr

rvv221 2

⎥⎥⎦

⎤⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛ ∆−⎟

⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

+∆

+∆∆ Tg

g

TLg

L

RR

RRR2

2

- เทอมที่ 1 และ 2 ในวงเล็บคือการเปลี่ยนแปลงความตานทานของเกจที่เปนผลมาจากความเครียดและอุณหภูมิ ตามลําดับ- เทอมที่ 3 และ 4 คือการเปลี่ยนแปลงความตานทานของลวดตัวนํา และดัมม่ีเกจ ที่เปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ตามลําดับ

Page 9: Chapter 09

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 215

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

9.4.2 ระบบลวดตัวนํา 3 สาย (Three-Lead-Wire System)

ผลกระทบจากความยาวของลวดตัวนําสามารถถูกทําใหลดลงไปได ดวยระบบลวด 3 สาย ดังรูป

- เกจวัดและดัมม่ีเกจถูกติดตั้งอยูไกลจากเครื่องมือวัดทั้งคู- ปจจัยสูญเสียสัญญาณคือ ( )gL

gL

RRRR

L/1

/+

=

- ปจจัยสูญเสีย (Loss Factor) จะลดลงประมาณครึ่งหนึ่ง เมื่อใชระบบลวด 3 สาย

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 216

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

- ถาเกจความเครียดรวมถึงลวดตัวนําไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ∆T จะไดแรงดนัไฟฟาดังสมการ

( )TLg

L

TLg

g

Lg

gso RR

RRR

RRR

Rr

rvv∆∆∈⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

+∆

+⎢⎢⎣

⎡⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

+

∆+⎟

⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

+

+=∆ 21

⎥⎥⎦

⎤⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

+∆

−⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

+

∆−

∆∆ TLg

L

TLg

g

RRR

RRR

• ระบบลวด 3 สาย จะสามารถกําจัดความผิดพลาดที่เปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ

• เทอมที่เปนผลจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจะลบลางกันจนหมดสิ้น

Page 10: Chapter 09

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 217

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

9.5 ผลกระทบของสวิทช (Effect of Switches)

- ในกรณีที่จําเปนตองใชเกจหลายๆ ตัวในการวัด ในขณะที่ใชวงจรวีทสโตนบริดจเพียงวงจรเดียว ดังรูป

ขอด ี: คาใชจายต่ํา และเปนที่นิยมใชกันทั่วไป

- สวิทชที่ใชตองมีคุณภาพ และมีความตานทานที่หนาสัมผัสต่ํา

ขอเสีย : หนาสัมผัสของสวิทชสกปรกงาย จึงตองทําความสะอาดบอยๆ

จัดทําโดย อ.ดร. เดช ดํารงศักดิ์ 218

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม เครื่องมือวัด (254372)

- อีกวิธีที่สามารถใชเกจหลายๆ ตัวในการวัด คือใชวงจรวีทสโตนบริดจกับทุกๆ เกจความเครียดที่ใชงาน ดังรูป- จุด C และแหลงจายพลังงานจะถูกตอเขากับสายดินขอดี : สวิทชไมไดถูกติดตั้งในบริดจ ดังนั้นจึงไมตองกังวลเรื่องความตานทานในสวิทชขอเสีย : จะเกิด thermal drift เนื่องจากความรอนจากแหลงจายพลังงานที่ปลอยเขาไปที่บริดจ ซึ่งตองใชเวลานานกวาที่ความรอนจะเขาสูสมดุล