32
ปีท่ 2 ฉบับที่ 15 กรกฎาคม 2554 การท่องเที่ยวสร้างสรรค์ พัฒนาชุมชนให้ยั่งยืน

DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Journal for Sustainable Tourism

Citation preview

Page 1: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

ปีที่ 2 ฉบับที่ 15 กรกฎาคม 2554

การท่องเที่ยวสร้างสรรค์พัฒนาชุมชนให้ยั่งยืน

Page 2: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

2

ในการสร้างจิตส�านึกให้กับคนในชุมชน นักท่องเที่ยว และผู้ประกอบการ ร่วมกันรักษาสมดุลของระบบนิเวศของชุมชน ผ่านการสร้างกระบวนการกลุ่มให้มาร่วมกันคิดร่วมกันท�า ภารกิจการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ของ อพท. ได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว โดยเบื้องต้นเป็นการน�าเสนอ แนวคิดการจัดการท่องเที่ยวสร้างสรรค์แก่ชุมชน เพื่อเป็นต้นแบบของแนวทางการด�าเนินงานด้านการพัฒนาท่องเที่ยว เพื่อหารูปแบบของการจัดการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ และสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ขึ้นในทุกภาคส่วน เชือ่ว่าแหล่งท่องเทีย่วและชมุชนจะเป็นแหล่งเรยีนรูข้องสงัคม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่าย จนกลายเป็นพลังในการสร้างฐานความรู้ส�าหรับการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์และยั่งยืน จนอาจกล่าวได้ว่า “การท่องเทีย่วสร้างสรรค์ มรีากฐานจากชมุชนสร้างสรรค์ และต้องใช้ทนุทางสังคมต่างๆ เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน”

ที่ผ่านมาประเทศไทยให้ความส�าคัญกับการท่องเที่ยวเพียงในแง่เศรษฐกิจเท่านั้น แต่หลายครั้งมีค�าถามเกิดขึ้นว่าชุมชนในแต่ละแหล่งท่องเทีย่วมคีวามพร้อมทีจ่ะเข้าสูก่ระแสการท่องเทีย่วหรอืไม่ ท�าให้ อพท. ได้คิดถึงนโยบายเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาให้ชุมชนนั้นๆ เกิดความยั่งยืน การพัฒนาการท่องเที่ยวสร้างสรรค์คืออะไร อาจจะเป็นค�าถามใหม่ส�าหรับสังคมไทย แต่ถ้าจะให้สรุปง่ายๆ คงต้องอธิบายว่าเป็นการท่องเที่ยวที่มีจุดประสงค์สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาให้ชมุชนนัน้ๆ ให้เกดิความยัง่ยนื โดยมกีารจดักจิกรรมท่องเทีย่วทีส่อดคล้องและสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ตลอดจนวิถีชีวิตในชุมชน ในเชิงการเรียนรู้และการทดลองให้ได้มาซึ่งประสบการณ์ที่เป็นอยู่จริงในชุมชน ประโยชน์ทีช่าวบ้านในแต่ละชมุชนจะได้รบัจากการพฒันาการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ก็คือ จะเกิดการท่องเที่ยวอย่างเหมาะสมในชุมชน เอือ้ประโยชน์ให้เกดิการอนรุกัษ์อย่างชดัเจน และเป็นกระบวนการส�าคญั

ที่ปรึกษาพลเอกสนุทร ข�าคมกลุ ประธานกรรมการบรหิารการพฒันาพืน้ทีพ่เิศษเพือ่การท่องเทีย่วอย่างยัง่ยนื, พนัเอก ดร. นาฬิกอตภิคั แสงสนทิ ผูอ้�านวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน, นายด�ารงค์ แสงกวีเลิศ รองผู้อ�านวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน, นางศิริกุล กสิวิวัฒน์ รองผู ้อ�านวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน,พลตรีหญิงจรัสพิมพ์ ธีรลักษณ์ ผู้จัดการพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยง (สพพ.1), ดร.ศราวุฒิ ศรีศกุน ผู้จัดการพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟาร ี (สพพ.2), นายธนัวา ธรีะวทิยเลศิ ผูอ้�านวยการส�านกัตรวจสอบภายใน อพท., นายทวพีงษ์ วชิยัดษิฐ ผูอ้�านวยการส�านกัท่องเทีย่วโดยชมุชน อพท., นายประเสริฐ กมลวันทนิศา ผู้อ�านวยการส�านักยุทธศาสตร์และแผนพื้นที่พิเศษ, นายนิรันดร์ ทองปาน

คณะผู้จัดท�านางสาวประจิตรา ประชุมแพทย์ บรรณาธิการ, นางสาวแพรวไพลิน ชะอ้อน กราฟฟิกดีไซน์, นายณัฐพงษ์ โปธา, นายธัชชัย วัชรารักษ์, นายสุธารักษ์ สุนทรวิภาต, นายพงศธร สลักเพชร, นายนิเวศน์ วัฒนชัย, นายกิตติศักดิ์ เขียวด�า, นายชาญชัย บุญส่งสมค�า, นางจนิตนา สงิหเทพ, นางชนนี โกคูณ อนันต์, นางสาวกันยกร จันทร์แย้ม, นางสาวเสาวรส ชัชวิล, นางสาวนริศรา โภคสวัสดิ์, นางสาวมัทนา เครือจันทร์, นางสาวเกศกมล กรัญญิรัตน์, นายปัณณวิช สินทรัพย์

• องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) เลขที่ 118/1 อาคารทิปโก้ ชั้น 31 ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศพัท์: 0 2357 3580 โทรสาร: 0 2357 3599 เวบ็ไซต์: www.dasta.or.th• ส�านักงานพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยง (สพพ.1) - ศูนย์ท่าโสม เลขที่ 222 หมู่ 3 ต�าบลท่าโสม อ�าเภอเขาสมิง จังหวัดตราด 23150 โทรศัพท์: 0 3951 6041-4 โทรสาร: 0 3951 6045 - ศูนย์ธารมะยม เลขที่ 14/1 หมู่ 1 ต�าบลเกาะช้าง อ�าเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด 23170 โทรศัพท์: 0 3955 2222 โทรสาร: 0 3955 2200

Page 3: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

3 3กจิกรรมป้ันบอล ปลกูป่า ปล่อยปลา สงิหา พาแม่เทีย่ว ครัง้ที ่2วนัที ่12 สงิหาคม 2554 ณ เกาะช้างบริเวณหมูบ้่านคลองนนทรี หมูบ้่านคลองสน และหมูบ้่านคลองพร้าว กิจกรรมดีๆ ต ่อเนื่องจากปีที่แล ้ว ในช่วงเช้าจะเป็นการปลกูป่า ปล่อยปลา และช่วงบ่ายจะเป็นการป้ันดาสต้าบอล เพือ่บ�าบดัน�า้เสยี ผู ้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่ นายวินัย กาวิชัย รองนายกเทศมนตรีต�าบลเกาะช้าง โทร. 08 8195 9002

ประชมุคณะที่ปรึกษาพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพืน้ทีเ่ชือ่มโยง ครัง้ที ่2/2554 และน�าเสนอกรอบแผนงานการพัฒนาการท่องเที่ยวชมุชนต่อภาคีเครือข่ายระดับอ�าเภอและระดับจังหวัดวันที่ 16 สิงหาคม 2554 ศาลากลางจังหวัดตราด ส�านักงานท่องเที่ยวโดยชุมชน อพท. และสพพ. 1 ร่วมกับชุมชนทั้ง 7 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนต�าบลท่าโสม ชุมชนต�าบลแหลมงอบ ชุมชนต�าบลน�้าเชี่ยว ชุมชนต�าบลห้วงน�้าขาว ชุมชนต�าบลแหลมกลัด ชุมชนต�าบลเกาะช้างใต้ ชุมชนต�าบลเกาะกูด น�าเสนอกรอบแผนงานการพฒันาการท่องเทีย่วชมุชนหมูเ่กาะช้างและพืน้ที่เชื่อมโยงโดยใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมต่อภาคีเครือข่ายระดับอ�าเภอและระดับจังหวัด

เปิดโลกกิจกรรมแสดงผลงานของดีด้านสิ่งแวดล้อมวนัที ่26 สงิหาคม 2554 เวลา 08.00-16.00 น.ณ ห้องประชมุเอราวณั คชารีสอร์ท แอนด์สปา เกาะช้าง อพท. ร่วมกับ ททท. และคชา รีสอร์ทแอนด์สปา เกาะช ้าง จัดกิจกรรมเป ิดโลกกิจกรรม’54 ขอเชิญผู ้ประกอบการ พนักงานโรงแรมและรสีอร์ท ประชาชน นกัเรยีน นกัศกึษาร่วมออกบูธ จัดนิทรรศการ แสดงผลงานของดีด้านสิ่งแวดล้อมโดยพร้อมเพรียงกัน ติดต่อได้ที่ นายนราธิป บูรณจารี โทร. 08 9833 6604

คณะท�างานจัดท�ากรอบแผนงานการพัฒนาการท่องเทีย่วชมุชนศกึษาดงูานวนัที ่2-4 กนัยายน 2554 ณ พืน้ทีพ่เิศจงัหวดัเลย ส�านักงานท่องเที่ยวโดยชุมชน อพท. และสพพ. 1 น�าคณะท�างานจดัท�ากรอบแผนงานการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยงโดยใช้กระบวนการ การมีส่วนร่วมศึกษาดูงานในพื้นที่พิเศษจังหวัดเลย เพื่อการสร ้างภาคี เครือข ่ายและศึกษาเรียนรู ้พื้นที่ท่องเที่ยวอื่น

Page 4: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

44

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่ก�าลังเป็นที่พูดถึงอย่างมากในปัจจุบัน เพราะถูกยกให้เป็นรูปแบบการท่องเทีย่วทีจ่ะน�าไปสูก่ารท่องเทีย่วอย่างยัง่ยนืได้อย่างสมบรูณ์แบบ โครงการท่องเที่ยวเพื่อการฟื้นฟูพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติธรรมชาติ ณ บ้านคลองน้อย จังหวัดสุราษฏร์ธานี เมื่อวันที่ 22 – 24 พฤษภาคม 2554 ที่ผ่านมา เป็นโครงการน�าร่อง โครงการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ ที่อพท.จัดขึ้นและได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี สิ่งที่ทาง อพท.และทีมอาสาสมัครช่างภาพและสื่อมวลชนคาดหวังที่จะเข้าไปช่วยฟื้นฟู ก็คือการบริหารจัดการการท่องเที่ยวของชุมชน เพื่อประเมินความสามารถในการช่วยให้การท่องเที่ยวในชุมชนฟื้นตัวจากผลกระทบดังกล่าวได้มากน้อยเพียงใด คลองน้อยเป็นต�าบลหนึ่งของอ�าเภอเมือง จังหวัดสุราษฏร์ธานี ประกอบไปด้วย 9 หมู่บ้าน ประชากรเกือบ 4,000 คน เป็นชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานท�ามาหากินในละแวกคลองเล็กคลองน้อย ตลอดจนที่ขุดโดยแรงคน ร่วมกันทั้งสิ้นนับร้อยคลองซึ่งได้รับการขนานนามว่า “ชมุชนคลองร้อยสาย” ของแม่น�้าตาปี สายน�า้ต�านานของสรุาษฏร์ธานี โครงการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ครั้งนี้เริ่มต้นอย่างน่าประทับใจตั้งแต่ก้าวแรกที่ทีมอาสาสมัครทั้งหมด 10 คน เดินทางมาถึงบ้านคลองน้อย เพราะชาวบ้านต่างต้อนรบัด้วยสหีน้า ยิม้แย้ม ทกัทายด้วยความเป็นกันเอง ให้ความรู้สึกเหมือนที่นี่เป็นบ้านของอาสาสมัครเอง

ซึ่งทุกคนไปรวมตัวกันที่บ ้านหลังแรกคือบ้านของคุณสมศักดิ์ รองประธานชมรมการท่องเที่ยวชุมชน คุณสมศักดิ์ เล ่ าถึ งเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ของคลองน้อยให้ฟัง เมื่อตอนเกิดน�้าท่วมครั้งใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม ถึง 7 เมษายน 2554 พร้อมกับชี้รอยหมึกบนเสาบ้านต้นหนึ่งให้ดู (เขียนบันทึกรอยน�้ าท ่วมไว ้ ) เพื่ อ เป ็นภาพประกอบการเล่าถึงเหตุการณ์ความทรงจ�าที่เลวร้ายครั้งหนึ่ง ซึ่งทุกคนในหมู่บ้านต่างจดจ�าและยังเศร้าใจกับเหตุการณ์ในครั้งนั้นไม่หาย แต่ต่างยิ้มรับผู้มาเยือนด้วยความเต็มใจ นับเป็นภาพประทับใจที่คงหาไม่ได้จากที่ไหน ประธานชมรมการท่องเที่ยวบ้านคลองน้อย พาพวกเขาออกไปชมวิถีชีวิตของบ้านคลองน้อย เริ่มจากแหล่งเรียนรู้แรกของพวกเราคอื ท�าขนมจาก จากลกูจากสดๆ จากอาสาสมคัรทกุคนกม็าที่ “ชมรมกะลามะพร้าว ครูแดง” ครูหัวใจนักพัฒนาแห่งคลองน้อย ก่อ

Page 5: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

55

ตั้งชมรมกะลามะพร้าวขึ้นเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์กะลามะพร้าวของคลองน้อยเป็นเครือ่งใช้ เครือ่งประดบัทีส่วยงามราคามติรภาพ เพือ่สร้างรายได้ให้กับกลุ่มกะลามะพร้าวได้อย่างสร้างสรรค์ ถือเป็นกิจกรรมที่เหล่าอาสาสมัครถูกใจเป็นพิเศษ ถึงเครื่องมือในการสร้างสรรค์งานได้เสียหายไปส่วนใหญ่ จากผลกระทบของภัยพิบัติธรรมชาติ แต่ครูแดงก็ยังสาธิตการท�าผลิตภัณฑ์ขั้นตอนเบื้องต้นง่ายๆ ให้ทุกคนได้ดูด้วยความตั้งใจ เพื่อให้ผู้มาเยือนได้เรียนรู้วิถีชาวบ้านกลับไปไม่มากก็น้อย ในช่วงค�่าอาสาสมคัรทกุคนยงัได้ไปเดนิตลาดปลาโลมา รมิแม่น�้าตาปี ทีต่ัง้อยู ่ณ สวนเฉลมิพระเกยีรตพิระบาทสมเดจ็พระเจ้าอยูห่วั ร้านค้าขายของกนิต่างๆ พร้อมเป็นสถานที่ที่ชาวบ้านมาออกก�าลังกายรับลมริมน�้าเพื่อสุขภาพ ก่อนจะเข้านอนเป็นอันสิ้นสุดกิจกรรมในวันแรกทุกคนต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าไม่เคยคิดว่า มาสุราษฏร์ธานีแล้วจะได้พบกับแม่น�้า คลอง หรือการประมงน�้าจืด เพราะถ ้ากล ่าวถึงจังหวัดสุราษฏร์ธานีนั้น คนส่วนใหญ่จะคิดถึงแต่ทะเล หรือเกาะที่มีชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยวมากกว่าจะได้เห็นวิถีชีวิตในอีกด้านหนึ่งของคนที่นี่ ซึง่ทกุคนต่างประทบัใจและรูส้กึอยากจะมาเยอืนบ้านคลองน้อยอกีสกัครัง้ ตลอดระยะเวลา 3 วัน 2 คืนที่เหล่าอาสาสมัครได้เข้ามาใช้ชวีติอยูร่่วมกบัชาวบ้านคลองน้อย ทีจ่งัหวดั สรุาษฏร์ธาน ีทกุคนล้วนได้เรียนรู้วิถีชาวบ้านที่คงไม่เคยได้เห็นบ่อยนักหลายอย่าง ทั้งชมอู่ต่อเรือภูมิปัญญาชาวบ้าน ชมฝึกลิงเพื่อการเกษตร (เก็บมะพร้าว) ที่ได้รับความสนใจจากทัง้นกัท่องเทีย่วชาวไทยและต่างชาต ิคนทีช่อบเรือ่งราวลีล้บักค็งถกูใจกบั ความเชือ่และเรือ่งเล่าทีน่่าสนใจของบ้านคลองน้อยเกี่ยวกับมะพร้าวไม่มีตาหรือมะพร้าวมหาอุตต์ ของพี่รสสุคนธ์เจ้าของหนึ่งเดียวของต้นมะพร้าวมหาอุตต์

อาจเรียกได้ว่าระยะเวลาเพียงเท่านี้คงไม่พอที่จะท่องเที่ยวที่บ้านคลองน้อยอย่างทั่วถึง นักท่องเที่ยวที่คิดจะมาคงต้องวางแผนการเดินทางมาให้ดี เพราะนอกจากกิจกรรมที่กล่าวมาข้างต้นยังมีอีกหลากหลายเรื่องราวดีๆ ที่รอให้ทุกคนเข้ามาสัมผัส เช่น การสอนท�าเบ็ดตกกุ้ง กลุ่มอนุรักษ์ปลาเสือพ่นน�้า ชมแหล่งเรียนรู้ในเรื่องของมะพร้าวได้ดีที่สุดแห่งหนึ่ง ฯลฯ ซึ่งทั้งหมดเป็นวิถีชาวบ้านที่น่าหาโอกาสเข้ามาเรียนรู้ดูสักครั้ง โดยผลจากการศึกษาเรียนรู ้การท่องเที่ยวชุมชนของคลองน้อย อาสาสมัครทุกคนได้ศึกษาวิถีชีวิตชุมชนของคลองน้อยอย่างลกึซึง้ พร้อมทัง้เรยีนรูก้ารใช้ประโยชน์ของระบบนเิวศสิง่แวดล้อมให้คุม้ค่าและคงอนรุกัษ์ธรรมชาตไิว้อย่างยัง่ยนื ได้แนวคดิมมุมองใหม่กับการท่องเที่ยวแบบลงลึกในชุมชน ท�าให้เคารพในการจัดการการท่องเทีย่วของชมุชนมากขึน้ และประเดน็ส�าคญัทกุคนล้วนตระหนกัถึงความรับผิดชอบต่อการท่องเที่ยวในชุมชนเพือ่ร่วมกันบริหารจัดการให้เป็นการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์และยั่งยืนต่อไป ความประทับใจและประสบการณ์ที่ถ่ายทอดสู่อาสาสมัครทกุคนนัน้มาจากชมุชนทีเ่ข้มแขง็ทัง้การท่องเทีย่ว และการช่วยเหลอืกนัของชาวคลองน้อยภายหลังจากการฟื ้นตัวจากภัยพิบัติธรมชาติ นับเป็นการท่องเที่ยวอย่างสร้างสรรค์ ที่อยากให้ทุกคนที่หัวใจจิตอาสาเข้ามาช่วยชาวคลองน้อย หรือชุมชนอื่นฟื้นฟูการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนต่อไป

Page 6: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

66

ดาสต้าบอล นับเป็นทางออกในการบ�าบัดน�้าเสียที่ก�าลังเป็นที่พูดถึงในหลายองค์กร โดยที่ผ ่าน สพพ.1 ได้ท�าการส่งทีมวิทยากรเข้าไปให้ความรู้แก่หลายภาคส่วน เมื่อวันที่ 14-18 กรกฏาคม 2554 สพพ.1 ได้ให้การสนับสนุนการท�า ดาสต้าบอลบ�าบัดน�้าเน่าเสีย ใน “โครงการค่ายผู้น�าเยาวชนจิตอาสา เครือข่าย 9 ราชภัฏพัฒนาสิ่งเเวดล้อม” โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 9 แห่งที่ได้เข้าร่วมโครงการนี้ ได้แก่ ราชภัฏพระนคร ราชภัฏธนบุรี ราชภัฏสวนสนุนัทา ราชภฏัสวนดสุติ ราชภฏัราชนครนิทร์ ราชภฏัวลยัลงกรณ์ ราชภัฏบ้านสมเด็จ ราชภัฏนครปฐม และราชภัฏจันทรเกษม อาจารย์ธิติมา เกตุแก้ว จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ีมหาวทิยาลยัราชภฏัธนบรุ ี เล่าถงึจดุก�าเนดิของโครงการนีว่้า ทัง้ 9 มหาวทิยาลยัได้ลงนามในบนัทกึข้อตกลงร่วมกนั และหนึง่ในโครงการทีท่�าร่วมกนัคอื การออกค่ายผูน้�าเยาวชนจติอาสา พฒันาสิง่แวดล้อม ทีเ่ลอืกเกาะช้างเพราะพืน้ทีเ่กาะมรีะบบนเิวศทีแ่ตกต่างจากพื้นที่ฝั่ง ไม่ว่าจะเป็นป่าชายเลน จุลินทรีย์ และสิ่งมีชีวิตต่างๆ นักศึกษาน่าจะได้ประโยชน์จากการเรียนรู้ระบบนิเวศอย่างเต็มที่

โดยกิจกรรมในวันแรกคือการเรียนรู้การปั้นดาสต้าบอลจ�านวน 5,000 ลูกที่โรงเรียนอนุบาลเกาะช้าง โดยมีน้องๆ จากโรงเรียนวัดคลองสนมาร่วมด้วยประมาณ 15 คน น้องๆ ทุกคนตั้งใจฟังวิทยากร คือพี่พัชรินทร์ ผลกาจและพี่อารีลักษณ์ ทัศมากร จากหมูบ้่านสลกัคอก เกาะช้างทีม่าให้ความรูใ้นครัง้นีเ้ป็นอย่างมาก เพราะทุกคนต่างตื่นเต้นที่จะได้ท�าดาสต้าบอล เพื่อบ�าบัดน�้าเสียด้วยมือตัวเอง อพท. นิวส์ มีโอกาสได้พูดคุยกับน้องๆ ที่มาจากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คือ น้องวัชระ นันตา น้องวาสนา เถรวงษ์แก้ว น้องนัฐชา สุทธิประภา และน้องศุภวิชญ์ พรหมมา ที่เป็นอาสาสมัครเข้ามาร่วมโครงนี้ โดยทั้ง 4 คนพูดเป็นเสยีงเดยีวกนัว่า การเข้าร่วมกจิกรรมในครัง้นีช่้วยเพิม่ความรูท้างด้านวิทยาศาสตร์อย่างมาก ทุกคนเพิ่งเคยได้ยินเรื่องดาสต้าบอลเป็นครัง้แรก และรูส้กึตืน่เต้น เมือ่ได้ทดลองท�า ตอนแรกประหม่าแล้วคดิว่าต้องท�าไมได้แน่นอน แต่พอได้ท�าจริงๆ ท�าให้รู ้ว่าขั้นตอนไม่ยากแถมยังสนุกอีกด้วย คิดว่าอยากน�าไปต่อยอดท�าโครงการกับทางมหาวิทยาลัยฯ เพื่อน�าไปบ�าบัดน�้าในคลองของวัดพระศรีมหาธาตุ บางเขนเพราะเน่าเหม็นมาก วันที่สองในช่วงเช้า น้องๆได้ไปร่วมกันปลูกป่าชายเลนประมาณ 3,000 ต้นบริเวณคลองพร้าว โดยลงเรือคายัก หน้าท่าน�้าคีรีตา ซืึ่งมีชาวกลุ่มคนรักเกาะช้างร่วมปลูกป่าด้วยและมีวิทยากรว่าที่ร้อยตรี จิรานวัฒน์ บุญลาภ จากโรงเรียนวัดคลองสน มาน�า

Page 7: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

77

สนัทนาการหวัใบ้ ท้ายบอด สร้างความสนกุสนานแก่น้องๆ เป็นอย่างมาก จากนั้นในช่วงบ่ายได้แบ่งน้องๆ เป็น 3 ทีมไปโยนดาสต้าบอลในคลองพร้าว คลองมาบค้างคาว และคลองจาก เพื่อช่วยบ�าบัดน�า้เน่าเสยีโดยมปีระธานสภาเทศบาลต�าบลเกาะช้าง วทิยา นพวรรณ สมาชกิสภาเทศบาลต�าบลเกาะช้าง สรุนิทร์ เจตะปิก และสนัต ิปลืม้กมล ผู้ใหญ่ใจดีเป็นผู้พาไปโยนดาสต้าบอล โดยวิทยากรหลัก ในงานนี้คือนางสาวนันทวัน นพเก้า นักวิชาการสุขาภิบาล เทศบาลต�าบลเกาะช้าง ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับพืน้ทีเ่กาะช้างไม่ว่าจะเป็นเรือ่งการจดัการขยะบนเกาะ การบ�าบดัน�า้เสยีให้แก่น้องๆ ซึง่ในวนัสดุท้ายทกุคนได้ร่วมกนัสร้างสนามเดก็เล่นให้กับเด็กๆ โรงเรียนอนุบาลเกาะช้าง ซึ่งโครงการนี้มีผู้เข้าร่วมมากถึง 98 คน แบ่งเป็นนักศึกษา 67 คน รวมทั้งอาจารย์และเจ้าหน้าที่ของมหาวิทยาลัย

สูตรดาสต้าบอลต่อ 1,000 ลูก1. จุลินทรีย์น�้าเค็ม 6 ลิตร2. กากน�้าตาล 0.5 กิโลกรัม3. ปุ๋ยปลา 1 แก้วน�้า4. เพอร์ไลท์ 1 กระสอบ5. ขี้ไก่ 1 กิโลกรัม6. อาหารกุ้ง 1 กิโลกรัม7. ร�าละเอียด 2 กิโลกรัม

วิธีการท�า1. น�าส่วนผสมแห้งคลุกเคล้าให้เข้ากัน2. น�าส่วนผสมที่เป็นน�้าคนให้เข้ากัน 3. ค่อยๆ เติมส่วนผสมที่เป็นน�้าลงในส่วนผสมที่แห้ง4. ใช้มอืผสมให้เป็นเนือ้เดยีวกนั ไม่ให้เปียกหรอืแห้งจนเกนิไป 5. ปั้นเป็นก้อนกลมขนาดลูกปิงปอง วางทิ้งไว้ในที่ร่มและอากาศถ่ายเทเป็นเวลา 20 วันจนเกิดใยขาวๆ รอบๆ ก้อน

***หมายเหตุ ควรสวมถุงมือยางขณะท�าดาสต้าบอลเพื่อป้องกันกลิ่นติดมือ

Page 8: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

8

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจ�าเป็นต้องพัฒนาอย่างถูกวิธีในทุกด้าน โดยต้องมีการส่งเสริม สนับสนุน ประชาชน และ ชุมชน ให้มส่ีวนในการอนรุกัษ์ และพฒันาแหล่งท่องเทีย่วของตนตามอตัลกัษณ์ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น อย่างยั่งยืน ท�าให้ทาง อพท.ได้มอบหมายให้สถาบนั BitS (Thailand) คดิค้นหลักสูตร “การตลาดและการบริการเพื่อการท่องเที่ยวของชุมชนที่ยั่งยืน” ขึ้นเพื่อเป็นการพัฒนาบุคลากรระดับท้องถิ่น ออกแบบให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ของชุมชนในท้องถิ่น สมบูรณ์ในด้านองค์ประกอบทั้ง 4 T คือ ความรูจ้ากการฝึกอบรม (Training) เครือ่งมอื แบบฟอร์ม และตวัอย่างในการน�าไปใช้งาน (Tools) กจิกรรมและการฝึกปฏบิตัใินแต่ละหวัข้อเพือ่ให้เกดิความเข้าใจอย่างถกูต้อง (Technique) รวมทัง้เสรมิสร้างความเชือ่มัน่ในการน�าไปใช้งานจรงิให้เกดิผลอย่างเป็นรปูธรรมจากข้อเสนอแนะต่างๆ ระหว่างวิทยากรและผู้เข้าอบรม (Tips) โดยจัดการอบรมหลักสูตรนี้ไปเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2554 ที่ผ่านมา มีผู้เข้าอบรมจ�านวน 55 คน ประกอบด้วยผูน้�าชมุชน ผูน้�ากลุม่ ชาวบ้าน ผูบ้รหิารและเจ้าหน้าทีอ่งค์การปกครองส่วนท้องถิน่ ทีต้่องบรหิารงานการจดักจิกรรมท่องเทีย่วและสนิค้าเพือ่การท่องเทีย่วในท้องถิน่ และเจ้าหน้าที ่อพท. ทีต้่องประสานงานกบัชมุชน และได้รับเกียรติจาก อาจารย์ชลธร บุญศรี วิทยากรและที่ปรึกษาสถาบันฝึกอบรมพัฒนาบุคลากร BitS (Thailand) เป็นผู้คอยให้ความรู้ตลอดหลักสูตรการอบรม การอบรมตามหลักสูตรในครั้งนี้ชาวบ้านสามารถเรียนรู ้หลักสูตรและร่วมกันคิดแผนยุทธศาสตร์ได้ โดยสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในการจดัท�าแผนยทุธศาสตร์ท่องเทีย่วชมุชนทีจ่ะน�าเสนอต่อ อพท. ในการที่จะจัดท�าโครงการร่วมกันระหว่างชุมชนทั้ง 7 ชุมชน และ อพท. ซึ่งความรูท้ีไ่ด้จากการอบรมเป็นเหมอืนการต่อยอดความคดิ และเสรมิสร้างไอเดียในการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ให้กับชาวบ้านทุกคนได้มากขึ้น

“การตลาดและการบริการเพื่อการท่องเที่ยวของชุมชนที่ยั่งยืน”โครงการอบรม การพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

หัวข้อในการอบรมทั้งหมดเป็นความรู้ที่ชาวบ้านสามารถน�ามาใช้ในการจัดท�าแผนยุทธศาสตร์ท่องเที่ยวชุมชนได้เป็นอย่างดี เริ่มตั้งแต่หัวข้อ พลังความคิดเพื่อความส�าเร็จอย่างสร้างสรรค์ ที่ช่วยสอนเรื่องการท�างานร่วมกันเป็นทีมอย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาทีมงานเพื่อส่งเสรมิการท่องเทีย่วชมุชน เรยีนรูก้ระบวนการท�างานทีม่ปีระสทิธภิาพ และการเสริมสร้างศักยภาพของสมาชิกในทีม นอกจากนั้นยังมีการอบรมแนวคิดทางด้านการตลาดอย่างหวัข้อ จิตส�านึกและแนวคิดด้านการตลาด กิจกรรมการเรียนรู ้เพื่อน�าเข้าสู่แนวคิดการตลาดในชีวิตประจ�าวัน เพื่อน�าไปเป็นแนวคิดในการส่งเสรมิการท่องเทีย่วในชมุชนของเรา กระบวนการ การตลาดเชงิกลยทุธ์ การฝึกอบรม เพื่อเรียนรู้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์สถานการณ์ ศึกษาการพัฒนากลยุทธ์จากจุดแข็งและโอกาส และ แนวทางการแก้ไขและป้องกันจากจุดอ่อนและอุปสรรคในการจัดกิจกรรม รวมถึงยังมีการอบรมในหัวข้อ การตลาดตามเป้าหมาย ฝึกอบรมและแบบฟอร์ม การจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวให้ตรงตามเป้าหมาย พฤตกิรรมและความต้องการของกลุม่เป้าหมาย เป็นการฝึกอบรมและท�าแบบฟอร์ม การวิเคราะห์และเก็บข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะมาท่องเที่ยวในชุมชน

8

Page 9: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

9

การวางกลยทุธ์ส่วนผสมการตลาด ฝึกอบรมออกแบบส่วนผสมทางการตลาดในภาพรวมของกจิกรรมการท่องเทีย่วชมุชนทีจ่ะจดัขึน้ โดยให้ตอบสนองต่อ ความต้องการ ก�าลังซื้อ การรับรู้ และการอ�านวยความสะดวกกลุ่มเป้าหมาย ออกมาในรูปแบบกลยุทธ์ 7P ฯลฯ หลงัจากจบหลกัสตูร อาจารย์ชลธร บญุศร ีกล่าวถงึความรูส้กึทีไ่ด้มาเป็นวทิยากรให้กบัการอบบรมในโครงการนีว่้า รูส้กึทึง่มากในความตัง้ใจของชาวบ้าน ทีส่ามารถเรยีนรูห้ลกัสตูรการตลาดทีใ่ช้สอนกนัเป็นเทอมในหลกัสตูรเอม็บเีอได้เข้าใจภายในระยะเวลาเพยีง 4 วนั ตนรูส้กึดใีจทีก่ารลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล จัดท�าเอกสารและปรับหลักสูตรเพื่อให้เข้าใจง่าย

ตรงกบัความเป็นจรงิในพืน้ที ่ประกอบกบัผูเ้ข้าอบรมทกุท่านให้ความสนใจ ท�าให้หลกัสตูรการอบรมครัง้นีป้ระสบความส�าเรจ็ด้วยดี “ผมคดิว่าแต่ละชมุชนมขีองดขีองตนอยูแ่ล้ว แต่ขาดเครือ่งมอืทีค่รบครนั หรอืยงัไม่ทราบถงึหลกัการในการท�างานด้านต่างๆอย่างถกูวธิี แต่หลังจากการอบรม ฝึกวิเคราะห์ หากลยุทธ์ร่วมกันแล้ว เขาจะรู้แล้วว่าจะเลือกวิธีไหนไปใช้กับของดีที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นปูนิ่ม น�้าพริก โฮมสเตย์ กะปิ หอยขาว จากการประเมินของผม ผมว่าทุกท่านที่จบไปมีความรู้ ความสารถในการคิดวิเคราะห์ วางแผนเกิน 100%” อาจารย์ชลธร กล่าวด้วยสีหน้ายิ้มแย้ม ถามถงึความประทบัใจทีม่ต่ีอชาวบ้านทีเ่ข้าร่วมอบรม วทิยากรคนเก่ง บอกว่า ยอมรับว่าไม่เคยคาดคิดมาก่อนว่าชาวบ้านจะสามารถมาถึงแผนที่กลยุทธ์ได้ ทุกคนเก่งมาก ทั้งยังมีการปรับพฤติกรรมในการขาย และมีบุคลิกภาพที่ดีขึ้น เหมาะกับการเป็นผู้ท�าการตลาดได้ ไม่ใช่เป็นเพียงผู้ขาย ที่ทึ่งที่สุดคงต้องยกให้กับเรื่องกะปิดอทคอม ที่คิดว่าจะขายผ่านทางอนิเตอร์เนต็ โดยมหีน้าร้านด้วย และหน้าร้านจะมเีชฟมอืทองมาลองท�าให้ชมิและโฆษณาว่ากะปิ 1 กระปกุสามารถประกอบอาหารได้กี่อย่าง ซึ่งนับว่าเป็นไอเดียสร้างสรรค์ที่สามารถท�าได้จริง “การสอนในครั้งนี้ประทับใจมาก ผมไม่เคยจัดหลักสูตรแบบนี้มาก่อน จากชาวบ้านที่ไม่เคยยอมจับไมโครโฟนก็สามารถจับไมโครโฟนได้อย่างทกุต้อง และพดูได้โดยไม่เคอะเขนิอกีต่อไป เป็นการเปลีย่นแปลงพฤติกรรมให้กล้าแสดงออกมากขึ้น อีกทั้งการที่คนระดับผู้น�ามารวมกันในครั้งนี้ยังเป็นการแบ่งปันประสบการณ์ระหว่างกัน ซึ่งเป็นหนึ่งในการสื่อสารกันในองค์กรด้วย เช่น พี่พัชรินทร์ จากสลักคอกที่ให้ความรู้เรื่อง

9

ระบบนิเวศป่าชายเลน นายกและรองนายก อบต. แหลมกลัดที่มีความตั้งใจและมุ่งมั่น พี่ชาลีและพี่รุ่งนภาจากเกาะกูด ที่ร่วมกันคิด วิเคราะห์ คุณกิตติศักดิ์ เจ้าหน้าที่ สพพ. 1 ที่ให้ความสนุกสนาน และรู ้สึกดีใจทีผ่มเองได้เข้ามามส่ีวนช่วยเหลอืด้านองค์ความรูใ้นครัง้นี ้” อาจารย์ชลธร กล่าวทิ้งท้ายถึงความภูมิใจที่ได้มาเป็นส่วนหนึ่งในการอบรมครั้งนี้ โครงการอบรมหลักสูตร “การตลาดและการบริการเพื่อการท่องเที่ยวของชุมชนที่ยั่งยืน”ครั้งนี้ เป็นแสดงถึงวิสัยทัศน์ของ อพท.ที่เคยให้ไว้ว่า จะสนับสนุนชุมชนให้ก้าวสู่ความเป็นสากลเพื่อที่จะเป็นชมุชนเข้มแขง็มทีัง้สามมติ ิคอื ชมุชน เศรษฐกจิ และสิง่แวดล้อม ตลอดไป

Page 10: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

10

ปูนิ่มผัดพริกไทยด�ำปูนิ่มเป็นที่นิยม เพราะรับประทานง่ายและรับประทานได้ทั้งตัว วันนี้เราขอแนะน�าสูตรการท�าปูนิ่มผัดพริกไทยด�าแบบง่ายๆ ที่ชาวบ้าน

บ้านคันนา ต�าบลห้วงน�้าขาว น�าปูนิ่มสดๆ จากในบ่อเลี้ยงมาประกอบอาหารรับแขกที่มาศึกษาดูงานและพักที่โฮมสเตย์

ส่วนผสมปูนิ่ม 1 ตัว แบ่ง 4 ส่วน 2 ตัวน�้ามันพืช 2 ช้อนโต๊ะกระเทียม 5 กลีบใหญ่ต้นหอมหั่นหยาบ 3 ต้นคึ่นฉ่าย 3 ต้นพริกชี้ฟ้าแดง และ พริกเหลืองสับละเอียด 5 เม็ดพริกไทยด�า 15 เม็ดหอมใหญ่หั่นหยาบ ครึ่งหัว ซอสหอยนางรม 3 ช้อนโต๊ะซีอิ๊วขาว 2 ช้อนชา

วิธีท�ำ- โขลกกระเทียมและบุบพริกไทยด�าพอแตก- ตั้งกะทะ ใส่น�้ามันพืช ใส่กระเทียม พริกไทยด�า พริกเหลือง ผัดให้เข้ากัน พอมีกลิ่นหอม - น�าปูนิ่มลงไปผัด เมื่อเริ่มเปลี่ยนเป็นสีชมพู ใส่หอมใหญ่ลงผัด - ปรุงรสด้วยซอสหอยนางรมและซีอิ๊วขาว ชิมให้ได้รสชาติ ที่ต้องการตามด้วยต้นหอมและคึ่นฉ่ายคลุกเคล้าพอเข้ากัน ตักใส่จาน

Page 11: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

11

การส่งเสรมิและอนรุกัษ์การท่องเทีย่วอย่างยั่งยืน เป็นสิ่งที่ไม่สามารถท�าคนเดียวให้ประสบความส�าเร็จได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากคนในพื้นที่นั้นๆ ทุกคน เพราะไม่ว่าจะมีคนเก่งแค่ไหนเข้ามาเป็นผู้น�า แต่ถ้าไร้ซึ่งความร่วมมือจากคนในชุมชนความส�าเร็จก็คงไม่เกิด นายอดิศร จันทะวัน เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว ต�าบลแหลมกลัด หนึ่งในบุคคลที่มีความสามารถและอยากเห็นความร่วมมือร่วมใจเกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง นายอดิศร จันทะวัน นับเป็นบุคคลตวัอย่างทีม่คีวามสามารถหลากหลายด้าน และมีความคิดที่จะน�าความสามารถที่ตัวเองมีอยู่มาพัฒนาชุมชนท้องถิ่น โดยเฉพาะเรื่องการท่องเที่ยวภายในชุมชนแหลมกลัด ที่เขาสนใจเป็นพเิศษและเริม่ท�างานจนเป็นรปูเป็นร่างขึน้มาพอสมควร ด้วยต�าแหน่งหน้าทีร่บัผดิชอบ รวมถงึใจที่รักจะท�าให้ชุมชนแหลมกลัดเป็นที่รู ้จักมากขึ้น ท�าให้ทุกวันนี้เริ่มมีนักท่องเที่ยวมากหน้าหลายตาแวะเวียนเข้ามาพักผ่อนที่แหลมกลัดมากขึ้น “ต�าบลแหลมกลดัมศีกัยภาพด้านการท่องเทีย่วไม่แพ้ทีอ่ืน่ เพราะมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์หลากหลาย ทั้งป่าชายเลน น�้าตก ภูเขา ทะเลและชายหาดทีย่าวกว่า 22 กโิลเมตร ท�าให้สามารถเกดิกจิกรรมท่องเทีย่วในพื้นที่ได้มากมาย เช่น การนั่งเรือชมหิ่งห้อยคลองประทุน การนั่งเรือชมโลมาบริเวณอ่าวแหลมกลัด เส้นทางเดินป่าน�้าตกท่าเส้น น�้าตกสะพานหิน สัมผัสชีวิตชาวประมงปากคลองอ่าวระ ที่นักท่องเที่ยวจะได้ตื่นตาตื่นใจกับการสัมผัส และเรียนรู้วิธีหาหอยขาว แหล่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย” นายอดิศร พูดถึงศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของต�าบลแหลมกลัด

อดิศร จันทะวัน เสริมสร้างความร่วมมือ ร่วมใจ กุญแจส�าคัญการพัฒนาการท่องเที่ยวชมุชน

เสียงจากชุมชน

อกีหนึง่จดุเด่นทีน่กัท่องเทีย่วจะสามารถสัมผัสได้เมื่อมาเยือนแหลมกลัดคือความมนี�า้ใจ และอธัยาศยัทีด่จีากคนในชมุชน ทีพ่ร้อมจะสร้างความประทับใจให้กับผู้มาเยือนทุกคน ท�าให้แหลมกลดัน่าจะกลายเป็นแหล่งท่องเทีย่ววิถีชุมชนยอดนิยมในไม่ช้า ในเรื่องนี้ นายอดิศร กล่าวต่ออีกว่า ตนอยากเห็นชุมชนเข ้มแข็งในการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมชนน�าทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ซึ่งการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่จะต้องค่อยเป็นค่อยไป คนในชุมชนทุกคนต้องเข้าใจถึงความส�าคญัของการมส่ีวนร่วมด้านการท่องเทีย่ว ที่ส�าคัญจะต้องรักษาเอกลักษณ์ของชุมชนเอาไว้ และอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีให้คงอยู ่อย่างยั่งยืน “ถือว่าโชคดีที่แกนน�าในพื้นที่ต�าบลแหลมกลัด มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลของชมุชน และองค์ความรูด้้านต่างๆ อยูต่ลอดเวลา

โดยเฉพาะผู้บริหารขององค์การบริหารส่วนต�าบลแหลมกลัด ที่เห็นความส�าคัญด้านการท่องเที่ยวและพร้อมที่จะผลักดันอยู่เสมอ เพราะหากการท่องเที่ยวเกิดขึ้นในพื้นที่ รายได้ก็สามารถกระจายลงสู่ชุมชน อีกทั้งกลุ่มอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กลุ่มองค์กรสาธารณประโยชน์ ก็มีส่วนส�าคัญในการช่วยขับเคลื่อนเรื่องนี้ ท�าให้แหลมกลัดยังคงรักษาเอกลักษณ์ และคงความเป ็นธรรมชาติไว ้อย ่างไม ่ เปลี่ยนแปลง” เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว ต�าบลแหลมกลัด กล่าวถึงความร่วมใจของผู้น�าในพื้นที่แหลมกลัดที่เห็นถึงความส�าคัญของการท่องเที่ยว

“ทุกข์เพราะเกิดดับ มันมีอยู่แล้วเอาราคะ โลภะ โทสะ โมหะ มาเพิ่ม

. . . . ยิ่งทุกข์ใหญ่”

หลวงปู่บุดดา ถาวโร

Page 12: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

12

ขอแนะน�ำ แหล่งท่องเที่ยว ของชุมชน ที่ผู้คน พร้อมต้อนรับ และขับสู้

น�้ำตกใหญ่ สะพำนหิน ถิ่นน่ำดู น�้ำตกคู่ ท่ำเส้น เห็นแต่ไกล

ลำนหอยขำว หำดลำนทรำย พรำยเสน่ห์ มองดูเก๋ นกนำงแอ่น บินพลิ้วไหว

มองพื้นน�้ำ ทะเลสวย ทิวทัศน์ไกล โลมำว่ำย หยอกล้อ ก็เพลินดี

คลองประทุน ดูหิ่งห้อย ยำมพลบค�่ำ ชวนดื่มด�่ำ ธรรมชำติ พำสุขขี

ประวัติศำสตร์สมัยเก่ำ แหลมกลัดมี ขอชวนพี่ น้องเพื่อน เยือนถิ่นเรำ

คนแหลมกลัด ใช้ประโยชน์ จำกเขื่อนใหญ่ เป็นทิวไทย บรรทัด รัฐสรรหำ

หลวงพ่อแดง ไว้กรำบไหว้ และบูชำ ทั้งศำลำ รำชกำรุณย์ ศูนย์รวมใจ

สำมัคคี ในชุมชน คนแหลมกลัด กำรท่องเที่ยว อนุรักษ์อยู่ คู่สมัย

หำกเดินทำง มำเที่ยว สมดั่งใจ เชิญแวะได้ แหลมกลัดนี้ ดีจริงเอย

ประพันธ์โดย นายอดิศร จันทะวันเจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว อบต. แหลมกลัด

1212

Page 13: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

13

เมื่อวันเสาร์ที่ 25 มิถุนายน 2554 ส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ สทอภ. (GISTDA) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ท�าพิธีเปิดอุทยานภูมิสารสนเทศชุมชน (Geo-informatics Community Park: GCP) ณ แพลนเนท พาร์ค (Planet Park) อ. บางคล้า จ. ฉะเชิงเทรา น�าร่องแห่งแรกของประเทศไทย เพือ่ส่งเสรมิ พฒันา และสร้างความตระหนกัให้ชมุชน เหน็ถงึความส�าคญัของข้อมูลภูมิสารสนเทศบนฐานข้อมูลดาวเทียม พื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพเหมาะสมที่จะเป็นพื้นที่ต้นแบบในการศึกษาเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม เนื่องจากเคยเป็นพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติ อุดมสมบูรณ์ ต่อมาแปรสภาพเป็นพื้นที่เพาะเลีย้งกุง้ จนท�าให้ทรพัยากรธรรมชาตถิกูท�าลายกลายสภาพเป็นพืน้ที่เสื่อมโทรมไม่สามารถท�าการเกษตรได้ ปัจจุบันจึงมีการฟื้นฟู พัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนรูปแบบใหม่ที่มีสิ่งอ�านวยความสะดวกครบครัน เหมาะสมที่จะจัดตั้งเป็นศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศระดับชุมชน มุ่งหวังให้ประชาชนและชุมชนได้รู ้ เข้าใจ ใช้ประโยชน์ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม อย่างคุ้มค่าและยั่งยืน โดยมี นายนิคม ไวยรัชพานิช รองประธานวุฒิสภา คนที่หนึ่ง เป็นประธานในพธิ ีร่วมด้วย รศ.ดร.สมเจตน์ ทณิพงษ์ ประธานกรรมการบรหิารสทอภ. ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา รักษาการผู้อ�านวยการ สทอภ.

ผู้บริหารส่วนท้องถิ่น รวมถึงนายด�ารงค์ แสงกวีเลิศ นางศิริกุล กสิวิวัฒน์ รอง ผอ. อพท. และพลตรีหญิงจรัสพิมพ์ ธีรลักษณ์ ผู้จัดการพื้นที่พิเศษหมูเ่กาะช้างและพืน้ทีเ่ชื่อมโยง พร้อมเจ้าหน้าทีข่อง อพท. เข้ารว่มออกบูธจดัแสดงในนทิรรศการผลงานและกจิกรรมด้านต่างๆ ของอพท. ครัง้นีด้้วย

บธูการจดัแสดงให้ความรูข้อง อพท. ได้รบัความสนใจเป็นอย่างมากจากทั้งสื่อมวลชน และตัวแทนจากทุกภาคส่วนที่เข้าร่วมชมนิทรรศการ ทุกคนต่างให้ความสนใจกับประสิทธิภาพของดาสต้าบอล ที่ทางอพท. ได้จัดน�ามาแสดงให้ชมพร้อมมีวิทยากรคอยให้ความรู้เรื่อง บอลจุลินทรีย์บ�าบัดน�้าเสีย “ดาสต้าบอล” แก่ผู้ร่วมงาน

ท�าให้มีคนแวะเวียนมาสอบถามและขอเอกสารข้อมูลเพื่อไปศึกษาอยู่ตลอดเวลา ซึ่งในการนี้พลตรีหญิงจรัสพิมพ์ ธีรลักษณ์ ได้มอบดาสต้าบอลจ�านวน 1 ตะกร้าเป็นของที่ระลึกแก่ นายนิคม ไวยรัชพานิช รองประธานวุฒิสภา คนที่หนึ่ง เพื่อน�าไปทดลองประสิทธิภาพการก�าจัดน�้าเสียอีกด้วย

อพท. ร่วมจัดนทิรรศการในพิธีเปิดงานอุทยานภูมิสารสนเทศชมุชน จ.ฉะเชิงเทราเพื่อกระจายความรู้ สู่การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Page 14: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

14

ภาษาตราด ภาษาถิ่นเป็นเรื่องที่ควรรักษา เป็นเสน่ห์ของคนพูด แสดงให้เห็นถึงความจริงใจ และเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นนั้นๆ ด้วย ช่วยกันรักษาไว้เพื่อลูกหลาน เพื่อแสดงถึงเผ่าพันธุ์ของเรากันนะคะ

วิธีท�าความสะอาดคราบสกปรกที่ติดกระเบื้องปูห้องน�้า คือ ราดน�้าให้ทั่วแล้วเอาเกลือแกง โรยลงบนแปรงขัดทั้งห้องน�้าหรืออาจจะโรยเกลือบนผ้าที่เปียกน�้า แล้วขัดพื้นให้ทั่ว เพียงเท่านี้กระเบื้องในห้องน�้าจะสะอาด เป็นเงางามเลยทีเดียว

การท�าความสะอาดตู ้ปลาหรืออ่างปลา ให้ใช้ฟองน�้าชุบเกลือป่นเช็ดถูให้ทั่ว เพราะเกลือจะช่วยฆ่าเชื้อโรคที่ติดอยู่ในตู้หรืออ่างปลา และท�าให้ตู ้ปลาสะอาดหมดจดอีกด้วย

วิธีง่ายๆ ในการท�าความสะอาดรอยเปื้อนบนโทรศัพท์ที่มีสีขาว คือ ใช้ผ้าชุบน�้ายาล้างเล็บเช็ดถู ให้ทั่วคราบฝุ่นและรอยเปื้อนต่างๆ ก็จะหายไป

แลไม่เห็น หมายถึง มองไม่เห็น เช่น “อ้าว ชั้นแลไม่เห็นเลย นั่งอยู่ตรงไหน” หรือ “พูชายคนนั้นยืนบัง

แลไม่เห็นเวทีเลย” (ผู้ชายคนนั้นยืนบัง มองไม่เห็นเวทีเลย)

แลไม่ได้ หมายถึง ไม่อยากมองด้วยความไม่ชอบใจ เช่น “ท�าเป็นเดินนวยนาด แลซะไม่ได้”

เรือบรื๋อ หมายถึง เรือที่ติดเครื่องยนต์ ในสมัยก่อนไม่ค่อยมีเรือที่ใช้เครื่องยนต์มากนัก

ดังนั้นเรือที่ติดเครื่องยนต์จะมีเสียงดังและวิ่งเร็ว คาดว่า บรื๋อคือ เสียงของเครื่องเรือขณะวิ่ง

สบ หมายถึง ถูกใจ หรือชอบพอ หรือ ชอบ เช่น “ สองคนนั้น เขาไม่ค่อยสบกัน” หรือ “กางเกงตัวนี้ใส่แล้วสบมั้ย ”

ถั่วตังฮุ้น หมายถึง วุ้นเส้น เช่น “ซื้อถั่วตังฮุ้นมาห่อนึงด้วยนะ” หรือ “เอาย�าถั่วตังฮุ้นมาจานนึง”

พบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ

คราวนีเ้คล็ดลับมีวิธีท�าความสะอาดบ้านแบบง่ายๆ ไม่ยุ่งยากมาฝากกันเช่นเคย

การก�าจดัขนสนุขัออกจากพรม มวีธิีท�าง่ายๆ คือ ใช้ฟองน�้า ชุบน�้าบิดพอหมาดๆ มาซับ จะสามารถซับขนสุนัขออกได้โดยง่าย

ที่มา: http://www.thaihomemaster.com

Page 15: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

15

ดวงตา นับเป็นอวัยวะอีกหนึ่งอย่างที่ส�าคัญเป็นอย่างมากของร ่างกายมนุษย์ เพราะในชวีติคนเราปกตแิล้วต้องใช้ดวงตาทกุวนั ทุกเวลา ไม่มีวันหยุด ยกเว้นแค่ตอนนอนหลับเท่านั้น ท�าให้ดวงตาของทุกคนต้องท�างานหนักอยู่ตลอดเวลา และพร้อมที่จะเกิดโรคได้ตลอดถ้าขาดการดูแลเอาใจใส่ เมื่อดวงตาเป็นอวัยวะที่มีบทบาทส�าคญัถงึเพยีงนี ้หากใช้แล้วไม่รูจ้กัพกั ดแูลไม่ดี ‘ การแพทย ์น ่ า รู ้ ’ ต ้ อ งขอ เตื อนให ้ ระวั ง ‘โรคกระจกตาเสื่อม’ ที่เกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศ ทกุวยั โดยเฉพาะผูท้ีต้่องท�างานอยูก่บัฝุน่ละออง และเศษผงต่างๆที่สามารถเข้าไปสะสมอยู่ในดวงตาได้ตลอดเวลา ผูท้ีใ่ช้คอนแทคเลนส์ไม่ถกูวธิ ีรวมถงึผูท้ีเ่ป็นโรคตาแห้ง และมโีรคประจ�าตวัที่ท�าให้ต่อมน�้าตาแห้ง อาการเตือนของโรคกระจกตาเสื่อม ก็จะมีตั้งแต่แสบตา คันตา รู้สึกเจ็บตา เป็นตาแดงบ่อยๆ เห็นรอยเส้นเลือดฝอยสีแดงขึ้นในตาขาว ตาพร่ามัว เหล่านี้เป็นอาการของปัญหาตาแห้ง ส่วนผูท้ีใ่ช้คอนแทคเลนส์อย่างไม่ถกูต้อง

ถึงอาจฟังดูเป็นโรคที่รุนแรงแต่ก็มีวิธีรกัษาและสามารถป้องกนัได้อยูค่อื จะต้องไม่ขาดวติามนิเอ ทีม่มีากในผกัและผลไม้สเีขยีว เพราะวติามนิเอมส่ีวนในการช่วยบ�ารงุสายตา ผูท้ีท่�างานหน้าจอคอมพวิเตอร์เป็นเวลานาน หรอืท�างานในที่มแีสงสว่างน้อย ต้องหมัน่พกัสายตาทกุๆ 1 ชัว่โมง และถ้าเกดิมอีาการตาแห้งบ่อยๆ แนะน�าว่าควรรบีปรกึษาจกัษแุพทย์ทนัท ีเพราะหากมอีาการของโรคกระจกตาเสือ่มจะได้รกัษาได้ทนัเวลา

ดวงตำต้องท�ำงำนหนัก

อยู่ตลอดเวลำ และพร้อม

ที่จะเกิดโรคได้ตลอด

ถ้ำขำดกำรดูแลเอำใจใส่

เช่น ใช้งานเกนิอายคุอนแทคเลนส์ ใส่ค้างไว้นานเกนิ 8-10 ชัว่โมง หรอืใส่นอน ไม่ค่อยล้างท�าความสะอาดคอนแทคเลนส์และกล่องเก็บ พฤติกรรมดังกล่าวมักจะน�าอาการเจ็บตา มีเยื่อเมือกสีขาวปกคลุมทั้งตาขาวและตาด�า ส่วนสาเหตุของอาการตาแห้งที่น�าไปสู่โรคกระจกตาเปื่อยได้ เนื่องจากดวงตาที่มีสภาพแห้งจะท�าให้กระจกตาไม่แขง็แรง เกดิการแยก หรือการถลอกจนท�าให้เกิดแผลและเป็นทางเข้าของเชื้อโรค ในที่สุดกระจกก็จะเปื ่อย อาการของโรคกระจกตาเปื่อยนั้น สังเกตได้จาก ถ้าเรามอีาการปวดในตา ตาแดง น�า้ตาไหล สูแ้สงไม่ได้ บีบตา ตามัว และมีอาการกระจกตาขุ่น บวม อักเสบ ควรรีบเข้ารับค�าปรึกษาจากแพทย์ทันที ความรนุแรงของโรคกระจกตาเป่ือยในระดับที่รุนแรงมาก ผู ้ป่วยจะมีหนองที่ดวงตา ถ้าหากมีอาหารหนักถึงขั้นหนองขึ้นเต็มดวงตา จักษุแพทย์อาจจะต้องผ่าตัดน�าดวงตาออกมาเพื่อป้องกันไม่ให้อวัยวะอื่นๆ ติดเชื้อ เพราะแบคทเีรยีชนดินีจ้ะลกุลามไปยงัสมองและอวยัวะส่วนอื่นๆ แต่ว่าถ้าหากอาการยังไม่รุนแรงก็สามารถรกัษาด้วยยากนิควบคูก่บัยาหยอดตาได้

15

Page 16: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

16

ตลอดระยะเวลา3ปีที่ด�าเนินงานมาอพท.ตระหนักถึงความส�าคัญของการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่พิเศษและพื้นที่เชื่อมโยงอยู่ตลอดเวลาปัจจุบันจึงมีการจัดท�า โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืนในพื้นที่พิเศษ ขึ้น เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติทางการท่องเที่ยวอย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติทางการท่องเทีย่วของชมุชนท้องถิน่ในพืน้ทีพ่เิศษและพืน้ทีเ่ชือ่มโยงทัง้3แห่ง เริ่มจากพื้นที่พิ เศษหมู ่ เกาะช ้างและพื้นที่ เชื่อมโยงซึ่งประกอบไปด้วย 7 ต�าบล คือ ต�าบลท่าโสม ต�าบลแหลมงอบต�าบลน�้าเชี่ยวต�าบลห้วงน�้าขาวต�าบลแหลมกลัดต�าบลเกาะช้างใต้และต�าบลเกาะกูด โดยมีเป้าหมายในการจัดท�ากรอบแผนงานการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยงโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม ก่อนหน้านี้ อพท. นิวส์ได้น�าเสนอการด�าเนินงานของโครงการโดยการจัดเวทีประชาคมระดับต�าบล7ต�าบลเพื่อชี้แจงรายละเอยีดโครงการค้นหาของดใีนพืน้ที่ก�าหนดแนวทางการท�างานและวางตัวผู้ประสานงานและความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายต่อมาน�าเสนอต่อคณะที่ปรึกษาพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยงเพื่อให้ที่ปรึกษาพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยงเสนอข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการด�าเนินงานพัฒนาท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่ต่างๆ

จากนั้นจัดเวทีประชาคมร่วม7ต�าบล1ครั้ง เพื่อร่วมกันพิจารณารายละเอียดการท�างานแต่ละต�าบลและการจัดสรรงบประมาณในกานด�าเนินงานแต่ละพื้นที่หรือแต่ละโครงการตามกรอบแผนงานการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยงโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมก่อนจะเข้าสู่ขั้นตอนการสนับสนุนงบประมาณโครงการเร่งด่วนตามกรอบแผนงานที่วางไว้

โดยมีการร่วมกันบูรณาการทรัพยากรและงบประมาณในการด�าเนินงานโครงการต่างๆตามกรอบแผนงานการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยงโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมตลอดจนเพื่อส่งมอบแผนงานให้กับภาคี

Page 17: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

17

เครือข่ายต่างๆในพื้นที่ซึ่งจะมีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างอพท.และภาคีเครือข่ายทั้ง7ต�าบลโดยมีระยะเวลาด�าเนินงานระหว่างปี2554–2557ซึ่งชุมชนแต่ละชุมชนที่มาร่วมประชุมต่างมีความกระตือรือร้นที่จะร่วมงานกันลงนามในบันทึกข้อตกลงจะท�าการลงนามกันครั้งนี้เป็นอย่างมาก ประธานกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิ เศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนหรือกพท. ได้แต่งตั้งคณะท�างานฯขึ้นมาประกอบด้วยนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้แทนภาคประชาชนจากทั้ง7องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อรับผิดชอบบทบาทหน้าที่ของคณะท�างานฯในหลายด้านทั้งเรื่องเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยงจังหวัดตราด รวมทั้งการประสานงานและเชื่อมโยงความร่วมมือในการพฒันาการท่องเทีย่วอย่างยัง่ยนืระหว่างอพท.พืน้ทีพ่เิศษหมูเ่กาะช้างและพืน้ทีเ่ชือ่มโยงจงัหวดัตราดหน่วยงานราชการหน่วยงานเอกชนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่องค์กรชมุชนผูน้�าชมุชนนกัวชิาการสือ่มวลชนและประชาสงัคมและยงัมหีน้าทีส่่งเสรมิการตลาดและประชาสมัพนัธ์ด้านการท่องเทีย่วในพืน้ทีพ่เิศษหมูเ่กาะช้างและพืน้ทีเ่ชือ่มโยงจงัหวดัตราดเพือ่ให้นกัท่องเทีย่วเข้ามาท่องเทีย่วในพืน้ทีม่ากขึน้อย่างยัง่ยนื และเป็นผู้เสนอรูปแบบการจัดตั้งองค์กรด้านการท่องเที่ยวทั้งในระดับต�าบลและระดับเครือข่ายเพื่อให้เกิดความยั่งยืนและพึ่งพาตนเองได้ในระยะยาวพร้อมรายงานผลการด�าเนินงานให้อพท.ทราบเป็นระยะและปฏบิตัหิน้าทีอ่ืน่ๆตามทีไ่ด้รบัมอบหมายซึง่คณะท�างานฯจะเป็นกลไกที่ส�าคัญในการขับเคลื่อนกรอบแผนงานการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนให้ไปสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในอนาคต กรอบแผนงานการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนโดยใช ้กระบวนการมีส่วนร่วมพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยงจังหวัดตราดเกิดขึ้นจากกระบวนการเก็บข้อมูลพื้นที่จัดเวทีประชาคมการวิ เคราะห ์SWOT(จุดแข็งจุดอ ่อนโอกาสและอุปสรรค)

ของแต่ละชุมชนการเรียงล�าดับความส�าคัญของโครงการพัฒนาต่างๆและข้อเสนอแนะของภาคเีครอืข่ายต่างๆซึง่เป็นผลจากการลงพืน้ทีข่องคณะท�างานฯและอพท.ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และขั้นตอนต่อไปคือส�านักงานท่องเที่ยวโดยชุมชน อพท.และสพพ.1ร่วมกบัชมุชนทัง้7ชมุชนได้แก่ชมุชนต�าบลท่าโสมชมุชนต�าบลแหลงอบชุมชนต�าบลน�้าเชี่ยว ชุมชนต�าบลห้วงน�้าขาวชุมชนต�าบลแหลมกลดัชมุชนต�าบลเกาะช้างใต้ชมุชนต�าบลเกาะกดูน�าเสนอกรอบแผนงานการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชือ่มโยงโดยใช้กระบวนการการมส่ีวนร่วมต่อภาคเีครอืข่ายระดบัอ�าเภอและระดับจังหวัดในวันที่16สิงหาคม2554นี้

Page 18: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

1818

ตามที่อพท.ได้ท�าการประสานให้โครงการการเปลีย่นแปลงสภาพภมูอิากาศและการท่องเทีย่วGIZ/DASTAเป็นผูป้ระสานงานในการจัดการศึกษาดูงานด้านพลังงานทดแทนและการจัดการแหล่งท่องเทีย่วแบบคาร์บอนต�า่ให้แก่คณะผูบ้รหิารของอพท.จ�านวน7ท่านเมือ่ปลายปีทีแ่ล้วท�าให้ได้เข้าศกึษาแหล่งท่องเทีย่วคาร์บอนต�่าเพือ่น�ามาเป็นต้นแบบในประเทศไทยมากมายเช่นศนูย์ฝึกอบรมด้านพลงังานแสงอาทติย์และพลงังานทดแทนเมอืงไฟร์บวร์กและชมุชนพลงังานแสงอาทิตย์เมืองไฟร์บวร์กที่อพท.นิวส์จะพาทุกคนไปรู้จักวันนี้ศูนย์ฝึกอบรมด้านพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานทดแทนเมืองไฟร์บวร์กศูนย์ที่ใช้จัดฝึกอบรมและให้ความรู้ด้านพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานทดแทนแก่นักศึกษาและประชาชนในพื้นที่ โดยวิทยากรให้ความรู ้เรื่องอุปกรณ์ประหยัดพลังงานเช่นฉนวนกันความเย็น/ความร้อนประเภทต่างๆและอปุกรณ์ทีส่ามารถผลติพลงังานทดแทนได้โดยหวงัว่าพลงังานทดแทนเหล่านีจ้ะเป็นทางเลอืกทีเ่หมาะสมเพือ่ยตุิการสร้างโรงไฟฟ้านวิเคลยีร์เพิม่ขึน้ในประเทศเยอรมนี แรงจูงใจในการสร้างศูนย์ฝึกอบรมแห่งนี้ขึ้นมาจากการที่เมื่อปี ค.ศ. 1975ประชาชนเมืองไฟร์บวร์ก ได้ออกมาเดินขบวนต่อต้านการสร้างโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ ท�าให้นักวิทยาศาสตร์ต้องท�าการศึกษาวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ที่สามารถผลิตพลังงานทดแทนออกมาใช้งานท�าให้โซล่าเซลล์ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้ากระแสตรงถูกน�ามาพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ต่อมาในปีค.ศ.1986เมอืงไฟร์บวร์กได้เริม่น�าโซล่าเซลล์มาใช้จรงิในพืน้ที่แต่มอีปุสรรคในช่วงเริม่ต้นของการด�าเนนิการเนือ่งจาก

ประชาชนไม่ให้การยอมรับในเทคโนโลยีและนวัตกรรมดังกล่าวเท่าที่ควรอีกทั้งยังวิตกกังวลว่าโซล่าเซลล์จะใช้ได้จริงหรือไม่และเมื่อน�ามาติดตั้งบนหลังคาบ้านแล้วจะท�าให้บ้านพงัหรือไม่ท�าให้การน�าไปติดตั้งตามบ้านเรือนต่างๆมีอยู่น้อยมาก แต่ผู ้คนต่างยอมรับและคุ ้นเคยกับโซล่าเซลล์มากขึ้นเมือ่นายกเทศมนตรใีนยคุนัน้ได้ให้วศิวกรน�าแผงโซล่าเซลล์ไปตดิตัง้ไว้ตามสถานที่ส�าคัญต่างๆเช่นอาคารสถานที่ราชการเพื่อให้ประชาชนเกดิความคุน้เคยกบัแผงโซล่าเซลล์อกีทัง้แผงโซล่าเซลล์ยงัถกูน�าไปตดิตัง้บนหลงัคาสนามฟตุบอลของเมอืงไฟร์บวร์กเพราะเมือ่ถงึฤดกูาลแข่งขนัฟุตบอลบุนเดสลีกาซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกสูงสุดของประเทศเยอรมนีก็จะมีประชาชนจ�านวนมากจากทั้งในเมืองและนักท่องเที่ยวจากเมืองต่างๆเดินทางมาชมการแข่งขันฟุตบอลในแต่ละนัด

ไฟร์บวร์ก เมืองแห่งพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานทดแทน ต้นแบบการท่องเที่ยวและการจัดการชุมชนแบบคาร์บอนต�่าที่ท�าได้จริง

ร้านขายวัสดุอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน ที่หาได้ทั่วไปในเมือง

บรรยากาศในหมู่บ้านพลังงานทดแทน

Page 19: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

1919

สนใจศึกษาเรื่องราวของพลังงานทดแทนจากโซล่าเซลล์มากขึ้นหลายเมืองในประเทศไทยจะประสบความส�าเร็จในเรื่องนี้ได้ไม่แพ้ที่นี่แน่นอน

ชุมชนพลังงานแสงอาทิตย์ เมืองไฟร์บวร์ก นอกจากศูนย์ฝึกอบรมด้านพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานทดแทนแล้ว เมืองไฟร์บวร์กยังมีชุมชนพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นชุมชนต้นแบบในการอนุรักษ์พลังงานให้นักท่องเที่ยวได้เข้ามาสัมผัสโดยบ้านถูกออกแบบและก่อสร้างให้มขีนาดกะทดัรดัภายนอกและภายในของตวัอาคารจะตดิตัง้เครือ่งมอืในการผลติพลงังานทดแทนและเครือ่งมอืประหยดัพลงังานต่างๆเช่นโซล่าเซลล์กระจกกันความเย็นและฉนวนชนิดต่างๆเพื่อน�าพลังงานแสงอาทิตย์มาแปลงเป็นพลังงานไฟฟ้าไว้ใช้ภายในตัวอาคารเป็นบ้านต้นแบบที่สามารถช่วยประหยัดการใช้พลังงานได้อย่างดีเยี่ยม ภายในหมูบ้่านยงัมตีวัอย่างบ้านทีใ่ช้พลงังานแสงอาทติย์และมคีนเข้าไปอยู่อาศัยจริง เพื่อแสดงให้เห็นว่าการอนุรักษ์พลังงานและการจัดการสิ่งแวดล้อมสามารถปฏิบัติได้จริงซึ่งการได้เข้าเยี่ยมชมชุมชนแห่งนี้ท�าให้เห็นว่าบ้านที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์สามารถเข้าอยู่ได้จริงไม่ได้เป็นเพียงบ้านต้นแบบในความฝันอย่างทีห่ลายคนคดิซึง่ในประเทศไทยเองกส็ามารถท�าได้เช่นกัน

ที่อยู่อาศัยดีไซน์โมเดิร์นและใช้พลังงานทดแทน

1. บ้าน Heliotrope หลังนี้ใช้พลังงานทดแทนทั้งหมดจากแสงอาทิตย์

2. สถาบันฝึกอบรมด้านพลังงานทดแทน เมืองไฟร์บวร์ก

3. สนามฟุตบอลเมืองไฟร์บวร์ก

รถราง อีกหนึ่งยานพาหนะที่ช่วยลดมลพิษให้กับเมือง

ขอขอบคุณข้อมูลจากนางสาวเจนต์ธิดา โทลา GIZ

ยิ่งในนัดชิงที่มีสื่อมวลชนเข้ามาท�าข่าวเป็นจ�านวนมากท�าให้ภาพของโซล่าเซลล์ถูกติดตั้งไว้บนหลังคาสนามฟุตบอลถูกแพร่ภาพไปทั่วประเทศให้ประชาชนทั่วประเทศเกิดความสงสัยว่าวัตถุที่อยู่บนหลังคาสนามฟุตบอลเมืองไฟร์บวร์กคืออะไรหลังจากนั้นนายกเทศมนตรีก็ได้ออกมาให้ข้อมูลแก่ประชาชนทั่วประเทศว่าวัตถุที่อยู่บนหลังคาสนามฟุตบอลเมืองไฟร์บวร์กคือโซล่าเซลล์พร้อมทั้งให้ความรู้ถึงวิธีการท�างานตลอดจนประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับ ด้วยเหตนุีท้�าให้ปัจจบุนัเมอืงไฟร์บวร์กมนีกัท่องเทีย่วนกัศกึษาและนกัวชิาการเดนิทางมาถงึปีละกว่า3แสนคนเพือ่ท�าการศกึษาด้านพลงังานทดแทนและอปุกรณ์ประหยดัพลงังานและเทีย่วชมอาคารบ้านเรอืนตลอดจนสถาปัตยกรรมต่างๆทีถ่กูตดิตัง้ด้วยโซล่าเซลล์ทีปั่จจบุนัได้ถกูออกแบบและพฒันารปูลกัษณ์ให้มคีวามสวยงามทนัสมยัและตดิตัง้ได้ง่ายยิง่ขึน้ เมอืงไฟร์บวร์กนบัต้นแบบด้านการพฒันาการท่องเทีย่วคาร์บอนต�า่ทีป่ระเทศไทยน่าจะน�าความคดิแต่ละอย่างไปใช้ได้มากพอสมควรโดยเฉพาะเรื่องโซล่าเซลล์ที่บ้านเรายังขาดการประชาสัมพันธ์เหมือนที่นี่ในช่วงแรกถึงจะมีอุปกรณ์ไม่ทันสมัยเท่าแต่เชื่อเลยว่าถ้าทุกคนรู้ประโยชน์และหันมา

1

3

2

Page 20: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

20

ความรกัเป็นเหมอืนดาบสองคมทีน่�ามาทัง้ความสขุและความทกุข์รวมถึงบางครั้งก็น�าพาความวุ่นวายและปัญหาต่างๆมาสู่ชีวิตของเราได้หากไม่เข้าใจกันหรือไม่ซื่อสัตย์ต่อชีวิตคู่ของตัวเองถ้าเกิดปัญหาขึ้นแล้วหาทางแก้ไขอย่างลงตัวไม่ได้ก็ต้องใช้กฎหมายเข้ามาช่วยเหลือโดยเฉพาะเรือ่งของการคบชู้ทีว่นันี้กฎหมายน่ารู้จะแนะน�าการแก้ปัญหาทางกฎหมายที่ทุกคู่รักได้รู้ ด้วยความเท่าเทียมกันของกฎหมายหลายข้อในปัจจุบันไม่ใช่ว่าผู้ชายไปมีกิ๊กหรือมีชู้ แล้วผู้หญิงที่เป็นเมียหลวงจะเรียกร้องสิทธิได้อย่างเดียว เพราะถ้าผู้หญิงมีชู้หรือไปมีความสัมพันธ์กับชายอื่นสามีที่จดทะเบียนสมรสก็มีสิทธิเรียกร้องจากภรรยาได้เช่นเดียวกัน(ยกเว้นในกรณีไม่จดทะเบียนสมรสก็หมดสิทธิเรียกร ้องในข้อนี้ )ซึ่งสิทธิในการเรียกร้องจากศาลมีอยู่2แบบคือ 1.ค่าทดแทนเราสามารถเรียกร้องฝ่ายชู้และคนของเราเองได้ในกรณทีีค่นนัน้ๆต้องแสดงตนโดยเปิดเผยว่ามคีวามสมัพนัธ์ฉนัชูส้าวกบัสามหีรอืภรรยาของคนอืน่เขากถ็กูเรยีกร้องสทิธนิีไ้ด้หรอืมหีลกัฐานมดัตวัแน่นหนาเช ่นรูปถ ่ายมีพยานบุคคลไปเห็นว ่าเขาอยู ่กินร ่วมกันมสีถานการณ์ทีจ่ะสนันษิฐานว่ามคีวามสมัพนัธ์มากกว่าเพือ่นในเชงิชูส้าวทางเพศหรือเปล่าถ้ามีก็ฟ้องได้ แต่ในทางกลบักนัถ้าคณุมหีลกัฐานไม่ใช่ชดัเจนเพยีงพอแล้วไปฟ้องร้องเขา หากศาลยกฟ้องว่าไม่มีหลักฐานชัดพอว่าเขาเปิดเผยว่ามีความสัมพันธ์ฉันชู้สาวกับสามีเรา เราก็อาจถูกเขาฟ้องกลับได้ในฐานะหมิ่นประมาทเนื่องจากท�าให้เขาเสื่อมเสียชื่อเสียงได้เช่นเดียวกันดังนั้นจึงควรระวังในข้อนี้ให้ดี 2.ค่าเลีย้งชพีนอกจากเรือ่งการแบ่งสนิสมรสกนัแล้วถ้าเกดิการหย่าขึน้แล้วท�าให้อกีฝ่ายยากจนลงกว่าเดมิเขาสามารถมาเรยีกค่าเลีย้งชพีจากเราได้โดยศาลจะพจิารณาจากฐานะสมมตุว่ิาผูห้ญงิรวยมากหย่าไปกไ็ม่ได้ล�าบากอะไรตรงนีค่้าเลีย้งชพีกอ็าจได้น้อยหรอืไม่ได้เลยเพราะดทูี่ความสามารถและฐานะของคู่สมรสด้วย ส่วนครอบครัวที่มีเรื่องของบุตรเข้ามาเดี่ยวข้องด้วยหลังจากพ่อแม่ได้ท�าการหย่ากันแล้วถ้าพ่อแม่ไม่จดทะเบียนสมรสลูกที่เกิดจะไม่ใช่ลูกโดยชอบด้วยกฎหมายและไม่ได้สิทธิอะไรจากพ่อเลยเพราะถือเป็น'บตุรนอกสมรส’หรอื‘บตุรไม่ชอบด้วยกฎหมาย’(แต่ลกูจะเป็นบตุรที่ชอบด้วยกฎหมายของแม่เสมอเนือ่งจากฝ่ายหญงิเป็นคนอุม้ท้องและเป็นผูใ้ห้ก�าเนดิตามทีบ่ญัญตัไิว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิย์มาตรา1546ว่าเดก็เกดิจากหญงิทีม่ไิด้สมรสกบัชายให้ถอืว่าเป็นบตุรทีช่อบด้วยกฎหมายของฝ่ายหญิง) ถ้าพ่อแม่จดทะเบยีนสมรสลกูจะได้รบัการคุม้ครองลกูทีเ่กดิมาโดยชอบด้วยกฎหมายของพ่อแม่จะมีสิทธิมากมายในฐานะบุตรเช่นพ่อแม่มีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูส่งเสียให้ลูกได้เล่าเรียนมีการศึกษาหรือถ้าใครมาท�าให้สามหีรอืภรรยาถงึแก่ความตายเช่นคนอืน่ขบัรถโดยประมาทมาชนเป็นเหตใุห้สามหีรอืภรรยาถงึแก่ความตายคูส่มรสทีย่งัมชีวีติอยูร่วมทั้งลูกก็มีสิทธิเรียกค่าเสียหายจากการขาดไร้อุปการะได้ การใช้ชีวิตคู่นอกจากความรักแล้วสิ่งส�าคัญคือการซื่อสัตย์ซึ่งกันและกันถ้าคิดว่าตัวเองไม่พร้อมที่จะซื่อสัตย์กับคนคนเดียวไปตลอดชีวิตก็อย่าเอาห่วงคอที่เรียกว่าชีวิตคู่มาคล้องคอเอาไว้ เพราะชีวิตคู่ที่ล้มเหลวไม่ได้ส่งผลต่อคนเพียง2คนเท่านั้นแต่จะน�ามาซึ่งปัญหามากมายต่อสังคมอย่างที่เราไม่คาดคิด

20

Page 21: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

หลุมพอทะเล

21

ชื่อวิทยาศาสตร์ Intsia bijuga (Colebr.) Kuntzeชื่อวงศ์ Leguminosae-Caesalpinioideaeชือ่อืน่ ประดูท่ะเล(กลาง) งอืบาลาโอ๊ะ(มลาย-ูนราธวิาส)

ลักษณะทั่วไป :ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่สูงได้ถึง40ม.พูพอนสูงได้ประมาณ2ม.

ใบ :ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ใบย่อย2-3คู่แกนกลางใบประกอบยาว2-5ซม.ก้านใบประกอบยาว1.5-4ซม.ใบย่อยรูปไข่หรือรูปไข่กลับไม่สมมาตรยาว5-18ซม.ปลายใบมนหรือกลมเว้าเล็กน้อยโคนใบกลมแผ่นใบเกลี้ยงมีปื้นเล็กน้อยด้านล่างใกล้โคนใบก้านใบย่อยยาว0.2-0.8ซม.

ดอก :ช่อดอกยาว5-8ซม.ก้านช่อยาวประมาณ1ซม.ฐานรองดอกยาวเท่าๆกับกลีบเลี้ยงกลีบเลี้ยง4กลีบสีเขียวรูปรียาว0.8-1ซม.กลีบดอกสีขาวเปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือสีแดงมี1กลีบก้านกลีบยาวประมาณ0.5ซม.แผ่นกลีบกลมกว้างขนาด0.7-1x1-1.5ซม.เกสรเพศผู้3อันยาวประมาณ3ซม.อับเรณูยาวประมาณ0.2ซม.เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน4-7อันยาวประมาณ1ซม.รังไข่มีก้านสั้นๆมีขนปกคลุมก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ4ซม.มีขนที่โคน

ผล : ผลเป็นฝักรูปขอบขนานหรือรูปใบหอกยาว8.8-25ซม.เมลด็มไีด้ถงึ8เมลด็กลมแบนเส้นผ่านศนูย์กลางยาว2-3.5ซม.

ประโยชน์ : เนื้อไม้มีความทนทานเหมาะส�าหรับใช้ในการก่อสร้าง

21

ท่านสามารถชมพนัธุพ์ชืนีไ้ด้ทีเ่ส้นทางศกึษาธรรมชาตคิลองค้างคาว-เขาเรอืรบเกาะกดูจังหวัดตราดด�าเนินการโดยอพท.อบต.เกาะกูดและมหาวิทยาลัยราชภัฏร�าไพพรรณี

Page 22: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

2222

เมื่อวันที่26เมษายน2554คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ประกาศพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย–ศรีสัชนาลัย–ก�าแพงเพชรเป็นพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนล�าดับที่4และจังหวัดเลยเป็นพื้นที่พิเศษเพือ่การท่องเทีย่วอย่างยัง่ยนืล�าดบัที่5ของอพท.ซึง่ขณะนีอ้ยูร่ะหว่างขัน้ตอนการประกาศลงในราชกจินานเุบกษา พื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – ก�าแพงเพชร เป็นพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยัง่ยนืประเภทแหล่งท่องเทีย่วโบราณสถานมกีรอบแนวคดิในการอนรุกัษ์และพฒันาตามทีม่กีารลงความเหน็ร่วมกนัจากทกุภาคส่วนทีเ่กีย่วข้องดงันี้ต้องเปิดโอกาสให้ชมุชนและประชาชนเข้ามามส่ีวนร่วมในการพฒันาร่วมกบัภาครัฐมากขึ้นพร้อมส่งเสริมการอนุรักษ์ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของอุทยานประวัติศาสตร์ให้มีกิจกรรมการท่องเทีย่วทีห่ลากหลายเพือ่เพิม่ความน่าสนใจดงึดดูนกัท่องเทีย่วทัง้ชาวไทยและต่างชาติตลอดจนพฒันาเมอืงและโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับการอนุรักษ์มรดกโลก โดยพฒันาตามแนวทางของการบรหิารจดัการแหล่งมรดกโลกขององค์การยเูนสโกซึง่ให้ความส�าคญักบัมาตรการ4ข้อคอืการจดัการทรพัยากรและปกป้องรกัษา,การรกัษาสมดลุระหว่างการอนรุกัษ์และการท่องเทีย่ว,การวจิยัและเฝ้าระวงัและสดุท้ายการบรหิารจดัการด้านการเงนิงบประมาณการศกึษาและการตลาดอกีทัง้ต้องพฒันาพืน้ทีส่�าคญัทางประวตัศิาสตร์และโบราณคดีเพือ่กระจายความเจรญิและยกระดบัคณุภาพชวีติของท้องถิน่ส่งเสรมิภาพลกัษณ์และเชือ่มโยงความสมัพนัธ์ของอทุยานประวตัศิาสตร์ทัง้สามแห่งอย่างเท่าเทยีม ที่ส�าคัญที่สุดต้องสร้างความเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เกิดความรู้ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาจัดการและอยู่ร่วมกับอุทยานประวัติศาสตร์ได้อย่างเหมาะสมเพื่อเป็นการต่อยอดการพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจังหวัดเลยถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมในปัจจุบันที่มี

นักท่องเที่ยวแวะเวียนมาเยือนเป็นอันดับต้นๆของประเทศครอบคลุม3กลุ่มพื้นที่เชื่อมโยงการท่องเที่ยวมีเนื้อที่ประมาณ4ล้าน5ไร่ประกอบด้วยกลุ่มพื้นที่เชื่อมโยงการท่องเที่ยวด่านซ้าย-ภูเรือ-นาแห้ว,กลุ่มพื้นที่เชื่อมโยงการท่องเที่ยวที่ลี่–เชียงคาน–เมืองเลยและกลุ่มพื้นที่เชื่อมโยงการท่องเที่ยวภูกระดึง–หนองหิน–ภูหลวงซึ่งในแต่ละพื้นที่นั้นต้องให้การดูแลเป็นพิเศษเพราะได้รับความบอบช�้าจากฝีมือนักท่องเที่ยวที่ไม่ประสงค์ดีทุกปี โดยการด�าเนนิการบรหิารการพฒันาพืน้ทีท่่องเทีย่วอย่างยัง่ยนืจงัหวดัเลยได้ก�าหนดเป้าหมายการด�าเนนิงานในเบือ้งต้นไว้ว่าต้องเร่งฟ้ืนฟูอนรุกัษ์พฒันาแหล่งท่องเทีย่วพร้อมปรบัปรงุการจดับรกิารให้มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากลเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนภายใน3ปีและเพิ่มรายได้การท่องเทีย่วและจ�านวนนกัท่องเทีย่วทัง้ชาวไทยและต่างชาติร้อยละ5ของปัจจบุนัภายใน3ปีเช่นกนั ถ้าทุกอย่างประสบความส�าเร็จอย่างที่ตั้งเป้าไว้ภายในระยะเวลา3ปีตั้งแต่พ.ศ.2554-2556พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนจังหวัดเลยจะมีจ�านวนนักท่องเที่ยวจาก920,000คนเป็นประมาณ1,500,000คนและมรีายได้เพิม่จาก1,200ล้านบาทเป็น1,900ล้านบาท

Page 23: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

23

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน(องค์การมหาชน)หรืออพท.ในฐานะองค์กรที่ท�างานประสานส่งเสริมสนับสนุนภาคีทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพฒันาการท่องเทีย่วสูค่วามยัง่ยนืและเป็นทีม่าของจดัการประกวดรางวัลThailandSustainableTourismAwardsขึ้นเพือ่ส่งเสรมิคนท�างานสร้างการท่องเทีย่วอย่างยัง่ยนืสร้างจติส�านกึและแนวคิดพร้อมผลักดันเสถียรภาพในด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนครอบคลุมทั้งพื้นที่ด�าเนินงานของอพท.และพื้นที่ต้นแบบด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน พันเอกดร.นาฬิกอติภัคแสงสนิทผู้อ�านวยการอพท.กล่าวว่าอพท.ได้ก�าหนดจดัการประกวดรางวลัThailand Sustainable Tourism Awards 2011หรือ “รางวัลเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน”ประจ�าปี2554ขึ้นเป็นครั้งแรกโดยมีเป้าหมายเพื่อสนบัสนนุและให้ก�าลงัใจแก่บคุคลองค์กรชมุชนและเยาวชนทีม่ีส่วนในการผลักดันให้เกิดความยั่งยืนและเสถียรภาพในด้านการท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดการขยายผลด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง “รางวลัThailandSustainableTourismAwards2011มอบให้เพื่อให้เป็นรางวัลตอบแทนการท�างานและให้ก�าลังใจหน่วยงานองค ์กรหรือบุคคลที่ด�านินงานด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืนหรือมีส่วนส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอีกทั้งยังเป็นการผลกัดนัให้เกดิการพฒันาและเพิม่ขดีความสามารถในการแข่งขนัอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่ค�านึงในมิติสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยไม่ใช่เฉพาะเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว” ส�าหรบัการประกวดแบ่งเป็น3ประเภทหลกัคอื 1.ประเภท“รางวลัพืน้ทีท่่องเทีย่วทีม่กีารจดัการด้านการท่องเทีย่วอย่างยั่งยืน” 2.ประเภท“รางวัลผู ้สนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (สื่อมวลชน)”ซึ่งแบ่งเป็น2รางวัลคือรางวัลประเภทบุคคลได้แก่พิธีกรรายการนักจัดรายการวิทยุนักข่าว ผู้อยู่เบื้องหลัง บก. ฯลฯและรางวัลประเภทสื่อ ได้แก่รายการโทรทัศน์รายการวิทยุสื่อสิ่งพิมพ์เว็บไซต์ฯลฯ 3. ประเภท “รางวัลสนับสนุนพลังของคนรุ่นใหม่ (เยาวชน)”แบ่งเป็นการประกวดแผนการตลาดด้านท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน, การประกวดการออกแบบของที่ระลึกชุมชน

อพท.สร้างสรรค์รางวลัท่องเทีย่วยัง่ยนื “Thailand Sustainable Tourism Awards” สนบัสนนุคนท�างานท่องเทีย่วอย่างตัง้ใจจรงิ

และการประกวดโครงเรื่องหนังสั้นท่องเที่ยวชุมชน โดยผู้มีสิทธิ์เข้าร่วมกิจกรรมแบ่งได้ตามประเภทดังนี้1.กลุ่มหรือองค์กรที่อยู่ในพื้นที่ที่ส่งเข้าประกวด2.บุคคลทั่วไป(ร่วมโหวตผ่านช่องทางที่ก�าหนด) 3. เยาวชนหรือกลุ่มเยาวชนที่ก�าลังศึกษาอยู่ระดับปริญญาตรี โดยรางวัลThailandSustainableTourismAwards2011มีเกณฑ์การตัดสินที่ภาพรวมได้แก่การสร้างการรับรู้และรู้จักของสาธารณชน การบริหารจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่มีความสมดลุใน3มติิคอืเศรษฐกจิสงัคมสิง่แวดล้อมและมคีวามคดิรเิริม่สร้างสรรค์ด้านการท่องเทีย่วอย่างยัง่ยนืโดยคณะกรรมการตดัสนิประกอบด้วยผูท้รงคณุวฒุจิากสาขาต่างๆไม่ว่าจะเป็นคณะผูบ้รหิารจากอพท.ผูท้รงคณุวฒุจิากหน่วยงานภาคการท่องเทีย่วนกัวชิาการจากมหาวทิยาลยัสือ่อาวโุสตวัแทนจากสือ่มวลชนทีม่ีกลุม่เป้าหมายเป็นเดก็รุน่ใหม่และตวัแทนจากยวุชนอพท.และประชาชนทัว่ไปสามารถเข้าร่วมเป็นหนึง่ในคณะกรรมการตดัสนิได้แบบPopularVoteผ่านทางwww.facebook/DASTATHAILAND ในส่วนความหมายของสญัลกัษณ์การประกวดรางวลั Thailand Sustainable Tourism Awards 2011ทีเ่ป็นรปูหยดน�า้สองหยดประกอบกันเป็นรูปเลขแปดหรือเครื่องหมายอนันต์(Infinity)มคีวามหมายแสดงถงึความร่วมมอืกนัระหว่างอพท.กบัภาครัฐภาคเอกชนและประชาชนทั้งในระดับชาติภูมิภาคหรือท้องถิ่น เพือ่ให้เกดิความร่วมมอืในการพฒันาแหล่งท่องเทีย่วให้เกดิความอย่างยัง่ยนืและเกดิความสมดลุระหว่างเศรษฐกจิสงัคมและสิ่งแวดล้อมคงสภาพแหล่งท่องเที่ยวให้มีความงดงามสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามและเป็นแหล่งท่องเทีย่วทีส่ร้างความประทบัใจให้แก่นกัท่องเทีย่วชาวไทยและชาวต่างชาติ ให้ระลึกถึงและกลับมาท่องเที่ยวใหม่ ซึ่งโล่รางวัลจะผลิตจากอะคริลิคใสเป็นรูปหยดน�้าประกอบกันสะท้อนถึงความจริงใจในการด�าเนินงาน ส�าหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือขอรับใบสมัครได้ที่ส�านักงานอพท.ชั้น31อาคารทิปโก้ถ.พระราม6กรุงเทพฯโทร.023573580ต่อ103หรือwww.dasta.or.thตั้งแต่วันนี้-31กรกฎาคมศกนี้ทั้งนี้จะมีการประกาศผลและมอบรางวัลภายในงานThailandSustainableTourismAwards2011ซึ่งจะจัดขึ้นในเดือนกันยายนศกนี้

Page 24: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

24

อพท.น�าผู้สื่อข่าวจากจังหวัดน่านศึกษาดูงาน“การจัดการท่องเทีย่วอย่างยัง่ยนืพืน้ทีท่่องเทีย่วชมุชนจงัหวดัพงังา”ระหว่างวนัที่18-21พฤษภาคม2554ทีผ่่านมาโดยการศกึษาดงูานในครัง้นี้ส�านกังานพืน้ทีพ่เิศษหมูเ่กาะช้างและพืน้ทีเ่ชือ่มโยงโดยพลตรหีญงิจรสัพมิพ์ธรีลกัษณ์และนางสาวเกศกมลกรัญญิรัตน์น�าได้ผู้สื่อข่าวจากจังหวัดตราดได้แก่ผูส้ือ่ข่าวช่อง3ช่อง5และช่อง7หนงัสอืพมิพ์ประชามติและหนงัสอืพมิพ์บีนิวส์ไปร่วมศึกษาดูงานด้วย การศึกษาดูงานในครั้งนี้ เ เป ็นการตอบสนองนโยบายที่ดร.นาฬิกอติภัคแสงสนิทผู้อ�านวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)หรือ อพท.เคยกล่าวถงึแผนปฏบิตังิานในปี2554ว่าจะมุง่เน้นการอนรุกัษ์และฟ้ืนฟูทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดล้อมกจิกรรมการท่องเทีย่วและการพฒันาชมุชนท้องถิน่พร้อมๆกบัการเสรมิสร้างกระบวนการการมส่ีวนร่วมของทกุภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาชนเพื่อประสานความร่วมมือการบริหารการพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอย่างมีเอกภาพ

รวมทั้งพัฒนา“ต้นแบบ”การบริหารการพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามประเภทของแหล่งท่องเที่ยวเพื่อเป็นรปูแบบและแนวทางการบรหิารจดัการพืน้ทีเ่พือ่การท่องเทีย่วอย่างยั่งยืนให้กับแห่งอื่นต่อไปโดยเป้าหมายในพื้นที่เพื่อการพัฒนาการท่องเทีย่วอย่างยัง่ยนืและได้เลอืกพฒันาพืน้ทีท่างภาคใต้โดยเลอืกพฒันาท่องเทีย่วชมุชนต.คลองเคยีนอ.ตะกัว่ทุง่จ.พงังา,ต.พรใุนอ.เกาะยาวจ.พงังาและชมุชนบางโรงต.ป่าคลอกอ.ถลางจ.ภเูกต็ การเดินทางศึกษาดูงานที่จังหวัดพังงาในครั้งนี้เป็นการชมสถานทีท่่องเทีย่วต่างๆทีม่เีอกลกัษณ์ทางธรรมชาติและวถิชีวีติท้องถิน่ซึง่นบัเป็นเสน่ห์ของจงัหวดัพงังาเริม่ต้นด้วยเยีย่มชมชมุชนมสุลมิ(มสัยดิ-ท่าเรอื-สวนยางพารา-HomeStay)เรยีนรูว้ถิชีวีติของชาวมุสลิมต�าบลพรุในที่ประกอบอาชีพท�าสวนยางพาราเป็นหลักโดยมโีฮมเสตย์ไว้คอยต้อนรบันกัท่องเทีย่วทีช่อบอยูร่่วมกบัชาวบ้านท่ามกลางบรรยากาศวิถีชีวิตท้องถิ่น จากนัน้คณะดงูานเดนิทางต่อไปเพือ่ส�ารวจพืน้ทีท่่องเทีย่วชุมชนต�าบลพรุใน-เกาะไข่ใน-เกาะไข่นอกที่ก�าลังเป็นที่พูดถึงของนักท่องเที่ยว เพราะสามารถด�าน�้าดูปะการังได้ทั้งสองเกาะ โดย

อพท. ศึกษาดูงานการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนพื้นที่ท่องเที่ยวชมุชนภาคใต้

Page 25: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

25

เฉพาะเกาะไข่นอกที่มีความสวยงามด้วยโขดหินหาดทรายขาวน�้าทะเลใส รอบเกาะสามารถด�าน�้าดูปะการังหลากชนิด มีปลาสวยงามเหมาะแก่การนอนอาบแดดส่วนเกาะไข่ในมีหาดทรายขาวละเอียดสะอาดตลอดชายหาดทั้งด ้านทิศเหนือและทิศตะวันตกของเกาะน�้าทะเลสวยใสน่าเล่นรอบๆเกาะมีปะการังที่สามารถด�าน�้าตื้นดูง่ายเช่นปะการังแผ่นปะการังจานแต่ที่เด่นที่สุดคือฝูงปลาหลากสีซึ่งทั้ง2เกาะนี้ถ้าขาดการอนุรักษ์ที่ดีอีกไม่นานความสวยงามคงค่อยๆลดทอนลงไป หลงัจากเสรจ็ภารกจิทีช่มุชนต�าบลพรใุน-เกาะไข่ใน-เกาะไข่นอกแล้วคณะดูงานได้เดินทางมาเข้าพักที่รัญญาตาวีรีสอร์ทต�าบลโคกกลอยพร้อมสนทนาแรกเปลีย่นประสบการณ์และทศันคติกับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนต�าบลคลองเคียนเกีย่วกบัเรือ่งแนวทางการพฒันาพืน้ทีเ่พือ่การท่องเทีย่วอย่างยัง่ยนืก่อนจะเดินทางสู่ต�าบลคลองเคียนพร้อมเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวชุมชนป่าชายเลนเขตอนุรักษ์พันธ์ุหอยในช่วงเช้าของวันรุ่งขึ้น ชมแหล่งท่องเที่ยวชุมชนคลองเคียนอยู่พักใหญ่ก็มาต่อด้วยภารกิจต่อไปคือการลงเรือที่ท่าเรือคลองเคียนส�ารวจแหล่งท่องเทีย่วทางทะเลอ่าวพงังา(เกาะละวะใหญ่-เกาะพนกั-เกาะตะปู-เขาเขียน-ถ�้าแก้ว-ถ�้าค้างคาว)โดยเรือโทงเรือประมงแบบท้องถิ่นในภาคใต้ของประเทศไทยนิยมใช้กันทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามันก ่อนจะแวะรับประทานอาหารกลางวันชมวิถีชีวิตผู ้คนบนเกาะปันหยีที่ก�าลังโด่งดังและได้รับความนิยมจากนักเดินทางทั้งชาวไทยและต่างชาติ ในคืนสุดท้ายก่อนที่คณะฯจะเดินทางกลับจังหวัดตราดได้มีโอกาสสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนายกสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดพังงาและคณะถึงความเป็นไปได้ในการช่วยกัน

พัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ที่จังหวัดพังงา ซึ่งต่างฝ่ายต่างมีประสบการณ์และความรู้ที่แตกต่างกันไปท�าให้ได้มาซึ่งแนวคิดและทัศนคติที่หลากหลายเพื่อเป็นแนวทางในการช่วยกันอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่อย่างบูรณาการร่วมกัน การศึกษาดูงานครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าองค์ประกอบของการจัดการท่องเที่ยวชุมชนทั้ง4ด้านคือด้านทรัพยากรธรรมชาติและวฒันธรรมด้านองค์กรชมุชนด้านการจดัการและด้านการเรยีนรู้ต้องพัฒนาและท�าความเข้าใจควบคู่กันไปจึงจะน�าไปสู่หนทางการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอย่างถูกวิธี

Page 26: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

26

เสือโคร่งอินโดจีน Panthera tigris corbetti

26

รูปร่างเหมือนเสือโคร่งทั่วไปแต่มีลายเส้นที่เล็กกว่าเสือโคร่งเบงกอลและขนาดล�าตัวก็เล็กกว่าโดยตัวผู้มีความยาวจากหัวถึงหางประมาณ2.7เมตรหนักประมาณ180กิโลกรัมตัวเมียยาวประมาณ2.4เมตรหนกัประมาณ115กโิลกรมัมกีารกระจายพนัธุใ์นประเทศไทยลาวกัมพูชาเวียดนามพม่าและมาเลเซีย ชอบอาศัยและหากินอยูในป่าที่ราบต�่าใกล้แหล่งน�้ามีอาหารอุดมสมบูรณ์สามารถอยู่ได้ในหลากหลายสภาพป่าเช่นป่าดิบชื้นป่าผลดัใบล่าสตัว์ทีม่ขีนาดใหญ่และกลางเช่นววัควายป่ากวางกระทงิเป็นอาหารโดยมักจะกินเนื้อบริเวณตะโพกก่อนเมื่อเหลือจะน�าไปซ่อนแล้วจะกลับมากินใหม่จนหมด ในบางครัง้เมือ่มลีกูเสอืทีอ่่อนแอแม่เสอือาจกนิลกูด้วยถ้าหากปกป้องหรอืเลีย้งต่อไปไม่ได้เสอืโคร่งเป็นเสอืทีช่อบเล่นน�า้และว่ายน�า้เก่งเคยมรีายงานว่าสามารถว่ายน�า้ข้ามไปมาระหว่างเกาะและชายฝ่ังทะเล

ได้เสือตัวผู้จะแสดงความเป็นเจ้าของพื้นที่โดยการใช้เล็บตะกุยดินหรือปัสสาวะรดต้นไม้ ฤดูผสมพันธุ์เสือตัวผู้จะรับรู้ถึงความต้องการของเสือตัวเมียจากเสียงร้องที่ดังขึ้นบ่อยขึ้นเมื่อได้ผสมพันธุ์แล้วเสือตัวผู้จะจากไปและอาจไปผสมพันธุ์กับเสือตัวเมียอื่นๆได้อีกเสือโคร่งอินโดจีนมีระยะตัง้ท้อง3เดอืนและจะออกลกูในทีป่ลอดภยัออกลกูครัง้ละ1-7ตวัลกูเสอืที่เกิดใหม่ตาจะยังไม่ลืมลูกเสือที่ไม่แข็งแรงจะตายไปตัวที่เหลือจะได้รับการเลี้ยงดูและฝึกสอนให้หาอาหารจากแม่ต่อไปเมื่อลูกเสือโตพอที่จะล่าเหยื่อได้เองก็จะแยกตัวออกไปหากินตามล�าพัง สถานะของเสือโคร่งอินโดจีนในธรรมชาติในประเทศไทยเหลอืเพยีง2ที่คอืป่าเขาใหญ่และป่าผนืภาคตะวนัตกทีต่ดิกบัชายแดนพม่าเท่านั้น

ที่มา: http://th.wikipedia.org

Page 27: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

27

สร้างทศันคต ิปลกูฝังวสิยัทศัน์ ปฐมนเิทศบคุลากรใหม่ ของเชยีงใหม่

ไนท์ซาฟารี เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2554ดร.ชุมพลมุสิกานนท์ รองผู ้จัดการพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีเป็นประธานพิธีเปิดการปฐมนิเทศบุคลากรผู้ปฏิบัติงานใหม่ของเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีพร้อมให้โอวาทและบอกเล่าถึงวิสัยทัศน์พันธกิจนโยบายตลอดจนสภาพแวดล้อมต่างๆขององค์กร พร้อมกล่าวถึงแนวทางการบริหารงานขององค์กรเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานใหม่ได้รู้ถึงระเบียบวินัยสิทธิประโยชน์และสวัสดิการเพื่อจะได้เกดิความรูส้กึภาคถมูใิจและยงัเป็นการสร้างความสามคัคใีนหมู่คณะซึ่งจะก่อเกิดประโยชน์ต่อองค์กรในอนาคตซึ่งมีผู้เข้าร่วมอบรมจากฝ่ายต่างๆของเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีทั้งสิ้นจ�านวน82คน

ต้อนรับสมาชิกใหม่กันอีกครั้งที่เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี โดยเมื่อวันที่19มิถุนายน2554ดร.ศราวุฒิศรีศกุนผู้จัดการพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีแถลงว่าเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีได้ต้อนรับสมาชิกใหม่ลูกเลียงผาเพศผู้1ตัวที่เกิดจากพ่อตองอูและแม่นีโมและก�าลังได้รับการดูแลจากแม่และอาศัยอยู่กับครอบครัวเลียงผาที่ประกอบด้วยพ่อแม่และพี่สาวสองตัวท�าให้ปัจจุบันนับรวมเลียงผาของเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีมีจ�านวนทั้งสิ้น5ตัว ผู้จัดการพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีกล่าวว่า เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีจะให้ความส�าคัญกับการดูแลความปลอดภัยสมาชิกใหม่ทุกชนดิเป็นพเิศษโดยเมือ่ได้รบัสมาชกิใหม่กจ็ะท�าการเกบ็ข้อมลูและสงัเกตความพร้อมของเลยีงผาจนกว่าจะมคีวามพร้อมจงึจะน�าออกสูส่่วนแสดงให้นักท่องเที่ยวได้ชมเพราะเลียงผาเป็นสัตว์ป่าสงวน1ใน15ชนิดของประเทศไทยที่ปัจจุบันอยู่ในสภาพใกล้สูญพันธุ์

เมื่อวันที่17มิถุนายน2554ดร.ศราวุฒิศรีศกุนผู้จัดการพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีรับมอบเงินสนับสนุนจากธนาคารกรุงศรีอยุธยาจ�ากัด(มหาชน)โดยได้รับเกียรติจากคุณจรูญรัตน์ตระการศิรินนท์ผู้จัดการภาคธนาคารกรุงศรีอยุธยาจ�ากัด(มหาชน)เป็นผู้มอบเงินจ�านวน300,000บาทเพื่อมอบโอกาสการเรียนรู้แก่เยาวชนในการเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้ในโครงการปลูกปัญญาสร้างองค์ความรู้อย่างยั่งยืนกับเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี(BehindtheZoo)ซึง่เป็นอกีหนึง่กจิกรรมทีเ่ชยีงใหม่ไนท์ซาฟารีตั้งใจสรรค์สร้างให้แก่เยาวชน ดร.ศราวุฒิ ศรีศกุน ผู้จัดการพื้นที่พิเศษเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีกล่าวว่าโครงการปลูกปัญญาสร้างองค์ความรู้อย่างยั่งยืนกับเชียงใหม่ไนท์ซาฟารีหรือBehindtheZooเป็นโครงการที่เชียงใหม่ไนท์ซาฟารีจัดขึ้นเพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนได้เข้ามาสัมผัสและเรียนรู้กับวิถีชีวิตของสัตว์ป่าด้วยตนเองซึ่งที่ผ่านมามีหลายหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนและร่วมมอบโอกาสการเรยีนรูน้ีแ้ก่เยาวชนโดยล่าสดุได้รบัการตอบรบัจากธนาคารกรงุศรอียธุยาจ�ากัด(มหาชน)ที่ร่วมสนับสนุนโครงการฯเป็นจ�านวนเงินถึง300,000บาท

ธนาคารกรงุศรีอยธุยา สนบัสนนุ เชยีงใหม่ไนท์ซาฟารีมอบโอกาสแก่เยาวชน ในโครงการปลกูปัญญาสร้างองค์ความรูอ้ย่างยัง่ยนื

เชยีงใหม่ไนท์ซาฟารีต้อนรบัสมาชกิใหม่ “เลยีงผาน้อย” แสนซน

Page 28: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

28

ดึงเสน่ห์ และความเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่น เดินหน้าสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวสร้างสรรค์

การพัฒนาการท่องเที่ยวที่สร้างสรรค์ต้องเร่ิ่มจากตัวบุคคลในท้องถิ่นก่อนเป็นอันดับแรก เพราะถ้าคนในพื้นที่ไม่มีจิตใจรักในการอนุรักษ์ความร่วมมือและความตั้งใจที่จะท�าก็จะไม่เกดิคนสเีขยีววนันีแ้นะน�าให้รูจ้กักบันางวไิลวรรณเอบิสภาพหรือป้าแมวประธานกลุ ่มแม่บ้านคันนาต�าบลห้วงน�้าขาวอ�าเภอเมืองจังหวัดตราดเจ้าของฟาร์มปูนิ่มและแหล่งเรียนรู้ดูงานฟาร์มปูนิ่มที่มีใจอยากเห็นการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเกิดขึ้นในท้องถิ่นของตนเอง นางวิไลวรรณ เล่าถึงที่มาที่ไปก่อนจะมาเป็นเจ้าของฟาร์มปนูิม่ว่าหลงัจากประสบปัญหาการเลีย้งกุง้กลุาด�าจงึหนัมารบัจ้างเลีย้งปนูิม่และรบัปนูิม่ไปขายทีต่ลาดสดในตวัจงัหวดัตราดเมือ่10กว่าปีก่อนขายยากเพราะคนไม่รูจ้กัและไม่ทราบว่าจะน�าไปประกอบอาหารอะไรวนัแรกขายได้เพยีง8ขดีเท่านัน้อดทนขายไปเรื่อยๆจน6เดือนจึงเริ่มติดตลาดนิยมซื้อไปบริโภคหลังๆมาเจ้าของฟาร์มไม่ยอมขายส่งให้จงึเริม่หนัมาท�าฟาร์มเองโดยกูเ้งนิมาลงทนุ250,000บาทโดยใช้บ่อเลีย้งกุง้เก่าปล่อยปไูป5,000ตวัจากนัน้กม็รีายการโทรทศัน์มาถ่ายท�าคนสนใจมาดูตลาดขยายผลผลติไม่พอขายจงึสนบัสนนุให้คนอืน่เลีย้งด้วยและรบัซือ้ไว้เองเพือ่สร้างความมัน่ใจให้กบัเกษตรกรผูเ้ลีย้งรายอืน่ แต่ก็ใช่ว่าหนทางของป้าแมวจะโรยด้วยกลีบกุหลาบเพราะเพยีงแค่ระยะเวลาไม่นานกต้็องประสบปัญหาวกิฤตอกีครัง้เมื่อมีรายการทีวีออกอากาศเรื่องฟาร์มปูนิ่มที่ตัดก้ามเพื่อเร่งการลอกคราบคนจึงเลิกบริโภคเพราะเป็นการทารุณสัตว์ปูนิ่มของป้าแมวจึงพาลขายไม่ออกไปด้วย “ในช่วงวิกฤตครั้งนั้นต้องยอมรับว่าเกือบท�าให้ป้าทรุดอีกครั้งแต่โชคดีที่หลังจากนั้นไม่นานมีรายการมาถ่ายท�าฟาร์มของเราเพือ่โปรโมทว่าฟาร์มของเราและอกีหลายฟาร์มไม่ตดัก้ามไม่ให้สารเร่งการลอกคราบเหมือนกับฟาร์มที่รายการโทรทัศน์น�าไปออกคนจึงหันมาบริโภคปุนิ่มจากฟาร์มของป้าอีกครั้งซึ่งขณะนี้ฟาร์มสามารถเลี้ยงปูนิ่มได้เต็มที่15,000ตัว”ป้าแมวเล่าถึงคราวที่ผ่านพ้นวิกฤตมาได้ ปัญหาต่างๆยังไม่จบลงเพียงครั้งนั้นพอเวลาล่วงเลยไปได้เพยีง2ปีป้าแมวกต้็องกเ็จอปัญหาใหญ่เข้าอกีครัง้เนือ่งจากพันธุ์ปูในประเทศที่ซื้อมาที่ตอนแรกแข็งแรงดีแต่พอปล่อยไปได้สักระยะเกิดการทยอยตายเพราะคนขายพันธุ ์ปูน็อคยามาแต่ป้าแมวกผ่็านวกิฤตครัง้นัน้มาได้ด้วยความมุง่มัน่และไม่ย่อท้อต่ออปุสรรคทีเ่กดิขึน้ใช้ประสบการณ์ในครัง้นัน้เป็นบทเรยีนทีก้่าวต่อไปข้างหน้า ป้าแมวเล่าให้ฟังอีกว่าถึงแม้ว่าตอนนี้ราคาพันธุ์ปูในประเทศจะมีราคาถูกกว่าคืออยู่ที่กิโลกรัมละ80บาทแต่ยังต้องซื้อปูที่มาจากประเทศพม่า ราคาจะอยู่ที่กิโลกรัมละ110บาทขนาดของปูอยู่ที่10-12ตัวต่อกิโลกรัมการลอกคราบต้องให้ปู

Page 29: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

29

ลอกคราบในครั้งแรกและขายเลยเพราะไม่เช่นนั้นต้นทุนการเลีย้งจะสงูไม่คุม้ปัญหาอปุสรรคตอนนีค้อืคณุภาพของพนัธุป์ูขณะนี้ขายอยู่ที่ราคากิโลกรัมละ250บาทมีทั้งแบบสดและแบบแช่แข็งซึ่งสามารถเก็บไว้ได้เป็นปี โดยปัจจุบันคราบที่ปูลอกแล้วจะมีคนมาขอไปท�าปุ๋ยเพราะชาวบ้านบริเวณนั้นก็มีการท�าสวนผลไม้พอถงึหน้าผลไม้เค้ากน็�าผลไม้มาแบ่งให้เรา ถามถึงแนวทางในการร่วมพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในชุมชนป้าแมวพูดด้วยสีหน้ายิ้มแย้มว่าตอนนี้ท�าโฮมสเตย์ไว้1หลงัไว้คอยต้อนรบันกัท่องเทีย่วทีต้่องการมาพกัผ่อนพร้อมชมิปนูิม่หรอือาหารพืน้บ้านเช่นแกงคัว่สบัปะรดหอยหวานแกงเลียงยอดมะรุมปูหลนใส่มะลิงปลิงซึ่งเป็นผักปลอดสารพิษที่ปลูกไว้เองเพื่อเผยแพร่วิถีชีวิตของท้องถิ่นให้คนที่มาเยือนน�าไปพูดปากต่อปากชักชวนคนรู้จักให้กลับมาท่องเที่ยวที่นี่อีกและยังมีของฝากเป็นน�้าพริกมะขามกุ้งสดที่ได้รับรางวัลโอทอปห้าดาวและน�้าพริกอื่นๆอีกมากมาย “คนทีน่ีใ่จดีเป็นมติรห้วงน�า้ขาวยงัมอีะไรดีๆ อกีมากที่อยากให้ชาวต่างถิ่นเข้ามาสัมผัส ไม่ว่าจะเป็นตะเคียนไม้กลายเป็นหิน ป่าชายเลนจากการอนุรักษ์ของชาวบ้านที่มีขนาดใหญ่ ประมงพื้นบ้าน หรือจะมาพักผ่อนที่ศูนย์เรียนรู้ของหมู่บ้านคันนาที่เป็นได้ทั้งสถานที่ฟังบรรยายรับประทานอาหารและเป็นทีพ่กับรรยากาศดีตดิทะเลมองเหน็ฟาร์มหอยนางรมและยังสามารถท�ากิจกรรมเก็บหอยซึ่งมีหลากหลายชนิดได้อีกด้วยหรือถ้าใครอยากรู้ว่าปูใบ้หน้าตาเป็นอย่างไรมาชมได้ทีน่ี่ส�าหรบัอาหารต้องโทรจองล่วงหน้าเพราะทีน่ีไ่ม่มีการกักตุนของเพราะอยากให้ลูกค้าได้ทานอาหารทะเลสดๆ” การท่องเที่ยวแบบชุมชนกึ่งการเกษตร ท�าให้เราเกดิการเรยีนรูไ้ม่ใช่มองแต่สิง่สวยงามและไปเปลีย่นวถิชีมุชนดัง้เดมิทีม่อียูแ่ล้วเพือ่ตอบสนองความต้องการของนกัท่องเทีย่วแต่การได้พดูคยุแลกเปลีย่นประสบการณ์ระหว่างนกัท่องเทีย่วและชาวบ้านท้องถิ่นนั้นสนุกและมีเสน่ห์ เหมาะจะเรียกว่าเป็นการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์อย่างแท้จริง

นางวิไลวรรณ เอิบสภาพ โทร. 08 6383 0832

Page 30: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

30

อพท. สนับสนุนโครงการดีๆ สร้างจิตอนุรักษ์ให้แก่เยาวชนของเดอะสปาเกาะช้าง

กระซิบข่าว

อพท. เดนิหน้าจดัอบรมเชงิปฏบิตักิาร เพือ่น�าแนวทางในการลดโลกร้อนไปประยกุต์ใช้

เมือ่วนัที่12กรกฎาคม2554ทีผ่่านมาองค์การบรหิารการพฒันาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน(องค์การมหาชน)หรืออพท.ได้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อน�าแนวทางในการลดโลกร้อนไปประยุกต์ใช้ขึ้นณห้องประชุมเอราวัณโรงแรมคชารีสอร์ทแอนด์สปาเกาะช้าง โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบันAsianInstituteofTechnology(AIT)2ท่านคือรศ.ดร.ธรรมรัตน์คุตตะเทพและดร.ณรงค์สุรินทร์กุลมาคอยให้ความรู้ตลอดช่วงเวลาของการอบรมโดยมีการเปิดสัมมนาจากพลตรีหญิงจรัสพิมพ์ธีรลักษณ์ผู้จัดการพื้นที่พิเศษหมู่เกาะช้างและพื้นที่เชื่อมโยง(สพพ.1)โรงแรมที่เข้าร่วมการอบรมได้แก่คชารีสอร์ทแอนด์สปาเกาะช้าง,เกาะช้างพาราไดซ์รีสอร์ทแอนด์สปา,โรงแรมอลีน่าแกรนด์,เคซีแกรนด์รีสอร์ทแอนด์สปา,อาน่ารีสอร์ทแอนด์

สปาเกาะช้าง,เมอร์เคยีวเกาะช้างไฮอะเวย์,อยัยะปรุะรสีอร์ทแอนด์สปา,เกาะช้างแกรนด์ออร์คิดรีสอร์ทแอนด์สปา,ไก่แบ้ฮัทรีสอร์ท,ไก่แบ้ฮัทรีสอร์ท,เดอะสปาเกาะช้าง,ดุสิต(ใบลานรีสอร์ท)และบ้านปูรีสอร์ท เนื้อหาในการอบรมประกอบไปด้วยเรื่องการจัดการเพื่อลดภาวะโลกร้อนและการจัดการน�้าเสียและน�าน�้ากลับมาใช้ใหม่การจัดการขยะการใช้พลงังานและน�า้อย่างมปีระสทิธภิาพการชมตวัอย่างการปรบัปรงุด้านสิ่งแวดล้อมการลงทุนและความคุ้มทุนของโรงแรมคชารีสอร์ทแอนด์สปาเกาะช้างต่อด้วยการน�าเสนอแนวทางของแต่ละโรงแรมก่อนจะปิดท้ายการอบรมด้วยการสรปุแนวทางและมาตรการในการลดภาวะโลกร้อนทีจ่ะน�าไปประยุกต์ใช้ซึ่งผู ้ เข ้าร ่วมอบรมทุกคนต่างตั้งใจเป็นอย่างมากเพื่อที่จะรับความรู้ในการอบรมนี้ไปใช้ให้ได้มากที่สุด

เมื่อวันที่25มิถุนายน2554อพท.ได้ให้การสนับสนุนเดอะสปาเกาะช้างรีสอร์ทโรงแรมเพื่อสุขภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งตั้งอยู่ทีบ้่านสลกัคอกต�าบลเกาะช้างใต้อ�าเภอเกาะช้างจงัหวดัตราดทีเ่ลง็เหน็ความส�าคัญในการปลูกฝังให้เยาวชนมีจิตส�านึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมริเริ่มจัด “โครงการเยาวชนจังหวัดตราดเรียนรู ้การท่องเที่ยวสีเขียวและปลูกป่าชายเลน”ขึ้น เป็นประธานในการมอบเกียรติบัตรแก่ผู ้ร่วมกิจกรรมทุกคน

โดยกิจกรรมในครั้งนี้ได้น�าเยาวชนจากโรงเรียนตราษตระการคุณมาร่วมท�ากิจกรรม ให้เยาวชนทุกคนได้เรียนรู้การจัดการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสภาพอากาศ และมีส่วนร่วมในการปลูกต้นไม้เพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นสาเหตุส�าคัญที่ท�าให้อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นและยังได้ร่วมกันปลูกป่าเพื่อเฉลิมพระเกียรติ84พรรษาในองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอีกด้วยซึ่งเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการทุกคนต่างมีความสุขและสนุกที่ได้เรียนรู้เรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในครั้งนี้

Page 31: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

31

At the police stationแอ็ท เดอะ โพลีซ สเตชั่น

ที่สถานตี�ารวจ

การเดินทางในฤดูฝนบางครั้งอาจมีอุบัติเหตุให้พบเห็นบ่อยครั้งเราอาจจะต้องท�าหน้าที่เป็นพลเมืองดีช่วยชาวต่างชาติเล่าเหตุการณ์ให้กับเจ้าหน้าที่ต�ารวจฟังหรือน�าค�าศัพท์จากสถานการณ์ตัวอย่างข้างล่างนี้ไปใช้ประโยชน์บ้าง

31

Tommy: There is a car accident at the intersection, near the Post Office.ทอมมี่: แธร์ อีส อะ คาร์ แอ้คซิเดนท์ แอทท์ เธอะ อินเตอร์เซ็คชั่น เนียร์ เธอะ โพสท์ อ้อฟฟิ่สทอมมี่: มีอุบัติเหตุรถยนต์ ที่ตรงสี่แยก ใกล้ที่ท�าการ ไปรษณีย์

Tommy: One dies and two are in serious injuries.ทอมมี่: วัน ดายส์ แอนด์ ทู อาร์ อิน ซี้เรี่ยส อิ้นเจอร์รี่ส์ ทอมมี่: มีคนตายหนึ่งคน เจ็บหนักสองคน

Tommy: But, on the other side of the road, two cars and one motorcycle pass-by have crashed.ทอมมี่: บั้ท ออน ดิ อั้ทเธ่อร์ ไซด์ ออฟ เธอะ โรดด์ ทู คาร์ส แอนด์ วันมอร์เตอร์ไซ้เคิ่ล พาส-บาย แฮฟว์ แครชทอมมี่: แต่อีกฟากหนึ่งของถนน รถยนต์ 2 คัน และจักรยานยนต์ที่วิ่งผ่านไปมาก็ชนกัน

Policeman: An officer will be there soon. Please wait for a while.ต�ารวจ: แอ่น อ๊อฟฟิสเซ่อร์ วิลล์ บี แธร์ ซูน พลีส เวท ฟอร์ อะ ไวล์ ต�ารวจ: อีกสักครู่จะมีเจ้าหน้าที่ต�ารวจไป กรุณารอสักครู่ นะครับ

พบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ

Page 32: DASTA NEWS No. 15 sustainable tourism

http://www.environnet.in.th

1.ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงานเช่นเปลี่ยนหลอดไส้เป็นหลอดตะเกียบ

ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ผอมใหม่T52.

ถ้าไม่ร้อนมากเกินไปควรใช้พัดลมแทนเครื่องปรับอากาศแต่ถ้าต้องเปิดเครื่องปรับอากาศก็เปิดที่25องศาเซลเซียสโดยตั้งเวลาเปิดเครื่องให้ท�างานเท่าที่จ�าเป็น

3.ปิดไฟในห้องที่ไม่มีคนอยู่ถอดปลั๊กทีวีวิทยุคอมพิวเตอร์เครื่องเสียง

หรืออื่นๆเมื่อเลิกใช้งาน4.

อย่าใส่ของร้อนเข้าตู้เย็นหรือใส่ของจนเต็มตู้และไม่ควรเปิดตู้เย็นบ่อยๆหมั่นละลายน�้าแข็งในช่องแช่แข็งด้วยเพื่อประหยัดพลังงานในการท�างานของตู้เย็น

5.ใช้ไม้กวาดกวาดบ้านซักผ้าด้วยมือได้ออกก�าลังกายและประหยัดไฟกว่าใช้เครื่องดูดฝุ่น

หรือเครื่องซักผ้าแต่ถ้าไม่มีเวลาก็ควรซักครั้งละมากๆ6.

ถ้ามีของใช้ในบ้านเสียควรหาทางซ่อมให้กลับมาใช้ได้ใหม่หรือดัดแปลงให้ใช้ประโยชน์ในทางอื่นอย่าเพิ่งรีบทิ้งหรือซื้อของใหม่

7.แยกขยะที่บ้านเป็น2ประเภทคือขยะเปียก(เศษอาหาร)ไว้ท�าปุ๋ยกับขยะรีไซเคิลไว้ขาย

อาแปะซาเล้งเช่นเศษกระดาษพลาสติกแก้วเป็นต้น8.

เก็บน�้ามันพืชที่ใช้แล้วไปขายที่ปั๊มน�้ามันบางจากเพื่อน�าไปท�าไบโอดีเซล9.

ใช้น�้าอย่างประหยัดใช้โถชักโครกแบบประหยัดน�้าอย่าปล่อยให้มีน�้ารั่วหากรั่วรีบซ่อมทันที

10.ปลูกต้นไม้ในบริเวณบ้านมีพื้นที่น้อยก็ปลูกไม้กระถางถ้ามีพื้นที่มาก

ก็ปลูกไม้ยืนต้น