66

Handbook Student 2011

  • Upload
    -

  • View
    48

  • Download
    9

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Handbook Student 2011
Page 2: Handbook Student 2011

การคัดลอกผลงานผูอืน่ และการตกแตงขอมูลการวิจัย เปนความผิดจริยธรรมวิชาการ ขั้นรายแรง มีผลตอการใหปริญญา

ะ กอนสําเร็จการศกึษานิสติจะตองมีสมรรถนภาษาอังกฤษตามเกณฑของมหาวทิยาลัย

Page 3: Handbook Student 2011

ต้ังแตปการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยกําหนดใหนิสติ ตองเขารวมกิจกรรมจิตอาสา ท่ีไดรับความเห็นชอบจาก คณะหรอืมหาวิทยาลัย โดยมีจํานวนช่ัวโมง ในการทํากิจกรรม

อยางนอย 10 ชั่วโมง/ป สําหรับนสิิตบัณฑิตศึกษากําหนด

ใหทําเฉพาะในปแรกเทานัน้

Page 4: Handbook Student 2011

คํานํา

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดจัดทําคูมือนิสิตบัณฑิต ศึกษาฉบับนี้ข้ึน เพื่ออํานวยความสะดวกใหนิสิตบัณฑิตศึกษา ไดใชเปนแนวทางประกอบการทําความเขาใจเกี่ยวกับข้ันตอนการดําเนินการตางๆ ท่ีจะตองปฏิบัติตามขอบังคับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ตั้งแตแรกเขามาเปนนิสิตบัณฑิตศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จนกระท่ังสําเร็จการศึกษา เกณฑปฏิบัติตาง ๆ ตามขอบังคับดังกลาวนั้น เปนเกณฑมาตรฐานกลางในการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๑ ท้ังนี้ นิสิตสามารถสืบคนขอมูลเพิ่มเติมไดท่ีเว็บไซตของบัณฑิตวิทยาลัย (www.grad.chula.ac.th)

อยางไรก็ตาม หลักสูตรแตละหลักสูตรสามารถประกาศใชเกณฑปฏิบัติท่ีสูงกวาเกณฑของบัณฑิตวิทยาลัยไดตามเปาหมายการพัฒนาบัณฑิตของหลักสูตรนั้นๆ ดังนั้นนิสิตทุกทานจึงควรติดตามดูประกาศเกณฑปฏิบัติตางๆ จากหลักสูตรอีกทางหนึ่งดวย และควรตรวจสอบกําหนดการตางๆ จากปฎิทินการศึกษาของสํานักทะเบียนและประมวลผล ที่เว็บไซต www.reg.chula.ac.th ซึ่งจะเปนประโยชนตอนิสิตตลอดระยะเวลาท่ีศึกษาในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 5: Handbook Student 2011

สารบัญ

หนา

คํานํา ๑. การติดตอและสอบถามขอมูล ๑ ๒. ระบบการศึกษา ๓

๒.๑ แบบทวิภาค / แบบตรีภาค / แบบอื่น ๓ ๒.๒ ปริมาณการศึกษา ๓ ๒.๓ หนวยกิต ๔ ๓. หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ๔

๓.๑ หลักสูตรปกติ ๔ ๓.๒ หลักสูตรนานาชาติ ๕ ๓.๓ ระยะเวลาการศึกษา ๖ ๔. สถานภาพนิสิต ๗

๔.๑ นิสิตทดลองศึกษา ๗ ๔.๒ นิสิตสามัญ ๗ ๔.๓ ผูเขาศึกษาในหลักสูตรแบบตอเน่ือง ๗ ๔.๔ ผูเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยโดยมิไดรับประกาศนียบัตร

หรือปริญญาใดปริญญาหน่ึง ๗

๕. การลงทะเบียน ๘ ๕.๑ การลงทะเบียนแรกเขา ๘ ๕.๒ การลงทะเบียนเรียน ๙ ๕.๓ การลงทะเบียนเรียนของนิสิตสามัญ ๙ ๕.๔ การลงทะเบียนเรียนของนิสิตทดลองศึกษา ๑๐ ๕.๕ การลงทะเบียนเรียนแบบรวมฟงการบรรยาย ๑๐ ๕.๖ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาวิทยานิพนธ ๑๐

Page 6: Handbook Student 2011

หนา ๕.๗ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาในสถาบันการศึกษาอ่ืน ๑๐ ๕.๘ การลงทะเบียนเรียนซ้ํา ๑๑ ๖. การยกเวนรายวิชา ๑๑ ๗. การเพ่ิม ลด ถอนรายวิชา ๑๒ ๘. การลาพักการศึกษา ๑๒

๘.๑ การย่ืนคํารองขอลาพักการศึกษา ๑๒ ๘.๒ เง่ือนไขการขอลาพัก ๑๓ ๘.๓ ระยะเวลาที่ลาพักการศึกษา ๑๓ ๘.๔ การชําระคารักษาสถานภาพนิสิต ๑๓ ๙. การสอบประเภทตาง ๆ ๑๔ ๙.๑ การสอบรายวิชา ๑๔ ๙.๒ การสอบประมวลความรู ๑๔ ๙.๓ การสอบวัดคุณสมบัติ ๑๕ ๙.๔ การสอบภาษาตางประเทศ ๑๖ ๙.๕ การสอบโครงรางวิทยานิพนธ ๑๗ ๙.๖ การสอบวิทยานิพนธ ๑๗

๑๐. การประเมินผลการศึกษา ๑๘ ๑๐.๑ ระดับการประเมินผล ๑๙ ๑๐.๒ หลักเกณฑการใหสัญลักษณผลการศึกษา ๒๐ ๑๐.๓ การคํานวณแตมเฉล่ีย ๒๓

๑๑. การพนสถานภาพและการขอคืนสถานภาพนิสิต ๒๔ ๑๒. การรักษาสถานภาพนิสิต ๒๕ ๑๓. การสําเร็จการศึกษา ๒๖

๑๓.๑ เง่ือนไขที่จะสําเร็จการศึกษาและมีสิทธิขอรับประกาศนียบัตรหรือปริญญาบัตร

๒๖

๑๓.๒ การขอสําเร็จการศึกษา ๒๗ ๑๓.๓ แนวปฏิบัติหลังจากขอสําเร็จการศึกษา ๒๘

Page 7: Handbook Student 2011

ภาคผนวก หนา ก. ขัอผิดพลาดท่ีพบบอย ๓๑ ข. การชําระคาเลาเรียน ๓๒ ๑. อัตราคาเลาเรียน ๓๒ ๒. การชําระคาเลาเรียนในการลงทะเบียนเรียนปกติ ๓๓ ๓. การชําระคาเลาเรียนในการลงทะเบียนเรียนสาย ๓๕ ค. การทดสอบความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ ๓๙ ง. การสงวิทยานิพนธ ๔๑ จ. วินัยนิสิต ๔๓

ฉ. การประกันชีวิตและอุบัติเหตุของนิสิต ๕๐ ช. ทุนอุดหนุนการศึกษาและวิจัย ๕๓ ซ. การตีพิมพผลงาน ๕๔ ฌ. การจัดทําวิทยานิพนธ ๕๕ ญ. สิ่งอํานวยความสะดวก ๕๕ ฎ. ท่ีพัก/หอพักบริเวณใกลเคียงจุฬาฯ ๕๖

Page 8: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑. การติดตอและสอบถามขอมูล สถานที่ติดตอสอบถาม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย ๒๕๔ ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวนั กทม. ๑๐๓๓๐ E-mail : [email protected] Website : www.grad.chula.ac.th

ติดตอสอบถามหนวยงานภายในบณัฑิตวิทยาลัย หมายเลขโทรศัพทกลาง ๐-๒๒๑๘-๓๕๐๑ ๐-๒๒๑๘-๓๕๑๖ ๐-๒๒๑๘-๓๕๒๖ ๐-๒๒๑๘-๓๕๓๐ ๐-๒๒๑๘-๓๕๓๒ ๐-๒๒๑๘-๓๕๓๓ กด ๐ โทรสาร ๐-๒๒๑๘-๓๕๐๖, ๐-๒๒๑๘-๓๕๑๒, ๐-๒๒๑๘-๓๕๒๙

ติดตอ หมายเลขภายใน หมายเลขตรง

ทะเบียนและประเมินผล -การสมัครเขาศึกษา -การขอหนังสือรับรองทางการศึกษา -ทะเบียน -สหสาขาวิชา

กด ๑ ๐-๒๒๑๘-๓๕๐๒-๕

ทุนการศึกษา -การสมัครขอรับทุนการศึกษา/วิจัย -การทาํขอตกลงทุน -การประกาศผลการพิจารณาทุน

กด ๒ ๐-๒๒๑๘-๓๕๐๒-๕

วิทยานิพนธ -การสงหัวขอวทิยานิพนธออนไลน -โครงรางวิทยานพินธ -การตรวจรูปแบบวิทยานิพนธ -สงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ -การเผยแพรผลงานเพื่อขอสําเร็จการศึกษา

กด ๓ ๐-๒๒๑๘-๓๕๒๙

Page 9: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒ ติดตอ หมายเลขภายใน หมายเลขตรง

การเงิน กด ๔ -การรับเช็ค -การสงเบิกทุนการศึกษา/วิจัย -ชําระคาธรรมเนยีมการศึกษา (สหสาขาวิชา)

๐-๒๒๑๘-๓๕๒๑ ๐-๒๒๑๘-๓๕๒๒

One Stop Service -

๐-๒๒๑๘-๓๕๐๑

สงเบิกทุนการศึกษา -สง-รับวิทยานิพนธ -สงใบสมัครทุน ทําขอตกลงทนุ -สงเอกสารตางๆที่เกี่ยวของกับ บัณฑิตวิทยาลัย

๐-๒๒๑๘-๓๕๑๖ ๐-๒๒๑๘-๓๕๒๖ ๐-๒๒๑๘-๓๕๓๐ ๐-๒๒๑๘-๓๕๓๒ ๐-๒๒๑๘๓๕๓๓

กด ๐

หมายเลขติดตอหนวยงานท่ีเกี่ยวของ สํานักงานการทะเบียนและประมวลผล โทรศัพท ๐-๒๒๑๘-๐๐๐๑-๑๖ ฝายรับเขาศึกษา โทร. ๐-๒๒๑๘-๐๐๐๖-๗ ฝายตารางสอนตารางสอบ โทร. ๐-๒๒๑๘-๐๐๐๘ ฝายทะเบียนเรียน โทร. ๐-๒๒๑๘-๐๐๐๙-๑๐ ฝายระเบียนการศกึษา โทร. ๐-๒๒๑๘-๐๐๑๑-๒ ฝายประมวลผลขอมูล โทร. ๐-๒๒๑๘-๐๐๑๗-๙ ฝายบัณฑิตศึกษา โทร. ๐-๒๒๑๘-๐๐๑๕ ฝายสารนิเทศ โทร. ๐-๒๒๑๘-๐๐๑๖

Page 10: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒. ระบบการศึกษา

๒.๑ แบบทวิภาค / แบบตรีภาค การศึกษาระดับบณัฑิตศกึษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั ใชระบบการศึกษาแบบ

หนวยกิต เปนแบบทวิภาค แบบตรีภาคหรือแบบอื่นตามที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด ปการศกึษามี ๒ แบบ คือ ๑) ปการศึกษาแบบทวิภาค แบงออกเปน ๒ ภาคการศึกษา คือ ภาคการศึกษาตน และ

ภาคการศึกษาปลาย โดยอาจมีภาคฤดูรอนตอจากภาคการศึกษาปลายอีก ๑ ภาค ๒) ปการศึกษาแบบตรีภาค แบงออกเปน ๓ ภาคการศึกษา คือ ภาคการศึกษาที่หนึ่ง

ภาคการศึกษาที่สอง และภาคการศึกษาที่สาม ภาคการศึกษาหนึ่งๆ มีระยะเวลาการศึกษาไมนอยกวา ๑๕ สัปดาห ภาคฤดูรอนมีระยะเวลา

การศึกษาไมนอยกวา ๖ สัปดาหแตไมเกิน ๘ สัปดาห ทั้งนี้ ชั่วโมงเรียนของรายวิชาที่เปดสอนในภาคฤดูรอนตองเทากับชั่วโมงเรียนที่เปดสอนในภาคการศึกษาปกติ ๒.๒ ปริมาณการศึกษา หนวยที่ใชแสดงปริมาณการศึกษา เรียกวา “หนวยกิต”โดยหนวยกิตที่กําหนดไวสําหรับการศึกษาในแตละรายวิชานั้น ใหเปนไปตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ ๑) รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายไมนอยกวา ๑๕ ชั่วโมงตอ ๑ ภาคการศึกษา มีคาเทากับ ๑ หนวยกิต ๒) รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา ๓๐ ชัว่โมงตอ ๑ ภาคการศกึษา มีคา เทากับ ๑ หนวยกิต ๓) การฝกงานหรือฝกภาคสนาม ที่ใชเวลาฝกไมนอยกวา ๔๕ ชั่วโมงตอ ๑ ภาคการศึกษา มีคา เทากับ ๑ หนวยกิต ๔) การคนควาอิสระหรือวิทยานิพนธ ที่ใชเวลาศึกษาคนควาไมนอยกวา ๔๕ ชั่วโมง ตอ ๑ ภาคการศึกษา มีคาเทากับ ๑ หนวยกิต รายวิชาที่กาํหนดไวในหลักสูตรซ่ึงนิสิตตองศึกษา และสอบผานโดยไดรับสัญลักษณ Sแตมิไดนํามานบัเปนหนวยกิตรวมในหลักสูตร เรียกวา “วิชาท่ีไมนับหนวยกิต” (ถาไดรับสัญลักษณ U ตองลงทะเบียนเรียนซํ้า)

Page 11: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒.๓ หนวยกิต มี ๔ ประเภท คือ

๑) หนวยกติเรียน” หมายถึง จํานวนหนวยกิตทีน่ิสิตไดลงทะเบียนเรียน ๒) “หนวยกิตคํานวณรายภาค” หมายถึง จํานวนหนวยกิตทั้งหมดรวมกันของทุกรายวิชาที่นิสิตไดลงทะเบียนเรียนและไดรับสัญลักษณ A, B+, B, C+, C, D+, D, และ F ในแตละภาคการศึกษา ๓) “หนวยกิตคํานวณสะสม” หมายถึง จํานวนหนวยกิตทั้งหมดรวมกันของทุกรายวิชาที่นิสิตไดลงทะเบียนเรียนในทุกภาคการศึกษา และไดรับสัญลักษณ A, B+, B, C+, C, D+, D, และ F ทั้งนี้ รวมถึงรายวิชาที่นิสิตลงทะเบียนเรียนมากกวาหนึ่งคร้ังดวย ๔) “หนวยกิตสอบได” หมายถึง จํานวนหนวยกิตของรายวิชาที่นิสิตไดรับสัญลักษณ A, B+, B, C+, C และ S ในกรณีที่นิสิตสอบไดรายวิชาใดมากกวาหนึ่งคร้ัง หรือสอบไดรายวิชาใดที่ระบุไววาเทียบเทารายวิชาที่สอบไดมาแลวใหนับจํานวนหนวยกิตที่สอบไดคร้ังแรกเพียงคร้ังเดียว ยกเวนในกรณีรายวิชาที่มีเนื้อหาไมซํ้าซอนกับที่นิสิตไดเคยศึกษามาแลวและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรอนุมัติใหลงทะเบียนซํ้าได

๓ . หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา

๓.๑ หลักสูตรปกติ มี ๔ หลักสูตร คือ ๓.๑.๑ หลักสูตรประกาศนียบัตรบณัฑิตและหลักสูตรประกาศนียบตัรบัณฑิตช้ันสูง มี

จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา ๒๔ หนวยกิต ๓.๑.๒ หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต มีจาํนวนหนวยกิตรวมตลอดหลกัสูตรไมนอยกวา ๓๖

หนวยกิต โดยแบงการศึกษาออกเปน ๒ แผน ไดแก “ แผน ก” เนนการวิจัยและตองทําวิทยานิพนธ แบงออกเปน ๒ แบบยอย ดังนี้

“ แบบ ก ๑” มีหนวยกิตวิทยานิพนธไมนอยกวา ๓๖ หนวยกิต “ แบบ ก ๒” มีหนวยกิตวิทยานิพนธไมนอยกวา ๑๒ หนวยกิต และ

หนวยกิตรายวิชา ไมนอยกวา ๑๒ หนวยกิต แตรวมกันทั้งหมดแลวตองไมนอยกวา ๓๖ หนวยกิต “ แผน ข” เนนการศึกษารายวิชาและไมตองทําวิทยานิพนธ

กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตร มีรายวิชาที่นิสิตทําการคนควาอิสระจํานวน ๖ หนวยกิต

Page 12: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กลุมสาขาวิชาอื่น มีหนวยกิตรายวิชาที่นิสิตทําการคนควาอิสระไมนอยกวา ๓ หนวยกิต แตไมเกิน ๖ หนวยกิต

๓.๑.๓ หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต เปนหลักสูตรที่เนนการวิจัยที่กอใหเกิดความรูใหม และมีคุณภาพสูงในทางวิชาการ แบงออกไดเปน ๒ แบบ คือ

๑) “แบบ ๑” เนนการทําวิทยานิพนธ ประกอบดวย (ก) “แบบ ๑.๑” ทําวิทยานิพนธไมนอยกวา ๔๘ หนวยกิต สําหรับผูที่เขา

ศึกษาดวยวุฒิปริญญามหาบัณฑิต (ข) “แบบ ๑.๒” ทําวิทยานิพนธไมนอยกวา ๗๒ หนวยกิต สําหรับผูที่เขาศึกษาดวยวุฒิปริญญาตรี

๒) . “แบบ ๒” เรียนรายวิชาและทําวทิยานิพนธ ประกอบดวย (ก) “แบบ ๒.๑” เรียนรายวิชาไมนอยกวา ๑๒ หนวยกิตและทําวิทยานิพนธไมนอยกวา ๓๖ หนวยกิต สําหรับผูทีเ่ขาศึกษาดวยวุฒปิริญญามหาบัณฑิต

(ข) “แบบ ๒.๒” เรียนรายวชิาไมนอยกวา ๒๔ หนวยกิตและทาํวทิยานิพนธไมนอยกวา ๔๘ หนวยกิต สําหรับผูทีเ่ขาศึกษาดวยวุฒปิริญญาตรี

๓.๑.๔ หลักสูตรบริหารแบบตอเนื่อง มีโครงสรางของหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ทั้งแบบ ๑.๑ แบบ ๑.๒ แบบ ๒.๑ และแบบ ๒.๒ แตโครงสรางของหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตใหมีเฉพาะแผน ก ทั้งแบบ ก ๑ และแบบ ก ๒ หมายเหตุ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจกําหนดใหนิสิตลงทะเบียนเรียนในรายวิชาหนึ่งรายวิชาใด หรือทํากิจกรรมทางวิชาการอื่นประกอบการศึกษาโดยไมนับหนวยกิตได

๓.๒ หลักสูตรนานาชาต ิเปนหลักสูตรที่มีความเปนนานาชาติในองคประกอบตางๆทั้งในดานเนื้อหา ผูสอน

ผูเรียน มีเนื้อหาที่มีความเปนนานาชาติในตัวเอง มีความรวมมือกับมหาวิทยาลัยตางประเทศ มีการแลกเปลี่ยนอาจารยผูสอน ปจจุบัน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเปดสอนหลักสูตรนานาชาติระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน ๖๖ สาขาวิชาประกอบดวยหลักสูตร ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ๑ สาขาวิชา ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ๑ สาขาวิชา ระดับปริญญามหาบัณฑิต จํานวน ๔๑ สาขาวิชา และระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต ๒๓ สาขาวิชา

Page 13: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๖ ๓.๓ ระยะเวลาการศึกษา

๓.๓.๑ “ระยะเวลาการศึกษา” หมายถึง เวลาการศึกษาทั้งหมดที่นิสิตใชเพื่อการศึกษา และสรางผลงานทางวิชาการที่กําหนดไวในหลักสูตร ไดแก การเรียนรายวิชา การทํางานวิจัย และการเขียนวิทยานิพนธ หรือสารนิพนธ ตลอดจนการเผยแพรผลงานวิทยานิพนธ เร่ิมนับตั้งแตภาคการศึกษาที่นิสิตลงทะเบียนแรกเขาในหลักสูตรจนถึงภาคการศึกษาที่นิสิตสอบผานและดําเนินการครบถวนตามที่หลักสูตรกําหนด ผูเขาศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง มีระยะ เวลาการศึกษาไมเกินระยะเวลาที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด ผูเขาศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต มีระยะเวลาการศึกษาไมเกิน ๔ ปการศึกษา ผูเขาศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต มีระยะเวลาการศึกษาตามหลักเกณฑ ตอไปนี้ - ไมเกิน ๖ ปการศึกษา สําหรับผูเขาศึกษาดวยวุฒิปริญญามหาบัณฑิต - ไมเกิน ๘ ปการศึกษา สําหรับผูเขาศึกษาดวยวุฒิปริญญาตรี ๓.๓.๒ นิสิตซ่ึงสอบวิทยานิพนธผาน และสงเลมวิทยานิพนธภายในกําหนดเวลา

การศึกษาขางตน แตยังรอการตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ อาจขอขยายระยะเวลาการศึกษา ตอไปไดอีกไมเกิน ๒ ภาคการศึกษา โดยขยายไดคร้ังละ ๑ ภาคการศึกษา และตองมีหลักฐานการสงผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพดวย ทั้งนี้นิสิตตองรักษาสถานภาพในภาคการศึกษาท่ีไดรับอนุมัติใหขยายเวลาการศึกษา

๓.๓.๓ กรณีที่มีเหตุสุดวิสัยทําใหไมสามารถสําเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาท่ีกําหนด นิสิตตองย่ืนคํารองตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณะกรรมการบริหารคณะเพื่อพิจารณา หากคณะกรรมการบริหารคณะเห็นชอบใหมีการขยายระยะเวลาการศึกษา ใหเสนอเร่ืองตอคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย และอธิการบดีเพื่อพิจารณาอนุมัติ

หมายเหต ุ นิสิตสามัญไมเต็มเวลา มีระยะเวลาการศึกษาไมเกนิ ๑.๕ เทาของระยะเวลาการศึกษาขางตน

Page 14: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔. สถานภาพนิสิต

ผูที่เขาศึกษาเพือ่รับประกาศนียบัตรหรือปริญญาบัตรจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มีสถานภาพเปน “นิสิต” ๔.๑ นิสิตทดลองศึกษา คือผูที่คณะกรรมการบริหารคณะพิจารณารับเขาทดลองศึกษาในมหาวิทยาลัย ยกเวนหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก ๑ และหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ ๑

๔.๒ นิสิตสามัญ มี ๒ ประเภท คือ นิสิตสามัญเต็มเวลา และนิสิตสามัญไมเต็มเวลา

๔.๓ ผูเขาศึกษาในหลักสูตรแบบตอเนื่อง มีสถานภาพเปนนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยไมจําแนกวาเปนนิสิตระดับปริญญา

ดุษฎีบัณฑิตหรือปริญญามหาบัณฑิตในวันที่เขาศึกษา จนกวานิสิตจะเขาสูระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตหรือปริญญามหาบัณฑิตตามกรอบเวลาที่ระเบียบกําหนด

๔.๔ ผูเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยโดยมิไดรับประกาศนียบัตรหรือปริญญาใดปริญญาหนึง่ แยกเปน ๓ ประเภท คือ ๑) ผูรวมฟงการบรรยาย บุคคลภายนอกอาจลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่สํานักงานการทะเบียนและ ประมวลผล ไดไมเกิน ๖หนวยกิต ตอภาคการศึกษาภายในเวลาที่สํานักงานการทะเบียนและประมวลผลกําหนด

๒) นิสิตนักศึกษาทําวิจัย นิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันการศึกษาอื่นทั้งในและตางประเทศอาจไดรับพิจารณาใหมาทําการศึกษาคนควาเฉพาะเรื่องไดเปนรายภาคการศึกษาหรือตามชวงเวลาที่เหมาะสม และอาจถูกเพิกถอนสถานภาพนิสิตนักศึกษาวิจัยได หากไมมีผลงานกาวหนาเทาที่ควร ประพฤติตนไมเหมาะสมหรือมีเหตุอื่นตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเห็นสมควร ๓) นิสิตนักศึกษาเรียนขามมหาวิทยาลัย

นิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันการศึกษาอื่นทั้งในและตางประเทศอาจ

Page 15: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ไดรับพิจารณาใหเขาเปนนิสิตนักศึกษาเรียนขามมหาวิทยาลัย เพื่อนําหนวยกิตและผลการศกึษาไปเปนสวนหนึง่ในการศกึษาตามหลักสูตรของสถาบนัการศกึษาน้ันๆ โดยตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาตามที่สํานักงานการทะเบียนและประมวลผลกําหนด

๕. การลงทะเบียน

๕.๑ การลงทะเบียนแรกเขา ผูที่มหาวิทยาลัยรับเขาศึกษาโดยมีสถานภาพการเปนนิสิต ตองลงทะเบียนแรกเขาโดยย่ืนเอกสารและหลักฐานตามทีสํ่านักงานการทะเบียนและประมวลผลกําหนด พรอมทั้งลงทะเบยีนเรียนและชําระคาเลาเรียนและคาธรรมเนียมพิเศษ (ถามี)

วิธีการการลงทะเบียนเรียนปกติในภาคการศึกษาแรก นิสิตใหมจะตองแสดงความจํานงขอลงทะเบียนเรียนผานทางอินเทอรเน็ตที่เว็บไซต http://www.reg.chula.ac.th (นิสิตสามารถศึกษาข้ันตอนการลงทะเบียนและระยะเวลาจากคูมือการลงทะเบียนเรียนที่ปรากฏในเว็บไซตของสํานักทะเบียนฯ) โดยมีข้ันตอนการปฏิบัติ ดังนี้

๑) เขาสูระบบการลงทะเบียนเรียน โดยเลือกรายการเขาสูระบบแลวเลือก ลงทะเบียนเรียน ( ปอนเลขประจําตัวนิสิต ปอนรหัสผาน

กดปุม "ตกลง (๒) เลือกรายการลงทะเบียนเรียน : ลงปกติ แลวบันทึกรายวิชา และตอนเรียน (๓) ยืนยัน จท๑๑ (๔) ตรวจสอบขอมูลการแสดงความจํานงขอลงทะเบียนเรียน ในหัวขอสอบถามขอมูลสวนบุคคล (๕) ออกจากระบบ นิสิตตองทาํการออกจากระบบทกุคร้ังที่เลิกใชงานเพื่อปองกันมิใหผูอื่นทํารายการภายใตชื่อของนิสิต (๖) นิสิตรับรายงานผลการแสดงความจํานงขอลงทะเบียนเรียน(CR๗๔) ทีศ่าลาพระเก้ียวตามกําหนดวันในปฏิทินการศึกษา (๗) นํา CR๗๔ ไปตดิตอชาํระคาเลาเรียนผานธนาคารไทยพาณิชย จาํกดั (มหาชน) ที่ศาลาพระเกี้ยว

Page 16: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สําหรับนิสิตใหมที่เขาศึกษาในภาคการศึกษาปลายเปนภาคการศึกษาแรก ปฏิบัติเชนเดียวกับนิสิตใหมที่เขาศึกษาในภาคการศึกษาตนเปนภาคการศึกษาแรก ตั้งแตขอ (๑)–(๕) หลังจากนั้นใหนิสิตตรวจสอบและรับทราบผลการแสดงความจํานงขอลงทะเบียนเรียนทางอินเตอรเน็ต ในหัวขอขอมูลสวนบุคคล รายการผลการแสดงความจํานงฯ (CR๗๔ & CR๘) ตามกําหนดวันในปฏิทินการศึกษา และติดตอชําระคาเลาเรียนผานธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) โดยนิสิตสามารถอานคําแนะนําวิธีการชําระคาเลาเรียนไดจากเว็บไซตของสํานักทะเบียนฯ

๕.๒ การลงทะเบียนเรียน การลงทะเบียนเรียนแยกเปน ๒ ประเภท คือ ๑) การลงทะเบียนเรียนปกติ ลงไดกอนวันเปดเรียนของแตละภาคการศึกษา

๒) การลงทะเบียนเรียนสาย ลงไดภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษา หรือภายในสัปดาหแรกของภาคฤดูรอน

กําหนดวัน เวลา และวิธีการลงทะเบียนเรียน เปนไปตามประกาศของสํานักงานการทะเบียนและประมวลผล

ในกรณีที่มีเหตุจําเปนทําใหไมอาจลงทะเบียนเรียนภายในกําหนดเวลาผูอํานวยการ สํานักงานการทะเบียนและประมวลผลอาจอนุมัติใหมีการลงทะเบียนเรียนเปนกรณีพิเศษได

๕.๓ การลงทะเบียนเรียนของนิสิตสามัญ มี ๒ ลักษณะ คือ ๑) นิสิตสามัญเต็มเวลา ลงทะเบียนเรียนรายวิชาและ/หรือวิทยานิพนธ ในแตละภาคการศึกษาไดไมเกิน ๑๕ หนวยกิต ๒) นิสิตสามัญไมเต็มเวลา ลงทะเบียนเรียนรายวิชาและ/หรือวิทยานิพนธในแตละภาคการศึกษาไดไมเกิน ๖ หนวยกิต ภาคฤดูรอน นิสิตจะลงทะเบียนเรียนรายวิชาและ/หรือวิทยานิพนธไดไมเกิน ๖ หนวยกิต นิสิตอาจลงทะเบียนเรียนซ่ึงไมเปนไปตามเกณฑดังกลาวไดเม่ือไดรับอนุมัติจากผูอํานวยการสํานักงานการทะเบียนและประมวลผล

การลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับปริญญาตรี ใหมีการประเมินผลแบบ S หรือ U เทานั้น นิสิตผูที่ตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาในระดับปริญญาตรี หรือระดับบัณฑิตศึกษาเพื่อ

เสริมพื้นฐานและวิชาเหลานั้นมีการประเมินผลเปน S หรือ U นิสิตผูนั้นจะตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับระดับบัณฑิตศึกษาในหลักสูตรที่เขาศึกษาอยางนอย ๓ หนวยกิตดวย

Page 17: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑๐

๕.๔ การลงทะเบียนเรียนของนิสิตทดลองศึกษา มี ๒ ลักษณะ คือ ๑) นิสิตทดลองศึกษาเต็มเวลา ตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับระดับบัณฑิตศึกษาใน

ภาคการศึกษาแรกไมนอยกวา ๖ หนวยกิต ๒) นิสิตทดลองศึกษาไมเต็มเวลา ตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับระดับบัณฑิตศึกษาในภาคการศึกษาแรกไมนอยกวา ๓ หนวยกิต รายวิชาที่นิสิตทดลองศึกษาตองลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาแรกนั้น เปนไปตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนดและตองนําไปคํานวณแตมเฉลี่ยสะสม เม่ือส้ินภาคการศึกษาแรก นิสิตทดลองศึกษาตองไดแตมเฉลี่ยไมต่ํากวา ๓.๐๐ และไดสัญลักษณ S ในวิชาไมนับหนวยกิต จึงจะเปล่ียนสถานภาพเปนนิสิตสามัญได

๕.๕ การลงทะเบียนเรียนแบบรวมฟงการบรรยาย ตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยผูสอนและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรหากรายวิชาใดจํากัดจํานวนผูเขาเรียน ใหพิจารณารับลงทะเบียนเรียนแบบรวมฟงการบรรยายเปนลําดับหลัง

๕.๖ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาวิทยานิพนธ ลงไดตั้งแตภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษาและเมื่อนิสิตไดลงทะเบียนวิทยานิพนธครบจํานวนหนวยกิตตามที่หลักสูตรกําหนดแลว แตยังทํา วิทยานิพนธไมเสร็จ ตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาวิทยานิพนธโดยไมมีจํานวนหนวยกิต และตองชําระคาเลาเรียนเต็มจํานวนพรอมทั้งคาธรรมเนียมพิเศษ(ถามี) ๕.๗ การลงทะเบียนเรียนรายวิชาในสถาบันการศึกษาอ่ืน แทนรายวิชาที่ระบุในหลักสูตรเพื่อนํามา คํานวณแตมเฉลี่ยสะสม ลงไดไมเกิน ๑ ใน ๓ ของจํานวนหนวยกิตรายวิชาในหลักสูตรที่กําลังศึกษา โดยตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณะกรรมการบริหารคณะในกรณีที่มีการจัดการศึกษาเปนพิเศษ เชนหลักสูตรรวมขามสถาบันการลงทะเบยีนเรยีนใหเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในหลักสูตรนั้น

๕.๘ การลงทะเบียนเรียนซํ้า ใหเปนไปตามหลักเกณฑตอไปนี้ ๑) นิสิตที่ไดรับการประเมินผลเปนสัญลักษณ D+, D, F, Uหรือ Wในรายวิชาบังคับจะตองลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้นซํ้าอีกจนกวาจะไดรับสัญลักษณ A, B+, B, C+, C หรือ S มิเชนนั้นจะไมสําเร็จการศึกษา ๒) นิสิตทีไ่ดรับการประเมินผลเปนสัญลักษณ D+, D, F, U หรือ W ในรายวิชาเลอืกจะลงทะเบียนเรียนรายวิชาอืน่แทนก็ได ถาจาํเปน

Page 18: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑๑

๓) นอกจากกรณตีาม ๑) และ ๒) นิสิตอาจลงทะเบยีนเรียนซํ้าในรายวิชาทีไ่ดรับการประเมินผลเปนสัญลักษณ C+ หรือ C อีกกไ็ด

๔) นิสิตอาจไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ใหลงทะเบียนเรียนซํ้าไดในรายวิชาเดิมที่มีเนื้อหาไมซํ้าซอนกับที่ไดเคยศึกษามาแลว

๕.๙ การลงทะเบียนเรียน จะสมบูรณก็ตอเม่ือนิสิตไดลงทะเบียนผานระบบอินเตอรเน็ตโดยถูกตอง และชําระคาเลาเรียนจนครบถวนแลว ในกรณีที่หลักสูตรใดมีประกาศมหาวิทยาลัยใหจัดเก็บคาเลาเรียนและคาธรรมเนียมเปนกรณีพิเศษ การลงทะเบียนของนิสิตในหลักสูตรจะสมบูรณก็ตอเม่ือไดชําระเงินดังกลาวเรียบรอยแลว

๖. การยกเวนรายวิชา

๖.๑ นิสิตอาจไดรับยกเวนรายวิชาในหลักสูตรที่กําลังศึกษาอยูได หากเคยศึกษาและสอบผานรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา ที่มีเนื้อหารายวิชาเทียบเทากับรายวิชาในหลักสูตรที่กําลังศึกษาอยูนั้นมาแลวไมเกิน ๕ ป โดยมีผลการศึกษาเปน S หรือไมต่ํากวา B หรือเทียบเทา โดยยกเวนไดไมเกิน ๑ ใน ๓ ของจํานวนหนวยกิตของรายวิชาทั้งหมดในหลักสูตรที่กําลังศึกษาอยูโดยไมนับ หนวยกิตวิทยานิพนธ และในกรณีที่หารจํานวนหนวยกิตแลวไมลงตัวใหปดจุดทศนิยมทิ้ง เวนแตเปนการยกเวนรายวิชาในกรณีเปลี่ยนสาขาวิชาที่ศึกษา ใหยกเวนไดไมจํากัดจํานวน หนวยกิต ทั้งนี้นิสิตตองขอยกเวนภายในภาคการศึกษาแรกที่ลงทะเบียนเรียน และตองไดรับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริหารคณะ ซ่ึงอาจจะมีการทดสอบความรูกอนก็ได ๖.๒ ในกรณีที่มีการยกเวนรายวิชา เม่ือนิสิตไดศึกษาและสอบผานรายวิชาอื่นที่ไมไดรับยกเวนครบตามหลักสูตรแลว ถือวาไดศึกษาและสอบผานรายวิชาในหลักสูตรครบถวนตามจํานวนหนวยกิตรายวิชารวมในหลักสูตรนั้น เวนแตจะมีการกําหนดใหศึกษารายวิชาอื่นเพิ่มเติม

Page 19: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑๒

๗. การเพ่ิม ลด ถอนรายวิชา

การเพ่ิม ลด ถอนรายวิชาตองเปนไปตามหลักเกณฑตอไปนี ้

๗.๑ การขอเพิ่มและลดรายวิชา ตองเปนไปตามที่กําหนดไวในขอ ๕ การลงทะเบียนเรียน ๗.๒ การขอเพิ่มรายวิชา ตองกระทําภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษา หรือภายในสัปดาหแรกของภาคฤดูรอน ๗.๓ การขอลดรายวิชา ตองกระทําภายใน ๖ สัปดาหแรกของภาคการศึกษาหรือภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคฤดูรอน รายวิชาที่ลดจะไมปรากฏในใบประมวลผลการศึกษา ๗.๔ การขอถอนรายวิชา ตองกระทําระหวาง ๖ - ๑๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษาหรือระหวาง ๒-๔ สัปดาหแรกของภาคฤดูรอน รายวิชาที่ถอนจะปรากฏในใบประมวลผลการศึกษา ๗.๕ การขอลดและขอถอนรายวิชาตองมีรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษานั้นเหลืออยูไมนอยกวา ๑ รายวิชา

๘. การลาพักการศึกษา

๘.๑ การย่ืนคํารองขอลาพักการศึกษา นิสิตที่ประสงคจะหยุดกิจกรรมดานการศึกษากับมหาวิทยาลัยเปนการชั่วคราว ใหย่ืนคํารองขอลาพักการศึกษาตอคณบดี พรอมทั้งหลักฐานอื่นๆ ที่จําเปน กอนวันสุดทายของการสอบในภาคการศึกษาหรือภาคฤดูรอนนั้น โดยตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรกอน เวนแตเปนการลาพักในระหวางทําวิทยานิพนธตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารคณะ การอนุมัติใหลาพักการศึกษาทําไดคร้ัง ละไมเกิน ๒ ภาคการศึกษาติดตอกัน และหากยังมีความจําเปนที่จะตองลาพักการศึกษาตอไป ใหนิสิตย่ืนคํารองใหม

๘.๒ เง่ือนไขการขอลาพัก นิสิตจะขอลาพักการศึกษาไดก็ตอเม่ือไดลงทะเบียนเรียนมาแลวอยางนอย ๑ ภาคการศึกษา และมีแตมเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา ๓.๐๐ เวนแตมีเหตุอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ (๑) ถูกเกณฑหรือระดมเขารับราชการทหารกองประจําการ

(๒) ไปทําวิจัยที่เปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธในตางประเทศ

Page 20: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑๓

(๓) เจ็บปวยจนตองเขารักษาตัวในสถานพยาบาลเปนเวลาติดตอกันเกินกวา ๓ สัปดาห

(๔) เจ็บปวยจนตองพักรักษาตัวเปนเวลาติดตอกันเกินกวา ๓ สัปดาหตามคําส่ังแพทย (๕) ไดรับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางประเทศหรือทุนอื่นใดซ่ึงไมเก่ียวของโดยตรงกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของนิสิต (๖) มีเหตุสุดวิสัยหรือเหตุจําเปนอยางย่ิงทําใหไมสามารถศึกษาในภาคการศึกษานั้นได โดยตองมีหลักฐานยืนยันเหตุดังกลาว การลาพักการศึกษาตาม (๓) และ (๔)ตองมีใบรับรองแพทยจากศูนยบริการสุขภาพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หรือสถานพยาบาลของทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจ หรือสถานพยาบาลเอกชนที่กระทรวงสาธารณสุขรับรอง และในกรณี (๓) ตองมีสําเนาใบเสร็จรับเงินที่ระบุคาหองพักในสถานพยาบาลมาดวย

๘.๓ ระยะเวลาที่ลาพักการศึกษา ใหนับอยูในระยะเวลาการศึกษาของนิสิตดวย เวนแตเปนการลาพกัตามขอ ๘.๒ (๑), (๒), (๓) หรือ (๕) การลาพักการศึกษาตามขอ ๘.๒(๒) โดยไมนับอยูในระยะเวลาการศึกษา ทําไดเพียงหนึ่งภาคการศึกษาเทานั้น สวนเกินกวาใหนับอยูในระยะเวลาการศึกษาของนิสิต การลาพักการศึกษาตามขอ ๘.๒(๕) โดยไมนับอยูในระยะเวลาการศึกษา ทําไดเพียงหนึ่งปการศึกษาเทานั้น สวนเกินกวาใหนับอยูในระยะเวลาการศึกษาของนิสิต

ระยะเวลาที่ลาพักการศึกษาตามขอ ๘.๒(๔) และ(๖) อาจไมนับอยูในระยะเวลาการศึกษาของนิสิตได หากคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาเห็นควรอนุมัติ ๘.๔ การชําระคารักษาสถานภาพ นิสิตตองชําระคารักษาสถานภาพการเปนนิสิต ทุกภาคการศึกษา ที่ไดรับอนุมัติใหลาพัก เวนแตไดชําระคาเลาเรียนและคาธรรมเนียมอื่น ในภาคการศึกษานั้นแลว

ในระหวางการลาพักการศึกษานิสิตจะไมไดรับอนุญาตใหใชอุปกรณการศึกษาและส่ิงอํานวยความสะดวกทางการศึกษาของมหาวิทยาลัย และไมสามารถดําเนินกิจกรรมใด ๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษาได

Page 21: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑๔

การสอบประเภทตาง ๆ

๙.๑ การสอบรายวิชา ๑) การสอบรายวิชาเปนการสอบเพื่อวัดวานิสิตมีความรูในรายวิชานั้นซ่ึงอาจเปนการสอบขอเขียนหรือการวัดผลการศึกษาโดยวิธีอื่น ตามที่หลักสูตรไดประกาศใหนิสิตทราบลวงหนาตั้งแตเร่ิมเปดภาคการศึกษาหรือภาคฤดูรอน

นิสิตตองสอบรายวิชาทุกวิชาที่ลงทะเบียนเรียน เวนแตเปนรายวิชาที่ลงทะเบียนแบบผูรวมฟงการบรรยายหรือไดถอนรายวิชานั้นอยางถูกตอง หรือเปนกรณีที่นิสิตไดรับอนุมัติใหลาพักการศึกษา ๒) นิสิตตองมีเวลาศึกษาไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาทั้งหมดของแตละรายวิชาจึงจะมีสิทธิเขาสอบในรายวิชานั้น เวนแตจะไดรับอนุญาตจากอาจารยผูสอนใหเขาสอบได

๓) กําหนดการสอบประจําภาคการศึกษา เปนไปตามประกาศของคณะหรือประกาศของมหาวิทยาลัยซ่ึงจะประกาศใหทราบลวงหนาสวนกําหนดการสอบระหวางภาคการศึกษาอยูในดุลพินิจของอาจารยผูสอนหรือของคณะ

๙.๒ การสอบประมวลความรู ๑) นิสิตหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข ตองสอบประมวลความรู (Comprehensive Examination ) ซ่ึงเปนการสอบขอเขียนและ/หรือสอบปากเปลาในสาขาวิชาเอกและสาขาวิชาที่เกี่ยวของ เพื่อวัดความสามารถในการบูรณาการความรูที่ไดศึกษาไปแลว จัดสอบโดยคณะกรรมการสอบประมวลความรูซ่ึงมีการจัดสอบปละ ๒ คร้ัง นิสิตสามารถดูประกาศชวงเวลาที่จะจัดสอบไดกอนกําหนดการลงทะเบียนเรียนปกติของภาคการศึกษาตน ๒) นิสิตจะเขาสอบประมวลความรูไดเม่ือสอบผานรายวิชาที่คณะประกาศใหเปนรายวิชาที่ตองสอบกอนการสอบประมวลความรู

๓) นิสิตที่สอบประมวลความรูไดสัญลักษณ U อาจลงทะเบียนสอบไดอีก ๑ คร้ัง ในภาคการศึกษาถัดไป เวนแตคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเห็นวา มีเหตุอันจําเปนและสมควรที่จะไดรับการผอนผันใหลงทะเบียนสอบภายหลังกําหนดเวลาดังกลาวได ถายังสอบไดสัญลักษณ U อีก จะตองพนสถานภาพการเปนนิสิต

Page 22: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑๕

๙.๓ การสอบวัดคุณสมบัต ิ

๑) นิสิตหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตตองสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ซ่ึงเปนการสอบขอเขียนและจะมีการสอบปากเปลาดวยหรือไมก็ได เพื่อวัดความรูพื้นฐาน ทักษะเชิงวิเคราะหและศักยภาพของนิสิตในการทํางานวิจัยโดยอิสระ และความพรอมของนิสิตที่จะศึกษาในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต จัดสอบโดยคณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติซ่ึงมีการจัดสอบปละ ๒ คร้ังนิสิตสามารถดูประกาศชวงเวลาที่จะจัดสอบไดกอนกําหนดการลงทะเบียนเรียนปกติของภาคการศึกษาตน ๒) นิสิตจะสอบวัดคุณสมบัติไดก็ตอเม่ือไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยไดลงทะเบียนรายวิชาการสอบวัดคุณสมบัติในภาคการศึกษาที่จะสอบวัดคุณสมบัติ ตามหลักเกณฑตอไปนี้

(๒.๑) นิสิตที่เขาศึกษาดวยวุฒปิริญญามหาบัณฑิตหรือวุฒิปริญญาตรีที่มีผลการเรียนระดับเกียรตินิยมข้ึนไป สามารถลงทะเบียนสอบวัดคุณสมบัติไดตั้งแตภาคการศกึษาแรกที่เขาศึกษา

(๒.๒) นิสิตที่เขาศึกษาดวยวุฒปิริญญาตรี ที่มีผลการเรียนตํ่ากวาระดบัเกียรตินิยมตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาในหลักสูตรไมต่าํกวา ๑๒ หนวยกิตและมีแตมเฉลี่ยสะสม ๓.๕ ข้ึนไป จึงจะลงทะเบียนสอบวัดคุณสมบัติได ๓) นิสิตหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตองสอบวัดคุณสมบัติและไดสัญลักษณ S ภายในกําหนดระยะเวลาดังนี้ (๓. ๑) หลักสูตรแบบปกติ สําหรับนิสิตเต็มเวลา ภายใน ๔ ภาคการศึกษานับแตภาคการศึกษาแรก สวนนิสิตไมเต็มเวลา ภายใน ๖ ภาคการศึกษานับแตภาคการศึกษาแรก

(๓.๒) หลักสูตรแบบตอเนือ่ง (ก) นิสิตที่เขาศึกษาดวยวุฒิปริญญามหาบัณฑิตสําหรับนิสิตเต็มเวลา ภายใน ๓ ภาคการศึกษานับแตภาคการศึกษาแรก สวนนิสิตไมเต็มเวลาภายใน ๔ ภาคการศึกษานับแตภาคการศึกษาแรก

(ข) นิสิตที่เขาศึกษาดวยวฒุิปริญญาตรีสําหรับนิสิตเต็มเวลาภายใน ๔ ภาคการศึกษานับแตภาคการศึกษาแรก สวนนิสิตไมเต็มเวลาภายใน ๖ ภาคการศกึษานบัแตภาคการศึกษาแรก ทั้งนี้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารคณะอาจกําหนดให นสิิตในหลักสูตรตองสอบวัดคุณสมบัติและไดสัญลักษณ S กอนกําหนดระยะเวลาขางตน โดยตองประกาศกอนการรับนิสิตเขาศึกษา

Page 23: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑๖

นิสิตที่ลาพักการศึกษาตามขอ ๘.๒ (๑), (๒)และ(๕) ไมตองนําเวลาลาพักมานับ รวมเปนระยะเวลาตามที่กําหนดขางตน ๔) นิสิตที่สอบวัดคุณสมบัติไดสัญลักษณ U อาจลงทะเบียนสอบไดอีก ๑ คร้ัง ถายังสอบไดสัญลักษณ U อีก จะตองพนสถานภาพการเปนนิสิต เวนแตนิสิตหลักสูตรแบบตอเนื่องที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรใหเปลี่ยนเขาสูระดับปริญญามหาบัณฑิต

๙.๔ การสอบภาษาตางประเทศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดกําหนดใหผูสมัครเขาศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตและ

ปริญญาดุษฎีบัณฑิตทุกสาขาวิชา ตองทําการทดสอบความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ (ยกเวนผูสมัครเขาศึกษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร)โดยการเขารับการทดสอบความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CU-TEP)จากศูนยทดสอบทางวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยสําหรับผูสมัครที่เคยผานการทดสอบมาแลว สามารถนําผลการทดสอบมาใชได ในกรณีที่ผูสมัครมีผลการทดสอบความรูความสามารถทาง ภาษาอังกฤษของ TOEFL และ IELTS อาจนํามาแทนผลการทดสอบ (CU-TEP) จากศูนยทดสอบทางวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยได ทั้งนี้ผลการทดสอบCU-TEP หรือเทียบเทาใหมีอายุ ๒ ป นับจากวันที่ทําการทดสอบตามใบรายงานคะแนนจนถึงวันประกาศผลการสอบคัดเลือกตามที่ระบุไวในรายละเอียดแนบทายประกาศรับสมัครฯในหนังสือคูมือการรับสมัครบุคคลเขาศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาของแตละป

๙. ๕ การสอบโครงรางวิทยานิพนธ ๑) การสอบโครงรางวิทยานิพนธ เปนการสอบวัดความรูความเขาใจของนิสิตใน

เร่ืองที่เกี่ยวกับประเด็นปญหา ระเบียบวิธีการวิจัย วิธีการและเทคนิคที่ใชในการแกปญหางานวิจัย ในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตตองมีการสอบความรูพื้นฐานและความรูเชิงลึกที่จําเปนในการทําวิทยานิพนธดวย เพื่อใหแนใจวานิสิตมีความรูที่จําเปนเพียงพอในการทํางานวิจัย

๒) นิสิตตองเสนอโครงรางวิทยานิพนธตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและตองไดรับอนุมัติโครงรางวิทยานิพนธพรอมชื่ออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธตามหลักเกณฑและภายในกําหนดเวลาที่คณะกรรมการบริหารคณะประกาศกําหนด ดังนี้

(๒.๑) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตภายใน ๒ ปการศึกษานับแตภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษา

Page 24: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑๗

(๒.๒) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตภายใน ๓ ปการศึกษานับแตภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษา (๒.๓) หลักสูตรแบบตอเนือ่งนิสิตหลักสูตรปริญญาดุษฎีบณัฑิต จะสอบโครงรางวิทยานพินธเม่ือใดก็ได แตตองไมนอยกวา ๖๐ วันกอนวนัสอบวิทยานิพนธ (๒.๔) นิสิตไมเตม็เวลามีระยะเวลา ๑.๕ เทาของกําหนดเวลาตาม (๒.๑) และ (๒.๒) การเปลี่ยนแปลงอาจารยทีป่รึกษาวิทยานิพนธหรือคณะกรรมการสอบวิทยานพินธ ทําไดเฉพาะกรณีที่มีเหตุผลและความจําเปนโดยตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริหารหลักสูตรและคณะกรรมการบริหารคณะ ๓) นิสิตที่ไมไดรับอนุมัติโครงรางวิทยานิพนธภายในกําหนดเวลาตองพนสถานภาพการเปนนิสิต เวนแตมีเหตุอันจําเปนและสมควร คณะกรรมการบริหารคณะอาจขยายเวลาใหอีก ๑ ภาคการศึกษา

๙.๖ การสอบวิทยานิพนธ ๑) นิสิตจะสอบวิทยานพินธได ก็ตอเม่ือเปนไปตามหลักเกณฑตอไปนี ้ (๑.๑) ลงทะเบียนเรียนรายวิชาครบถวนตามที่กําหนดไวในหลักสูตร (๑.๒) โครงรางวิทยานิพนธไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารคณะ เปนเวลาไมนอยกวา ๖๐ วนักอนวนัสอบวทิยานพินธ (๑.๓) นิสิตหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ตองมีหลักฐานแสดงวา ไดสงบทความวจิัยซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธใหวารสารทางวิชาการพิจารณาเพื่อการตีพิมพแลว หรือ ไดรับการตอบรับใหไปเสนอผลงานตอที่ประชุมทางวิชาการที่มีรายงานการประชุม ฉบับสมบูรณแลว

(๑.๔) นิสิตหลกัสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตตองมีหลักฐานแสดงตามหลกัเกณฑตอไปนี้ (ก) กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรชีวภาพและวิทยาศาสตรกายภาพ

หลักสูตรแบบ ๑ ตองมีหลักฐานแสดงวาไดสงบทความวิจัยซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธเพื่อลงตีพิมพในวารสารทางวิชาการจํานวน ๒ ฉบับ ซ่ึงตองเปนวารสารระดับนานาชาติอยางนอย ๑ ฉบับ

หลักสูตรแบบ ๒ ตองมีหลักฐานแสดงวา ไดสงบทความวิจัยซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธเพื่อลงตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติจํานวน ๑ ฉบับ

Page 25: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑๘

(ข) กลุมสาขาวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ตองมีหลักฐานแสดงวาไดสงบทความวิจัยซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธเพื่อลงตีพิมพในวารสารหรือส่ิงพิมพทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกรวมกลั่นกรอง (Peer Review) กอนการตีพิมพ และเปนที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น หรือเปนวารสารทางวิชาการที่มีการเผยแพรในระดับนานาชาติ

หลักสูตรแบบ ๑ ตองมีหลักฐานแสดงวาไดสงบทความวิจัยซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธเพื่อลงตีพิมพในวารสารทางวิชาการอยางนอย ๒ ฉบับ

หลักสูตรแบบ ๒ ตองมีหลักฐานแสดงวาไดสงบทความวิจัยซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธเพื่อลงตีพิมพในวารสารทางวิชาการอยางนอย ๑ ฉบับ

๒) นิสิตที่ประสงคจะสอบวิทยานิพนธ ตองสงตนฉบับรางวิทยานิพนธซ่ึงอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธเห็นชอบแลวแกบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อตรวจรูปแบบการพิมพ เปนการลวงหนาไมนอยกวา ๒ สัปดาหกอนย่ืนคํารองขอนัดสอบวิทยานิพนธ

๓) เม่ือผานการตรวจรูปแบบจากบัณฑิตวิทยาลัยแลว ใหนิสิตย่ืนคําขอนัดสอบวิทยานิพนธ ตอคณะโดยตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนด แตทั้งนี้วันย่ืนคําขอนัดสอบตองหางจากวันสอบวิทยานพินธเปนเวลาไมนอยกวา ๒ สัปดาห

๑๐. การประเมินผลการศึกษา

๑๐.๑ ระดับการประเมินผล ๑) การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ ใหมี ๔ ระดับ คือ ดีมาก (Very Good), ดี (Good), ผาน (Pass) และ ตก (Fail) ๒) การประเมินผลการสอบรายวิชา กําหนดเปนสัญลักษณซ่ึงมีความหมายและแตมประจํา ดังตอไปนี้

Page 26: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๑๙ สัญลักษณ ความหมาย แตมประจํา

A ผลการประเมินข้ันดีเลิศ (Excellent) ๔.๐

B+ ผลการประเมินข้ันดีมาก (Very Good) ๓.๕

B ผลการประเมินข้ันด ี (Good) ๓.๐

C+ ผลการประเมินข้ันคอนขางด ี (Fairly Good) ๒.๕

C ผลการประเมินข้ันพอใช (Fair) ๒.๐

D+ ผลการประเมินข้ันคอนขางออน (Poor) ๑.๕

D ผลการประเมินข้ันออน (Very Poor) ๑.๐

F ผลการประเมินข้ันตก (Fail) ๐.๐

I การวัดผลยังไมสมบูรณ (Incomplete) -

P การสอนยังไมส้ินสุด (In Progress) -

S ผลการประเมินเปนที่พอใจ (Satisfactory) -

U ผลการประเมินไมเปนที่พอใจ (Unsatisfactory) -

V รวมฟงการบรรยาย (Visitor) -

W การถอนรายวิชาโดยไดรับอนุมัต ิ (Withdrawn) -

M นิสิตขาดสอบ (Missing) -

X ยังไมไดรับผลการประเมิน (No Report) -

๑๐. ๒ หลักเกณฑการใหสัญลักษณผลการศึกษา ๑) นิสิตจะไดรับสัญลักษณ A, B+, B, C+, C, D+, D หรือ F เฉพาะกรณีดังตอไปนี ้

(๑.๑) เม่ือมีการประเมินผลการศึกษารายวิชาที่นิสิตเขาสอบหรือมีการประเมนิผลงานของนิสิต (๑.๒) เม่ือเปลี่ยนจากสัญลักษณ I โดยมีการประเมนิผลภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษาถดัไปทีน่ิสิตลงทะเบียนเรียน (๑.๓) เม่ือเปลี่ยนจากสัญลักษณ M, P, หรือ X

Page 27: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๐

๒) นอกเหนือจากกรณีตามขอ (๑) แลว นิสิตจะไดรับสัญลักษณ F ในกรณีตอไปนี้ (๒.๑) ในรายวิชาที่อาจารยผูสอนไมยินยอมใหนิสิตเขาสอบ

(๒.๒) เม่ือนิสิตทุจริตในการสอบ หรือทําผิดระเบียบหรือขอบังคับ หรือคําส่ังเก่ียวกับการสอบที่มหาวิทยาลัย คณะ ภาควิชา หรือหลักสูตรใชบังคับอยู และคณะกรรมการบริหารคณะเห็นวาเปนการทําผิดในขอสําคัญจนสมควรไดสัญลักษณ F

(๒.๓) เม่ือเปลี่ยนจาก I ในกรณีที่ไมมีการประเมินผลการสอบหรือประเมินผลงานภาย ใน ๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษาถัดไปที่นิสิตลงทะเบียนเรียน (๒.๔) เม่ือเปลี่ยนจาก M ในกรณีที่นิสิตไมสามารถแสดงหลักฐานที่สมบูรณในการขาดสอบไดภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษาถัดไป

๓) นิสิตจะไดรับสัญลักษณ I เฉพาะกรณีดังตอไปนี้ (๓.๑) นิสิตปวยกอนที่การเรียนในภาคการศึกษานั้น จะส้ินสุดและยังปวยอยูจนกระทั่งถึง

กําหนดการสอบ เปนเหตุใหไมสามารถเขาสอบในบางรายวิชาหรือทุกรายวิชาได และคณบดีไดพิจารณาคํารองประกอบกับความเห็นของหัวหนาภาควิชาและอาจารยผูสอนรายวิชานั้นแลว เห็นควรใหได I เม่ือการศึกษาของนิสิตผูนั้นขาดเนื้อหาเพียงเล็กนอย และไมใชสวนสําคัญ

(๓.๒) นิสิตไดศึกษามาจนส้ินสุดภาคการศึกษาแลว และปวยระหวางการสอบเปนเหตุให ไมสามารถเขาสอบในบางรายวิชาหรือทั้งหมดได และคณบดีไดพิจารณาคํารองประกอบกับความเห็นของหัวหนาภาควิชาและอาจารยผูสอนรายวิชานั้นแลวเห็นสมควรใหได I

(๓.๓) นิสิตขาดสอบดวยเหตุสุดวิสัย และไดย่ืนคํารองตอคณบดีโดยทันทีและคณบดีไดพิจารณาคํารองประกอบกับความเห็นของหัวหนาภาควิชาและอาจารยผูสอนรายวิชานั้นแลวเห็นสมควรใหได I

(๓.๔) นิสิตทํางานที่เปนสวนประกอบการศึกษายังไมสมบูรณ และอาจารยผูสอนโดยความเห็นชอบของหัวหนาภาควิชาเห็นสมควรใหรอผลการศึกษา การเปลี่ยนจาก I ตาม (๓.๑) และ (๓.๒) นิสิตอาจไดรับสัญลักษณการประเมินผลสูงสุดไมเกิน B

๔) เม่ือเกิดกรณีตามขอ ๓(๓.๑) หรือ (๓.๒) นิสิตตองย่ืนคํารองตอคณบดีภายใน ๑ สัปดาหนับแตวนัที่เร่ิมปวย หรือนบัแตวนัทีพ่นจากอาการปวยรายแรงซ่ึงเปนเหตุใหไมสามารถย่ืนคํารองได พรอมดวยใบรับรองแพทยจากศูนยบริการสุขภาพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั หรือจาก

Page 28: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๑

สถานพยาบาลของทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจ หรือจากสถานพยาบาลเอกชนที่กระทรวงสาธารณสุขรับรอง ๕) นิสิตจะไดสัญลักษณ P ในรายวิชาเรียนที่การสอนยังไมส้ินสุด เม่ือส้ินภาคการศึกษาตนที่นิสิตลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่มีการสอนและ/หรือการทํางานตอเนื่องกนั

แตไมเกิน ๒ ภาคการศึกษา ๖) นิสิตจะไดรับสัญลักษณ S เม่ือผลการประเมินเปนที่พอใจ เฉพาะกรณีตอไปนี้

(๖.๑) ในรายวิชาที่หลักสูตรกําหนดไววามีการประเมินผลอยางไมเปนลําดับข้ันหรือกําหนดไววาไมนับหนวยกิต

(๖.๒) ในการประเมินผลการทําวทิยานิพนธแตละภาคการศึกษาโดยอาจารยที่ปรึกษาวิทยานพินธ

(๖.๓) ในการประเมินผลการสอบประมวลความรูโดยคณะกรรมการสอบ ประมวลความรู (๖.๔) ในการประเมินผลการสอบวัดคุณสมบัติโดยคณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ

๗) นิสิตจะไดรับสัญลักษณ U เม่ือผลการประเมินรายวิชา หรือการทําวิทยานิพนธ หรือผลการสอบประมวลความรู หรือการสอบวัดคุณสมบัติไมเปนที่พอใจ

๘) นิสิตจะไดรับสัญลักษณ V เฉพาะในรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนเปนผูรวมฟงการบรรยาย และผูสอนเห็นวาไดใหความสนใจตอการเรียนอยางเพียงพอ

๙) นิสิตจะไดรับสัญลักษณ W ในรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนหลังจากพน ๖ สัปดาหแรกของภาคการศึกษาหรือ ๒ สัปดาหแรกของภาคฤดูรอน เฉพาะกรณีใดกรณีหนึ่งดังตอไปนี้ (๙.๑) นิสิตไดถอนรายวิชานั้น (

๙.๒) นิสิตปวยกอนที่การเรียนในภาคการศึกษานั้นจะส้ินสุดลงและยังคงปวยอยูจนกระทั่งถึงกําหนดการสอบ เปนเหตุใหไมสามารถเขาสอบในบางรายวิชาหรือทั้งหมดได (ใหนิสิตย่ืนคํารองตอคณบดีภายใน ๑ สัปดาห นับแตวันที่นิสิตเร่ิมปวย หรือนับแตวันที่พนจากอาการปวยรายแรงซ่ึงเปนเหตุใหไมสามารถย่ืนคํารองไดพรอมดวยใบรับรองแพทยจากศูนยบริการสุขภาพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หรือสถานพยาบาล ของทางราชการหรือรัฐวิสาหกิจ หรือสถานพยาบาลเอกชนที่กระทรวงสาธารณสุขรับรอง)

Page 29: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๒

(๙.๓) นิสิตลาพักการศึกษาโดยถูกตอง (๙.๔) นิสิตถูกพักการศึกษาในภาคการศึกษานั้นดวยเหตุผลอื่นที่มิใชเพราะเหตุที่กระทาํ

ผิด ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศหรือคําส่ังเกี่ยวกับการสอบของหลักสูตร ภาควิชา คณะ และมหาวิทยาลัย

(๙.๕) คณบดีอนุมัติใหเปลี่ยนจากสัญลักษณ I ตามขอ ๓(๓.๑) และ (๓.๒) หรือ (๓.๓) หากปรากฏวาการปวยหรือเหตุสุดวิสัยยังไมส้ินสุดภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษาถัดจากภาคการศึกษาที่นิสิตลงทะเบียนเรียน

(๙.๖) ในรายวิชาที่นิสิตลงทะเบียนเรียนเปนผูรวมฟงและผูสอนเห็นวาไมไดใหความสนใจตอการเรียนอยางเพียงพอ

(๙.๗) ในรายวิชาที่นิสิตลงทะเบียนเรียนโดยผิดระเบียบ เง่ือนไขหรือขอกําหนดของหลักสูตร (๑๐) นิสิตที่ขาดสอบรายวิชาใดจะไดสัญลักษณ M เฉพาะในรายวิชาที่ยังไมสามารถแสดง หลักฐานที่สมบูรณเกี่ยวกับเหตุในการขาดสอบได

(๑๑) นิสิตจะไดสัญลักษณ X ในรายวิชาที่สํานักงานการทะเบียนและประมวลผลยังไมไดรับรายงานการประเมินผลการศึกษาของรายวิชานั้นตามกําหนด ๑๐.๓ การคํานวณแตมเฉลี่ย

๑) แตมเฉลี่ยมี ๒ ประเภท ซ่ึงคํานวณไดดังตอไปนี้ (๑.๑) แตมเฉลี่ยรายภาค คํานวณจากผลการศึกษาของนิสิตในแตละภาคการศึกษา โดยเอาผลรวมของผลคูณของหนวยกิตคํานวณ กับแตมประจําสัญลักษณที่นิสิตไดรับในแตละรายวิชาทุกคร้ังเปนตัวต้ัง แลวหารดวยผลรวมของจํานวนหนวยกิตคํานวณรายภาค (๑.๒) แตมเฉลี่ยสะสม คํานวณจากผลการศึกษาของนิสิตต้ังแตเร่ิมเขาศึกษาจนถึงภาคการศึกษาที่มีการคิดคํานวณโดยเอาผลรวมของผลคูณของหนวยกิตคํานวณกับแตมประจํา สัญลักษณที่นิสิตไดรับในแตละรายวิชาทุกคร้ังเปนตัวต้ัง แลวหารดวยผลรวมของจํานวนหนวยกิตคํานวณสะสม ๒) ผลการศึกษาภาคฤดูรอนนําไปรวมกับผลการศึกษาภาคศึกษาถัดไปที่นิสิตผูนั้นลงทะเบียน เรียนและมีหนวยกิตคํานวณรายภาคเพื่อจําแนกสภาพนิสิต

Page 30: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๓

๑๑. การพนสถานภาพและการขอคืนสถานภาพนิสิต นิสิตบัณฑิตศึกษาจะพนสถานภาพการเปนนิสิตในกรณีดังตอไปนี้

๑) เม่ือพนกําหนดเวลา ๒ สัปดาหแรกของภาคการศึกษาแลว ยังไมไดลงทะเบียน เรียนหรือรักษาสถานภาพการเปนนิสิต และชําระเงินคาเลาเรียน คาธรรมเนียมการศึกษา และคาธรรมเนียมพิเศษ (ถามี) ในกรณีนี้ถาพนสถานภาพมาแลวไมเกิน ๑ ภาคการศึกษา อาจขอคืนสถานภาพการเปนนิสิตได ถาไดรับอนุมัติจากอธิการบดี

๒) เม่ือส้ินภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษา นิสิตทดลองศึกษาไดแตมเฉล่ียต่ํากวา ๓.๐๐ หรือไดรับสัญลักษณ U ในรายวิชาที่ไมนับหนวยกิต

๓) นิสิตสามัญไดแตมเฉลี่ยสะสมตํ่ากวา ๒.๕๐ หรือไดแตมเฉลี่ยรายภาคในภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษาตํ่ากวา ๒.๕๐

๔) นิสิตสามัญซ่ึงไดแตมเฉลี่ยสะสมต้ังแต ๒.๕๐ แตไมถึง ๓.๐๐ ซ่ึงเรียกวา “สภาพวิทยาทัณฑ” เปนเวลา ๒ ภาคการศึกษาติดตอกัน เวนแตเปนกรณีที่นิสิตไดลาพักการศึกษา โดยผลการศึกษาในภาคฤดูรอนใหนําไปรวมกับผลการศึกษาในภาคการศึกษาถัดไปถานิสิตลงทะเบียนเรียน

๕) ไดรับสัญลักษณ U สองคร้ัง ในการสอบประมวลความรู ๖) ไดรับสัญลักษณ U สองคร้ัง ในการสอบวัดคุณสมบัติ เวนแตกําลังศึกษาอยูในหลักสูตรแบบตอเนื่อง และไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตรใหเปลี่ยนเขาสูระดับปริญญาโท ๗) เม่ือโครงรางวิทยานิพนธไมไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารคณะภายในระยะเวลาที่กําหนด

๘) เม่ือการประเมินผลการทําวิทยานิพนธไดสัญลักษณ U ติดตอกันสองคร้ังในกรณีที่มี การลาพักการศึกษาค่ันกลาง ใหถือวาการไดสัญลักษณ U สองคร้ังนั้นเปนการไดสัญลักษณ U สองคร้ังติดตอกัน

๙) เม่ือนิสิตไดรับการประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ “ตก” ๑๐) เม่ือลงทะเบียนเรียนครบระยะเวลาการศึกษาแลวแตยังไมสามารถสําเร็จการศึกษา ๑๑) เม่ือมหาวิทยาลัยส่ังใหพนสถานภาพการเปนนิสิตเพราะเหตุที่ขาดคุณสมบัติของผูเขาศึกษาในหลักสูตรหรือกระทําผิดขอบังคับ ระเบียบประกาศ หรือคําส่ังของคณะหรือมหาวิทยาลัย เกี่ยวกับการสอบหรือวินัยนิสิต

Page 31: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๔ ๑๒) เม่ือนิสิตที่ยังคางชําระคาเลาเรียนไมไดชําระใหครบถวนภายในกําหนดระยะเวลาท่ีสํานักทะเบียนและประเมินผลประกาศ ๑๓) เม่ือเรียนครบตามหลักสูตรและไดรับอนุมัติประกาศนียบัตร หรือปริญญาบัตร ๑๔) ลาออก โดยย่ืนคํารองตอทะเบียนคณะ และไดรับอนุมัติจากคณบดี ๑๕) ตาย

นิสิตที่พนสถานภาพเพราะมิไดลงทะเบียนเรียนหรือมิไดรักษาสถานภาพการเปนนิสิตและมิไดชําระเงินคาเลาเรียนภายในเวลาที่กําหนด ไมเกิน ๑ ภาคการศึกษาอาจขอคืน สถานภาพการเปนนิสิตได ทั้งนี้ตองไดรับอนุมัติจากอธิการบดี

๑๒. การรักษาสถานภาพนิสิต ๑๒.๑ การรักษาสถานภาพของนิสิตระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต และนิสิตระดับปรญิญามหาบัณฑิตที่ไมสามารถเผยแพรผลงานวิทยานิพนธหรือผลงานการคนควาอิสระไดทันภายในระยะเวลาท่ีบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด ๑๒.๑.๑ นิสิตระดับปริญญาเอก ๑) นิสิตที่ยังไมครบระยะเวลาการศึกษา ใหย่ืนคํารองรักษาสถานภาพการเปนนิสิตและชําระคารักษาสถานภาพนิสิตตามอัตราที่กําหนดไวในประกาศของมหาวิทยาลัย ๒) นิสิตที่ครบระยะเวลาการศึกษาและไมไดรับอนุมัติใหขยายเวลาการศึกษาจะตองพนสถานภาพการเปนนิสิต

๑๒.๑.๒ นิสิตระดับปริญญาโท ๑) นิสิตที่ยังไมครบระยะเวลาการศึกษา ใหย่ืนคํารองรักษาสถานภาพการเปนนิสิตและชําระคารักษาสถานภาพนิสิตตามอัตราที่กําหนดไวในประกาศของมหาวิทยาลัย

๒) นิสิตที่ครบระยะเวลาการศึกษา จะตองพนสถาภาพการเปนนิสิต ๓) นิสิตในหลักสูตรระบบการศึกษาแบบตรีภาคที่สําเร็จการศึกษาภายใน ๑ ปการศึกษา

และไดสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณแลวใหสามารถเผยแพรผลงานวิทยานิพนธไดภายในภาคการศึกษาถัดจากภาคการศึกษาที่สงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ หากพนระยะเวลาดังกลาว นิสิตจะตองย่ืนคํารองขอรักษาสถานภาพการเปนนิสิตและชําระคารักษาสถานภาพตามอัตราที่กําหนดไวในประกาศของมหาวิทยาลัย

Page 32: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๕

๑๒.๒ การรักษาสถานภาพของนิสิตระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต และนิสิตระดับปรญิญามหาบัณฑิต ที่ไมผานเกณฑมาตรฐานการทดสอบภาษาอังกฤษ พ.ศ. ๒๕๕๓ นิสิตที่ไมผานเกณฑมาตรฐานการทดสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑที่มหาวิทยาลัยหรือหลักสูตรกําหนดและไดสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณใหบัณฑิตวิทยาลัยแลวหรือสอบประมวลความรูตามที่หลักสูตรกําหนดใหถือปฏิบัติดังนี้ ๑ ) นิสิตที่ยังไมครบระยะเวลาการศึกษาใหย่ืนคํารองรักษาสถานภาพการเปนนิสิต และชําระคารักษาสถานภาพตามอัตราที่กําหนดไวในประกาศของมหาวิทยาลัย ๒) นิสิตที่ครบระยะเวลาการศึกษาและไมไดรับอนุมัติใหขยายาเวลาการศึกษาจะตองพนสถานภาพการเปนนิสิต

๑๓. การสําเร็จการศึกษา

๑๓.๑ เง่ือนไขที่จะสําเร็จการศึกษาและมีสิทธิขอรบัประกาศนียบตัรหรอืปริญญาบัตร ผูที่จะสําเร็จการศึกษาและมีสิทธิขอรับประกาศนียบัตรหรือปริญญาบัตร ตองมีคุณสมบัติและไดดําเนินการตามเง่ือนไขดังตอไปนี้ ๑)ลงทะเบียนเรียนและมีหนวยกิตสอบไดตามที่หลกัสูตรกําหนดและไดแตมเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา ๓.๐๐

๒) ระยะเวลาการศึกษาไมเกินระยะเวลาตามที่กําหนดไวในหลกัสูตร คือ (๒.๑) ผูเขาศกึษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและหลกัสูตรประกาศนียบัตร

บัณฑิตชั้นสูง มีระยะเวลาการศึกษาไมเกินระยะเวลาที่คณะกรรมการนโยบายวิชาการกาํหนด (๒.๒) ผูเขาศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตตองมีระยะ เวลาการศึกษา

ไมเกิน ๔ ปการศึกษา (๒.๓) เขาศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตตองมีระยะเวลาการศึกษาตามหลักเกณฑ ตอไปนี้ (ก) ไมเกิน ๖ ปการศึกษา สําหรับผูเขาศึกษาดวยวุฒิปริญญามหาบัณฑิต (

ข) ไมเกิน ๘ ปการศึกษาสําหรับผูเขาศึกษาดวยวุฒิปริญญาตรี ๓ ) กอนสําเร็จการศึกษานิสิตจะตองมีสมรรถนะภาษาอังกฤษตามเกณฑของมหาวิทยาลัย

หรือหลักสูตรกําหนด (รายละเอียดในภาคผนวก หนา ๓๙ -๔๑ )

Page 33: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๖

๔) หลักสูตรที่มีวิทยานิพนธเปนสวนหนึ่งของการศึกษา วิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธไดรับการตีพิมพ ไดรับการยอมรับใหตีพิมพ หรือเปนกรณีอื่นที่คณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัยถือวาไดมีการตีพิมพแลว ดังนี้ (๔.๑) บทความวิจัยซ่ึงเปนสวนหนึ่งของวิทยานิพนธในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตและผลงานการคนควาอิสระของนิสิตในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตร ตองไดรับการตีพิมพหรือยอมรับใหตีพิมพในวารสารหรือส่ิงพิมพทางวิชาการ หรือไดเสนอตอที่ประชุมวิชา การที่มีรายงานการประชุมฉบับสมบูรณ (๔.๒) บทความวิจัยจากวิทยานิพนธ หรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตองไดรับการตีพิมพหรือไดรับการยอมรับใหตีพิมพเพื่อเผยแพรตามหลักเกณฑตอไปนี้

(ก) กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตรชีวภาพและวิทยาศาสตรกายภาพ หลักสูตรแบบ ๑ ตองเผยแพรในวารสารทางวิชาการจํานวน ๒ ฉบับ ซ่ึงตองเปนวารสารระดับนานาชาติอยางนอย ๑ ฉบับ หลักสูตรแบบ ๒ ตองเผยแพรในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ จํานวน ๑ ฉบับ

(ข)กลุมสาขาวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ตองตีพิมพในวารสารหรือส่ิงพิมพทางวิชาการที่มีกรรมการ ภายนอกรวมกลั่นกรอง (Peer Review) กอนการตีพิมพ และเปนที่ยอมรับในสาขาวิชานั้น หรือเปนวารสารทางวิชาการ

ที่มีการเผยแพรในระดับนานาชาติ หลักสูตรแบบ ๑ ตองเผยแพรในวารสารหรือส่ิงพิมพทางวิชาการอยาง

นอย ๒ ฉบับ

หลักสูตรแบบ ๒ ตองเผยแพรในวารสารหรือส่ิงพิมพทางวิชาการอยางนอย ๑ ฉบับ

(๔.๓) ในกรณีที่เปนวิทยานิพนธซ่ึงเก่ียวของกับส่ิงประดิษฐ อาจถือการจดทะเบียนสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตรแทนการตีพิมพในวารสารหรือส่ิงพิมพทางวิชาการตามขอ (๔.๑) หรือ (๔.๒)ได ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัยเห็นสมควร

Page 34: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๗

๕) นิสิตตองสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณใหแกบัณฑิตวิทยาลัยตามจํานวนวิธีการและภายในเวลาท่ีกําหนดไวในประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ในแตละปการศึกษา นิสิตที่ไมสามารถสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณใหบัณฑิตวิทยาลัยภายในระยะเวลาท่ีกําหนดตองชําระคาปรับสําหรับการสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณลาชาจํานวน ๓,๐๐๐ บาท (รายละเอียดในภาคผนวก หนา ๔๑ - ๔๒)

๖) นิสิตในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก ตองสอบผานการสอบรายวิชาและ/หรือการสอบวิทยานิพนธ และปฏิบัติตามขอกําหนดอื่นๆอยางครบถวนตามที่กําหนดไวในหลักสูตร หรือตามที่คณะและมหาวิทยาลัยกําหนด จึงจะสําเร็จการศึกษา

๗) นิสิตในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข ตองสอบผานการสอบรายวิชาและการสอบประมวลความรู และปฏิบัติตามขอกําหนดอื่นๆ อยางครบถวนตามที่กําหนดไวในหลักสูตร หรือตามที่คณะและ/หรือคณะกรรมการนโยบายวิชาการกําหนด จึงจะสําเร็จการศึกษา

๘) นิสิตในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตองสอบผานการสอบรายวิชาตามที่กําหนดไวในหลักสูตรการสอบวัดคุณสมบัติ เพื่อเปนผูมีสิทธิเสนอโครงรางวิทยานิพนธการสอบโครงรางวิทยานิพนธ การสอบวิทยานิพนธ และปฏิบัติตามขอกําหนดอื่นๆ อยางครบถวนตามที่กําหนดไวในหลักสูตรหรือตามที่คณะและ/หรือคณะกรรมการนโยบายวิชาการกําหนด จึงจะสําเร็จการศึกษา ๙) นิสิตที่มีคุณสมบัติครบถวนดังกลาวขางตน ตองแสดงความจํานงขอรับประกาศนียบัตร หรือปริญญาบัตร ตอสํานักงานการทะเบียนและประมวลผลภายในระยะเวลาท่ีกําหนด มิฉะนั้นจะตองเสียคาปรับตามประกาศของมหาวิทยาลัย และอาจไมไดรับการพิจารณาเสนอชื่อตอสภามหาวิทยาลัยเพื่ออนุมัติประกาศนียบัตรหรือปริญญาบัตรในภาคการศึกษานั้น

๑๐) นิสิตที่คณะกรรมการบริหารคณะเห็นชอบใหเปนผูสําเร็จการศึกษา ภายในวันสุดทาย ของปการศึกษาที่มหาวิทยาลัยกําหนดและสภามหาวิทยาลัยไดอนุมัติการสําเร็จการศึกษาแลว มีสิทธิข้ึนรับพระราชทานปริญญาบัตรในปการศึกษานั้น

๑๓.๒ การขอสําเร็จการศึกษา นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนครบหลักสูตรในภาคการศึกษาสุดทายและคาดวาจะสําเร็จการศึกษาตอง ขอสําเร็จการศึกษาผานอินเทอรเน็ตที่เว็บไซตhttp://www.reg.chula.ac.th ของสํานักงานการทะเบียนและประมวลผล(สทป) ภายใตหัวขอ "ขอสําเร็จการศึกษา" โดยปฏิบัติดังน้ี

๑) ตรวจสอบ "ประวัติสวนตัว ประวัติการศึกษา หลักสูตรการศึกษา และแผนการศึกษา" โดยคลิก "ถูกตอง หรือ ไมถูกตอง" ใหครบทุกขอกอนยืนยันการบันทึกขอมูล

Page 35: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๘

"ขอสําเร็จการศึกษา" หากมีรายการใดไมถูกตองหรือตองการเปลี่ยนแปลงขอมูลโปรดติดตอสทป.เพื่อขอแกไข พรอมแสดงหลักฐาน (ถามี)เม่ือคณะประกาศรายช่ือผูสําเร็จการศึกษาแลวจะขอแกไขอีกไมได

๒) เม่ือนิสิตตรวจสอบขอมูลตามที่ระบุในขอ ๑ เรียบรอยแลว ตองยืนยันการบันทึกขอมูล "ขอสําเร็จการศึกษา"ใหเรียบรอยกอนออกจากระบบมิฉะนั้นการขอสําเร็จการศึกษาจะไมไดรับการบันทึกขอมูล

๓) นิสิตที่ทําการหลังกําหนดเวลาปฏิทินการศึกษา ตองชําระคาปรับตามระเบียบฯ (๑,๐๐๐ บาท) ที่ สทป. และปฏิบัติตามขอ ๑) และ ๒)

๑๓.๓ แนวปฏิบัติหลังจากขอสําเร็จการศึกษา ๑) ตรวจดูรายชื่อผูสําเร็จการศึกษา และวันที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติการสําเร็จการศึกษา

ไดที่เว็บไซตhttp://www.reg.chula.ac.th โดยสอบถามการสําเร็จการศึกษาในหัวขอ "ผูสําเร็จการศึกษา" หากยังไมมีรายชื่อผูสําเร็จการศึกษาใหติดตามประกาศรายชื่อฯ ที่ทะเบียนคณะ

๒) เม่ือสภามหาวิทยาลัยอนุมัติการสําเร็จการศึกษาแลวนิสิตจะขอรับเอกสาร ดังนี้ (๒.๑) ใบประมวลผลการศึกษา (Transcript ) จํานวน ๒ ฉบับ (มีเฉพาะฉบับ

ภาษาอังกฤษ) (๒.๒) หนังสือรับรองคุณวุฒิ ฉบับภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ จํานวนอยางละ ๑

ฉบับ สําหรับหลักสูตรนานาชาติ ไดรับฉบับภาษาอังกฤษ จํานวน ๒ ฉบับ (๒.๓) เข็มวิทยฐานะ จํานวน ๑ อัน

๓) รับเอกสารตาม ขอ ๒ หลังจากวันที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติแลว ๕ วันทําการ หากไมรับภายใน ๖๐ วัน นับจากวันที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ สํานักทะเบียนฯ จะยกเลิกเอกสารดังกลาว

๔) กรณทีี่ไมสามารถรับเอกสาร หรือเข็มวทิยฐานะดังกลาวดวยตนเองไดใหปฏิบตัิดังนี ้(๔.๑) มอบฉันทะใหผูอื่นรับแทนได โดยแสดงบตัรประจาํตัวประชาชนหรือบัตร

ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจหรือใบขับข่ี หรือบัตรอื่นๆ ทีมี่รูปถาย (Download ใบมอบฉนัทะไดที่เว็บไซต http://www.reg.chula.ac.th)

(๔.๒) จัดสงใหทางไปรษณีย โดยDownload และกรอกคํารอง จท๔๒/๒ (คํารองบริการจัดสงเอกสารสําคัญทางการศกึษาทางไปรษณีย) ตดิตอที่ทําการไปรษณีย ซ้ือต๋ัวแลกเงินส่ังจาย "สํานกังานการทะเบียนและประมวลผล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย" ตามอตัราคาบริการ

Page 36: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๒๙

ที่กําหนดในคํารอง จท๔๒/๒ สงต๋ัวแลกเงินพรอมคํารอง จท๔๒/๒ ที่กรอกขอมูลเรียบรอยแลว ใสซองจดหมายสงไปรษณียถึง สํานักงานการทะเบียนและประมวลผล จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย ถ.พญาไท เขตปทุมวัน กทม. ๑๐๓๓๐

๕) ติดตามกําหนดการเก่ียวกับพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ดังนี้ (๕.๑) การซอมรับพระราชทานปริญญาบัตรและการลงทะเบียนบัณฑิต จะเร่ิม

ประมาณกลางเดือนมิถุนายนถึงตนเดือนกรกฎาคมของทุกป บัณฑิตทุกคนจะตอง ลงทะเบียนบัณฑิต เม่ือเสร็จจากการซอมรับพระราชทานปริญญาบัตรของแตละคณะ (๕.๒) พิธีพระราชทานปริญญาบัตร จะเริ่มประมาณกลางเดือน กรกฎาคมของทุกป (๕.๓) กําหนดการฝกซอมรับพระราชทานปริญญาบตัรของคณะตาง ๆ และกําหนดการของคณะท่ีเขารับพระราชทานปริญญาบตัร สามารถตรวจสอบไดที่เวบ็ไซต http://www.reg.chula.ac.th

Page 37: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓๐

ภาคผนวก

Page 38: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓๑

ก.ขอผิดพลาดท่ีพบบอย

๑. ระยะเวลาการสอบวัดคุณสมบตัขิองนิสิตระดับปริญญาเอก มีความเขาใจผิดวาระยะเวลาในการสอบวัดคุณสมบัติของนิสิตที่เขาศึกษาปการศึกษา ๒๕๕๑นั้น ยังมีระยะเวลาเหมือนเดิมตาม ระเบียบจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๒ คือตองสอบวัดคุณสมบัติและไดสัญลักษณ S ภายใน ๓ ปการศึกษา ซ่ึงขอเท็จจริงผูที่เขาศึกษาในปการศึกษา๒๕๕๑ มีระยะเวลาในการสอบวัดคุณสมบัติดังนี้

หลักสูตร ขอบังคับจุฬาฯ ๒๕๕๑

ปกต ิ ภายใน ๔ ภาคการศึกษาสําหรับนสิิตเต็มเวลา และ ภายใน ๖ ภาคการศึกษา สําหรับนิสิตไมเต็มเวลา

หลักสูตรตอเนือ่ง ภายใน ๓ ภาคการศึกษาสําหรับนสิิตเต็มเวลา และ ๑.เขาดวยวุฒิ ปริญญาโท ภายใน ๔ ภาคการศึกษา สําหรับนิสิตไมเต็มเวลา

๒.เขาดวยวุฒ ิปริญญาตรี ภายใน ๔ ภาคการศึกษาสําหรับนสิิตเต็มเวลาและ ภายใน ๖ ภาคการศึกษา สําหรับนิสิตไมเต็มเวลา

๒. การลาพักการศึกษา นิสิตที่เขาศึกษาปการศึกษา ๒๕๕๑ ใหใชขอบังคับจุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย วาดวยการศึกษาในระดบับัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอควรระวังที่มักจะผิดพลาดม ี๒ ขอ ดังนี้ ๑. ขอ ๑๓๕ (๒) การลาพักการศึกษาเพื่อไปทําวจิัยที่เปนสวนหนึ่งของวิทยานพินธในตางประเทศ โดยไมนับระยะเวลาการศึกษา ใหกระทําไดเพียงหนึ่งภาคการศึกษาเทานั้น สวนเกินกวาใหนับอยูในระยะเวลาการศึกษา

๒. ขอ ๑๓๕ (๕) การลาพักการศึกษาโดยไดรับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษา ระหวางประเทศ หรือทุนอื่นใดซ่ึงไมเกี่ยวของโดยตรงกับการศึกษาระดับบณัฑิตศึกษาของนิสิต โดยไมนับอยูในระยะเวลาการศึกษาใหกระทําไดเพียงหน่ึงปการศึกษาเทานั้น สวนเกินกวาใหนับ อยูในระยะเวลาการศึกษาของนิสิตได

Page 39: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓๒ ๓. การขยายระยะเวลาการศึกษาเพ่ือรอตีพิมพ ในการขยายระยะเวลาการศึกษาเพือ่รอตีพิมพนั้นจะดําเนินการไดเฉพาะนิสิตปริญญาเอกเทานัน้ เพราะตามขอบังคับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวยการศกึษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๑๗ และ ๑๘ ดังนี้ ขอ ๑๗ ผูเขาศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบณัฑิตตองมีระยะเวลาการศึกษาตามหลักเกณฑตอไปนี้

(๑) ไมเกิน ๖ ปการศึกษา สําหรับผูเขาศึกษาดวยวุฒปิริญญามหาบัณฑิต (๒) ไมเกนิ ๘ ปการศึกษา สําหรับผูเขาศึกษาดวยวุฒปิริญญาบัณฑิต

นิสิตซ่ึงสอบวิทยานิพนธผานและสงเลมวิทยานิพนธภายในกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง แตยังรอการตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ อาจขอขยายระยะเวลาการศึกษาตอไปไดอีกไมเกิน ๒ ภาคการศึกษา โดยใหขยายไดคร้ังละ ๑ ภาคการศึกษา ในการน้ี ตองมีหลักฐานการสงผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพดวย และนิสิตตองรักษาสถานภาพการเปนนิสิตในภาคการศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหขยายเวลาการศึกษา

ขอ ๑๘ ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยทําใหนิสิตไมสามารถสําเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาการศึกษา ใหย่ืนคํารองตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและคณะกรรมการบริหารคณะเพื่อพิจารณาโดยลําดับ หากคณะกรรมการบริหารคณะเห็นชอบใหมีการขยายระยะเวลาการศึกษา ใหเสนอเรื่องตอคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัยและอธิการบดีเพื่อพิจารณาอนุมัติ

ข. การชําระคาเลาเรียน

๑. อัตราคาเลาเรียน กลุม ๑ คณะแพทยศาสตร คณะสหเวชศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร คณะสัตว

แพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะจิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬา วิทยาลัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข สาขาวิชาการพัฒนาซอฟตแวร

สหสาขาวิชา จุลชวีวิทยาทางการแพทย เภสัชวิทยา วิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม สรีรวิทยา ชีวเวชศาสตร เพศศาสตร ทนัตชีววัสดุศาสตร การจัดการส่ิงแวดลอม วทิยาศาสตรนาโนและเทคโนโลยี

Page 40: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓๓ ภาคการศึกษาตน/ปลาย ภาคฤดูรอน

ชาวไทย ชาวตางชาต ิ ชาวไทย ชาวตางชาต ิปการศึกษา

นิสิต รวมฟง นิสิต รวมฟง นิสิต รวมฟง นิสิต รวมฟง ๒๕๕๔ ๒๖,๐๐๐ ๑๓,๐๐๐ ๘๑,๕๐๐ ๔๐,๗๕๐ ๗,๐๐๐ ๓,๕๐๐ ๔๕,๐๐๐ ๒๒,๕๐๐

กลุม ๒ คณะอักษรศาสตร คณะรัฐศาสตร คณะครุศาสตร คณะพาณิชยศาสตรและการบัญช ี คณะนิติศาสตร คณะศิลปกรรมศาสตร คณะเศรษฐศาสตร วิทยาลัยประชากรศาสตร

สหสาขาวิชาพัฒนามนุษยและสังคม ยุโรปศึกษา การจัดการทางวัฒนธรรม ภาษาอังกฤษเปนภาษานานาชาติ การจัดการดานโลจิสติกส เอเชียตะวันออกเฉียงใตศึกษา ธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการทางนวัตกรรม ส่ิงแวดลอม การพัฒนาและความยั่งยืน เกาหลีศึกษา การบริหารกิจการทางทะเล เทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน รัสเซียศึกษา

ภาคการศึกษาตน/ปลาย ภาคฤดูรอน ชาวไทย ตางชาต ิ ชาวไทย ตางชาต ิปการศึกษา

นิสิต รวมฟง นิสิต รวมฟง นิสิต รวมฟง นิสิต รวมฟง ๒๕๕๔ ๑๙,๐๐๐ ๙,๕๐๐ ๗๖,๐๐๐ ๓๘,๐๐๐ ๗,๐๐๐ ๓,๕๐๐ ๔๕,๐๐๐ ๒๒,๕๐๐

นิสิตหลักสูตรภาคนอกเวลาราชการและหลกัสูตรพิเศษอื่นๆ ระบบทวิภาค ตองชําระคาธรรมเนียมการศึกษา คาธรรมเนียมพิเศษนอกเหนอืจากคาเลาเรียน ตามอัตราที่กําหนดไวในประกาศฯ ของแตละหลักสูตร

หมายเหตุ: ๑.

๒. นิสิตภาคนอกเวลาราชการ หลักสูตรพิเศษ ระบบตรีภาค ตองชําระคาเลาเรียนอัตราเทากับภาคการศึกษาปกติทุกภาคการศึกษา และตองชําระคาธรรมเนียมการศึกษา/คาธรรมเนียมพิเศษนอกเหนอืจากคาเลาเรียนตามอัตราทีก่ําหนดไวในประกาศฯ ของแตละหลักสูตร

๒. การชําระคาเลาเรียนในการลงทะเบียนเรียนปกต ินิสิตใหมที่เร่ิมเขาศึกษาเปนภาคการศึกษาแรกหลังจากที่นิสิตใหมแสดงความจํานง

ขอลงทะเบียนเรียนทางอินเทอรเน็ตเรียบรอยแลว เม่ือถึงกําหนดเวลาชําระเงินตามที่ สทป. กําหนดขอใหนิสิตใหมสอบถามผลการแสดงความจํานงขอลงทะเบียนเรียนผานhttp://www.reg.chula.ac.th หัวขอ ขอมูลสวนบุคคล รายการผลการแสดงความจํานงฯ (CR๗๔&CR๘) ถามีจํานวนเงิน

Page 41: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓๔

คาเลาเรียนที่ตองชําระให click พิมพใบแจงรายการคาเลาเรียน (CR๘) และนําไปชําระเงินผานธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ไดทุกสาขาทั่วประเทศ ตามวิธีที่ ๑-๓

อนึ่ง การชําระคาเลาเรียนภาคการศึกษาถัดไป นิสิตที่แสดงความจํานงขอลงทะเบียนเรียนปกติทางอินเทอรเน็ตครบทุกข้ันตอนแลว เม่ือถึงกําหนดเวลาชําระเงินคาเลาเรียนตามปฏิทินการศึกษา ขอใหนิ สิตสอบถามผลการแสดงความจํานงขอลงทะเบียนเรียน ผาน http://www.reg.chula.ac.th ในหัวขอ ขอมูลสวนบุคคล รายการผลการแสดงความจํานงฯ (CR๗๔&CR๘) และปฏิบัติดังนี้

๒.๑ ถามีรายวิชาที่ลงไดและปรากฏเงินคาเลาเรียนที่ตองชําระ พรอมเลขที่บัญชีธนาคารไทยพาณิชย จํากดั (มหาชน) เลขทีบ่ัญชีเงินฝากของนิสิต ซ่ึงไดเปดบญัชีไวในภาคการศึกษาแรก ใหนิสิตนําเงินฝากเขาในบัญชีดังกลาวภายในเวลาท่ีกําหนดตามปฏิทินการศึกษา สทป. จะทําการสงขอมูลของนิสิตใหธนาคารฯ ทําการหักบัญชีเงินฝากของนิสิตวันละ ๑ คร้ัง (เวลา ๘.๐๐ น. เปนตนไป) นิสิตรายใดยังไมไดนาํเงินฝากเขาบัญชีไดทันรอบการหักอัตโนมัติ ระบบจะสงไปหักในวันถัดไปภายในชวงวันที่กาํหนด

๒.๒ นิสิตสอบถามผลการชาํระเงินคาเลาเรียนไดจากเว็บไซต http://www.reg.chula.ac.th หัวขอ สอบถามขอมูลสวนบุคคล รายการ ผลการชําระคาเลาเรียน ในวนัถัดไปหลังจากธนาคารฯ หักบัญชีเงินฝากแลว ตามกําหนดเวลาการชาํระเงินตามปฏิทินการศึกษา(โปรดอานรายละเอียดวิธีการชําระเงินดวยวิธีการหักบัญชเีงินฝากธนาคาร)

๒. ๓ นิสิตจะไดรับใบเสร็จรับเงินคาเลาเรียนประมาณสัปดาหที ่๓ หลังจากเปดภาคการศึกษาตนและปลายและประมาณสัปดาหที ่๒ หลังจากเปดภาคฤดูรอนแลว โดยติดตอขอรับไดที่ทะเบียนคณะท่ีนสิิตสังกัด

๒.๔นิสิตปริญญาตรีที่ตองการสําเนาประกาศจุฬาฯ เร่ือง อัตราคาเลาเรียนฯ เพือ่ประกอบการเบิกจากสวนราชการตาง ๆ สามารถ download ไดจากหัวขอ คาธรรมเนียมการศึกษา รายการ ระเบียบ/ประกาศจุฬาฯ

นิสิตตองชําระคาเลาเรียนภายในเวลาที่กําหนดตามปฏิทินการศึกษามิฉะนั้น จะถูกยกเลิกผลการลงทะเบียนเรียน และนิสิตตองลงทะเบียนเรียนสายและชําระ คาเลาเรียนพรอมคาปรับตามประกาศจุฬาฯ

Page 42: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓๕

๒.๕ในกรณทีี่นิสิตไมตองการใชวธีิหักบัญชีอัตโนมัติ สามารถ click เปลี่ยนวิธีการชําระคาเลาเรียนไดจากหนาจอสอบถามผลการแสดงความจํานงฯ (CR๗๔&CR๘)

นิสิตตองชําระคาเลาเรียนภายในเวลาที่กําหนดตามปฏิทินการศึกษามิฉะนั้น จะถูกยกเลิกผลการลงทะเบียนเรียน และนิสิตตองลงทะเบียนเรียนสายและชําระ คาเลาเรียนพรอมคาปรับตามประกาศจุฬาฯ

๓.การชําระคาเลาเรียนในการลงทะเบียนเรียนสาย การชําระเงินคาเลาเรียนกรณีที่นิสิตลงทะเบียนเรียนสาย นิสิตตองทําการบันทึกรายวิชาที่

จะลงทะเบียนเรียนสายผานทางอินเทอรเน็ตใหเรียบรอยกอน หลังจากนั้นจึงจะสามารถชําระเงินคาเลาเรียนพรอมคาปรับที่สวนการคลังของมหาวิทยาลัย อาคารจามจุรี ๕ ชั้น ๓ โดยชําระเปนเงินสด หรือแคชเชียรเช็ค หรือดราฟท (กรณีที่ซ้ือจากสาขาตางจังหวัด) ส่ังจายในนาม "จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย" พรอมรับใบเสร็จรับเงินในวันเดียวกัน อนึ่ง ในชวง ๒ สัปดาหแรกของการลงทะเบียนเรียนสาย (เฉพาะระบบทวิภาค) สวนการคลังจะบริการรับชําระเงินที่สํานักงานการทะเบียนและประมวลผล บริเวณช้ัน ๒ อาคารจามจุรี ๕

กําหนดเวลารับชาํระเงิน ชวงเชา ๐๘.๑๕ - ๑๒.๐๐ น. ชวงบาย ๑๒.๓๐ - ๑๕.๐๐ น.

วิธีการชําระเงินผานธนาคาร วิธีที่ ๑. ชําระผานเคานเตอรธนาคารไทยพาณิชย ทุกสาขา ทั่วประเทศ (SCB Bill Payment)

นําใบแจงรายการคาเลาเรียน (CR๘) ไปชําระเงินผานเคานเตอรธนาคารไทยพาณิชย ทุกสาขา ทั่วประเทศ ภายในวันที่กําหนดใน CR๘ และตามเวลาทําการของธนาคาร โดยธนาคารจะประทับตราการรับชําระเงินและคืนเอกสารสวนของนิสิตเพื่อไวเปนหลักฐานการชําระเงินทั้งนี้นิสิตตองชําระเปนเงินสดเทานั้น

วิธีที่ ๒. ชําระผานเคร่ืองรับฝากเงินสดอัตโนมัติ (CDM) ของธนาคารไทยพาณิชย ทุกสาขาท่ัวประเทศ

Page 43: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓๖

๑. กด "START" ๒. กดเลือกภาษา ๓. กดเลือกใชบริการ ประเภทการชําระคาสินคาและบริการ ๔. กดเลือกบัญชีของจุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย ที่จะโอนเขา (๐๔๕-๓-๐๓๗๐๐-๔) ๕. ใสเลขประจําตัวนสิิต (Customer Number)

ใสหมายเลขอางอิง (Reference Number) ๖. ๗. ใสจํานวนเงินที่ตองการชําระ ๘. ใสเงินสดที่ชองรับธนบัตร คร้ังละไมเกิน ๓๐ ฉบับ ๙. ตรวจสอบความถกูตอง กอนกดปุมยืนยันรายการ

รับใบบนัทึกรายการ และเก็บไวเปนหลักฐานการชําระเงินของนิสิต ๑๐.

หมายเหตุ ๑. การระบุตวัเลขตามขอ ๔-๗ ใหระบุตามใบแจงรายการคาเลาเรียน (CR๘) ๒. กรณีชําระคาลงทะเบียนเรียนผานเคร่ืองรับฝากเงินสดอัตโนมัต ิสามารถรับชําระเปนธนบตัรไดเพียง ๔ ชนิด คือ ธนบตัรชนิด ๒๐ บาท, ชนิด ๑๐๐ บาท,

ชนิด ๕๐๐ บาท และธนบตัรชนิด ๑,๐๐๐ บาท เทานัน้ (ยกเวนเหรียญ) ๓. กรณีชําระเงินเกินกวายอดการชําระตาม สามารถทอนเงินสวนเกินได โดยการโอนเงินเขาบัญชีอืน่ ๆ ได แตจะตองมีบัญชอีอมทรัพยหรือบญัชีเดินสะพัดของธนาคารไทยพาณิชย เทานั้น

วิธีที่ ๓. ชําระผานเคร่ืองบริการเงินดวน ATM ของธนาคารไทยพาณิชย (SCB Easy ATM) สอดบัตร ATM พรอมปอนรหัส ATM ทั้ง ๔ หลัก ๑.

๒. เลือกรายการอื่น ๆ ๓. เลือกรายการ "ชําระคาสินคาและบริการ" ๔. เลือกประเภทบัญชีที่ตองการใชชําระคาเลาเรียน ๕. ใสเลขที่บัญชีของจุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย " ๐๔๕-๓-๐๓๗๐๐-๔ " และเลือก "ถูกตอง" ๖. ใสจํานวนเงินที่ตองการชําระ และเลือก "ถูกตอง"

ใสเลขประจําตัวนสิิต (Customer Number) และเลือก "ถูกตอง" ๗. ๘. ใสหมายเลขอางอิง (Reference Number) และเลอืก "ถูกตอง"

Page 44: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓๗ ๙. รับบัตร ATM และ Slip จากเคร่ือง ATM และเก็บไวเปนหลักฐานการชําระเงินของนิสิต หมายเหตุ การระบุตวัเลขตามขอ ๕-๘ ใหระบตุามใบแจงรายการคาเลาเรียน (CR๘) วิธีที่ ๔. ชําระผาน SCB Easy NET ชําระโดยหักเงินจากบัญชีเงินฝากธนาคารไทยพาณิชย ๑. สมัครใชบริการ SCB EASY NET กับธนาคารไทยพาณิชยโดยไมตองชาํระคาธรรมเนียมใดๆ

๒. เขาสูระบบ www.scbeasy.com แลวใส Login Name และ Password (ตามที่ธนาคารกําหนดมาให) ๓. เขาระบบ Payment เลือก Add Biller เพื่อเลอืกประเภทของบัญชีของจฬุาลงกรณมหาวิทยาลยั ที่จะโอนเขา แลวกด NEXT ๔. เลือกบัญชีที่จะโอนออก (From Acc No) แลวใสจํานวนเงินที่จะโอนชาํระ ๕. พิมพชือ่-นามสกุล ของนิสิตพรอมใสเลขประจําตัวนสิิต (Customer Number) ๖. ใสหมายเลขอางอิง (Reference Number) แลวกด NEXT

จอภาพจะแสดงผลรายละเอียดการโอนเพือ่ยืนยันความถูกตอง ใหกด SUBMIT เปนการ ๗. ทํารายการเสร็จสมบูรณ หลังจากนัน้นิสิตสามารถตรวจสอบผลไดจาก INQUIRY & CANCEL ๘. ส่ังพิมพหลักฐานการชําระเงินไดจากระบบเพือ่เปนหลักฐานอางอิงการชําระเงิน หมายเหตุ การระบุตวัเลขจํานวนเงิน เลขประจําตัวนิสิต และหมายเลขอางอิง ตามขอ ๔-๖ ใหระบุตามใบแจงรายการคาเลาเรียน (CR๘) วิธีที่ ๕. ชําระผานโทรศพัท (SCB Easy Phone)

กดหมายเลขโทรศัพท ๑๕๖๑ หรือ ๐-๒๙๖๐-๕๘๘๘ (กดตามดวยหมายเลข ๐ เปนภาษาอังกฤษ)

๑.

๒. กด ๒ เขาสูบริการ ATM PHONE แลวกดเลขที่บัญชี ๑๐ หลัก ตามดวยเคร่ืองหมาย # ๓. กดรหัส ATM ๔ หลัก ตามดวยหมายเลข ๒ เพื่อเขาสูบริการชําระคาสินคาและบริการ

(Bill Payment)

๔. กดหมายเลขบัญชขีองจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยทีจ่ะโอนเขา (๐๔๕-๓-๐๓๗๐๐-๔) กดเลขประจาํตัวนิสิต (Customer Number) แลวตามดวยเคร่ืองหมาย # ๕.

๖. กดหมายเลข Reference Number แลวตามดวยเคร่ืองหมาย # ๗. กดจํานวนเงินที่จะโอนชําระ แลวตามดวยเคร่ืองหมาย #

(ถาไมมีหลักสตางคตองกดเลข ๐๐ ตอทายดวย เชน จาํนวน ๗,๕๐๐ บาท ตองกด ๗๕๐๐๐๐#)

Page 45: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓๘ ๘. หลังจากนั้นจะมีเสียง CONFIRM ใหกดปุมดังนี ้

กด ๑ เพื่อยืนยัน กด ๐ เพื่อยกเลิก และกด ๙ เพื่อฟงซํ้า

หมายเหตุ

หากตองการหลกัฐานการทํารายการโอนชําระเงิน ๑. การระบุตวัเลขตามขอ ๕-๗ ใหระบุตามใบแจงรายการคาเลาเรียน (CR๘) ๒. กรณีทาํรายการผานเคร่ืองโทรสาร (FAX) สามารถรับหลักฐานผานเคร่ือง Fax ไดทันท ี

๓. กรณีทํารายการผานเคร่ืองโทรศพัทธรรมดา สามารถรับหลักฐานไดที ่ ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสภากาชาดไทย หมายเลขโทรศัพทเพื่อการติดตอ

บมจ. ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสภากาชาดไทย ตรงขามประตูคณะรัฐศาสตร ถนนอังรีดูนังต เขตปทมุวัน กทม. ๑๐๓๓๐ โทร. ๐-๒๒๕๔-๑๕๕๖-๗, ๐-๒๒๕๓-๘๔๑๖

สํานักงานเลขานกุาร สํานักงานการทะเบียนและประมวลผล จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย อาคารจามจุรี ๕ ชัน้ ๒ ถนนพญาไท (ขางคณะครุศาสตร) โทร. ๐-๒๒๑๘-๐๐๐๔-๕, ๐-๒๒๑๘-๐๐๒๒

สวนการคลัง สํานักบริหารแผนและการคลัง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั อาคารจามจุรี ๕ ชัน้ ๓ ถนนพญาไท (ขางคณะครุศาสตร) โทร. ๐-๒๒๑๘-๐๐๖๘-๙

นิสิตที่ประสงคจะใชบัตรประจําตวันิสิตเปนบตัร ATM ธนาคารยกเวนคาธรรมเนียมรายปเฉพาะปแรกที่เขาศึกษาแตจะตองชําระคาธรรมเนียมรายปตามระเบยีบธนาคารในปถดัไปหากนิสิตที่ไมประสงคจะใชบัตรประจําตัวนิสิตเปนบัตร ATMโปรดติดตอธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) สาขาสภากาชาดไทยเพื่อยกเลิกการใชบริการ ATM โดยดวนมิฉะนั้น ธนาคารฯ จะเก็บคาธรรมเนียมรายปในปถัดไป ตามระเบียบธนาคาร ทั้งนี้นิสิตยังสามารถใชบัตรดังกลาวเปนบัตรประจําตัวนิสิตและใชบริการหองสมุดไดตามปกติ

Page 46: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๓๙

ค. การทดสอบความรูความสามารถทางภาษาอังกฤษ

แผนภมูิที่ ๑ หรือ

นิสิตปริญญาโท

สอบใหมเพื่อใหไดคะแนน CU-TEP เทียบเทา TOEFL ตั้งแต ๔๕๐ กอนสําเร็จการศึกษา

คะแนนสอบ CU-TEP เทียบเทา TOEFL นอยกวา ๔๐๐ ไมรับเขาศึกษา

คะแนนสอบ CU-TEP เทียบเทา TOEFL ตั้งแต ๔๐๐ รับเขาศึกษาแตมีเงื่อนไข ดังนี้

คะแนนสอบ CU-TEP เทียบเทา TOEFL ตั้งแต ๔๕๐ ไมตองเรียนเพิ่ม

คะแนนสอบ CU-TEP เทยีบเทา TOEFL นอยกวา ๔๒๕ ตองเรียน ๕๕๐๐ ๕๐๓ Preparatory English for Graduate Students และใหเลือกเรียนรายวิชาใดรายวิชาหนึ่งตอไปน้ี ๕๕๐๐ ๕๐๔ English Pronunciation and Conversation ๕๕๐๐ ๕๐๕ Academic English Grammar ๕๕๐๐ ๕๐๖ Academic English Vocabulary ๕๕๐๐ ๕๑๐ Skills in English for Graduates ทั้งนี้ตองสอบผานรายวิชาดังกลาวกอนสําเร็จการศึกษา

คะแนนสอบ CU-TEP เทยีบเทา TOEFL ตั้งแต ๔๒๕ แตนอยกวา ๔๕๐ ใหเลือกเรียนรายวิชาใดรายวิชาหนึง่ตอไปน้ี ๕๕๐๐ ๕๐๔ English Pronunciation and Conversation ๕๕๐๐ ๕๐๕ Academic English Grammar ๕๕๐๐ ๕๐๖ Academic English Vocabulary ๕๕๐๐ ๕๑๐ Skills in English for Graduates ทั้งนี้ตองสอบผานรายวิชาดังกลาวกอนสําเร็จการศึกษา

Page 47: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔๐

แผนภูมิที่ ๒

หรือ

นิสิตปริญญาเอก

สอบใหมเพื่อใหไดคะแนน CU-TEP เทียบเทา TOEFL ต้ังแต ๕๒๕ กอนสําเร็จการศึกษา

คะแนนสอบ CU-TEP เทียบเทา TOEFL นอยกวา ๔๕๐ ไมรับเขาศึกษา

คะแนนสอบ CU-TEP เทียบเทา TOEFL ตั้งแต ๔๕๐ รับเขาศึกษาแตมีเง่ือนไข ดังนี ้

คะแนนสอบ CU-TEP เทียบเทา TOEFL ตั้งแต ๕๒๕ ไมตองเรียนเพิ่ม

คะแนนสอบ CU-TEP เทียบเทา TOEFL นอยกวา ๕๐๐ ตองเรียน ๕๕๐๐ ๕๓๒ Academic English for Graduate Studies และ ๕๕๐๐ ๕๖๐ Thesis Writing ทั้งนี้ตองสอบผานรายวิชาดังกลาวกอนสําเร็จการศึกษา

คะแนนสอบ CU-TEP เทียบเทา TOEFL ตั้งแต ๕๐๐ แตนอยกวา ๕๒๕ ตองเรียน ๕๕๐๐ ๕๖๐ Thesis Writing และสอบผานรายวิชาดังกลาวกอน

ึกษา็จการศสําเร

เกณฑคะแนนภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม

ตามมติของคณะกรรมการนโยบายวิชาการของสภามหาวิทยาลัย คร้ังที่ ๓/๒๕๕๒ วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๒ และในการประชุมคร้ังที่ ๑/๒๕๕๓ วันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๓ ไดพิจารณาทบทวนแลว มีมติใหกําหนดเกณฑการยกเวนการทดสอบความรูความสามารถภาษาอังกฤษไว ดังนี้

๑. ผูที่ใชภาษาอังกฤษเปนภาษาแม (ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด) ใหยกเวนการทดสอบฯ ไดทั้งแรกเขาและกอนสําเร็จการศึกษา

Page 48: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔๑ ๒. ผูที่ไมไดใชภาษาอังกฤษเปนภาษาแม

๒.๑ สําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรภาษาอังกฤษ/หลักสูตรนานาชาติที่ มีระยะเวลาการศึกษาไมนอยกวา ๒ ป จากมหาวิทยาลัยที่ ก.พ. รับรอง

๒.๒ ไดรับทุนเขาศึกษาในจุฬาฯ

ใหยกเวนการทดสอบฯ แรกเขา แตตองสอบผานหรือลงทะเบียนเรียนและสอบผานรายวิชาภาษาอังกฤษตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

ง. การสงวิทยานิพนธฉบับสมบรูณ

(สําเนา)

ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง การสงวิทยานิพนธฉบับสมบรูณ

ตามขอบังคับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๘ กําหนดไววา “เพื่อใหการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเปนไปโดยเรียบรอย คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยอาจออกประกาศบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อดําเนินการอยางหน่ึงอยางใดตามขอบังคับนี้ได” บัณฑิตวิทยาลัยจึงเห็นสมควรใหออกประกาศเกี่ยวกับการสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณไวดังนี้

ขอ ๑ ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศบณัฑติวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เร่ือง การสงวิทยานพินธฉบบัสมบูรณ” ขอ ๒ ประกาศนี้ใหใชบังคับกับนิสิตบัณฑิตศึกษาท่ีสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา ๒๕๕๓ เปนตนไป ขอ ๓ วันสุดทายของการสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณใหเปนไปตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย (จท.๙๐) ขอ ๔ นิสิตตองสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณที่ไดแกไขเนื้อหาตามมติคณะกรรมการสอบและแกไขรูปแบบตามคูมือการพิมพวิทยานิพนธของบัณฑิตวิทยาลัย ใหบัณฑิตวิทยาลัย

Page 49: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔๒

ภายในเวลา ๑๖.๐๐ น. ของวันสุดทายของการสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ ตามที่กําหนดไวในปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย (จท.๙๐) ขอ ๕ ในกรณีเหตุสุดวิสัยหรือเหตุอันควรที่ทําใหนิสิตไมสามารถสงวิทยานพินธฉบบัสมบูรณ ภายในระยะเวลาที่กําหนดไวใน ขอ ๔ ขอใหหลักสูตรชี้แจงเหตุผลผานประธานคณะกรรมการ บริหารหลักสูตร และไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารคณะหรือหนวยงานเทียบเทากอนวันสุดทายของการสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ ซ่ึงการขอเลื่อนสงวิทยานพินธตองอยูในระยะเวลาไมนอยกวา ๓ วันทําการกอนวันเปดเรียนของภาคการศกึษาถดัไป จากนั้นใหเสนอบณัฑิตวทิยาลัยเพือ่พิจารณาตอไป ขอ ๖ นิสิตท่ีไมสามารถสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณใหบัณฑิตวิทยาลัยภายในระยะเวลาที่กําหนดไวในขอ ๔ และไมไดดําเนินการตามขอ ๕ จะตองชี้แจงเหตุผลในการสงวิทยานิพนธลาชาผานประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารคณะหรือหนวยงานเทียบเทา และสงเร่ืองใหบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาตอไป โดยนิสิตตองชําระคาปรับสําหรับการสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณลาชาจํานวน ๓,๐๐๐ บาทดวย ขอ ๗ บัณฑิตวิทยาลัยจะไมอนุญาตใหนําวิทยานิพนธที่สงแลวกลับไปแกไขอีก เนื่องจากคณะกรรมการสอบทุกทานไดลงนามในวิทยานิพนธดังกลาวเรียบรอยแลว ขอ ๘ นิสิตที่เขาศึกษาดวยแผนการศึกษาที่ตองทําวิทยานิพนธ ใหคณะดําเนินการอนุมัติการสําเร็จการศึกษาเม่ือนิสิตไดสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณใหบัณฑิตวิทยาลัยเรียบรอยแลว

จึงประกาศใหทราบและถอืปฏิบัตติอไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (ลงนาม) พรพจน เปยมสมบูรณ (รองศาสตราจารย ดร.พรพจน เปยมสมบูรณ) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

Page 50: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔๓

จ. วินัยนิสิต (สําเนา)

ระเบียบ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวยวินัยนิสิต พ.ศ. ๒๕๒๗

----------------------------- เพื่อรักษาไวซ่ึง ชื่อเสียง เกียรติคุณของมหาวิทยาลัย และเพื่อมารยาทอันดีงาม และ

ความประพฤติอันเรียบรอยของนิสิตซ่ึงศึกษาในสถาบันแหงนี้ และเพื่อใหบรรลุตามปณิธานของมหาวิทยาลัย อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แหงพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๒๒ สภามหาวิทยาลัยในการประชุมคร้ังที่ ๔๒๓ จึงมีมติใหตราระเบียบเกี่ยวกับวินัยนิสิตไวดังตอไปนี้

ขอ ๑. ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวยวินัยนิสิต พ.ศ. ๒๕๒๗” ขอ ๒. ระเบียบนี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถดัจากวนัประกาศเปนตนไปนี ้ ขอ ๓. ใหยกเลิก

๓.๑ ระเบียบ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวยมารยาทนิสิตพทุธศักราช ๒๕๐๖

๓.๒ ประกาศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เร่ือง คะแนนมารยาทและความ ประพฤติซ่ึงประกาศ ณ วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๐๗ บรรดา ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือคําส่ังของมหาวิทยาลัย หรือคณะ ที่ขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ใหใชระเบียบนีแ้ทน

ขอ ๔. นิสิตตองปฏิบัตติามกฎหมาย กฎ ระเบยีบ ขอบังคับ ประกาศหรือคําส่ังของมหาวิทยาลัยหรือคณะทุกประการอยางเครงครัดอยูเสมอ

ขอ ๕. นิสิตตองปฏิบัติตามหลักศลีธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมอนัดีของสังคมไทยในทุกโอกาส

ขอ ๖. นิสิตตองรักษาไวซ่ึงความสามัคคี ความเปนระเบียบเรียบรอย และชือ่เสียงเกียรติคุณของมหาวิทยาลัย

ขอ๗. นิสิตตองประพฤติตนเปนสุภาพชนไมประพฤติ ในส่ิงที่อาจนํามาซ่ึงความเส่ือมเสียแกตน เอง บิดามารดา ผูปกครอง หรือมหาวิทยาลยั

ขอ ๘. นิสิตตองเชื่อฟงคําส่ังหรือคําแนะนําตักเตือนของอาจารย หรือเจาหนาที่ของมหาวิทยาลัยผูปฏิบัติหนาที่โดยชอบ

Page 51: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔๔

ขอ ๙. นิสิตตองแตงกายใหถูกตองตามแบบท่ีมหาวทิยาลัยกําหนดไว เม่ือเขามาในบริเวณมหาวิทยาลัย

ขอ ๑๐. นิสิตตองแสดงบัตรประจําตัวนิสิตไดทันท ีเม่ืออาจารยหรือเจาหนาที่ของมหาวิทยาลัยขอตรวจสอบ

ขอ ๑๑. ใหนิสิตอยูในบริเวณมหาวิทยาลัยไดไมเกินเวลาที่มหาวิทยาลัยกําหนด เวนแตจะไดรับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเปนกรณีๆไป

ขอ ๑๒. นิสิตตองไมนําขนบธรรมเนียมประเพณีหรือวิธีการอันไมเหมาะสมตอวัฒนธรรมไทยมาปฏิบัติ

ขอ ๑๓. นิสิตตองไมดําเนินกิจกรรมใดๆอันเปนการขัดตอกฎหมาย กฎ ระเบียบขอบังคับ ประกาศ หรือคําส่ังของมหาวิทยาลัย หรือคณะ

ขอ ๑๔. นิสิตตองไมมีหรือจัดพิมพส่ิงวาด ส่ิงเขียน หรือกลาวถอยคําหรือกระทําการอื่นใดอันอาจจะเกิดความเสียหายแกผูอืน่หรือมหาวทิยาลยั

ขอ ๑๕.นิสิตตองไมเปนผูนําสุราเมรัยหรือของมึนเมาใดๆ เขามาในบริเวณมหาวิทยาลัยและตองไมเสพสุราเมรัยหรือของมึนเมาใดๆจนเปนเหตุใหเส่ือมเสียแกตนเอง บิดามารดา ผูปกครองหรือมหาวิทยาลัย

ขอ ๑๖. นิสิตตองไมเลนหรือมีสวนเกี่ยวของ หรือสนบัสนนุการพนนัใดๆ เปนอนัขาด ขอ ๑๗. นิสิตตองไมกระทําตนใหเปนผูมีหนี้สินลนพนตัวจนมีเร่ืองเสียหายถึงผูอื่น หรือ

มหาวิทยาลัย ขอ ๑๘. นิสิตตองไมลัก ยักยอก หรือทําลายทรพัยสินของผูอืน่ หรือมหาวิทยาลัย ขอ ๑๙. นิสิตตองไมนําส่ิงผิดกฎหมายเขามาในบริเวณมหาวิทยาลัย หรือมีส่ิงผิดกฎหมาย

ไวในครอบครอง ขอ ๒๐. นิสิตตองไมเสพยาเสพติด หรือมียาเสพติดไวในครอบครอง ขอ ๒๑. นิสิตตองไมมีหรือพกพาอาวุธ หรือวัตถุระเบดิเม่ืออยูในบริเวณมหาวิทยาลัย ขอ ๒๒. นิสิตตองไมกอหรือมีสวนเกี่ยวของในการทะเลาะวิวาทกบันิสิตดวยกัน หรือ

กับผูอื่น ขอ ๒๓. นิสิตผูใดเปนผูกอหรือมีสวนเกี่ยวของ เปนคดีถึงเจาพนักงานฝายปกครองแลว

ตองรีบราย งานพฤติกรรมนั้นทันทตีออาจารยทีป่รึกษา อาจารยฝายกิจการนิสิตในคณะที่ตนสังกัดหรือกองกิจการนสิิต

ขอ ๒๔. นิสิตผูใดตองโทษโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกเวนแตความผิดลหุโทษหรือความผิดอันไดกระทําโดยประมาท ถือวาเปนผูกระทาํผิดวนิัยอยางรายแรง

Page 52: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔๕

ขอ ๒๕. นิสิตซ่ึงปฏิบัติฝาฝนกฎหมายกฎระเบียบขอบังคับประกาศหรือคําส่ังใดๆของมหาวิทยาลัยหรือคณะ ใหถือวากระทําผิดวนิัยและจะไดรับโทษดังตอไปน้ี

๒๕.๑ ทําทณัฑบน ๒๕.๒ ตัดคะแนนความประพฤต ิ ๒๕.๓ โทษอ่ืนๆ ซ่ึงมหาวิทยาลัยเห็นสมควร

อนึ่ง เม่ือมหาวิทยาลัยหรือคณะไดลงโทษแกนิสิตผูใดแลว ใหรีบแจงตอบดิามารดาหรือผูปกครอง และคณะของนิสิตผูนัน้หรือมหาวทิยาลยัทราบแลวแตกรณี พรอมทั้งใหบันทกึไวในทะเบียนประวัติของนิสิตผูนัน้ดวย

ขอ ๒๖. การตัดคะแนนความประพฤติ ๒๖.๑ ใหนิสิตแตละคนมีคะแนนความประพฤติ ๑๐๐ คะแนน ตลอด

ระยะเวลาที่มีสถาน ภาพการเปนนสิิต ๒๖.๒ การตัดคะแนนแตละคร้ัง ใหตัดไดไมต่ํากวาคร้ังละ ๕ คะแนน แตจะ

เปนจํานวนเทาใดใหอยูในดุลพินจิของมหาวิทยาลัย หรือคณะ ๒๖.๓ นิสิตผูใดถูกตัดคะแนนคร้ังเดียวหรือหลายคร้ังรวมกันเกินกวา ๔๐

คะแนน แตไมเกิน ๖๐ คะแนน ใหถือวาถูกพักการศกึษามีกําหนด ๑ ภาคการศึกษา ๒๖.๔ นิสิตผูใดถูกตัดคะแนนคร้ังเดียวหรือหลายคร้ังรวมกันเกินกวา ๖๐

คะแนน แตไมเกิน ๘๐ คะแนน ใหถือวาถูกพักการศกึษามีกําหนด ๒ ภาคการศึกษา ๒๖.๕ นิสิตผูใดถูกตดัคะแนนคร้ังเดียวหรือหลายคร้ังรวมกันเกินกวา ๘๐

คะแนน แตไมถึง ๑๐๐ คะแนน ใหถือวาถูกพักการศกึษามีกําหนด ๔ ภาคการศึกษา ๒๖.๖ นิสิตผูใดถูกตัดคะแนนคร้ังเดียวหรือหลายคร้ังรวมกันครบ ๑๐๐

คะแนน ใหถือวาพนสถานภาพการเปนนิสิต ขอ ๒๗. การสอบสวนและลงโทษการกระทําผดิวนิัย

๒๗.๑ ในกรณีทีมี่การกระทาํผิดวนิัยเกิดข้ึนในคณะใดคณะหนึ่ง และนิสิตคณะน้ันเปนผูกระทําผิดโดยไมมีนสิิตในคณะอื่นเกี่ยวของใหคณะกรรมการ กิจการนิสิตของคณะนั้นเปนผูมีอํานาจสอบสวนการกระทําผิดวินัย และเม่ือไดทําการสอบสวนการกระทําผิดวินัยดังกลาวแลว ไดความวานิสิต ไดกระทําผดิวินัยจริงและสมควรไดรับโทษใหเสนอเร่ืองพรอมดวยความเห็นเสนอตอคณะเพื่อพิจารณาลงโทษนิสิตผูนั้นตอไป

Page 53: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔๖

๒๗.๒ ในกรณนีอกเหนอืจากขอ ๒๗.๑ ใหคณะกรรมการพิจารณาเร่ืองวนิัยนิสิตของ มหาวทิยาลัยเปนผูมีอาํนาจสอบสวนการกระทาํผดิวนิัย เวนแตมหาวทิยาลัยจะเห็นสมควรเปนอยางอืน่เปนกรณีๆไป และเม่ือไดทําการสอบสวนการกระทาํผดิวนิัยดังกลาวแลว ไดความวานิสิตไดกระทาํผดิวินัยจริงและสมควรไดรับโทษ ใหเสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอมหาวทิยาลัยเพื่อพิจารณาลงโทษนสิิตผูนั้นตอไป

๒๗.๓ เพื่อใหไดมาซ่ึงขอเท็จจริงพฤติการณและพยานหลักฐานตางๆอันเกี่ยวกับการกระทําผิดวินัยและเพื่อพิสูจนใหเห็นถึงการกระทําผิดวินัยนั้น ใหมีผูมีอํานาจสอบสวนการกระทําผิดวินัยมีอํานาจดังตอไปนี้ ๒๗.๓.๑ เรียกตรวจและรวบรวมพยานหลักฐานตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการกระทําผิดวินัย

๒๗.๓.๒ เรียกและสอบสวนนิสิตกระทําผิดวินัยหรือผูอื่นที่เห็นวาเกี่ยวของกับการกระทําผิด

อนึ่ง นิสิตผูใดขัดขืนไมใหความรวมมือกลาวขอความอันเปนเท็จหรือปกปด ขอความจริงตอผูมีอํานาจสอบสวนการกระทําผิดวินัย ใหถือวาเปนผูกระทําผิดวินัย

ขอ๒๘. เพื่อดําเนินการใหเปนไปตามระเบียบนี้ ใหอธิการบดีหรือคณบดีมีอํานาจออกขอบังคับ ประกาศ หรือคําส่ังใดๆ ไดเทาที่ไมขัดหรือแยงกับระเบียบนี้

ขอ ๒๙. ใหอธิการบดีเปนผูรักษาการตามระเบียบนี ้

ในกรณทีี่มิไดกําหนดไวในระเบียบนี้ใหอธิการบดีมีอํานาจส่ังและปฏิบัติการไดตามที่เห็นสมควร

ประกาศ ณ วันที ่๓๐ มีนาคม ๒๕๒๗ (ลงนาม) บุญรอด บิณฑสันต

(ศาสตราจารย ดร.บุญรอด บิณฑสันต ) นายกสภามหาวิทยาลัย

Page 54: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔๗

(สําเนา) ประกาศ

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เร่ือง การลงโทษนิสิตผูกระทําผิด

---------------------- ดวยคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย ในการประชุมคร้ังที่๑๗/๒๕๒๗ เม่ือวันที่

๒๐พฤศจิกายน ๒๕๒๗ เห็นสมควรใหกําหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีที่นิสิตระดับบัณฑิตศึกษากระทําผิดและสมควรไดรับโทษและมีมติเกี่ยวกับการลงโทษผูกระทําผิดดังนี้

ขอ ๑. ใหคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะ/คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําสาขา วิชาที่นิสิตสังกัดอยู เปนผูพิจารณาและลงโทษนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ผูกระทําผิดตามขอ ๒ และขอ ๓ ของประกาศน้ีแลว ใหรายงานผลการลงโทษตอคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อทราบ และเพื่อดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป

ขอ ๒. กรณีกระทําผิดหรือรวมกระทําผิดระเบียบการสอบในการสอบประจําภาค หรือการสอบระหวางภาคการศึกษา (รวมถึงการสอบภาษาตางประเทศ การสอบรวบยอด และการสอบวิทยานิพนธ) ใหพิจารณาและลงโทษตามระเบียบจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวยระบบการศึกษาสําหรับปริญญาตรี โดยอนุโลม

ขอ ๓. กรณีกระทําผิดวนิัย ใหพิจารณาและลงโทษตามระเบียบจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยวาดวยวินัยนิสิตโดยอนุโลม

ขอ ๔. ใหใชประกาศน้ี ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที ่ ๒๒ มกราคม ๒๕๒๘

(ลงนาม) สุประดิษฐ บุนนาค (รองศาสตราจารย ดร. สุประดิษฐ บุนนาค)

คณบดี

Page 55: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔๘ (สําเนา)

ประกาศ จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย เร่ือง แนวทางในการประพฤติปฏิบัติและการกระทาํกิจกรรมของนิสิต

----------------------- เพื่อรักษาไวซ่ึงช่ือเสียงเกียรติคุณของมหาวิทยาลัย และเพื่อความประพฤติ และมารยาทที่ดีงามของนิสิตที่ศึกษาในสถาบันแหงนี้ จึงเห็นสมควรกําหนดแนวทางในการประพฤติปฏิบัติและการกระทํากิจกรรมของนิสิต เพื่อใหเปนไปตามระเบียบจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยวาดวยวินัยนิสิต พ.ศ. ๒๕๒๗ ดังนี้

๑. พึงควบคุมตนเองใหปฏิบัติตนอยางถูกตองตามหลักศลีธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม อันดีงามของสังคมไทยในทุกโอกาส

๒ ตองรักษาซ่ึงความสามัคคีความเปนระเบียบเรียบรอยและช่ือเสียงเกียรติคุณของมหาวิทยาลัย

๓ ไมกระทําการอันใดๆ อันอาจนาํมาซ่ึงความเส่ือมเสียแกตนเอง บิดามารดา ผูปกครองหรือมหาวิทยาลัย

๔. ตองไมเสพสุราเมรัย หรือของมึนเมาใดๆ ๕. ตองไมเลนการพนนั หรือมีสวนเกี่ยวของหรอืสนบัสนนุการพนนัใดๆ เปนอนัขาด ๖. ไมดําเนินกิจกรรมใดๆ อันเปนการขัดตอกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ

ประกาศหรือคําส่ังของมหาวิทยาลยั หรือคณะ ๗. ดําเนินกิจกรรมตามวิถีทางประชาธิปไตยและไมกอใหเกิดความเดือดรอน

เสียหายในทาง วตัถุ จิตใจ พฤติกรรม ๘. เชื่อฟงคําแนะนําตักเตือนของอาจารย หรือเจาหนาทีข่องมหาวิทยาลัยผูปฏิบัต ิ

ตามหนาที่โดยชอบ ๙. พึงปฏิบัติตนใหเปนแบบอยางที่ดแีกผูอืน่

ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๖

(ลงนาม) สมเกียรติ รุจิรวัฒน ผูชวยศาสตราจารย สมเกียรติ รุจิรวัฒน) รองอธิการบดฝีายกิจการนิสิต ปฏิบัติราชการแทนอธิการบด ี

Page 56: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๔๙

(สําเนา) ประกาศ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เร่ือง หามนิสิตเลนการพนันในการแขงขันฟุตบอล ----------------------

ดวย เปนขาวปรากฏในหนังสือพิมพอยูเสมอวา มีนิสิตนักศึกษา เขาไปเกี่ยวของกับการใชเงินในการเดิมพันการแขงขันฟุตบอล ทั้งการแขงขันฟุตบอลในประเทศและตางประเทศ ซ่ึงการกระทําดังกลาว เปนความผิดตามกฎหมายบานเมือง และเปนความผิดตามระเบียบวาดวย วินัยนิสิต พ.ศ. ๒๕๒๗ ขอ ๑๓ และขอ ๑๖ มหาวิทยาลัยจึงขอใหนิสิตพึงตระหนักและไมเขาไปมีสวนรวม หรือมีสวนเกี่ยวของอยางใดอยางหนึ่งกับการพนันในการแขงขันฟุตบอลโดยเด็ดขาด หากปรากฏมีนิสิตผูใดมีสวนรวมหรือเขาไปเกี่ยวของใดๆกับการพนันฟุตบอลทุกประเภท มหาวิทยาลัยจะพิจารณาใหไดรับโทษตามระเบียบ

จึงประกาศใหทราบทั่วกัน

ประกาศ ณ วันที ่ ๗ กุมภาพนัธ ๒๕๔๖ (ลงนาม) สฤทธ์ิเดช พัฒนเศรษฐพงษ

(รองศาสตราจารยสฤทธ์ิเดช พัฒนเศรษฐพงษ) รองอธิการบดีดานกิจการนิสิต ปฏิบัติราชการแทนอธิการบด ี

Page 57: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๕๐

ฉ. การประกันชีวิตและอุบัติเหตุของนิสิต

การประกันอุบัติเหตุกลุม จัดทําประกนัชีวิตและอุบัติเหตุกลุมใหกับนิสิตขอบเขตจของการคุมครอง

กรณีเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ๒๐๐,๐๐๐ บาท : คน กรณีเสียชีวิตจากเหตุอื่น ๑๐,๐๐๐ บาท : คน กรณีบาดเจ็บทัว่ไป ตามจายจริง แตไมเกินคร้ังละ ๓๐,๐๐๐ บาท กรณีบาดเจ็บจากการรวมกิจกรรมของมหาวิทยาลัย จะไดตามจายจริง

คร้ังละไมเกิน ๔๐,๐๐๐ บาท

สามารถเขารับการรักษาไดทั้งโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน ภายในวงเงินที่ระบ ุกรณีทุพพลภาพเปนไปตามเง่ือนไขที่กาํหนดในกรมธรรม สิทธิประโยชนตามกรมธรรมแตละรอบป

มหาวิทยาลัยจัดเงินสมทบคารักษาพยาบาลสวนที่เกนิจากคาสินไหมทดแทน ที่ไดรับจากบริษทัประกันภัยกรณีเกิดอุบัตเิหตุ ในอัตรา

อุบัติเหตุในพืน้ทีม่หาวิทยาลัย หรือจากการรวมเขาแขงขันกีฬา ของมหาวิทยาลัย สมทบไมเกิน ๑ เทาของวงเงินผลประโยชนคารักษา พยาบาลที่ไดรับจากกรมธรรม

อุบตัิเหตุ นอกพืน้ที่มหาวิทยาลัย สมทบคารักษาพยาบาลไมเกินกึ่งหนึ่ง ของวงเงินประกันอบุัติเหตุที่นิสิตไดรับตามที่ระบไุวในกรมธรรม กรณีเกิดอุบัติเหตุกะทนัหัน ทาํใหนสิิตสูญเสียสมรรถภาพ หรือทพุพลภาพอยางส้ินเชิง ถาวรในขณะที่ยังมีสถานภาพนิสิตจุฬาฯ ใหสนับสนุเงินสมทบคารักษาพยาบาล ไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

หลักเกณฑการสงเคราะหสวัสดิภาพนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ขั้นตอนการเบิกจายเงิน วีธีการเบิกคารักษาพยาบาล (เนื่องจากอบุัติเหตุ)

นิสิตจะตองย่ืนหลักฐานดังตอไปนี ้ที่งานบริการและสวัสดิการ ภายในระยะเวลา ๔๕ วัน นับจากวนัที่เกิดอุบัติเหตุคร้ังนั้นๆ

๑)ใบรับรองแพทยของสถานพยาบาลนั้นๆ

Page 58: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๕๑

๒)ใบเสร็จรับเงินตัวจริง ซ่ึงระบุคาใชจายตางๆ ที่นิสิตชําระไป

หลักประกันสุขภาพถวนหนา (โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ) นอกเหนอืจากการจัดใหบริการ ดแูลสุขภาพนิสิต ณ ศูนยบริการสุขภาพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย ที่อาคารจามจุรี ๙ ชั้น ๒ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ยังจัดใหมีบริการดานสุขภาพ เพื่อใหครอบคลุมความตองการและความจําเปนในการรักษาพยาบาล โดยไมเสียคาใชจายใหกับนิสิตทุกคน ดวยการเขารวมโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนากับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ การลงทะเบียนผูมีสิทธิในโครงการหลักประกันสุขภาพถวนหนาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ

เปดรับสมัคร ปละ ๒ คร้ัง คือ พฤษภาคม และ ตุลาคม โดยกรอกขอมูลในใบสมัคร พรอมแนบสําเนาบัตรประชาชน สําเนาบัตรประจําตวันิสิต สําเนาทะเบียนบาน และตองลงชื่อในเอกสารใหความยินยอมการเขาใชสิทธิประกันสุขภาพ ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ และสงเอกสารการสมัครไดที ่ฝายกิจการนิสิตคณะที่นิสิตสังกัด

เม่ือนิสิตไดรับสิทธเขารวมโครงการแลว แคย่ืนบัตรประจําตวัประชาชนก็สามารถใชสิทธิไดสิทธิการรักษาพยาบาลของนิสิต ที่จะไดรับ

1. การตรวจ การวินจิฉัย การรักษา และการฟนฟูสมรรถภาพ 2. คาหองสามัญ และคาอาหาร กรณีผูปวยใน 3. ยาและเวชภัณฑตามกรอบบัญชียาหลักแหงชาติ 4. การสงเสริมสุขภาพ การปองกนัโรค และการควบคุมโรค

ทั้งนี้นิสิตสามารถตรวจสอบสิทธการเขารวมโครงการและดูรายละเอียด เกี่ยวกับสิทธิไดที ่www.nhso.go.th

Page 59: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๕๒

แผนภูมิแสดงข้ันตอนการขอรับบรกิารรกัษาพยาบาลสําหรบันิสิตจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย

ดาวนโหลดใบสมัครเขาโครงการหลักประกัน ไดที่ http://www.sa.chula.ac.th/๒๐๑๐/th/subpage/welfare๕.php?id=welfare

Page 60: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๕๓

ช. ทุนการศึกษา บณัฑิตวิทยาลัย ไดจดัสรรทุนตางๆ เพื่อสนับสนุนและแบงเบาภาระคาใชจายให

นิสิตระดับบัณฑติศึกษา อกีทั้งยังเปนการสนบัสนุนใหคนดีคนเกงเขามาศึกษาท่ีจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัยมากข้ึน รายละเอียด ขอกําหนด จํานวนเงินทุนและระยะเวลาการรับสมัครทุน อุดหนนุการศึกษาและทุนอุดหนุนการวิจัย แตละปการศึกษา อาจเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม จึงขอใหติดตามจากประกาศแตละทุนจากบัณฑิตวทิยาลัยตอไป หรือติดตามจากเว็บไซต http://www.grad.chula.ac.th/scholarship/schedule.php ทุนประเภทตางๆทีบ่ัณฑติวทิยาลัยจัดสรรใหนิสิต มีดังนี้ ทุนอุดหนุนการศึกษา ๑. ทนุ ๗๒ พรรษา ๒. ทุนอุดหนนุการศึกษาเฉพาะคาเลาเรียน ๓. ทุนอุดหนุนการศึกษาเพือ่ทําหนาที่ผูชวยสอน ๔. ทุนอุดหนุนคาเลาเรียนเพื่อทําหนาที่ผูชวยวิจัย ๕. ทุนอุดหนุนการศึกษาสําหรับนสิิตที่มีความสามารถดานกฬีา ๖. ทนุมูลนิธินิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ๗. ทุนมูลนิธิเพื่อการศึกษาคอมพิวเตอรและการส่ือสาร ๘. ทุนสมาคมราชกรีฑาสโมสร ๙. ทุนพลตรี นายแพทยปชา สิริวรสาร ๑o. ทุนธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากดั (มหาชน) ๑๑.ทุนประไพ กลุศิริ ทุนอุดหนุนการวิจัย

๑. ทุนสนับสนนุวทิยานิพนธ ๙o ป จฬุาฯ ๒. ทุนอดุหนุนวิทยานิพนธสําหรับนิสิต ๓. ทุนสนับสนนุนิสิตระดับปริญญาเอกไปทําวิจัยในตางประเทศ (D-RSAB)

๔. ทุนสนับสนุนนิสิตระดับปริญญาเอกและโทไปทําวิจัยใน ตางประเทศ (G-RSAB) ๕. ทุนอดุหนุนการทาํวิทยานพินธของโครงการ “จุฬาฯ พอเพียง”

Page 61: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๕๔

๖. ทุนศาสตราจารย ดร.สุประดษิฐ บนุนาค ๗. ทุนทานผูหญิงเชญิ พิศาลยบุตร ๘. ทุนกองทุนประดษิฐ กลัยจาฤก ๙. ทุนอดุหนุนการทาํวิทยานพินธของธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน)

๑๐. ทุนสําหรับนิสิตระดับปริญญาดษุฎีบัณฑิต และมหาบัณฑิต ไปเสนอผลงาน วิชาการในตางประเทศ

๑๑. ทุนสําหรับนิสิตบณัฑิตวทิยาลัยในการเผยแพรผลงานทางวิชาการภายในประเทศ ๑๒. ทุนโครงการหลังปริญญาเอก

ซ. การตีพิมพผลงานวิจัยจากวิทยานิพนธหรือผลงานการคนควาอิสระ

ดวยขอบังคับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๑ ขอ ๑๐๓ และ ๑๐๔ ไดกําหนดเกณฑการเผยแพรผลงานวิทยานิพนธและผลงานการคนควาอิสระใหเปนสวนหนึ่งของการสําเร็จการศึกษา และเนื่องจากขอบังคับฯ ไมไดกําหนดแนวปฏิบัติในการระบุชื่อผู เขียนบทความวิจัยจากวิทยานิพนธ หรือผลงานการคนควาอิสระไว ทําใหมีการดําเนินการที่หลากหลายและบางครั้งไมสอดคลองกับส่ิงที่ควรจะเปน บัณฑิตวิทยาลัยจึงไดกําหนดแนวปฏิบัติในการตีพิมพบทความวิจัยจากวิทยานิพนธหรือผลงานการคนควาอิสระ เพื่อใหทุกคณะปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน ดังนี้ :- ๑. ชือ่นิสิตผูทําวทิยานิพนธควรเปนชื่อแรกในบทความ และนิสิตตองระบุสังกัดหลักสูตรของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ๒. อาจารยที่ปรึกษาวทิยานิพนธ ใหระบุสวนงานทีอ่าจารยสังกัด

Page 62: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๕๕

ฌ.การจัดทําวิทยานิพนธ

การจัดทําวทิยานพินธ ถอืเปนเง่ือนไขหนึง่ของการสําเร็จการศึกษาสําหรับการศึกษาในหลกัสูตรที่มีวทิยานิพนธเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ทั้งนี้ในการจัดทําวทิยานพินธ นิสิตจะตองตระหนกัถึงความสําคัญของการคัดลอกผลงานวชิาการของผูอื่นมาเปนของตนเองโดยไมมีการอางอิงแหลงที่มา ขอมูล การกระทาํดังกลาวถอืเปนความผิดทางวิชาการที่กอใหเกิดความเสียหายตอสถาบัน มีผลกระทบตอคุณภาพและจริยธรรมทางวิชาการและมีบทลงโทษ ซ่ึงนิสิตสามารถศึกษารายละเอียดในเร่ืองนี้ไดทีh่ttp://www.grad.chula.ac.th/download/files/Plagiarism.pdf

นอกจากนี้การจัดพิมพรูปแบบวิทยานิพนธ ก็เปนอีกเร่ืองหนึ่งของการทําวทิยานิพนธที่นิสิตจะตองใหความสําคัญ เนื่องจากในขอบังคับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วาดวยการศกึษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๑๐๑ ไดกําหนดไววา “รูปแบบการพิมพวิทยานพินธใหเปนไปตามคูมือการพิมพวทิยานพินธที่บัณฑิตวทิยาลัยกําหนด” ซ่ึงบัณฑิตวทิยาลัยไดจัดทําคูมือการพิมพวิทยานพินธ และTemplate ตนแบบในการพิมพวทิยานิพนธ เพื่ออํานวยความสะดวกแกนิสิตบัณฑติศึกษา ในการพิมพวทิยานิพนธฉบับสมบรูณ ลดขอผดิพลาดในการพิมพ และสามารถพิมพวทิยานิพนธไดถูกตองตามมาตรฐานการพิมพวทิยานิพนธที่นิยมใชกันทั่วไป โดยนิสิตสามารถ Download คูมือการพิมพวิทยานพินธและ Template ตนแบบในการพิมพวทิยานิพนธ ไดที ่http://www.grad.chula.ac.th/thesis/download.php

ญ. สิ่งอํานวยความสะดวก จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย ไดจัดสรางส่ิงอํานวยความสะดวกและบริการทางดานตางๆ ไวให

นิสิตอยางมากมาย เพื่อตอบสนองความตองการในหลายๆ ดาน ทั้งทางดานการรักษาพยาบาล รถโดยสารภายในมหาวิทยาลัย การปรึกษาปญหาตาง ๆ สหกรณรานคา ศูนยหนังสือ หอสมุดและศูนยกีฬา เปนตน ดานการรักษาพยาบาล มีศูนยสุขภาพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นิสิตสามารถขอรับบริการตางๆได ตามสิทธ์ิที่มหาวิทยาลัยกําหนดใหสําหรับดานสวัสดกิารรักษาพยาบาลโดยไมเก็บคาบริการ ที่บริเวณช้ัน ๒ อาคารจามจุรี ๙

Page 63: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๕๖ ดานหองสมุด มีศูนยวิทยทรัพยากร เปนแหลงขอมูลที่นิสิตสามารถเขาไปศึกษา

คนควา ยืมหนังสือ หรือสืบคนขอมูลไดอยางกวางขวาง ดูแลและใหบริการและสนับสนุนในดานเทคนิคที่เกี่ยวของทั่วไปใน ดานฮารดแวร ซอฟตแวร และระบบอุปกรณเชื่อมโยงระบบเครือขายตาง ๆ ของ ศูนยวิทยทรัพยากรโดยประสานงานและดูแลระบบหองสมุดอัตโนมัติที่ใหบริการทั้งภายในหองสมุดคณะและสถาบันในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (Chulalinet) และภายนอกมหาวิทยาลัยผานระบบเครือขาย(UniNet) รวมทั้งรับผิดชอบการเชื่อมโยงเครือขายของประเทศตาง ๆ ทั่วโลกโดยผาน Internet ดานบริการอินเตอรเน็ต มีสํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนศูนยกลางการใหบริการ ดานการเดินทาง มีบริการรถโดยสารภายในจุฬาฯ(shuttle bus)โดยใหบริการ ๕ เสนทางเดินรถ

ดานการใหคําปรึกษาปญหา มีสายดวนใหคําปรึกษาโดยผูเชี่ยวชาญ สามารถโทรศพัทไปไดที ่โทรศพัท ๐- ๒๒๑๕-๑๕๕๘ ทุกวันจนัทรถงึศุกร เวลา ๑๒.๐๐ น.- ๑๗.๐๐ น. นอกจากนี้ยังมีบริการสหกรณรานคา ที่จําหนายเคร่ืองเขียนและเคร่ืองใชที่จําเปนในราคาที่เปนธรรม รวมทั้งจัดใหมีบริการหลากหลายเพื่ออํานวยความสะดวกแกผูที่ตองการเปดรับสมัครสมาชิกโดยกําไรที่ไดจากการดําเนินงาน จะกลับคืนสูสมาชิกในรูปของเงินปนผล กิจกรรมและสิทธิพิเศษตางๆ และกําไรอีกสวนหนึ่งจะจัดสรรเพื่อการสาธารณประโยชนแกจุฬาฯและสังคม มีศูนยหนังสือจุฬาฯจําหนายหนังสือเรียนและหนังสือทั่วไป และศูนยกีฬา ซ่ึงไดแก สนามเทนนิส สนามกีฬาในรม ศูนยฟตเนส และสระวายน้ํา เปนตน ผูสนใจติดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ศูนยกีฬาแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โทร ๐-๒๒๑๘-๒๘๒๔-๗ และ ๐-๒๒๑๘-๒๘๔๐

ฎ. ที่พัก/หอพักบริเวณใกลเคียงจุฬาฯ หอพักพวงชมพ ู( U -Center ) (http://www.u-center-thailand.com/ เปนหอพัก

เอกชนในกาํกับของมหาวิทยาลัย ตั้งอยูฝงตรงขามโรงเรียนสาธิตมัธยม และอาคารจามจุรี ๙ นิสิตจุฬาลงกรณมหาวทิยาลัยสามารถเขาพักไดในราคาประหยัด นอกจากน้ีทางหอพักนิสิตมี

กิจกรรมมากมาย รองรับความตองการของนิสิตหอพักใหสามารถเรียนรูไดสมํ่าเสมอ เพื่อใหนิสิตเกิดการเรียนรูการอยูรวมกันในสังคม สรางนิสัยความรับผิดชอบตอตนเองและสวนรวมอีกดวย สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ สํานักงานนิสิตสัมพันธ อาคารจุลจักรพงษ ชั้น ๒ โทร ๐-๒๒๑๘-๗๐๔๓ และ ๐-๒๒๑๘-๗๐๕๕

Page 64: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๕๗ เขตปทุมวัน @Soi ๒ ๒๙/๑ ซ.รองเมือง ๒ ถ.รองเมือง แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กทม. ๑๐๓๓๐ โทร.๐๘-๑๔๔๑-๗๙๘๑, ๐-๒๒๑๔-๕๐๖๘ ใกลมาบุญครอง โลตัสพระราม ๑ หัวลําโพง เดินทางสะดวก ใกลรถไฟฟา BTS สนามกีฬาแหงชาติ คาเชา ๕,๐๐๐-๗,๐๐๐ บาทตอเดือน R.S. COURT ๗๖/๑ ซอยเกษมสันต ๓ พระราม ๑ เขตปทุมวัน กทม. ๑๐๓๓๐ โทร. ๐-๒๒๑๖-๓๔๙๒ กิจดํารงคแมนช่ัน ๕๙/๑ ซ. ถ.จรัสเมือง รองเมือง ปทุมวนั กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๓๐ เฟอรนิเจอรบิ้วอนิ ทั้งหมด มีแอร ตู เตียง เคาวนเตอร ครบ ราคา ๔,๕๐๐-๕,๐๐๐ บาท บาน BLUE SMILE TRAVEL ๓๖/๔๔ ซอยเกษมสันต ๑ ถนนพระราม ๑ เขตปทุมวัน พระราม ๔ ซิตี้คอรท ซอยปลูกจิต ถนนพระราม ๔ แขวงลุมพิน ี เขตปทมุวนั พักได ๑-๔ คน มีแอร ทวีี เฟอรนิเจอร หองน้าํ กุญแจคียการด มียามรักษาความปลอดภัย ศรีพันธ ๙๑๖ ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กทม. โทร.๐-๒๒๑๕-๔๐๒๑ สุวรรณา อพารตเมนท ๗๐ ถนนพระราม ๑ ปทุมวัน กทม. ๑๐๓๓๐ โทร. ๐-๒๒๑๔-๑๙๔๑ หอพักสตรีพิชชากร ๔๒๑/๑ ถนนพระราม ๑ แขวงรองเมือง เขตปทุมวนั กทม. ๑๐๓๓๐ คาเชา ๓,๐๐๐ - ๔,๐๐๐ บาท / เดอืนโทร๐-๒๖๑๒ ๔๖๖๙, ๐-๒๖๑๒ ๔๖๑๘ หอพักสตรี บานส่ีพระยา ๔๓๗/๒ ซ. ถ.ส่ีพระยา สามยาน ,กรุงเทพมหานคร เขตปทุมวันกรุงเทพมหานคร โทร ๐๘๕-๒๕๔-๐๑๗๗ ราคา ๕,๐๐๐ - ๗,๕๐๐ บาท / เดอืน หอพัก ๘๘๘๘Place ๔๗๕/๕-๖ ซอย พระยาสิงหเสนีย ปทุมวัน เขตปทุมวนั, กทม ๑๐๕๐๐ ราคา ๑,๘๐๐ – ๒,๕๐๐ บาท หอพักนักศึกษา e-mail: [email protected] ถ.พระราม ๑ ปทุมวัน กทม.๑๐๓๓๐ เย้ืองโลตัส เจริญผล โทร. ๐๘-๙๖๗๘-๐๗๕๒ คาเชา ๒,๐๐๐-๓,๐๐๐ บาท หอพักปทุมวัน e-mail: [email protected] ถ.บรรทัดทอง รองเมือง ปทุมวนั กทม ๑๐๓๓๐ โทร . ๐-๘๕๘๑๘๖๒๔๙ คาเชา ๑,๔๐๐-๑,๕๐๐ บาท หอพักสตรีอุราภรณ ๕๖/๑๕-๑๖ ซ.รองเมือง ๓ ถ.พระราม ๑ แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กทม. ๑๐๓๓๐ คาเชา ๒,๑๐๐ บาทตอเดอืน หอพักสตรีแอลเจลา ปทุมวัน ๓๒/๑ ซ.หลังสวน ถ.เพลินจิต ลุมพีน ีปทุมวัน กทม. ๑๐๓๓๐ โทร. ๐-๒๒๕๒๕๕๘๐ ราคา ๓,๐๐๐ บาท

Page 65: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๕๘

หอพักหญิงปทุมวัน ๓๘-๔๒ ซ.จุฬาฯ ๑๒ ถ.พระราม ๖ แขวงวังใหม เขตปทุมวนั กทม. ๑๐๓๓๐ ราคา ๓,๐๐๐ บาท หอพักอารทีเอ็น ๑๘๕/๘-๙ ถ.พระราม ๑ แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กทม. ๑๐๓๓๐ ราคา ๔,๕๐๐ – ๕,๕๐๐ บาท เขตราชเทวี จิตณรงณ อพารตเมนท ๕๐ ซอยเพชรบุรี ๕ ถนนเพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทว ีกทม.๑๐๔๐๐ โทร.๐-๒๖๑๒-๐๒๔๕ ไชนาแมนช่ัน ๑๗๙/๒ ซอยเพชรบุรี ๕ ถนนเพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐โทร.๐-๒๒๑๕๖๓๓๕ ราชเทวีคอรท ๕๗ ซอยโกลิต ถ.พญาไท เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ โทร.๐-๒๒๕๑-๙๗๔๓ ราชาวดีแมนช่ัน ๒๖๓/๑๑ ซอยพญานาค ถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ โทร.๐-๒๒๑๕-๙๙๒๕ โทร.๐-๒๖๑๒-๖๔๐๙ L.A. แมนช่ัน ๒๐๕-๒๐๗ ซอยเพชรบุรี๕ เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐-๒๒๑๖-๗๓๘๑ คาเชา ๕,๑๐๐ บาท/เดือน ราชเทวีอพารตเมนท ๔๘๘ ซอยเพชรบุรี๑๘ ถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ พรอมสุขแมนช่ัน ๒๒๑ ซ.เพชรบรีุ ๕ ถ.เพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กทม โทร. ๐๒๖๑๒๐๒๖๔-๗๑ ตอ ๑๐๐๐ ๓,๕๐๐ - ๕,๐๐๐ บาท / เดอืน บานเลิศเบญญา ๒๗/๔๑ ซอยเลิศปญญา ถนนราชวถิี เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ โทร. ๐๒๖๔๔๙๐๖๑ บานวรฉัตร ซอยเพชรบุรี ๖ ถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กทม. ราคา ๓,๐๐๐ – ๔,๐๐๐ บาท โทร.๐-๒๖๑๒-๙๐๖๑ เรืองศิริอพารตเมนท ๔๐๑ ซอยเพชรบุรี ๗ ถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ โทร.๐-๒๖๑๒-๑๒๙๖ ราคา ๔,๘๐๐ – ๕,๐๐๐ บาท เวเนเซียร เรสซิเดนท ๘๙๐/๙๓ ซอยเพชรบุรี ๑๘ ถนนเพชรบุรี ราชเทวี กทม. โทร.๐-๒๖๕๖-๕๑๗๕ สุธิราเเมนช่ัน ๒๒๒ ซอยเพชรบุรี ๗ ถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กทม. ราคา ๕,๕๐๐ บาท โทร.๐-๒๖๑๒-๑๐๐๐ หอพักสตรีม่ันสิน ๑๗๓/๑๕ พระราม ๖ ซอย ๒ แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ โทร ๐-๒๓๑๒๐๖๔๑-๙ ราคา ๓,๒๐๐ – ๔,๔๐๐ บาท อเนกอารียเพลส ๘๑๗ ซอย เพชรบุรี ๒๑ ถ.เพชรบรีุ แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี

Page 66: Handbook Student 2011

คูมือนิสิตบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๕๔ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

๕๙

โทร ๐๒ ๖๕๓๖๘๑๐ กด๐ (๙-๑๕น) หรือ กด๒๐๗ วันหยุด อยูใกลรถไฟฟา อเวนิว แมนช่ัน ๗๐/๒๙ ซ.เพชรบุรี๗ เขตราชเทวี กทม. ๑๐๔๐๐ โทร.๐-๒๒๑๙-๗๓๙๗ ราคา ๕,๐๐๐ บาท เขตบางรัก สาทรเรสซิเดนท (บางรัก) ๑๖๑ ถนนเจริญเวียง (ตรงขามโรบินสันบางรัก) สีลม บางรัก กทม โทร.๐๒๖๓๐๖๕๒๐ ๕,๕๐๐ - ๗,๕๐๐ บาท / เดือน วี.เอส.พี แมนช่ัน ๓๐๒ ซอย สองพระ ถนน ส่ีพระยา แขวง มหาพฤฒาราม เขตบางรัก กทม. โทร.๐๒๖๓๓๐๓๑๑-๑๕ ๕,๘๐๐ บาท / เดอืน หอพระหญิงสองพระ ๒๔๐ แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กทม. ๕,๙๐๐ บาท / เดือน โทร.๐-๒๖๓๓-๐๑๔๐ บานนเรศ ๓๓๓-๓๓๕ ซอยสันติภาพ ๑ ถนนทรัพย ส่ีพระยา เขตบางรัก กทม. โทร.๐๘๕-๙๑๘๘๖๖๘,๐๘๖-๕๐๙๑๒๘๘ หอพักส่ีพระยา ๓๔๗/๑ ถนนส่ีพระยา เขตบางรัก กทม. ๑๐๕๐๐โทร. ๐๒-๒๓๓๒๗๙๘ กด ๐ ๒,๓๐๐ - ๓,๒๐๐ บาท อโนชา เพลส ๕๕ ซ.เจริญราษฎร เขตบางรัก กทม. ๑๐๑๒๐โทร.๐-๒๖๗๕๕๑๖๒ ๓,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ บาท หอพักอูทอง ๔๔๒/๔ ถ.สีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. ๑๐๕๐๐โทร.๐๘-๔ ๑๑๑-๐๕๕๔ ๓,๐๐๐- ๔,๕๐๐ บาท บานธารารินทร ๓๗ ซ.เจริญราษฎร ถ.สาทรใต เขตบางรัก กทม. ๑๐๑๒๐ ๐๒๒๑๑๕๓๓๘ ๔,๕๐๐ - ๘,๒๐๐ บาท เขตพญาไท หอพักสตรีประเทอืงสุข ๗๗๙/๔ ซอยลือชา ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กทม.๑๐๔๐๐ โทร.๐-๒๒๗๘-๐๖๕๒๓ ราคา ๓,๒๐๐ บาท เคพีแมนช่ัน ชอยหมอเหล็ง ใกลอนุสาวรียชัย โทร.๐-๒๖๔๒-๔๐๐๔ ราคา ๔,๔๐๐ บาท เอกโยธินอพารตเมนท ๙๔๑/๑ซอยพหลโยธิน ๑ ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐ โทร.๐-๒๒๗๐-๑๖๘๔-๕ ๖๔๔๗๙๖๓ ราคา ๕,๓๐๐ บาท แสงเเมนช่ัน อนุสาวรียชัยสมรภูมิ เขตพญาไท กทม. ๐๒-๖๔๔๗๙๖๓ ราคา ๖,๐๐๐– ๘,๕๐๐ บาท