17
รางวัลคุณภาพคาโน รางวัลองคการคุณภาพ... สําหรับองคการที่มีผลงานดีเดนดานการจัดการคุณภาพโดยใชหลักการ TQM TQM (Total Quality Management) ถือเปนกลยุทธที่สําคัญในการบริหารธุรกิจ (Business Management) เพื่อนํา องคการไปในทิศทางที่ตองการ ซึ่งจะชวยเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันขององคการในทุก ดาน ปจจุบันมีหลาย องคการที่ไดนํา TQM มาประยุกตใชในองคการ ทั้งผูบริหารและทีมงานไดศึกษาปรัชญา แนวคิดของ TQM และนําไป ปฏิบัติ (Implement) แลว แตสิ่งที่ไดดําเนินการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมาก-นอยอยางไร องคการจะไมสามารถ ทราบได การนํา TQM มาประยุกตใชนั้น องคการจะตองนําแนวคิดดานคุณภาพมาใชอยางเหมาะสม ดําเนินกลยุทธ เชน Policy Management, Daily Management, Cross-Functional Management, Bottom up Activities อยางมีประสิทธิผล กระจายใหกับพนักงานในทุกหนวยงาน/ระดับไดอยางทั่วถึง มีความตอเนื่อง และเชื่อมโยงกันไดอยางเหมาะสม และยังตอง ชี้วัดผลสําเร็จออกมาไดอยางเปนรูปธรรม เพื่อเปนการสนับสนุนระบบ TQM ในประเทศไทยตามแนวทางของ Prof.Dr.Noriaki Kano สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ) จึงไดริเริ่มจัดตั้งรางวัลคุณภาพ “KANO Quality Award” ขึ้นมา เพื่อเปนการประกาศเกียรติคุณใหแก องคการที่มีผลงานดีเดนดานการบริหารงานคุณภาพโดยใช หลักการ TQM ของ Prof.Dr.Noriaki Kano วิสัยทัศน 1. เปนรางวัลดานคุณภาพตามแนวทาง TQM ที่มีเกียรติสูงสุดในประเทศไทย 2. เปนรางวัลที่ไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง โดยเฉพาะจากภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ 3. เปนรางวัลที่มีเกณฑและกลไกการตัดสินที่ถูกตองแมนยํา ตามแนวทาง TQM ของ Prof.Dr.Noriaki Kano 4. เปนระบบหรือกระบวนการใหรางวัลที่ชวยสงเสริมใหองคการมีความมุงมั่นปรับปรุงคุณภาพของสินคาและบริการให สูงขึ้นอยางเปนระบบอยูตลอดเวลา วัตถุประสงค 1. สงเสริมใหกําลังใจแกองคการที่มีความมุงมั่นทุมเทพยายามในการนํา TQM ไปประยุกตใชในการปรับปรุงระบบบริหาร คุณภาพ 2. ใหการยอมรับ เชิดชูเกียติแกองคการที่สามารถบรรลุผลสําเร็จในการปรับปรุงคุณภาพขององคการ 3. เผยแพรประสบการณขององคการที่ประสบความสําเร็จโดยใช TQM เปนกลยุทธทางธุรกิจใหเปนแบบอยางแก สาธารณะ 4. เปนรางวัลที่สงเสริมใหมีความตระหนักถึงความสําคัญของคุณภาพ นวัตกรรมของสินคาและบริการที่มีตอความสามารถ ในการแขงขัน 5. เปนรางวัลที่สงเสริมความรู ความเขาใจเกี่ยวกับองคประกอบของความเปนเลิศทางดานคุณภาพ โดยใชหลักการ TQM 6. ชวยยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑทั้งภาคการผลิตและบริการของภาครัฐและธุรกิจไทย

KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

รางวัลคุณภาพคาโน

รางวัลองคการคุณภาพ... สําหรบัองคการทีม่ีผลงานดีเดนดานการจัดการคุณภาพโดยใชหลักการ TQM

TQM (Total Quality Management) ถือเปนกลยุทธท่ีสําคัญในการบริหารธุรกิจ (Business Management) เพื่อนําองคการไปในทิศทางท่ีตองการ ซ่ึงจะชวยเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันขององคการในทุก ๆ ดาน ปจจุบันมีหลายองคการที่ไดนํา TQM มาประยุกตใชในองคการ ท้ังผูบริหารและทีมงานไดศึกษาปรัชญา แนวคิดของ TQM และนําไปปฏิบัติ (Implement) แลว แตส่ิงท่ีไดดําเนินการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมาก-นอยอยางไร องคการจะไมสามารถทราบได การนํา TQM มาประยุกตใชน้ัน องคการจะตองนําแนวคิดดานคุณภาพมาใชอยางเหมาะสม ดําเนินกลยุทธ เชน Policy Management, Daily Management, Cross-Functional Management, Bottom up Activities อยางมีประสิทธิผล กระจายใหกับพนักงานในทุกหนวยงาน/ระดับไดอยางท่ัวถึง มีความตอเน่ือง และเชื่อมโยงกันไดอยางเหมาะสม และยังตองชี้วัดผลสําเร็จออกมาไดอยางเปนรูปธรรม

เพื่อเปนการสนับสนุนระบบ TQM ในประเทศไทยตามแนวทางของ Prof.Dr.Noriaki Kano สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน) จึงไดริเร่ิมจัดต้ังรางวัลคุณภาพ “KANO Quality Award” ขึ้นมา เพื่อเปนการประกาศเกียรติคุณใหแกองคการที่มีผลงานดีเดนดานการบริหารงานคุณภาพโดยใช หลักการ TQM ของ Prof.Dr.Noriaki Kano วิสัยทัศน 1. เปนรางวัลดานคุณภาพตามแนวทาง TQM ท่ีมีเกียรติสูงสุดในประเทศไทย 2. เปนรางวัลท่ีไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง โดยเฉพาะจากภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ 3. เปนรางวัลท่ีมีเกณฑและกลไกการตัดสินท่ีถูกตองแมนยํา ตามแนวทาง TQM ของ Prof.Dr.Noriaki Kano 4. เปนระบบหรือกระบวนการใหรางวัลท่ีชวยสงเสริมใหองคการมีความมุงมั่นปรับปรุงคุณภาพของสินคาและบริการให

สูงขึ้นอยางเปนระบบอยูตลอดเวลา

วัตถุประสงค 1. สงเสริมใหกําลังใจแกองคการท่ีมีความมุงมั่นทุมเทพยายามในการนํา TQM ไปประยุกตใชในการปรับปรุงระบบบริหาร คุณภาพ 2. ใหการยอมรับ เชิดชูเกียติแกองคการที่สามารถบรรลุผลสําเร็จในการปรับปรุงคุณภาพขององคการ 3. เผยแพรประสบการณขององคการที่ประสบความสําเร็จโดยใช TQM เปนกลยุทธทางธุรกิจใหเปนแบบอยางแก สาธารณะ 4. เปนรางวัลท่ีสงเสริมใหมีความตระหนักถึงความสําคัญของคุณภาพ นวัตกรรมของสินคาและบริการท่ีมีตอความสามารถ ในการแขงขัน 5. เปนรางวัลท่ีสงเสริมความรู ความเขาใจเกี่ยวกับองคประกอบของความเปนเลิศทางดานคุณภาพ โดยใชหลักการ TQM 6. ชวยยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑท้ังภาคการผลิตและบริการของภาครัฐและธุรกิจไทย

Page 2: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

ขั้นตอนการคัดเลือก รายละเอียด วัน/เดือน/ป คาใชจาย

(ราคานี้ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)

บรรยายหลักเกณฑรางวัลคุณภาพคาโน KANO Quality Award

29 เมษายน 2553 700 บาท/คน

เปดรับสมัครผลงานรางวัลคุณภาพคาโน 29 เมษายน – 30 กรกฎาคม 2553 ฟรี ประกาศรายช่ือองคการที่ผานรอบเอกสาร 24 สิงหาคม 2553 ตรวจผลงาน ณ สถานประกอบการ คร้ังท่ี 1 23 กันยายน - 8 ตุลาคม 2553 20,000 บาท ประกาศผล รายช่ือองคการ ท่ีผานรอบตรวจผลงาน ณ สถานประกอบการ (คร้ังท่ี 1)

19 ตุลาคม 2553

ตรวจผลงาน ณ สถานประกอบการ (คร้ังท่ี 2) 13 - 24 ธันวาคม 2553 30,000 บาท ประกาศผล รายช่ือองคการ ท่ีผานรอบตรวจผลงาน ณ สถานประกอบการ (คร้ังท่ี 2)

28 มกราคม 2554

งานประกาศผล KANO Quality Award การนําเสนอผลงานรอบชิงชนะเลิศ

25 มีนาคม 2554

***กรณีที่ผานเขารอบการตรวจติดตามผลงาน ณ สถานปฏิบัติงานจริง องคการจะตองชําระคาตรวจติดตาม และรับผิดชอบคาใชจายในการเดินทาง และคาที่พัก (ถามี) ของคณะกรรมการท้ัง 2 รอบ

Page 3: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

เกณฑการใหรางวัล การริเร่ิม กิจกรรมหลัก ผลลัพธ

การปอนกลับ การปอนกลับ การปอนกลับ

4. ตัวช้ีวัดความพึงพอใจของ Stakeholder (150 คะแนน)

ความพึงพอใจของลูกคา (50 คะแนน)

5. ผลกําไรและการเติบโต (100 คะแนน)

คะแนนรวม : 1,000 คะแนน

ความพึงพอใจของพนักงาน (25 คะแนน) ความพึงพอใจของผูจัดหาและสังคม (75 คะแนน)

ผลลัพธทางธุรกิจ

6. แผนดําเนินการในอนาคต (50 คะแนน)

2. กลยุทธการผลิตและการบูรณาการ (300 คะแนน) การพัฒนาและการประดิษฐผลิตภัณฑและบริการใหม (50 คะแนน) - การใชหลักการ Task Achieving และเครื่องมือ New QC 7 tools QFD, DOE, FMEA เปนตน ในการพฒันาผลิตภัณฑและบริการใหม

การปรับปรุง คุณภาพ, การสงมอบ, ผลิตภาพ และตนทุน (50 คะแนน) - การแกปญหาดวย QC 7 tools และการ วิเคราะหทางสถิติ เปนตน

การยกระดับระบบการจัดการ (40 คะแนน) - การใชหลัก PDCA, Management by Fact, Standardization เปนตน

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย (40 คะแนน) การเปนหุนสวนกับผูจัดหา (40 คะแนน) การใชประโยชนจากระบบ IT (40 คะแนน) การจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม (40 คะแนน)

3. ผลลัพธจากการจัดการ (200 คะแนน) คุณภาพ (50 คะแนน) การสงมอบ, ผลิตภาพ และตนทุน (50 คะแนน) ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม (50 คะแนน) ระบบการจัดการ TQM แบบใหม และเคร่ืองมือการจัดการที่เปนนวัตกรรม (50 คะแนน)

1. นโยบายการจัดการและการ กระจายนโยบาย (200 คะแนน) ความเปนผูนําของผูบริหารสูงสุด (80 คะแนน) - การจัดการเชิงนโยบาย

การประสานงานโดยผูบริหารระดับกลาง (60 คะแนน) - การจัดการประจาํวัน

การมีสวนรวมและการใหอํานาจแกพนักงาน (30 คะแนน) - กิจกรรมกลุมยอย QCC

การจัดการการทํางานเปนทีม (30 คะแนน) - การบริหารขามสายงาน

Page 4: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

Type of KANO Quality Award

Step to World Class Manufacturing & Service

Diamond

Golden

Silver

Bronze

>=900

800-899

700-799

600-699

Scores

500-599Certificate

วิธีการสมัคร

1. กรอกแบบฟอรมใบสมัคร พรอมการรับรองจากผูบริหารขององคการ 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พรอม CD 1 แผน โดยมีหัวขอ และรายละเอียดสําคัญดังน้ี

2.1) สําเนาใบสมัครท่ีมีการรับรองจากผูบริหารขององคการแลว 2.2) สรุปผลการดําเนินงานดวยหลักการ TQM ประมาณ 3-4 หนา (ความเรียง) 2.3) ประวัติความเปนมาขององคการ วิสัยทัศน วัตถุประสงค นโยบาย เปาหมาย TQM 2.4) เน้ือหาโดยรวมของการดําเนินการ TQM ในองคการ 2.5) ตัวชี้วัดผลสําเร็จท้ังรูปธรรมและนามธรรม 2.6) แนวทางการยกระดับการดําเนินงาน TQM 2.7) Success Case (ตัวอยางท่ีประสบความสําเร็จในการนํา TQM มาใช)

3. คาสมัครเขารวมประกวดผลงาน ...ฟรี... 4. กรณีท่ีผานเขารอบการตรวจติดตามผลงาน ณ สถานปฏิบัติงานจริง องคการจะตองชําระคาตรวจติดตาม และ รับผิดชอบคาใชจายในการเดินทาง และคาท่ีพัก (ถามี) ของคณะกรรมการท้ัง 2 รอบ

รอบที่ 1 รอบตรวจประเมินเพื่อเตรียมความพรอม คาใชจาย 20,000 บาท (ราคานี้ยังไมรวมภาษีมูลคาเพ่ิม) รอบที่ 2 ตรวจประเมินศักยภาพ คาใชจาย 30,000 บาท (ราคาน้ียังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)

5. กรณีองคการไดเขานําเสนอเสนอผลงาน ในงาน KANO Quality Award องคการจะตองรวมจัดบูธแสดงผลงาน การประยุกตใช TQM ใน งาน KANO Quality Award

Page 5: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

คณะกรรมการรางวัลคุณภาพคาโน

ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

ดร.ผณิศวร ชำานาญเวช นายกสมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย

และสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย

คุณกานต์ ตระกูลฮุน กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำากัด (มหาชน)

คุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ รองประธานกรรมการ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำากัด

คุณถาวร ชลัษเฐียร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เด็นโซ่ อินเตอร์เนชั่นแนล เอเชีย จำากัด

บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำากัด

คณะกรรมการตรวจประเมินรางวัลคุณภาพคาโน

ประธาน คุณชำานาญ รัตนากร

ที่ปรึกษาอิสระ

กรรมการ รศ.พูลพร แสงบางปลา

รองศาสตราจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร ์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรรมการ รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์

ผู้อำานวยการ สำานักประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรรมการ คุณรังสรรค์ เลิศในสัตย์

คณบดีคณะบริหารธุรกิจ

สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

กรรมการ รศ.ดร.พิชิต สุขเจริญพงษ์

รองศาสตราจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

กรรมการ คุณสิทธิไชย สรรพิทักษ์เสรี

ผู้จัดการ TQC

บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำากัด (มหาชน)

คณะกรรมการ

Page 6: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

กรรมการ ผศ.วิศิษฎ์ โล้เจริญรัตน์

หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

กรรมการ คุณดนัย สุภาชนะ

ผู้เชี่ยวชาญอาวุโส

บริษัท เด็นโซ่ ประเทศไทย จำากัด

กรรมการ คุณอนุวรรตน์ ศิลาเรืองอำาไพ

ผู้อำานวยการสายงาน การศึกษาฝึกอบรมและวินิจฉัยให้คำาปรึกษา

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

กรรมการ คุณสุพัฒน์ เอื้องพูลสวัสดิ์

ผู้เชี่ยวชาญอุตสาหกรรม

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

กรรมการ คุณอุดม สลัดทุกข์

ผู้เชี่ยวชาญอุตสาหกรรม

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

คณะกรรมการตรวจประเมินเบื้องต้นรางวัลคุณภาพคาโน

กรรมการ คุณกรณ์เดช ธนภณพงศ์

ผู้เชี่ยวชาญอุตสาหกรรม

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

กรรมการ คุณอัษฎาวุธ เบญจพร

ผู้เชี่ยวชาญอุตสาหกรรม

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

กรรมการ คุณภูรินทร์ คุณมงคล

ผู้เชี่ยวชาญอุตสาหกรรม

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

กรรมการ คุณฐิติ บุญประกอบ

ผู้เชี่ยวชาญอุตสาหกรรม

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

Page 7: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

ในยุคปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต การแข่งขันทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศจะยิ่งทวีความรุนแรง

มากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในการแข่งขันระหว่างประเทศนั้นจะเป็นการแข่งขันระดับที่สูงมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องต้นทุน

ราคา คุณภาพ หรือเทคโนโลยี อีกทั้งยังมีข้อจำากัดต่างๆ เช่น ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาความปลอดภัย สิทธิมนุษยชน

ก็ถูกหยิบยกขี้นมาเป็นประเด็นกีดกันทางการค้า จึงทำาให้ธุรกิจต้องปรับตัวอย่างเร่งด่วน ดังนั้นสิ่งที่ธุรกิจอุตสาหกรรม

ต้องเร่งดำาเนินการก็คือ การพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และคุณภาพขององค์กรในทุกรูปแบบ รวมถึงการที่ต้องแสดง

ให้เห็นถึงความรับผิดชอบด้านความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมด้วย โดยรวมแล้วก็คือ จะต้องมีคุณภาพสูง แต่มีต้นทุนการ

ผลิตต่ำ� ซึ่งก็คือเป้าหมายที่ทุกองค์กรจะต้องมุ่งหวังไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ ขนาดกลาง หรือขนาดย่อม

“คุณภาพ” จึงเป็นปัญหาของธุรกิจอุตสาหกรรมทุกวันนี้ ถ้าพูดถึง “คุณภาพ” ก็คงจะหนีไม่พ้น คุณภาพงาน

และคุณภาพคน ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ ถ้าจะแก้ปัญหา 2 ตัวนี้ก็จะต้องแก้ควบคู่กันไป ในภาวะเศรษฐกิจผันผวนอย่างเช่น

ปัจจุบันนี้ การพัฒนาคุณภาพจึงเป็นเรื่องที่สำาคัญยิ่งต่อ “กำาไรขาดทุน” ของทุกธุรกิจ คุณภาพงานและคุณภาพคนของ

องค์กรโดยรวม จึงเป็นตัวชี้วัดความสำาเร็จ และความมีมาตรฐานสากลของโลกธุรกิจทุกวันนี้และในอนาคตด้วย

ผมขอแสดงความชื่นชม ต่อสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ที่ได้ผลักดันในเรื่องคุณภาพมาเป็นเวลา

กว่า 36 ปี ส.ส.ท. ได้ให้ความร่วมมือกับภาครัฐมาด้วยดีโดยตลอด และเป็นตัวอย่างที่ดีในการปรับปรุงประสิทธิภาพและ

คุณภาพของคนและองค์กร ที่ทำาให้สามารถยืนหยัดอยู่ได้ยาวนานจนถึงปัจจุบัน จนกระทั่งต่อยอดไปสู่ KANO Quality

Award

ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี

ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

KANO Quality Award

Page 8: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

คุณภาพ ไม่เคยล้าสมัย สำาหรับผู้บริโภค คุณภาพ มีความหมายเบื้องต้น คือ ความคุ้มค่าเงินที่จ่ายไปเพื่อซื้อสินค้าหรือบริการ ยิ่ง

ราคาสินค้าหรือบริการนั้นสูงขึ้นเท่าไร ความคาดหวังด้านคุณภาพก็ย่อมสูงขึ้นไปตามส่วน และในแง่กลับกัน หากผู้

ผลิตมีความมุ่งมั่นที่จะผลิตสินค้าคุณภาพสูง ก็ย่อมสามารถตั้งราคาให้สูงขึ้นได้เช่นกัน อย่างที่เรียกกันว่า “ตลาดบน” มี

คู่แข่งน้อยกว่า “ตลาดล่าง” ที่มักเน้นสินค้าราคาถูก ขายปริมาณมากเป็นหลัก

ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นได้รับความเสียหายอย่างหนัก มีความจำาเป็นต้องสร้างเนื้อสร้างตัวขึ้น

มาใหม่ ได้ปรมาจารย์ คือ Dr.W.Edwards Deming ช่วยกำาหนดทิศทางอุตสาหกรรมให้ เน้นคุณภาพ เพื่อเพิ่มขีดความ

สามารถในการแข่งขัน ซึ่งได้พิสูจน์ให้เห็นได้จนทุกวันนี้ว่า เป็นแนวคิดที่ถูกต้อง รางวัล Deming Prize จึงถูกตั้งขึ้นเป็น

เกียรติแก่ Dr.Deming เพื่อสนับสนุนให้องค์กรนำาแนวคิดและหลักการด้านคุณภาพไปใช้อย่างได้ผล ซึ่งปรัชญาการบริหาร

ของ Dr.Deming นี้เอง ที่เป็นจุดกำาเนิดของ TQM

จากเดิมที่ คุณภาพ หมายถึง ตัวผลงานหรือผลิตภัณฑ์ เมื่อพัฒนามาถึงยุคของ TQM คือ Total Quality

Management ย่อมรวมถึง คุณภาพของการทำางาน กระบวนการผลิต การบริหารควบคุม และที่สำาคัญที่สุดคือ คุณภาพ

ชีวิตของคนงานทุกระดับ องค์กรที่นำา TQM มาใช้ จึงไม่เพียงผลิตสินค้าคุณภาพเท่านั้น แต่ยังผลิตคนที่มีคุณภาพให้

องค์กรเองอีกด้วย ซึ่งคุณภาพของคนในระบบ TQM นี้ จะเป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่า เพิ่มขีดความสามารถในการ

แข่งขันให้องค์กรได้อย่างต่อเนื่อง

สินค้าที่เน้นเทคโนโลยีของทุกวันนี้ มีลักษณะเฉพาะตัวที่เห็นได้ชัดอย่างหนึ่ง คือ มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ผู้

ผลิตต้องปรับเปลี่ยนรุ่นอยู่เสมอ สร้างจุดขายว่าเป็นของใหม่ ผลที่ตามมา คือ อายุใช้งานของตัวผลิตภัณฑ์สั้นลง จุดนี้

อาจส่งผลให้คุณภาพด้านความประณีต ทนทาน ของตัวสินค้า ด้อยกว่าสินค้าในยุคก่อนที่ไม่ต้องปรับตัวตามเทคโนโลยี

จึงเน้นความทนทานมากกว่าสินค้ายุคใหม่ และการที่ต้องปรับเปลี่ยนรุ่นสินค้าบ่อยขึ้น ทำาให้บริษัทต้องเน้นความ

ยืดหยุ่นในการผลิต ซึ่งจะยิ่งจำาเป็นต้องใช้พนักงานที่มีคุณภาพ มีขีดความสามารถสูง เพราะคนเป็นปัจจัยการผลิตที่มี

ความยืดหยุ่นสูงสุด เหนือเครื่องจักรทุกชนิด

TQM จึงเป็นปรัชญาการบริหารที่เหมาะสมที่สุดสำาหรับสินค้ายุคใหม่ไฮเทค เพราะครอบคลุมทั้งแนวคิด วิธีการ และเครื่อง

มือบริหารจัดการไว้อย่างครบถ้วน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สามารถสร้างคนที่มีคุณภาพให้กับองค์กร ใช้ได้ทั้งภาครัฐและ

เอกชน ไม่ว่าจะเป็นองค์กรมุ่งหวังผลกำาไรแบบธุรกิจ หรือองค์กรบริการสังคม ผ่านการพิสูจน์ได้ผลสำาเร็จมาแล้วในทุก

ระดับทุกขนาดองค์กร แม้ว่าสินค้าที่ผลิตจะล้ำายุคเพียงใด คุณภาพก็ยังเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนาอยู่เสมอ ไม่เคยล้าสมัย

และสำาหรับรางวัล KANO Quality Award ที่สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) จัดขึ้นนี้ เป็นการต่อยอด

ให้ TQM โดยกระบวนการตรวจสอบที่เป็นระบบ เสริมความเข้าใจ สร้างความภูมิใจในผลงานขององค์กร เปรียบเทียบ

กันได้โดยไม่ต้องอยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน และมุ่งให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อความเข้มแข็งขององค์กรและ

อุตสาหกรรมโดยรวม ซึ่งจะส่งผลในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงานไปพร้อมกัน

ดร.ผณิศวร ชำ�น�ญเวช

นายกสมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย

และสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย

KANO Quality Award

Page 9: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจนั้น การใช้เงินลงทุนเป็นแนวทางหนึ่งที่ใช้กันแพร่หลาย ไม่ว่า

จะลงทุนด้านเทคโนโลยี เครื่องจักร การร่วมมือทางธุรกิจ การควบรวมกิจการ การลงทุนขยายธุรกิจ เป็นต้น อีกแนวทาง

หนึ่งที่สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันได้เช่นกันคือ การนำาเอา Total Quality Management (TQM) หรือ

ระบบการบริหารจัดการคุณภาพโดยรวมไปใช้ในการบริหารองค์กร ธุรกิจควรพิจารณาและดำาเนินการทั้งสองแนวทาง

ไปพร้อม ๆ กัน โดยแนวทางของการใช้เงินลงทุนต้องตัดสินใจให้เหมาะกับสถานการณ์และโอกาสที่จะเกิดขึ้นในแต่ละ

ช่วงเวลา เมื่อตัดสินใจดำาเนินการแล้วจะสามารถยกระดับความสามารถในการแข่งขันให้ดีขึ้น แต่ในระยะยาวผู้ที่อยู่ใน

ธุรกิจรายอื่น ๆ ก็ทำาได้เหมือนกัน เพราะข้อจำากัดในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนลดลง สำาหรับ Total Quality Management

(TQM) จะเป็นแนวทางที่สร้างความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะองค์กรที่ไม่สามารถลอกเลียนแบบได้ รวมทั้งยังเปรียบเสมือน

เป็นระบบเส้นเลือดที่หล่อเลี้ยงให้องค์กรสามารถดำารงชีพอยู่ได้อย่างยั่งยืน

KANO Quality Award มาจากความมุ่งมั่นของ Prof.Dr.Noriaki Kano ที่ต้องการสร้างความเข้มแข็งให้กับวิสาหกิจ

ไทย โดยเฉพาะผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กที่จะเป็นรากฐานสำาคัญของความเติบโตและมั่นคงต่อเศรษฐกิจ

ของประเทศไทย ต้องถือว่ารางวัลนี้เป็นผลลัพธ์ที่สร้างความภาคภูมิใจให้องค์กรที่นำา Total Quality Management

(TQM) ไปใช้ในกระบวนการทำางานอย่างมีประสิทธิผล และสร้างผลลัพธ์ทางธุรกิจที่ดีให้กับองค์กร เพราะ Total Quality

Management (TQM) มีองค์ประกอบที่สมบูรณ์ครอบคลุมในทุกมุมมองของธุรกิจ และมีระบบที่เป็นกลไกสำาหรับการ

ทำางานของผู้ปฏิบัติงานในทุกระดับ เช่น

ด้านทิศทางและกลยุทธ์ในการทำาธุรกิจ นอกเหนือจากการมีกระบวนการในการกำาหนดกลยุทธ์ที่สร้างโอกาส

ให้กับธุรกิจแล้ว ยังมีกลไกทำาให้ผู้ทำางานที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมดเข้าใจในวัตถุประสงค์และเป้าหมายรวมทั้งความเชื่อม

โยงของงานในแต่ละหน้าที่ต่อเป้าหมายขององค์กรที่ต้องการบรรลุ

ด้านการบริหารงานประจำาวันที่เป็นความรับผิดชอบหลักของแต่ละหน่วยงาน มีกลไกการติดตาม รวมทั้งส่ง

เสริมให้เกิดการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง

ด้านองค์ความรู้และเครื่องมือ ซึ่งเปรียบเสมือนกุญแจที่ให้ความชัดเจนของแนวทางการปฏิบัติ เพื่อให้แต่ละ

งานบรรลุความสำาเร็จ เช่น การค้นหาความต้องการลูกค้า เครื่องมือการแปลงความต้องการลูกค้ามาสู่การพัฒนาสินค้า

และบริการ เครื่องมือการวิเคราะห์แก้ไขปัญหา เป็นต้น

ด้านการทำางานร่วมกับผู้ส่งมอบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้ที่ส่งมอบ

สินค้าหรือบริการให้กับองค์กร ส่งผลให้องค์กรมีวัสดุ อุปกรณ์ ที่นำามาใช้ในกระบวนการทำาธุรกิจที่มีคุณภาพ ระบบหรือ

กลไกดังที่ได้กล่าวมาแล้วจะเป็นเบ้าหลอมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงานทั่วทั้งองค์กร โดยมีมุมมองที่ยึดมั่นในการ

ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า คู่ค้า สังคม และพนักงาน

KANO Quality Award

Page 10: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

การที่ Prof.Dr.Noriaki Kano ซึ่งเป็นปรมาจารย์ด้านการจัดการคุณภาพระดับโลก ได้ทุ่มเทเวลาให้กับการส่ง

เสริมรางวัลนี้ ทั้งในด้านการกำาหนดเกณฑ์ที่เหมาะสมกับผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก แนวทางการส่งเสริมให้

เกิดการปรับปรุง ตลอดจนองค์ประกอบของคณะกรรมการพิจารณารางวัลคุณภาพคาโนที่มีมุมมองทั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ

และผู้บริหารธุรกิจที่ประสบความสำาเร็จนั้น จะทำาให้การมีส่วนร่วมในโครงการ KANO Quality Award ส่งผลให้เกิด

ประโยชน์ต่อการปรับปรุงองค์กรอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งจากการปฎิบัติตามแนวทาง Total Quality Management (TQM)

จากข้อแนะนำาของคณะกรรมการตรวจประเมิน และจากการแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ดีระหว่างองค์กร อันจะนำาไปสู่การเพิ่ม

ขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจได้อย่างยั่งยืน

ก�นต์ ตระกูลฮุน

กรรมการผู้จัดการใหญ่เอสซีจี

Page 11: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

ยุคโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันมีการเปิดการค้าเสรีอย่างไร้พรมแดน ทำาให้การแข่งขันสูงขึ้นมาก ธุรกิจที่ต้องการ

จะประสบความสำาเร็จรุ่งเรืองอย่างมั่นคงภายใต้สภาวการณ์ดังกล่าวต้องมีองค์ประกอบที่สำาคัญ เช่น มีสินค้าคุณภาพดี

มีเทคโนโลยีล้ำาสมัย Brand image ดี ราคาสินค้าไม่แพง องค์ประกอบเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น องค์กรจะต้องมีขีดความ

สามารถทางการแข่งขันสูง รวมทั้งมีการบริหารการจัดการที่มีประสิทธิภาพสูง

TQM (Total Quality Management) เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพที่จะช่วยบริหารจัดการคุณภาพเพื่อผลักดัน

ให้องค์กรมีขีดความสามารถในการแข่งขันที่สูงขึ้น เนื่องจาก TQM ถือเป็นหลักการที่บูรณาการการบริหารจัดการใน

ทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นการตลาด การเงิน การผลิต ฯลฯ โดยมุ่งพัฒนาคุณภาพการทำางานในทุกกระบวนการเพื่อให้มี

ประสิทธิภาพสูงสุด และเพื่อความพึงพอใจของลูกค้า

การที่สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ร่วมกับ Prof.Dr.Noriaki Kano ที่เป็นปรมาจารย์ด้าน TQM จาก

ญี่ปุ่น ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้ให้กับองค์กรต่าง ๆ ในประเทศไทยมาอย่างสม่ำ�เสมอมากว่า 10 ปี จัดให้มีการประกวดและ

มอบรางวัลคุณภาพ KANO Quality Award ครั้งแรกในประเทศไทยนับได้ว่าเกิดขึ้นในโอกาสเหมาะสมที่จะกระตุ้นการ

เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันระลอกที่ 2 หลัง Global Financial Crisis (ในระลอกแรกดำาเนินการโดย Professor

Michael Potter ในช่วงหลังเกิดวิกฤติต้มยำากุ้ง) ทั้งนี้เนื่องจากรางวัล KANO Quality Award มีหลักเกณฑ์การประเมิน

ที่ครอบคลุมสำาหรับการพัฒนาองค์กรอย่างรอบด้าน ไม่ได้มุ่งเพียงแต่การเติบโตและผลกำาไรเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึง

นโยบายการจัดการ และการกระจายนโยบาย กลยุทธ์การผลิต และการบูรณาการ ผลลัพธ์จากการจัดการ ความพึงพอใจ

ของผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนแผนการดำาเนินการในอนาคต

ด้วยเหตุผลข้างต้น ผมจึงเชื่อมั่นว่ารางวัล “KANO Quality Award” จะเป็นรางวัลอันทรงเกียรติ ที่ไม่เพียงแต่จะ

ช่วยให้องค์กรเป็นเลิศทางด้านคุณภาพ นวัตกรรมของสินค้า และบริการ แต่รางวัลนี้จะยังสามารถสร้างความภาคภูมิใจ

ให้พนักงาน ผู้บริหารขององค์กร อันจะนำาไปสู่การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันที่จะทำาให้ธุรกิจเจริญเติบโตอย่าง

ยั่งยืนต่อไป

นินน�ท ไชยธีรภิญโญ

รองประธานกรรมการ

บริษัทโตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทยจำากัด

KANO Quality Award

Page 12: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

ความสำาเร็จที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องของงาน Thailand Quality Prize นับตั้งแต่ ปี 2004 และการต่อยอดกิจกรรม

ในงาน KANO Quality Award ในปีที่ผ่านมาเป็นการนำาร่อง ที่ทางสมาคมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ได้จัดขึ้นนั้น เป็นสิ่งที่

แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการองค์กรต่าง ๆ ที่ให้ความสำาคัญและมุ่งเน้นในเรื่องคุณภาพเป็นสำาคัญ โดย

ใช้หลักการและปรัชญาของการควบคุมคุณภาพทั่วทั้งองค์กร

TQM (Total Quality Management) ถือเป็นเครื่องมือ (Tool) ที่สำาคัญในการบริหารธุรกิจ (Business Management)

เพื่อนำาองค์กรไปในทิศทางที่ต้องการ ซึ่งจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์กรในทุก ๆ ด้าน การดำาเนิน

การให้ครบวงจร PDCA ภายใต้หลักการ TQM ซึ่งประกอบด้วย

1. การมุ่งเน้นลูกค้าและการกำาหนดเป้าหมายที่สูงไว้ก่อน (Customer Focus and High target)

2. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) และ

3. การมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง (Total Participation)

ทั้งหมดนี้ถูกเชื่อมติดต่อกันด้วยการสื่อสารและประสานงาน นั่นเอง (Communication and Strong Leadership)

ปัจจุบันองค์กรหลายแห่งได้นำา TQM มาประยุกต์ใช้ในองค์กร ทั้งผู้บริหารและทีมงานได้ศึกษาปรัชญา แนวคิด

ของ TQM และนำาไปปฏิบัติ (Implement) การนำา TQM มาประยุกต์ใช้นั้น องค์กร จะต้องนำาแนวคิดด้านคุณภาพมาใช้อย่าง

เหมาะสม การดำาเนินตามกลยุทธ์ เช่น Policy Management, Daily Management, Cross-Functional Management,

Bottom up Activities อย่างมีประสิทธิผล กระจายให้กับพนักงานในทุกหน่วยงานทุกระดับได้อย่างทั่วถึง มีความต่อเนื่อง

และเชื่อมโยงกันได้อย่างเหมาะสม และยังชี้วัดผลสำาเร็จออกมาได้อย่างเป็นรูปธรรม

สำาหรับประเทศไทยนั้น หน่วยงานต่าง ๆ มีความตื่นตัวและพร้อมรับการตอบสนองในการบริหารคุณภาพด้วย

หลักการและปรัชญาของ TQM ด้วยเช่นกัน โดยมีเป้าหมายร่วมกัน คือ มุ่งหวังให้บุคลากรหรือทรัพยากรมนุษย์ทุก ๆ ฝ่าย

ได้ร่วมมือกันสร้างคุณภาพและมาตรฐานของงานให้แก่องค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถฝ่าฟันและก้าวพ้นวิกฤตการณ์

รวมถึงความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน

กล่าวได้ว่าแนวคิดและหลักการ Kano's House of TQM, ของปรมาจารย์ด้านระบบมาตรฐานคุณภาพต้นแบบ

ของโลก (Prof.Dr.Noriaki Kano) เป็นการวางฐานราก โครงสร้าง หลังคาบ้าน (การประกันคุณภาพเพื่อความพึงพอใจ

ของลูกค้า และเทคนิคที่ใช้ใน TQM เช่น QCC, TPM, JIT, SPC ที่เป็นกรอบสำาคัญในการประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนาระบบ

คุณภาพให้แก่องค์กร

สุดท้ายนี้ การพัฒนาระบบบริหารคุณภาพขององค์กร จะเกิดขึ้นได้นั้น ที่สำาคัญที่สุดต้องมาจากการพัฒนา

ทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร โดยให้บุคลากรสามารถใช้ศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการ

แก้ไขปัญหาและปรับปรุงวิธีการทำางาน รวมถึงสินค้าและการบริการ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า องค์กรต่าง ๆ จะทำาการขับ

เคลื่อนนโยบายและกลยุทธ์ด้านคุณภาพเพื่อการพัฒนาองค์กร สังคม และประเทศชาติ อย่างต่อเนื่อง

ถ�วร ชลัษเฐียร

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัทเด็นโซ่อินเตอร์เนชั่นแนลเอเชียจำากัด

บริษัทเด็นโซ่(ประเทศไทย)จำากัด

KANO Quality Award

Page 13: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

การบริหารด้วย TQM (Total Quality Management) ในประเทศไทย มีหลายสายพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็นแนวทาง

ของ Baldrige National Award แนวทาง Japan Standard Association แนวทาง Deming Prize ล้วนแล้วแต่มี

เอกลักษณ์ประจำาตัวที่ดี และมีความยากง่ายในการปฏิบัติไม่เหมือนกัน

สำาหรับแนวทางที่สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) หรือ ส.ส.ท. ได้ส่งเสริมและผลักดันมานานเกือบ 30

ปี เป็นแนวทางของ Prof.Dr.Noriaki Kano ซึ่งมีลักษณะเด่นเหนือชั้นในการบริหารองค์การ เป็นเรื่องราว หรือ Story ที่

เชื่อมโยงกันอย่างเป็นเหตุเป็นผล ยกตัวอย่าง แนวคิด Big Q หรือ Quality ที่เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ เป็นแนวคิดคุณภาพเชิง

“การตลาด” ซึ่งแบ่งระดับความต้องการลูกค้าออกเป็น ความต้องการที่ลูกค้าบอกได้ กับความต้องการในเชิงรุกที่ลูกค้าไม่

สามารถบอกเราได้ ว่า “ต้องการอะไร เป็นความต้องการแฝง หรือ Latent Need” เป็นความต้องการที่ผู้ประกอบการ

สร้างขึ้น

การตอบสนองความต้องการลูกค้าในรูป Customer Need ถ้าลูกค้าไม่ได้รับตอบสนองความต้องการในส่วนนี้

จะทำาให้ลูกค้า “เดือดร้อน” เช่น ถ้าทานข้าวสิ่งที่ต้องการจากร้านอาหารคือ “ความอิ่ม” แต่สิ่งที่ลูกค้านำาอาหารเข้าปาก

นั้นย่อมต้องคาดหวัง (Customer Expectation) ว่า อาหาร “ต้องอร่อย” ด้วย ความอร่อย ถ้าลูกค้าได้สิ่งที่คาดหวังย่อม

จะเกิด “ความพึงพอใจ หรือ Customer Satisfaction” ทั้งความอิ่ม และความอร่อย เป็นสิ่งที่ลูกค้าบอกเราได้

แต่ความต้องการที่ลูกค้าไม่สามารถบอกได้ ถ้าเราสามารถค้นหาได้ ก็จะสามารถกุมใจของลูกค้าก่อนคู่แข่ง เช่น

ถ้าเรามีบริการเสริม มีวงดนตรีมาเล่น บรรยากาศดี เป็นสิ่งที่ลูกค้าไม่เคยพบที่ไหนมาก่อน เป็นแห่งแรกที่ได้รับบริการ

ในลักษณะนี้ ลูกค้าก็จะเกิดความ “ประทับใจ” (Impression) ขึ้นมาทันที พอแนวคิดนี้ดี ร้านอาหารอื่นก็เลียนแบบ มี

วงดนตรีบ้าง ความประทับใจก็จะเริ่มลดระดับลงเป็นความคาดหวัง หมายความว่า ลูกค้าจะเริ่มคาดหวังว่า ถ้าเข้าร้าน

อาหารที่ดีแล้วต้องมีวงดนตรี กลายเป็น “มาตรฐานใหม่” ที่ลูกค้าต้องการ ไม่ใช่ความประทับใจต่อไป

สิ่งที่ธุรกิจปัจจุบันต้องการคือ “ความจงรักภักดีของลูกค้า หรือ Loyalty” บางกิจการต้องการถึงขั้นเปลี่ยน

จากลูกค้า เป็น “สาวก” อย่างเช่น วงการนักร้อง ดารา ฟุตบอล เป็นต้น ไม่เพียงแต่จะจงรักภักดี แต่จะปกป้องถ้ามี

ใครพูดถึงในแง่ลบ และแสดงความไม่พอใจอย่างเห็นได้ชัด การที่จะทำาให้ได้อย่างนั้น ธุรกิจต้องทำาให้ลูกค้ารู้สึก “ติดใจ

หรือ Delight” มีความสุขทุกครั้งเมื่อใช้บริการ อย่างเช่น แม่ครัวร้านอาหารนี้ มีน้ำ�หนักมือเหมือนคุณแม่ตนเอง หรือ

บรรยากาศร้านเป็นเหมือนนั่งทานข้าวที่บ้าน รู้สึก “สบายใจ” เมื่อใช้บริการ ดังนั้นถ้าลูกค้าติดใจแล้วก็จะมีความรู้สึก “คุ้ม

ค่า” เมื่อใช้บริการ และที่เหนือชั้นกว่านี้ คือ ทำาให้ลูกค้ารู้สึกว่า “เกินคุ้ม” ไม่สนใจราคาที่ร้านอาหารแจ้งมา ให้เงินเพิ่ม

หรือ ทิปให้กับพนักงาน โดยที่ร้านอาหารไม่ได้ร้องขอ นั่นหมายความว่า “ลูกค้ายอมให้ขึ้นราคาด้วยความเต็มใจ” นั่นเอง

เพียงแค่แนวคิดด้านการตลาด หรือ Big Q ก็จะเห็นว่า TQM ในแนวทาง Kano เป็น TQM ที่จำาได้ง่าย สามารถผูก

โยงกันเป็นรูปของบ้านได้อย่างดีเยี่ยมที่เรียกติดปากว่า “Kano House” และเป็นเหตุผล เอกลักษณ์ที่ SMEs ไทยควรยึด

เป็นแนวทางการบริหารองค์การ

KANO Quality Award

Page 14: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

ดังนั้น ส.ส.ท. จึงได้เห็นว่า ถึงเวลาแล้วที่จะเผยแพร่แนวคิดนี้อย่างจริงจัง และรณรงค์ส่งเสริม SMEs ไทย ให้

นำาแนวทางบริหาร TQM ของ Prof.Dr.Noriaki Kano ไปเป็นปรัชญาการบริหารองค์การ สามารถยกระดับธุรกิจ SMEs

ไทยให้มีมาตรฐานระดับสากล (International Standard) ส.ส.ท. จึงได้เรียนขออนุญาต Prof.Dr.Noriaki Kano ในการใช้

ชื่อท่านเป็นตัวรางวัลมอบให้กับองค์การที่นำา TQM ในแนวทาง Kano ไปใช้ โดยใช้ชื่อว่า รางวัลคุณภาพคาโน “KANO

Quality Award” ซึ่งมีการแบ่งรางวัลส่งเสริมเป็นขั้น ๆ นับตั้งแต่รางวัล Certificate Bronze Silver Golden และ

Diamond และต้องการเน้นที่ SMEs ไทยเป็นหลัก แต่ไม่ได้หมายความว่าองค์การขนาดใหญ่จะสมัครไม่ได้ ส.ส.ท. ยัง

ต้องการองค์การขนาดใหญ่ที่เป็นต้นแบบ ดึงให้ SMEs ไทยสนใจ และความเป็นจริงนั้น ยิ่งองค์การใหญ่ ยิ่งต้องใช้การ

บริหารแบบ TQM และต้องเข้าใจลึกลงไปเป็น DNA องค์การ โดยเฉพาะส่วนผู้บริหารระดับสูง กลาง ไม่ใช่มีเพียงรูปแบบ

TQM ซึ่งจะไร้ประโยขน์

ดังนั้นการเลือกแนวทาง TQM จึงเป็นสิ่งสำาคัญ บางองค์การดำาเนินการมาหลายปี ไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย

เสียที เหตุผลสำาคัญคือ ไม่ทราบถึงความเชื่อมโยงแต่ละองค์ประกอบ TQM อย่างแท้จริง มีเพียงรูปแบบ TQM เท่านั้น และ

ในปีนี้ได้รับเกียรติจากผู้บริหารระดับสูงหน่วยงานชั้นนำาในประเทศไทย และข้าราชการระดับสูงเป็นคณะกรรมการอนุมัติ

รางวัล โดยมีรายชื่อดังต่อไปนี้

ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

ดร.ผณิศวร ชำานาญเวช นายกสมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย

และสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย

คุณกานต์ ตระกูลฮุน กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำากัด (มหาชน)

คุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ รองประธานคณะกรรมการ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำากัด

คุณถาวร ชลัษเฐียร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เด็นโซ่ อินเตอร์เนชั่นแนล เอเชีย จำากัด

บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำากัด

ส.ส.ท. ต้องขอขอบพระคุณ คณะกรรมการอนุมัติรางวัลคุณภาพคาโน และคณะกรรมการตรวจประเมินรางวัล

คุณภาพคาโนทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ และหวังว่าการให้รางวัลคุณภาพคาโน “KANO Quality Award” จะสามารถจูงใจ

ให้องค์การขนาดใหญ่สนใจเข้าร่วม และเป็นองค์การตัวอย่าง ส่งเสริมให้เกิดกรณีศึกษาที่ดีแก่องค์การ SMEs ที่เป็นเป้า

หมายหลักของโครงการนี้ เข้าร่วมและนำา TQM ในแนวทาง Kano ไปประยุกต์ใช้เป็นปรัขญาบริหารองค์การ ให้องค์การ

บริหารด้วยความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอย่างแท้จริง และสร้างความเข้มแข็ง ความเป็นสากลกับอุตสาหกรรมการ

ผลิตและบริการของไทยต่อไปในอนาคต

อนุวรรตน์ ศิล�เรืองอำ�ไพ

ผู้อำานวยการสายงาน

การศึกษาฝึกอบรมวินิจฉัยและให้คำาปรึกษาสถานประกอบการ

กรรมการตรวจประเมินรางวัลคุณภาพคาโน

Page 15: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

ที่มาของ KANO Quality Award

ตลอดเวลา Prof.Dr.Noriaki Kano ยังเป็นประธานคณะอนุกรรมการรางวัล Deming Prize เป็นกรรมการก่อตั้ง

องค์กรศูนย์รวมด้านคุณภาพแห่งเอเชียหรือ ANQ (Asian Network Quality Award) และท่านยังได้รับรางวัล Deming

Prize, Nikkei Quality Control Literature Prize, Jack Lancaster Medal จาก America Society for Quality ถือได้

ว่าท่านได้สร้างผลงานด้านคุณภาพมาโดยตลอด

การส่งเสริมการบริหารระบบงานคุณภาพ สมาคมฯ ได้ทำาอย่างต่อเนื่องทั้งระดับกลุ่ม องค์การ โดยได้จัดงาน

Thailand Quality Prize ขึ้นทุกปีในเดือนมีนาคม เพื่อส่งเสริมให้มีการนำาการบริหารงานคุณภาพไปประยุกต์ใช้ใน

องค์การ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคน การสร้างทีมด้วย QCC โดยเชิดชูเกียรติสำาหรับกลุ่ม QCC ที่มีผลงานดีเด่น และนำามา

เผยแพร่ Best Practice เพื่อให้องค์การอื่น ๆ เกิดการเรียนรู้ ในปี พ.ศ. 2550 สมาคมฯ โดยคณะกรรมการบริหารได้มีมติ

หนังสือ TQC (Total Quality Control) ที่เห็นอยู่นี้ได้ตีพิมพ์ขึ้นใน

เดือนกันยายน ค.ศ. 1985 หรือเมื่อ 25 ปีก่อน เป็นหนังสือประกอบการ

บรรยายในหลักสูตรต่างประเทศ จัดขึ้นโดย สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี

(ไทย-ญี่ปุ่น) ในหัวข้อเรื่องการบริหาร TQC สำาหรับผู้บริหาร หรือที่

เรียกว่า TQM (Total Quality Management) ในปัจจุบัน โดย Prof.Dr.

Noriaki Kano ได้ให้เกียรติอย่างสูงกับสมาคมฯ ในการนำาประสบการณ์

ความรู้และกรณีศึกษาในประเทศญี่ปุ่นมาถ่ายทอดให้กับผู้บริหารของ

อุตสาหกรรมไทย นับจากวันนั้นมา Kano’s House ก็ได้มีการเผยแพร่

สู่ภาคอุตสาหกรรมไทยอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะจุดเด่นของ Kano’s

House นั้นมีความหมายลึกซึ้ง เข้าใจง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งยังคงความ

เป็นเรื่องราว “Story” ความเชื่อมโยงของหลักการบริหาร ปรัชญาบริหาร

อย่างเป็นเหตุเป็นผล การวางกลยุทธ์ การกำาหนดเป็นนโยบาย การ

กระจายนโยบาย เชื่อมโยงสู่การบริหารงานประจำาวัน เชื่อมโยงระดับ

กระบวนการด้วยการบริหารข้ามสายงาน และตอบสนองต่อนโยบายด้วย

ความแข็งแรงของพนักงานหน้างานในรูปของกิจกรรม QCC โดยหลักการ

ของ Dr.Deming หรือวงจร PDCA สิ่งสำาคัญคือ TQM Concept แนวคิด

หรือภาษาของ TQM ในการที่จะเป็นเครื่องมือสื่อสารหรือแนวทางปฏิบัติ

ตั้งแต่การบริหารด้วยข้อมูลจริง ลูกค้าคือกระบวนการถัดไป การใช้

PDCA การเน้นกระบวนการและผลลัพธ์ (Process Oriented) การแก้

ปัญหาเชิงป้องกัน การจัดมาตรฐานการปฏิบัติงาน สิ่งเหล่านี้ถือได้ว่า

เป็นเมล็ดพันธุ์ทางปัญญาที่ Prof.Dr.Noriaki Kano ได้มาปลูกเอาไว้ให้กับ

อุตสาหกรรมไทยนานกว่า 20 ปี

Page 16: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

ให้ต่อยอดรางวัลดังกล่าวจากกลุ่มเพิ่มขึ้นในรูปขององค์การที่มีการนำาระบบบริหาร TQM ไปประยุกต์ใช้ ประกอบกับแนวทาง

ที่สมาคมฯ ได้ถ่ายทอดระบบบริหาร TQM ในแบบของ Prof.Dr.Noriaki Kano มากว่า 20 ปีนั้น จึงเห็นควรว่า

“ควรมีก�รจัดตั้ง KANO Quality Award เพื่อเป็นม�ตรฐ�นในก�รประเมินองค์ก�รที่บริห�รด้วย TQM อีก

ทั้งยังเป็นก�รยกระดับขีดคว�มส�ม�รถเชิงแข่งขันของอุตส�หกรรมไทยในภ�พรวม ให้มีก�รแลกเปลี่ยนคว�มรู้

และพัฒน�อยู่ตลอดเวล�อย่�งยั่งยืน และเชิดชูเกียรติสำ�หรับองค์ก�รที่มีก�รบริห�รจัดก�รดีเด่น”

ปี พ.ศ. 2551 ถือเป็นปีแรกที่มีการนำาร่อง การมอบ KANO Quality Award แก่สถานประกอบการที่เข้าร่วม

โครงการ โดย Prof.Dr. Noriaki Kano เป็นผู้ติดตามการตรวจประเมินองค์การอย่างใกล้ชิด และนำาเสนอผลงานสู่

สาธารณชนในงาน จึงถือได้ว่าเป็นศักราชใหม่ของวงการคุณภาพที่อุตสาหกรรมไทยจะสามารถนำาแนวทางการบริหาร

งานคุณภาพในรูปแบบของ Kano’s House ไปประยุกต์ในการบริหารจัดการอุตสากรรมภายใต้สภาวะเศรษฐกิจที่หดตัว

และสามารถสร้างภูมิคุ้มกันองค์การให้อยู่รอดได้อย่างยั่งยืนมุ่งสู่ความเป็นเลิศในที่สุด โดยมีหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการ

เพื่อรับ KANO Quality Award 2009 ได้แก่ บริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส จำากัด, บริษัท โตเซน อินดัสเตรียล จำากัด, บริษัท

สันติภาพ (ฮั่วเพ้ง 1958) จำากัด, บริษัท ดัชมิลล์ จำากัด และ บริษัท แดรี่พลัส จำากัด

ผลจากการนำา TQM ไปใช้ และผลสำาเร็จขององค์การที่ได้รับ KANO Quality Award ทำาให้ยืนหยัดได้ใน

สภาวการณ์ปัจจุบัน

บริษัท ชัยบูรณ์ บราเดอร์ส จำากัด : เพิ่มยอดขายในตลาดใหม่โดยใช้สินค้าตัวเดิม

บริษัท โตเซน อินดัสเตรียล จำากัด : ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ใหม่ และ Reduce Scrap

บริษัท สันติภาพ (ฮั่วเพ้ง 1958) จำากัด : ลดต้นทุนการผลิต พร้อมกับการเพิ่มผลผลิต

บริษัท ดัชมิลล์ จำากัด : ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ใหม่

บริษัท แดรี่พลัส จำากัด : ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ใหม่

KANO Quality Award จึงได้เกิดขึ้น และต้องขอบพระคุณ

ในความกรุณาของ Prof.Dr. Noriaki Kano เป็นอย่างสูง ที่ท่านได้

อนุญาตให้ใช้ชื่อท่าน อีกทั้งยังแนะนำา ให้ความรู้กับทีมกรรมการใน

การพัฒนาเกณฑ์รางวัลด้วยตัวท่านเอง ทั้งยังบริจาคทุนทรัพย์ส่วน

ตัวในการช่วยเหลือโครงการส่งเสริมรางวัล KANO Quality Award ถือ

ได้ว่าท่านเป็นปูชนียบุคคลที่มีความจริงใจและหวังดีต่ออุตสาหกรรม

ไทยอย่างแท้จริง

Page 17: KANO Quality Award · 2. เอกสารสรุปการดําเนินงาน จํานวน 5 ชุด พร cd 1 อม แผ น โดยมีหั อ

ปี พ.ศ. 2552 สมาคมฯ กำาหนดให้มีกิจกรรมส่งเสริมและแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ด้าน TQM โดยเริ่มมอบ

รางวัล KANO Quality Award สำาหรับองค์การที่มีผลงานดีเด่น เพื่อเป็นการสร้างรากฐานในศักยภาพเชิงแข่งขันเหนือคู่

แข่งขันอย่างมั่นคง และยั่งยืนตลอดไป จึงได้เปิดรับสมัครองค์การที่มีผลงานดีเด่นด้าน TQM สมัครเข้าร่วมประกวดเพื่อ

รับ KANO Quality Award คณะกรรมการได้ดำาเนินการตรวจประเมินตามขั้นตอนเกณฑ์การตรวจประเมินรางวัลคุณภาพ

คาโน จนได้องค์การคุณภาพที่ผ่านขั้นตอนการตรวจประเมินและพิจารณาจากคณะกรรมการรางวัลคุณภาพคาโน เข้าสู่

การนำาเสนอผลงานในรอบชิงชนะเลิศ 3 องค์การ คือ

บริษัท เคแอนด์ยู เอ็นเตอร์ไพรซ์ จำากัด

บริษัท ซี.พี.ค้าปลีกและการตลาด จำากัด

บริษัท สมบูรณ์แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จำากัด (มหาชน)

ด้วยรางวัล KANO Quality Award เป็นรางวัลอันทรงเกียรติ นำาไปสู่รางวัลระดับสากล จึงได้เรียนเชิญผู้ทรงเกียรติ

ที่มีผลงานด้านคุณภาพ และเป็นที่รู้จักกันดีในประเทศไทย เป็นกรรมการรางวัลคุณภาพคาโน เพื่อพิจารณาอนุมัติรางวัล

ดังมีรายนามต่อไปนี้

ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

ดร.ผณิศวร ชำานาญเวช นายกสมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย

และสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย

คุณกานต์ ตระกูลฮุน กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำากัด (มหาชน)

คุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ รองประธานคณะกรรมการ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำากัด

คุณถาวร ชลัษเฐียร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เด็นโซ่ อินเตอร์เนชั่นแนล เอเชีย จำากัด

บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำากัด