12
วรรณภิงคาร สุ จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 8 ฉบับที่ 23 มิถุนายน - กรกฎาคม 2555 ISSN : 1906-9014 (สงวนลิขสิทธิ์) 3 นานาทรรศนะ หน้า มนุษยวิเทศคดี ครั้งที่ 1 ภาษาอังกฤษในบริบทไทยและอาเซียน นานาสาระทางวิชาการ หน้า ค่ายภาษาฝรั่งเศสระดับนานาชาติภาคฤดูร้อน 6 เก็บมาฝาก หน้า Summary Report : English in the ASEAN Conference 8 วิจัยชวนคิด หน้า ทิศทางการทำวิจัยเกี่ยวกับภาษา และวัฒนธรรมเพื่อนบ้าน 10

Suwan10

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

วรรณภิงคารสุจดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ปีที่ 8 ฉบับที่ 23 มิถุนายน - กรกฎาคม 2555ISSN : 1906-9014 (สงวนลิขสิทธิ์)

มหาว ิทยาลัยนเร

ศวร

คณ

ะมนุษยศาสตร์

3นานาทรรศนะ หน้ามนุษยวิเทศคดี ครั้งที่ 1 ภาษาอังกฤษในบริบทไทยและอาเซียน

นานาสาระทางวิชาการ หน้า ค่ายภาษาฝรั่งเศสระดับนานาชาติภาคฤดูร้อน

6

เก็บมาฝาก หน้าSummary Report : English in the ASEAN Conference

8

วิจัยชวนคิด หน้าทิศทางการทำวิจัยเกี่ยวกับภาษา

และวัฒนธรรมเพื่อนบ้าน

10

ข้อมูลผู้เขียน

1. ดร.ชมนาด อินทจามรรักษ์

สรุปความจากโครงการสัมมนา

"การเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน

ในประชาคมอาเซียน"

2. อ.สถิตย์ ลีลาถาวรชัย

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษ

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

e-mail: [email protected]

3. สุรีย์พร ชุมแสง

นักประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร

e-mail: [email protected]

4. นิสิตสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส

ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร

ที่ปรึกษาคณบดีคณะมนุษยศาสตร์

รองคณบดีฝ่ายบริหาร

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์

รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพ

รองคณบดีฝ่ายกิจการนิสิต

บรรณาธิการดร.อรอุษา สุวรรณประเทศ

กองบรรณาธิการดร.ชมนาด อินทจามรรักษ์

อ.วราภรณ์ เชิดชู

อ.สถิตย์ ลีลาถาวรชัย

อ.วทัญญ ฟักทอง

ว่าที่ร้อยตรีมาโนชญ์ สองแกะ

ศิลปกรรมณัฐวุฒิ นลินรัตนกุล

เลขานุการสุรีย์พร ชุมแสง

งานประชาสัมพันธ์ :คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

โทรศัพท์ 0-5596-2035

http://www.human.nu.ac.th

บทบรรณาธิการ

ดร.อรอุษา สุวรรณประเทศ

บรรณาธิการ

[email protected]

ในรอบสองเดือนที่ผ่านมา คณะมนุษยศาสตร์ได้จัดกิจกรรม

ทางวิชาการหลายโครงการ อาทิ การประชุมวิชาการมนุษยวิเทศคดี ครั้งที่ 1

เรื่อง “ภาษาอังกฤษในบริบทของอาเซียน” โครงการสัมมนาวิชาการเรื่อง

“การเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านในประชาคมอาเซียน”

ซึ่งรายการหลังนี้ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นเจ้าภาพในการ

จัดงานร่วมกับสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ (SIFA) กระทรวงการ

ต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

และสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากนี้

นิสิตสาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส คณะมนุษยศาสตร์ ยังได้รับเชิญจาก สำนักงาน

ประชาคมโลกผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสในระดับมหาวิทยาลัย (Agence Universitaire

de la Francophonie) ให้เข้าร่วมงานค่ายภาษาฝรั่งเศสระดับนานาชาติ

ภาคฤดูร้อน ณ มหาวิทยาลัยดานัง ประเทศเวียดนาม ซึ่งมีนักศึกษาจาก

มหาวิทยาลัยต่างๆ ใน 7 ประเทศในประชาคมอาเซียน (บวกสาม) ได้แก่ ลาว

กัมพูชา พม่า เวียดนาม มาเลเซีย จีน และไทย เข้าร่วมจำนวน 150 คน

กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้เป็นกิจกรรมที่มุ่งประเด็นการเข้าสู่ประชาคม

อาเซียนซึ่งเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของคณะมนุษยศาสตร์ และเป็นประเด็น

ที่สังคมกำลังให้ความสนใจ กองบรรณาธิการจึงสกัดความรู้ (Explicit

Knowledge) จากกิจกรรมทางวิชาการดังกล่าวมานำเสนอแก่ท่านผู้อ่าน เพื่อ

เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) ให้ท่านได้นำความรู้

เหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในงานต่อไป

สรุปรายงานการประชุมวิชาการ

ผู้วิจัยได้กำหนดให้นิสิตชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาภาษา

อังกฤษ จำนวน 41 คน เขียนปัญหาและวิธีการแก้ปัญหา

ข อ ง ตน เ อ ง ในก า ร แปลภา ษา จ า ก ปร ะสบก า ร ณ ์ จ ร ิ ง

ผลการศึกษาพบว่าปัญหาที่สำคัญ ได้แก่ ความสามารถในการ

เลือกใช้คำ (100%) ความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ (100%)

และความสามารถในการแปล (53.65%) ส่วนวิธีการแก้ปัญหา

วิธีแรกคือ การใช้พจนานุกรม (100%) วิธีที่สอง อ่านทบทวน

และตรวจสอบความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ (78.04%)

วิธีที่สาม ปรึกษาเพื่อนร่วมชั้น หรือให้เพื่อนวิจารณ์งาน

(70.73%) และวิธีแก้ปัญหาอื่นๆ ได้แก่ ใช้ประสบการณ์

ส่วนตัววิเคราะห์ (38.92%) ใช้จินตนาการเพื่อให้ความเข้าใจ

ต้นฉบับ (4.84%)

วิธีการพัฒนาภาษาสู่อาเซียน

โดย อาจารย์อัมพร ภุมรินทร์

ผู้ตรวจสอบสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐานเขต 2

จังหวัดพิษณุโลก (สพฐ.พิษณุโลกเขต2)

ในปี ค.ศ. 2012 นี้ ประเทศไทยได้ร่วมกับ

ประเทศในกลุ่มอาเซียนจัดโครงการ “English Speaking Year

2012 Program” ขึ้น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 2

จังหวัดพิษณุโลก ได้สนับสนุนให้โรงเรียนในเขตพื้นที่ กำหนดให้

ทุกวันจันทร์เป็นวันที่พูดภาษาอังกฤษ ซึ่งทางโรงเรียนก็ได้

ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี อาทิ จัดมุมพูดภาษาอังกฤษ

ใช้สื่อภาพยนตร์ เพลง หนังสือ นิตยสารที่เป็นภาษาอังกฤษ ฯลฯ

และผลิตสื่อที่ใช้ในการพูดภาษาอังกฤษ ตลอดจนจัดโปรแกรม

English Today ในตอนเช้าก่อนเรียน และพัฒนาไปถึงการจัด

กิจกรรมแข่งขันการพูดภาษาอังกฤษ (English speech) ระหว่าง

โรงเรียน จากกิจกรรมดังกล่าว มีส่วนช่วยให้ผู้บริหาร ครูและ

นักเรียนสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ดียิ่งขึ้น เพื่อเตรียมพร้อม

การก้าวสู่ประชาคมอาเซียนในอนาคตอีกด้วย

ภาษาอังกฤษในบริบทอาเซียน

โดย อาจารย์อรรจน์ สีหะอำไพ

ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาต่อเนื่องมหาวิทยาลัยรังสิต

กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ข้อ ที่ 34 ได้ระบุไว้

อย่างชัดเจนว่า ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง (Lingua franca)

ที่ใช้สื่อสารในอาเซียน ภาษาอังกฤษจะทวีความสำคัญอย่างยิ่ง

ทั้งด้านเศรษฐกิจ การพาณิชย์ การศึกษา และจะใช้ในสาขา

อาชีพต่างๆ อย่างหลากหลาย ดังนั้น ผู้ที่สามารถใช้ภาษา

อังกฤษในการสื่อสารได้จะมีภาพลักษณ์ที่ดี แต่สิ่งสำคัญก็คือ

ต้องสามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ปัญหาในการสื่อสารภาษาอังกฤษในบริบทอาเซียน

โดย Paulo Masangcay

ปัญหาในการสื่อสารภาษาอังกฤษในบริบทอาเซียน

อย่างหนึ่ง คือ ข้อห้ามทางวัฒนธรรม (cultural taboos)

ในการสนทนา ทั้งนี้จากประสบการณ์จริงที่ผู้วิจัยใช้ภาษาอังกฤษ

ในการสื่อสารกับคนไทยพบว่า คนไทยบางคนทักทายชาว

ต่างชาติด้วยความไม่สุภาพเนื่องจากขาดความเข้าใจที่แท้จริง

เช่น ทักทายโดยใช้คำว่า “Hey, you! You!” ดังนั้นผู้ใช้

ภาษาอังกฤษในการสื่อสารจึงควรศึกษาให้ถ่องแท้ มีความ

ระมัดระวัง รู้จักเลือกใช้คำให้เหมาะสม และสุภาพ

ภาษาอังกฤษในฐานะภาษานานาชาติ

โดย ดร. พงศกร เมธีธรรม

ภาษาอังกฤษในฐานะที่เป็นภาษานานาชาติ (English

as an International Language) นั้น เป็นประเด็นที่ยังเป็น

ข้อถกเถียงหาข้อยุติไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ในสภาวการณ์ปัจจุบัน

มีหลายปัจจัยสำคัญที่ช่วยสนับสนุนให้ภาษาอังกฤษมีบทบาท

สำคัญในฐานะเป็นภาษานานาชาติ ได้แก่ การเป็นผู้ครอบครอง

ประตูหรือใบผ่านสู่การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม โอกาสทางอาชีพ

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : มิถุนายน - กรกฎาคม 2555 3

นาน

าทรร

ศน

ะสุร

ีย์พร

ชุม

แสง

มนุษยวิเทศคดี ครั้งที่ 1ÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉ㹺Ã�º·ä·ÂáÅÐÍÒà«Õ¹ÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉ㹺Ã�º·ä·ÂáÅÐÍÒà«Õ¹

การศึกษา สถานภาพทางสังคม การอพยพ และสื่อกระแสนิยม

อย่างไรก็ตาม มีคำถามเกิดขึ้นมากมายเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ

ในฐานะภาษานานาชาติ ดร.พงศกร จึงสนับสนุน ให้ทั้งผู้เรียน

และผู้สอนภาษาอังกฤษทบทวนคำถามเหล่านี้ที่ว่า “ภาษา

นานาชาติ” แท้จริงหมายความว่าอย่างไร ควรมีใครเป็นเจ้าของ

หรือควบคุมภาษานานชาติหรือไม่ ใครควรได้รับประโยชน์

และกำไรจากภาษานานาชาติ และนัยยะของการสอนทาง

วัฒนธรรมในห้องเรียนภาษาอังกฤษคืออะไร

ภาษาอังกฤษในไทยในบริบทของอาเซียน

โดย ดร..อาทิตย์ พงษ์พานิช

ดร. อาทิตย์ เชื่อว่า “การทำลายอคติ ฉันทาคติ

และมายาคติบางประการเกี่ยวกับ การเรียน-การสอนภาษา

อังกฤษ ในฐานะภาษาต่างประเทศในประเทศไทย เป็นสิ่งสำคัญ

ที่จะมีส่วนช่วยให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในการใช้ภาษาอังกฤษ

ของคนไทย” นอกจากนี้ “ทฤษฎีที่น่าจะมีบทบาทช่วยทำลาย

อคติ ฉันทาคติ และมายาคติดังกล่าว คือ ทฤษฎีทางภาษา

ศาสตร์ โดยเฉพาะ แนวคิดสัญศาสตร์ (Semiotics) และ

ทฤษฎีหลังอาณานิคม (Postcolonial Theory) โดยเฉพาะ

แนวคิดเรื่อง Mimicry ของ Homi Bhabha” กล่าวสรุปโดยย่อคือ

“การศึกษาทฤษฎีทั้งสองนี้ จะทำให้ผู้ใช้ภาษาอังกฤษ ตระหนัก

ว่า ภาษาเป็นเพียงการวางระบบโครงสร้างทางสัญญะเท่านั้น

โดยมีจุดประสงค์หลักอยู่ที่การนำไปใช้สื่อความหมาย” ดังนั้น

“ถ้าเราต้องการจะใช้ภาษาใดภาษาหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นทักษะ

ทางด้านไหนก็ตาม เราก็จำเป็นที่จะต้องมีความรู้ในระบบ

โครงสร้างของภาษานั้นๆ เพื่อที่จะได้ใช้ภาษานั้นๆ ในการ

สื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ไม่ใช่การลอกเลียนแบบ

ลักษณะการใช้ภาษาของเจ้าของภาษา เพื่อให้ตนเองดูดีและ

เป็นที่ ยอมรับว่ามีจริตการใช้ภาษาละม้ายกับเจ้าของภาษา”

การประชุมวิชาการมนุษยวิเทศคดี ครั้งที่ 1 เรื่อง

“ภาษาอังกฤษในบริบทของอาเซียน” เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม

2555 ณ ห้องประชุม QS 2201 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72

พรรษา บรมราชินีนาถ เป็นการนำเสนอบทความวิจัยจากผู้ทรง

คุณวุฒิที ่มีความเชี ่ยวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษและมี

ประสบการณ์การสอนภาษาอังกฤษมาเป็นเวลานาน ซึ่งผล

จากงานวิจัยดังกล่าวแสดงให้เห็นความสำคัญของภาษาอังกฤษ

ในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อีกทั้งยัง

เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในอันที่จะใช้เป็นแนวทางให้กับผู้สอน

ภาษาอังกฤษ ดังนั้น เพื่อให้ผู้ที่ไม่มีโอกาสเข้าร่วมฟังการประชุม

และผู้ที่สนใจการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้เห็นถึงมุมมอง

อันหลากหลายจากผลงานวิจัย จึงขอรวบรวมบทสรุปของ

งานวิจัยที่นำเสนอในการประชุมวิชาการดังกล่าวดังต่อไปนี้

การสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย:ภาพสะท้อน

บุคลิกลักษณะที่ขี ้อายของนักเรียนไทยในการเรียนภาษา

อังกฤษ

โดย David Travis

Travis ได้กล่าวถึงประสบการณ์การสอนภาษาอังกฤษ

ในประเทศไทยว่า ผู้เรียนมีบุคลิกลักษณะขี้อายซึ่งเป็นอุปสรรค

อย่างมากต่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ลักษณะขี้อายของผู้เรียน

ปรากฏใน 3 รูปแบบ ได้แก่ การไม่แน่ใจว่าจะพูดอะไร แน่ใจ

ว่าจะพูดอะไร แต่ไม่อยากพูด และรู้ว่าจะพูดอะไรและพูดอย่างไร

แต่ไม่ต้องการให้ตนเองมีความแตกต่างจากเพื่อน หรือไม่

ต ้องการที ่จะพูดส ิ ่งท ี ่ทำให้เพ ื ่อนร ู ้ส ึกว ่าตนเองด้อยกว ่า

ด้วยลักษณะนิสัยที่ขี้อายของนักเรียนไทยนี้ ส่งผลให้ผู้เรียน

ขาดปฏิกิริยาโต้ตอบซึ่งกันและกัน ขาดโอกาสพัฒนาทักษะ

การคิดในการเรียนรู้ภาษาแบบลองผิดลองถูก ดังนั้น ครูควรให้

บทสรุปหรือเค้าโครงของบทเรียนก่อนการสอน เพื่อเตรียม

ความพร้อมในการมีส่วนร่วมให้แก่ผู้เรียนก่อน และมีกิจกรรม

การแสดงตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนในแบบ ผู้สอน-ผู้สอน,

ผู้สอน-ผู้เรียน หรือ ผู้เรียน-ผู้เรียน เพื่อจะได้สร้างความ

กระตือรือร้นของการมีผลประโยชน์ร่วมกันของผู้เรียน (a sense

of stakeholding) อีกด้วย

การเรียนภาษาแบบผสมผสาน : แนวทางการแก้

ปัญหา ELL ในบริบทอุดมศึกษาไทย

โดย ดร. ฐิติรัตน์ สุวรรณสม และ Nancy Guigue Catane

การนำ Information communication technology (ICT)

มาใช้ในการเรียนการสอนช่วยให้การเรียนการสอนสนุกสนาน

และผ่อนคลาย ผ่านทาง YouTube, Facebook, Bebo, MySpace,

Blogs, Twitter, Email, chat ฯลฯ ที่เห็นได้อย่างชัดเจน ผู้สอน

จะใช้เฟสบุ๊ค (Facebook) เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร

แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในชั้นเรียน ทำให้ผู้เรียนสามารถ

ฝึกภาษาเป้าหมาย เช่น การเรียนภาษาอังกฤษ (ELL) ได้เป็น

อย่างดี โดยการเขียนบนกระดานเฟสบุ๊ค ทั้งยังสามารถอ่าน

ความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้นและของตัวเอง ทำให้นักเรียน

มีโอกาสพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ นอกจากนั้น

เราสามารถใช้วิดีโอออนไลน์ในยูทูบ (YouTube) ช่วยฝึกทักษะ

การฟังภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียนได้ จากตัวอย่างที่กล่าวมา

ข้างต้น จะเห็นว่า การเรียนภาษาแบบผสมโดยใช้ ICT นอกจาก

จะทำให้ผู้สอนมีความสะดวกสบายมากขึ้นแล้ว ยังทำให้ผู้เรียน

รู้สึกอิสระในการเรียนรู้ซึ่งนำไปสู่การมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน

ภาษา

การศึกษาปัญหาและกลวิธีในการแก้ปัญหาการ

แปลของนิสิตวิชาเอกภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัย

นเรศวร

โดย ผศ.ดร.ดุษฎี รุ่งรัตนกุล

ผู้วิจัยได้กำหนดให้นิสิตชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาภาษา

อังกฤษ จำนวน 41 คน เขียนปัญหาและวิธีการแก้ปัญหา

ข อ ง ตน เ อ ง ในก า รแปลภาษาจ าก ปร ะสบก า รณ ์ จ ร ิ ง

ผลการศึกษาพบว่าปัญหาที่สำคัญ ได้แก่ ความสามารถในการ

เลือกใช้คำ (100%) ความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ (100%)

และความสามารถในการแปล (53.65%) ส่วนวิธีการแก้ปัญหา

วิธีแรกคือ การใช้พจนานุกรม (100%) วิธีที่สอง อ่านทบทวน

และตรวจสอบความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ (78.04%)

วิธีที่สาม ปรึกษาเพื่อนร่วมชั้น หรือให้เพื่อนวิจารณ์งาน

(70.73%) และวิธีแก้ปัญหาอื่นๆ ได้แก่ ใช้ประสบการณ์

ส่วนตัววิเคราะห์ (38.92%) ใช้จินตนาการเพื่อให้ความเข้าใจ

ต้นฉบับ (4.84%)

วิธีการพัฒนาภาษาสู่อาเซียน

โดย อาจารย์อัมพร ภุมรินทร์

ผู้ตรวจสอบสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐานเขต 2

จังหวัดพิษณุโลก (สพฐ.พิษณุโลกเขต2)

ในปี ค.ศ. 2012 นี้ ประเทศไทยได้ร่วมกับ

ประเทศในกลุ่มอาเซียนจัดโครงการ “English Speaking Year

2012 Program” ขึ้น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 2

จังหวัดพิษณุโลก ได้สนับสนุนให้โรงเรียนในเขตพื้นที่ กำหนดให้

ทุกวันจันทร์เป็นวันที่พูดภาษาอังกฤษ ซึ่งทางโรงเรียนก็ได้

ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี อาทิ จัดมุมพูดภาษาอังกฤษ

ใช้สื่อภาพยนตร์ เพลง หนังสือ นิตยสารที่เป็นภาษาอังกฤษ ฯลฯ

และผลิตสื่อที่ใช้ในการพูดภาษาอังกฤษ ตลอดจนจัดโปรแกรม

English Today ในตอนเช้าก่อนเรียน และพัฒนาไปถึงการจัด

กิจกรรมแข่งขันการพูดภาษาอังกฤษ (English speech) ระหว่าง

โรงเรียน จากกิจกรรมดังกล่าว มีส่วนช่วยให้ผู้บริหาร ครูและ

นักเรียนสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ดียิ่งขึ้น เพื่อเตรียมพร้อม

การก้าวสู่ประชาคมอาเซียนในอนาคตอีกด้วย

ภาษาอังกฤษในบริบทอาเซียน

โดย อาจารย์อรรจน์ สีหะอำไพ

ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาต่อเนื่องมหาวิทยาลัยรังสิต

กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ข้อ ที่ 34 ได้ระบุไว้

อย่างชัดเจนว่า ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง (Lingua franca)

ที่ใช้สื่อสารในอาเซียน ภาษาอังกฤษจะทวีความสำคัญอย่างยิ่ง

ทั้งด้านเศรษฐกิจ การพาณิชย์ การศึกษา และจะใช้ในสาขา

อาชีพต่างๆ อย่างหลากหลาย ดังนั้น ผู้ที่สามารถใช้ภาษา

อังกฤษในการสื่อสารได้จะมีภาพลักษณ์ที่ดี แต่สิ่งสำคัญก็คือ

ต้องสามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ปัญหาในการสื่อสารภาษาอังกฤษในบริบทอาเซียน

โดย Paulo Masangcay

ปัญหาในการสื่อสารภาษาอังกฤษในบริบทอาเซียน

อย่างหนึ่ง คือ ข้อห้ามทางวัฒนธรรม (cultural taboos)

ในการสนทนา ทั้งนี้จากประสบการณ์จริงที่ผู้วิจัยใช้ภาษาอังกฤษ

ในการสื่อสารกับคนไทยพบว่า คนไทยบางคนทักทายชาว

ต่างชาติด้วยความไม่สุภาพเนื่องจากขาดความเข้าใจที่แท้จริง

เช่น ทักทายโดยใช้คำว่า “Hey, you! You!” ดังนั้นผู้ใช้

ภาษาอังกฤษในการสื่อสารจึงควรศึกษาให้ถ่องแท้ มีความ

ระมัดระวัง รู้จักเลือกใช้คำให้เหมาะสม และสุภาพ

ภาษาอังกฤษในฐานะภาษานานาชาติ

โดย ดร. พงศกร เมธีธรรม

ภาษาอังกฤษในฐานะที่เป็นภาษานานาชาติ (English

as an International Language) นั้น เป็นประเด็นที่ยังเป็น

ข้อถกเถียงหาข้อยุติไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ในสภาวการณ์ปัจจุบัน

มีหลายปัจจัยสำคัญที่ช่วยสนับสนุนให้ภาษาอังกฤษมีบทบาท

สำคัญในฐานะเป็นภาษานานาชาติ ได้แก่ การเป็นผู้ครอบครอง

ประตูหรือใบผ่านสู่การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม โอกาสทางอาชีพ

นาน

าทรร

ศน

ะสุร

ีย์พร

ชุม

แสง

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : มิถุนายน - กรกฎาคม 25554

การศึกษา สถานภาพทางสังคม การอพยพ และสื่อกระแสนิยม

อย่างไรก็ตาม มีคำถามเกิดขึ้นมากมายเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ

ในฐานะภาษานานาชาติ ดร.พงศกร จึงสนับสนุน ให้ทั้งผู้เรียน

และผู้สอนภาษาอังกฤษทบทวนคำถามเหล่านี้ที่ว่า “ภาษา

นานาชาติ” แท้จริงหมายความว่าอย่างไร ควรมีใครเป็นเจ้าของ

หรือควบคุมภาษานานชาติหรือไม่ ใครควรได้รับประโยชน์

และกำไรจากภาษานานาชาติ และนัยยะของการสอนทาง

วัฒนธรรมในห้องเรียนภาษาอังกฤษคืออะไร

ภาษาอังกฤษในไทยในบริบทของอาเซียน

โดย ดร..อาทิตย์ พงษ์พานิช

ดร. อาทิตย์ เชื่อว่า “การทำลายอคติ ฉันทาคติ

และมายาคติบางประการเกี่ยวกับ การเรียน-การสอนภาษา

อังกฤษ ในฐานะภาษาต่างประเทศในประเทศไทย เป็นสิ่งสำคัญ

ที่จะมีส่วนช่วยให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในการใช้ภาษาอังกฤษ

ของคนไทย” นอกจากนี้ “ทฤษฎีที่น่าจะมีบทบาทช่วยทำลาย

อคติ ฉันทาคติ และมายาคติดังกล่าว คือ ทฤษฎีทางภาษา

ศาสตร์ โดยเฉพาะ แนวคิดสัญศาสตร์ (Semiotics) และ

ทฤษฎีหลังอาณานิคม (Postcolonial Theory) โดยเฉพาะ

แนวคิดเรื่อง Mimicry ของ Homi Bhabha” กล่าวสรุปโดยย่อคือ

“การศึกษาทฤษฎีทั้งสองนี้ จะทำให้ผู้ใช้ภาษาอังกฤษ ตระหนัก

ว่า ภาษาเป็นเพียงการวางระบบโครงสร้างทางสัญญะเท่านั้น

โดยมีจุดประสงค์หลักอยู่ที่การนำไปใช้สื่อความหมาย” ดังนั้น

“ถ้าเราต้องการจะใช้ภาษาใดภาษาหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นทักษะ

ทางด้านไหนก็ตาม เราก็จำเป็นที่จะต้องมีความรู้ในระบบ

โครงสร้างของภาษานั้นๆ เพื่อที่จะได้ใช้ภาษานั้นๆ ในการ

สื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ไม่ใช่การลอกเลียนแบบ

ลักษณะการใช้ภาษาของเจ้าของภาษา เพื่อให้ตนเองดูดีและ

เป็นที่ ยอมรับว่ามีจริตการใช้ภาษาละม้ายกับเจ้าของภาษา”

การประชุมวิชาการมนุษยวิเทศคดี ครั้งที่ 1 เรื่อง

“ภาษาอังกฤษในบริบทของอาเซียน” เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม

2555 ณ ห้องประชุม QS 2201 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72

พรรษา บรมราชินีนาถ เป็นการนำเสนอบทความวิจัยจากผู้ทรง

คุณวุฒิที ่มีความเชี ่ยวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษและมี

ประสบการณ์การสอนภาษาอังกฤษมาเป็นเวลานาน ซึ่งผล

จากงานวิจัยดังกล่าวแสดงให้เห็นความสำคัญของภาษาอังกฤษ

ในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อีกทั้งยัง

เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในอันที่จะใช้เป็นแนวทางให้กับผู้สอน

ภาษาอังกฤษ ดังนั้น เพื่อให้ผู้ที่ไม่มีโอกาสเข้าร่วมฟังการประชุม

และผู้ที่สนใจการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้เห็นถึงมุมมอง

อันหลากหลายจากผลงานวิจัย จึงขอรวบรวมบทสรุปของ

งานวิจัยที่นำเสนอในการประชุมวิชาการดังกล่าวดังต่อไปนี้

การสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย:ภาพสะท้อน

บุคลิกลักษณะที่ขี ้อายของนักเรียนไทยในการเรียนภาษา

อังกฤษ

โดย David Travis

Travis ได้กล่าวถึงประสบการณ์การสอนภาษาอังกฤษ

ในประเทศไทยว่า ผู้เรียนมีบุคลิกลักษณะขี้อายซึ่งเป็นอุปสรรค

อย่างมากต่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ลักษณะขี้อายของผู้เรียน

ปรากฏใน 3 รูปแบบ ได้แก่ การไม่แน่ใจว่าจะพูดอะไร แน่ใจ

ว่าจะพูดอะไร แต่ไม่อยากพูด และรู้ว่าจะพูดอะไรและพูดอย่างไร

แต่ไม่ต้องการให้ตนเองมีความแตกต่างจากเพื่อน หรือไม่

ต ้องการที ่จะพูดส ิ ่งท ี ่ทำให้เพ ื ่อนร ู ้ส ึกว ่าตนเองด้อยกว ่า

ด้วยลักษณะนิสัยที่ขี้อายของนักเรียนไทยนี้ ส่งผลให้ผู้เรียน

ขาดปฏิกิริยาโต้ตอบซึ่งกันและกัน ขาดโอกาสพัฒนาทักษะ

การคิดในการเรียนรู้ภาษาแบบลองผิดลองถูก ดังนั้น ครูควรให้

บทสรุปหรือเค้าโครงของบทเรียนก่อนการสอน เพื่อเตรียม

ความพร้อมในการมีส่วนร่วมให้แก่ผู้เรียนก่อน และมีกิจกรรม

การแสดงตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนในแบบ ผู้สอน-ผู้สอน,

ผู้สอน-ผู้เรียน หรือ ผู้เรียน-ผู้เรียน เพื่อจะได้สร้างความ

กระตือรือร้นของการมีผลประโยชน์ร่วมกันของผู้เรียน (a sense

of stakeholding) อีกด้วย

การเรียนภาษาแบบผสมผสาน : แนวทางการแก้

ปัญหา ELL ในบริบทอุดมศึกษาไทย

โดย ดร. ฐิติรัตน์ สุวรรณสม และ Nancy Guigue Catane

การนำ Information communication technology (ICT)

มาใช้ในการเรียนการสอนช่วยให้การเรียนการสอนสนุกสนาน

และผ่อนคลาย ผ่านทาง YouTube, Facebook, Bebo, MySpace,

Blogs, Twitter, Email, chat ฯลฯ ที่เห็นได้อย่างชัดเจน ผู้สอน

จะใช้เฟสบุ๊ค (Facebook) เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร

แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในชั้นเรียน ทำให้ผู้เรียนสามารถ

ฝึกภาษาเป้าหมาย เช่น การเรียนภาษาอังกฤษ (ELL) ได้เป็น

อย่างดี โดยการเขียนบนกระดานเฟสบุ๊ค ทั้งยังสามารถอ่าน

ความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้นและของตัวเอง ทำให้นักเรียน

มีโอกาสพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ นอกจากนั้น

เราสามารถใช้วิดีโอออนไลน์ในยูทูบ (YouTube) ช่วยฝึกทักษะ

การฟังภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียนได้ จากตัวอย่างที่กล่าวมา

ข้างต้น จะเห็นว่า การเรียนภาษาแบบผสมโดยใช้ ICT นอกจาก

จะทำให้ผู้สอนมีความสะดวกสบายมากขึ้นแล้ว ยังทำให้ผู้เรียน

รู้สึกอิสระในการเรียนรู้ซึ่งนำไปสู่การมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน

ภาษา

การศึกษาปัญหาและกลวิธีในการแก้ปัญหาการ

แปลของนิสิตวิชาเอกภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัย

นเรศวร

โดย ผศ.ดร.ดุษฎี รุ่งรัตนกุล

ผู้วิจัยได้กำหนดให้นิสิตชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาภาษา

อังกฤษ จำนวน 41 คน เขียนปัญหาและวิธีการแก้ปัญหา

ข อ ง ตน เ อ ง ในก า รแปลภาษ าจ าก ปร ะส บก า รณ ์ จ ร ิ ง

ผลการศึกษาพบว่าปัญหาที่สำคัญ ได้แก่ ความสามารถในการ

เลือกใช้คำ (100%) ความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ (100%)

และความสามารถในการแปล (53.65%) ส่วนวิธีการแก้ปัญหา

วิธีแรกคือ การใช้พจนานุกรม (100%) วิธีที่สอง อ่านทบทวน

และตรวจสอบความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ (78.04%)

วิธีที่สาม ปรึกษาเพื่อนร่วมชั้น หรือให้เพื่อนวิจารณ์งาน

(70.73%) และวิธีแก้ปัญหาอื่นๆ ได้แก่ ใช้ประสบการณ์

ส่วนตัววิเคราะห์ (38.92%) ใช้จินตนาการเพื่อให้ความเข้าใจ

ต้นฉบับ (4.84%)

วิธีการพัฒนาภาษาสู่อาเซียน

โดย อาจารย์อัมพร ภุมรินทร์

ผู้ตรวจสอบสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐานเขต 2

จังหวัดพิษณุโลก (สพฐ.พิษณุโลกเขต2)

ในปี ค.ศ. 2012 นี้ ประเทศไทยได้ร่วมกับ

ประเทศในกลุ่มอาเซียนจัดโครงการ “English Speaking Year

2012 Program” ขึ้น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 2

จังหวัดพิษณุโลก ได้สนับสนุนให้โรงเรียนในเขตพื้นที่ กำหนดให้

ทุกวันจันทร์เป็นวันที่พูดภาษาอังกฤษ ซึ่งทางโรงเรียนก็ได้

ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี อาทิ จัดมุมพูดภาษาอังกฤษ

ใช้สื่อภาพยนตร์ เพลง หนังสือ นิตยสารที่เป็นภาษาอังกฤษ ฯลฯ

และผลิตสื่อที่ใช้ในการพูดภาษาอังกฤษ ตลอดจนจัดโปรแกรม

English Today ในตอนเช้าก่อนเรียน และพัฒนาไปถึงการจัด

กิจกรรมแข่งขันการพูดภาษาอังกฤษ (English speech) ระหว่าง

โรงเรียน จากกิจกรรมดังกล่าว มีส่วนช่วยให้ผู้บริหาร ครูและ

นักเรียนสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ดียิ่งขึ้น เพื่อเตรียมพร้อม

การก้าวสู่ประชาคมอาเซียนในอนาคตอีกด้วย

ภาษาอังกฤษในบริบทอาเซียน

โดย อาจารย์อรรจน์ สีหะอำไพ

ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษาต่อเนื่องมหาวิทยาลัยรังสิต

กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ข้อ ที่ 34 ได้ระบุไว้

อย่างชัดเจนว่า ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง (Lingua franca)

ที่ใช้สื่อสารในอาเซียน ภาษาอังกฤษจะทวีความสำคัญอย่างยิ่ง

ทั้งด้านเศรษฐกิจ การพาณิชย์ การศึกษา และจะใช้ในสาขา

อาชีพต่างๆ อย่างหลากหลาย ดังนั้น ผู้ที่สามารถใช้ภาษา

อังกฤษในการสื่อสารได้จะมีภาพลักษณ์ที่ดี แต่สิ่งสำคัญก็คือ

ต้องสามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ปัญหาในการสื่อสารภาษาอังกฤษในบริบทอาเซียน

โดย Paulo Masangcay

ปัญหาในการสื่อสารภาษาอังกฤษในบริบทอาเซียน

อย่างหนึ่ง คือ ข้อห้ามทางวัฒนธรรม (cultural taboos)

ในการสนทนา ทั้งนี้จากประสบการณ์จริงที่ผู้วิจัยใช้ภาษาอังกฤษ

ในการสื่อสารกับคนไทยพบว่า คนไทยบางคนทักทายชาว

ต่างชาติด้วยความไม่สุภาพเนื่องจากขาดความเข้าใจที่แท้จริง

เช่น ทักทายโดยใช้คำว่า “Hey, you! You!” ดังนั้นผู้ใช้

ภาษาอังกฤษในการสื่อสารจึงควรศึกษาให้ถ่องแท้ มีความ

ระมัดระวัง รู้จักเลือกใช้คำให้เหมาะสม และสุภาพ

ภาษาอังกฤษในฐานะภาษานานาชาติ

โดย ดร. พงศกร เมธีธรรม

ภาษาอังกฤษในฐานะที่เป็นภาษานานาชาติ (English

as an International Language) นั้น เป็นประเด็นที่ยังเป็น

ข้อถกเถียงหาข้อยุติไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ในสภาวการณ์ปัจจุบัน

มีหลายปัจจัยสำคัญที่ช่วยสนับสนุนให้ภาษาอังกฤษมีบทบาท

สำคัญในฐานะเป็นภาษานานาชาติ ได้แก่ การเป็นผู้ครอบครอง

ประตูหรือใบผ่านสู่การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม โอกาสทางอาชีพ

การศึกษา สถานภาพทางสังคม การอพยพ และสื่อกระแสนิยม

อย่างไรก็ตาม มีคำถามเกิดขึ้นมากมายเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ

ในฐานะภาษานานาชาติ ดร.พงศกร จึงสนับสนุน ให้ทั้งผู้เรียน

และผู้สอนภาษาอังกฤษทบทวนคำถามเหล่านี้ที่ว่า “ภาษา

นานาชาติ” แท้จริงหมายความว่าอย่างไร ควรมีใครเป็นเจ้าของ

หรือควบคุมภาษานานชาติหรือไม่ ใครควรได้รับประโยชน์

และกำไรจากภาษานานาชาติ และนัยยะของการสอนทาง

วัฒนธรรมในห้องเรียนภาษาอังกฤษคืออะไร

ภาษาอังกฤษในไทยในบริบทของอาเซียน

โดย ดร..อาทิตย์ พงษ์พานิช

ดร. อาทิตย์ เชื่อว่า “การทำลายอคติ ฉันทาคติ

และมายาคติบางประการเกี่ยวกับ การเรียน-การสอนภาษา

อังกฤษ ในฐานะภาษาต่างประเทศในประเทศไทย เป็นสิ่งสำคัญ

ที่จะมีส่วนช่วยให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในการใช้ภาษาอังกฤษ

ของคนไทย” นอกจากนี้ “ทฤษฎีที่น่าจะมีบทบาทช่วยทำลาย

อคติ ฉันทาคติ และมายาคติดังกล่าว คือ ทฤษฎีทางภาษา

ศาสตร์ โดยเฉพาะ แนวคิดสัญศาสตร์ (Semiotics) และ

ทฤษฎีหลังอาณานิคม (Postcolonial Theory) โดยเฉพาะ

แนวคิดเรื่อง Mimicry ของ Homi Bhabha” กล่าวสรุปโดยย่อคือ

“การศึกษาทฤษฎีทั้งสองนี้ จะทำให้ผู้ใช้ภาษาอังกฤษ ตระหนัก

ว่า ภาษาเป็นเพียงการวางระบบโครงสร้างทางสัญญะเท่านั้น

โดยมีจุดประสงค์หลักอยู่ที่การนำไปใช้สื่อความหมาย” ดังนั้น

“ถ้าเราต้องการจะใช้ภาษาใดภาษาหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นทักษะ

ทางด้านไหนก็ตาม เราก็จำเป็นที่จะต้องมีความรู้ในระบบ

โครงสร้างของภาษานั้นๆ เพื่อที่จะได้ใช้ภาษานั้นๆ ในการ

สื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ไม่ใช่การลอกเลียนแบบ

ลักษณะการใช้ภาษาของเจ้าของภาษา เพื่อให้ตนเองดูดีและ

เป็นที่ ยอมรับว่ามีจริตการใช้ภาษาละม้ายกับเจ้าของภาษา”

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : มิถุนายน - กรกฎาคม 2555 5

การประชุมวิชาการมนุษยวิเทศคดี ครั้งที่ 1 เรื่อง

“ภาษาอังกฤษในบริบทของอาเซียน” เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม

2555 ณ ห้องประชุม QS 2201 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72

พรรษา บรมราชินีนาถ เป็นการนำเสนอบทความวิจัยจากผู้ทรง

คุณวุฒิที ่มีความเชี ่ยวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษและมี

ประสบการณ์การสอนภาษาอังกฤษมาเป็นเวลานาน ซึ่งผล

จากงานวิจัยดังกล่าวแสดงให้เห็นความสำคัญของภาษาอังกฤษ

ในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อีกทั้งยัง

เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในอันที่จะใช้เป็นแนวทางให้กับผู้สอน

ภาษาอังกฤษ ดังนั้น เพื่อให้ผู้ที่ไม่มีโอกาสเข้าร่วมฟังการประชุม

และผู้ที่สนใจการเรียนการสอนภาษาอังกฤษได้เห็นถึงมุมมอง

อันหลากหลายจากผลงานวิจัย จึงขอรวบรวมบทสรุปของ

งานวิจัยที่นำเสนอในการประชุมวิชาการดังกล่าวดังต่อไปนี้

การสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย:ภาพสะท้อน

บุคลิกลักษณะที่ขี ้อายของนักเรียนไทยในการเรียนภาษา

อังกฤษ

โดย David Travis

Travis ได้กล่าวถึงประสบการณ์การสอนภาษาอังกฤษ

ในประเทศไทยว่า ผู้เรียนมีบุคลิกลักษณะขี้อายซึ่งเป็นอุปสรรค

อย่างมากต่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ลักษณะขี้อายของผู้เรียน

ปรากฏใน 3 รูปแบบ ได้แก่ การไม่แน่ใจว่าจะพูดอะไร แน่ใจ

ว่าจะพูดอะไร แต่ไม่อยากพูด และรู้ว่าจะพูดอะไรและพูดอย่างไร

แต่ไม่ต้องการให้ตนเองมีความแตกต่างจากเพื่อน หรือไม่

ต ้องการที ่จะพูดส ิ ่งท ี ่ทำให้เพ ื ่อนร ู ้ส ึกว ่าตนเองด้อยกว ่า

ด้วยลักษณะนิสัยที่ขี้อายของนักเรียนไทยนี้ ส่งผลให้ผู้เรียน

ขาดปฏิกิริยาโต้ตอบซึ่งกันและกัน ขาดโอกาสพัฒนาทักษะ

การคิดในการเรียนรู้ภาษาแบบลองผิดลองถูก ดังนั้น ครูควรให้

บทสรุปหรือเค้าโครงของบทเรียนก่อนการสอน เพื่อเตรียม

ความพร้อมในการมีส่วนร่วมให้แก่ผู้เรียนก่อน และมีกิจกรรม

การแสดงตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนในแบบ ผู้สอน-ผู้สอน,

ผู้สอน-ผู้เรียน หรือ ผู้เรียน-ผู้เรียน เพื่อจะได้สร้างความ

กระตือรือร้นของการมีผลประโยชน์ร่วมกันของผู้เรียน (a sense

of stakeholding) อีกด้วย

การเรียนภาษาแบบผสมผสาน : แนวทางการแก้

ปัญหา ELL ในบริบทอุดมศึกษาไทย

โดย ดร. ฐิติรัตน์ สุวรรณสม และ Nancy Guigue Catane

การนำ Information communication technology (ICT)

มาใช้ในการเรียนการสอนช่วยให้การเรียนการสอนสนุกสนาน

และผ่อนคลาย ผ่านทาง YouTube, Facebook, Bebo, MySpace,

Blogs, Twitter, Email, chat ฯลฯ ที่เห็นได้อย่างชัดเจน ผู้สอน

จะใช้เฟสบุ๊ค (Facebook) เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร

แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในชั้นเรียน ทำให้ผู้เรียนสามารถ

ฝึกภาษาเป้าหมาย เช่น การเรียนภาษาอังกฤษ (ELL) ได้เป็น

อย่างดี โดยการเขียนบนกระดานเฟสบุ๊ค ทั้งยังสามารถอ่าน

ความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้นและของตัวเอง ทำให้นักเรียน

มีโอกาสพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ นอกจากนั้น

เราสามารถใช้วิดีโอออนไลน์ในยูทูบ (YouTube) ช่วยฝึกทักษะ

การฟังภาษาอังกฤษให้แก่นักเรียนได้ จากตัวอย่างที่กล่าวมา

ข้างต้น จะเห็นว่า การเรียนภาษาแบบผสมโดยใช้ ICT นอกจาก

จะทำให้ผู้สอนมีความสะดวกสบายมากขึ้นแล้ว ยังทำให้ผู้เรียน

รู้สึกอิสระในการเรียนรู้ซึ่งนำไปสู่การมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน

ภาษา

การศึกษาปัญหาและกลวิธีในการแก้ปัญหาการ

แปลของนิสิตวิชาเอกภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัย

นเรศวร

โดย ผศ.ดร.ดุษฎี รุ่งรัตนกุล

นาน

าทรร

ศน

ะสุร

ีย์พร

ชุม

แสง

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : มิถุนายน - กรกฎาคม 25556

ที่พวกเราได้ทำพร้อมกับเพื่อนๆ ชาวต่างชาติก็คือการร่วม

เปิดงาน พร้อมดูการแสดงเปิดตัวจากประเทศเจ้าภาพ ซึ่งเป็น

กิจกรรมที่ช่วยให้พวกเรารู้จักกันมากขึ้น

วันต่อมาพวกเราก็ได้เริ่มเรียนเป็นวันแรก พวกเรา

เลือกเรียนคนละ 2 วิชา นอกจากนี้ยังต้องเรียนวิชาบังคับอีก 2

วิชา ซึ่งแต่ละวิชาช่วยสร้างทักษะต่างๆ ดังต่อไปนี้

1.วิชาการเป็นมัคคุเทศก์ ฝึกให้พวกเรามีทักษะ

การเขียน และการพูด เกี่ยวกับการเป็นมัคคุเทศก์แนะนำ

สถานที ่ท ่องเที ่ยวต่างๆ ตลอดจนการท่องเที ่ยวเชิง

วัฒนธรรม

2.วิชาการเล่นละครเวที ฝึกให้พวกเรารู้จักใช้อวัยวะ

ส่วนต่างๆ ของร่างกายทำงานและรู้จักการแสดงอารมณ์ เพื่อใช้

กระตุ้นแรงขับของเสียง การแสดงท่าทาง การเคลื่อนไหว และ

สื่อสารแบบอวัจนะภาษา อาจารย์ฝึกให้รู้จักเทคนิคการแสดง

และการถ่ายทอดอารมณ์ทางการแสดง ทุกอย่างล้วนเป็นสิ่งที่

สำคัญในการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้ฟังสามารถเข้าใจเรื่องราว

ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น

3.วิชาการทำบล็อก อาจารย์สอนวิธีในการสร้าง

บล็อกของตนเอง โดยใช้เครื่องมือต่างๆ ที่อยู่บนหน้าจอ

คอมพิวเตอร์ ทั้งการเพิ่มรูปภาพ วิดีโอ เว็บลิงค์ มีการทำงาน

เป็นกลุ่ม โดยผู้เรียนช่วยกันเขียนบรรยายสถานที่ท่องเที่ยว

ในแต่ละวัน จากนั้นก็นำข้อความไปลงไว้บนบล็อกพร้อมกับ

ตกแต่งรูปภาพให้สวยงาม หลังจากการเรียนครั้งนี้แล้วทำให้

พวกเรามีผลงานการเขียนที่สวยงาม น่าสนใจ เผยแพร่บน

อินเตอร์เน็ต

4. การเรียนเรื่องมรดกวัฒนธรรม สอนให้รู้จัก

นาน

าสาร

ะทาง

วิชาก

าร

เมื่อเอ่ยถึง “เวียดนาม” นักเดินทางหลายท่านคงจะ

คิดถึงฮานอย เมืองหลวงอันเก่าแก่ของประเทศเวียดนาม แต่

ในการเดินทางครั้งนี้เป็นการเดินทางไปยังเมืองดานัง เมืองท่า

สำคัญของเวียดนามตั้งอยู่ทางตอนใต้ ริมชายฝั่งทะเลจีนใต้

ซึ่งพวกเรา นางสาวจุฑาทิพย์ ชูณรงค์ นางสาววชิราพร

ไตรพัฒน์ และนายศิริพงษ์ เพลียลา นิสิตชั้นปีที่ 3 ของสาขา

วิชาภาษาฝรั่งเศส ได้รับเชิญจากสำนักงานประชาคมโลกผู้ใช้

ภาษาฝรั่งเศสในระดับมหาวิทยาลัย (Agence Universitaire de

la Francophonie) ให้เข้าร่วมงานค่ายภาษาฝรั่งเศสระดับ

นานาชาติภาคฤดูร้อน ณ มหาวิทยาลัยดานัง ภายใต้หัวข้อ

“วัฒนธรรมและมรดก” ระหว่างวันที่ 5 – 12 สิงหาคม 2555

ซึ่งมีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 150 คน ซึ่งเป็นนักศึกษาจาก

มหาวิทยาลัยต่างๆ จำนวน 7 ประเทศในทวีปเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้ คือ ลาว กัมพูชา พม่า เวียดนาม มาเลเซีย จีน

โดยมีนิสิตจากประเทศไทยเข้าร่วม 11 คน

เราทั้งสามคนเดินทางด้วยเครื่องบินของสายการบิน

เวียดนามแอร์ไลน์มุ ่งสู ่ประเทศเวียดนาม ก้าวแรกที่เดิน

ออกจากสนามบิน เราก็ได้ยินเสียงที่ทุกคนต้องพูดถึง

เมื่อมาเวียดนาม นั่นก็คือ “เสียงบีบแตร” ของผู้ใช้รถ

บนท้องถนน คนที่นี่ขับรถมอเตอร์ไซค์เป็นส่วนใหญ่ แต่ที่

แตกต่างจากประเทศไทยคือทุกคนสวมหมวกกันน็อกและ

ไม่ซ้อนสาม จากนั้นเราเดินทางต่อไปยังสำนักงานประชาคม

โลกผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศส เพื่อขึ้นรถไปยังเมืองดานัง ซึ่งที่นี่เป็น

สถานที่แรกที่เราได้เจอกับเพื่อนร่วมค่าย ได้พูดคุยกัน

ทักทายกัน เป็นด่านแรกที่เราได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสกับชาว

ต่างชาติ เมื่อมาถึงมหาวิทยาลัยดานังแล้ว กิจกรรมแรก

นิสิต

สาขา

วิชาภ

าษาฝ

รั่งเศ

ความหมายของคำว่าวัฒนธรรมอย่างลึกซึ้ง ซึ่งส่งผลทางตรง

กับการเรียนวิชามัคคุเทศก์ ซึ ่งเราได้มีโอกาสเผยแพร่

วัฒนธรรมไทยให้เป็นที่รู ้จัก แก่เพื่อนร่วมค่ายซึ่งมาจาก

ประเทศต่างๆ อีกด้วย

นอกจากการทำกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยแล้ว

พวกเรายังได้ออกไปทัศนศึกษาตามสถานที ่สำคัญต่างๆ

ที่ดานัง อาทิ Montagne de Marbre หรือ ภูเขาหินอ่อน

ที่นี่เต็มไปด้วยงานแกะสลักหินอ่อนซึ่งทำไว้เพื่อเป็นของประดับ

ร่างกายและประดับบ้าน และเมื่อเดินขึ้นไปบนเขาก็จะพบ

พระพุทธรูปหินอ่อนอีกมากมาย

พิพิธภัณฑ์จาม (ชื่อโบราณของดานัง) (Le Musee

Cham) สถานที่นี้ได้เก็บรวบรวมรูปปั้นในสมัยที่ชาวดานัง

ยังเรียกตัวเองว่า “จาม” อยู่ เช่นรูปปั้นพระพุทธรูปในสมัยก่อน

รูปปั้นเทพเจ้าต่างๆ เช่น พระวิษณุ พระพิฆเนศ เป็นต้น

นั่งเรือชมวิวสองฝั่งแม่น้ำของเมืองฮอยอัน (Hoi An en

bateau) เมืองฮอยอัน เมืองโบราณของชาวเวียดนาม ที่คนไทย

รู้จักกันดี เป็นเมืองที่มีศิลปะผสมความเป็นจีน ซึ่งในตอน

กลางคืนสองข้างทางของเมืองจะเต็มไปด้วยโคมไฟหลากสีสัน

นอกจากนี้ พวกเราได้ไปเรียนรู้วิถีชีวิตของผู้คนที่นี่ อาชีพและ

ของขึ้นชื่อของที่นี่ก็คือ เครื่องปั้นดินเผา

ตลอดระยะเวลาที่เราได้เข้าค่ายอบรม ทำให้เรารู้ว่า

การเรียนภาษาเฉพาะในห้องเรียนนั้น คงไม่เพียงพอต่อการ

เสริมสร้างประสบการณ์ทางภาษา กิจกรรมต่างๆ เสริมสร้าง

ประสบการณ์ และความรู้ใหม่ๆ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิด

ความรู้สึกสนุกสนานและเจตคติที่ดีต่อภาษาฝรั่งเศส นอกจาก

นั้น เรายังได้เรียนรู้ที่จะปรับพฤติกรรมเพื่ออยู่ร่วมกับเพื่อน

ชาวต่างชาติซึ ่งมีความแตกต่างทางวัฒนธรรมอย่างชัดเจน

แต่พวกเราก็สามารถเชื่อมโยงกันผ่านกิจกรรมต่างๆ ด้วยการ

ปรึกษากัน แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกัน ทำให้พวกเรา

ได้มิตรภาพที ่ดีกลับมา ทั ้งนี ้ ขอขอบคุณสำนักงาน

ประชาคมโลกผู ้ ใช ้ภาษาฝร ั ่งเศสในระดับมหาว ิทยาลัย

(Agence Universitaire de la Francophonie) คณบดี

คณะมนุษยศาสตร์ คณาจารย์สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส ที่ได้

มอบโอกาสที่ดีให้แก่พวกเราในครั้งนี้ และหวังว่าจะเป็นแรง

จูงใจในการออกไปหาประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะทางด้าน

ภาษาฝรั่งเศสให้แก่น้องๆ รุ่นต่อไป เช่นกัน

ค่ายภาษาฝรั่งเศสระดับนานาชาติภาคฤดูร้อน

ณ มหาวิทยาลัยดานัง ประเทศเวียดนาม

ที่พวกเราได้ทำพร้อมกับเพื่อนๆ ชาวต่างชาติก็คือการร่วม

เปิดงาน พร้อมดูการแสดงเปิดตัวจากประเทศเจ้าภาพ ซึ่งเป็น

กิจกรรมที่ช่วยให้พวกเรารู้จักกันมากขึ้น

วันต่อมาพวกเราก็ได้เริ่มเรียนเป็นวันแรก พวกเรา

เลือกเรียนคนละ 2 วิชา นอกจากนี้ยังต้องเรียนวิชาบังคับอีก 2

วิชา ซึ่งแต่ละวิชาช่วยสร้างทักษะต่างๆ ดังต่อไปนี้

1.วิชาการเป็นมัคคุเทศก์ ฝึกให้พวกเรามีทักษะ

การเขียน และการพูด เกี่ยวกับการเป็นมัคคุเทศก์แนะนำ

สถานที ่ท ่องเที ่ยวต่างๆ ตลอดจนการท่องเที ่ยวเชิง

วัฒนธรรม

2.วิชาการเล่นละครเวที ฝึกให้พวกเรารู้จักใช้อวัยวะ

ส่วนต่างๆ ของร่างกายทำงานและรู้จักการแสดงอารมณ์ เพื่อใช้

กระตุ้นแรงขับของเสียง การแสดงท่าทาง การเคลื่อนไหว และ

สื่อสารแบบอวัจนะภาษา อาจารย์ฝึกให้รู้จักเทคนิคการแสดง

และการถ่ายทอดอารมณ์ทางการแสดง ทุกอย่างล้วนเป็นสิ่งที่

สำคัญในการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้ฟังสามารถเข้าใจเรื่องราว

ได้ง่ายมากยิ่งขึ้น

3.วิชาการทำบล็อก อาจารย์สอนวิธีในการสร้าง

บล็อกของตนเอง โดยใช้เครื่องมือต่างๆ ที่อยู่บนหน้าจอ

คอมพิวเตอร์ ทั้งการเพิ่มรูปภาพ วิดีโอ เว็บลิงค์ มีการทำงาน

เป็นกลุ่ม โดยผู้เรียนช่วยกันเขียนบรรยายสถานที่ท่องเที่ยว

ในแต่ละวัน จากนั้นก็นำข้อความไปลงไว้บนบล็อกพร้อมกับ

ตกแต่งรูปภาพให้สวยงาม หลังจากการเรียนครั้งนี้แล้วทำให้

พวกเรามีผลงานการเขียนที่สวยงาม น่าสนใจ เผยแพร่บน

อินเตอร์เน็ต

4. การเรียนเรื่องมรดกวัฒนธรรม สอนให้รู้จัก

นาน

าสาร

ะทาง

วิชาก

ารน

ิสิตสา

ขาวิช

าภาษ

าฝรั่ง

เศส

จจดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : มิถุนายน - กรกฎาคม 2555 7

เมื่อเอ่ยถึง “เวียดนาม” นักเดินทางหลายท่านคงจะ

คิดถึงฮานอย เมืองหลวงอันเก่าแก่ของประเทศเวียดนาม แต่

ในการเดินทางครั้งนี้เป็นการเดินทางไปยังเมืองดานัง เมืองท่า

สำคัญของเวียดนามตั้งอยู่ทางตอนใต้ ริมชายฝั่งทะเลจีนใต้

ซึ่งพวกเรา นางสาวจุฑาทิพย์ ชูณรงค์ นางสาววชิราพร

ไตรพัฒน์ และนายศิริพงษ์ เพลียลา นิสิตชั้นปีที่ 3 ของสาขา

วิชาภาษาฝรั่งเศส ได้รับเชิญจากสำนักงานประชาคมโลกผู้ใช้

ภาษาฝรั่งเศสในระดับมหาวิทยาลัย (Agence Universitaire de

la Francophonie) ให้เข้าร่วมงานค่ายภาษาฝรั่งเศสระดับ

นานาชาติภาคฤดูร้อน ณ มหาวิทยาลัยดานัง ภายใต้หัวข้อ

“วัฒนธรรมและมรดก” ระหว่างวันที่ 5 – 12 สิงหาคม 2555

ซึ่งมีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 150 คน ซึ่งเป็นนักศึกษาจาก

มหาวิทยาลัยต่างๆ จำนวน 7 ประเทศในทวีปเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้ คือ ลาว กัมพูชา พม่า เวียดนาม มาเลเซีย จีน

โดยมีนิสิตจากประเทศไทยเข้าร่วม 11 คน

เราทั้งสามคนเดินทางด้วยเครื่องบินของสายการบิน

เวียดนามแอร์ไลน์มุ ่งสู ่ประเทศเวียดนาม ก้าวแรกที่เดิน

ออกจากสนามบิน เราก็ได้ยินเสียงที่ทุกคนต้องพูดถึง

เมื่อมาเวียดนาม นั่นก็คือ “เสียงบีบแตร” ของผู้ใช้รถ

บนท้องถนน คนที่นี่ขับรถมอเตอร์ไซค์เป็นส่วนใหญ่ แต่ที่

แตกต่างจากประเทศไทยคือทุกคนสวมหมวกกันน็อกและ

ไม่ซ้อนสาม จากนั้นเราเดินทางต่อไปยังสำนักงานประชาคม

โลกผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศส เพื่อขึ้นรถไปยังเมืองดานัง ซึ่งที่นี่เป็น

สถานที่แรกที่เราได้เจอกับเพื่อนร่วมค่าย ได้พูดคุยกัน

ทักทายกัน เป็นด่านแรกที่เราได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสกับชาว

ต่างชาติ เมื่อมาถึงมหาวิทยาลัยดานังแล้ว กิจกรรมแรก

ความหมายของคำว่าวัฒนธรรมอย่างลึกซึ้ง ซึ่งส่งผลทางตรง

กับการเรียนวิชามัคคุเทศก์ ซึ ่งเราได้มีโอกาสเผยแพร่

วัฒนธรรมไทยให้เป็นที่รู ้จัก แก่เพื่อนร่วมค่ายซึ่งมาจาก

ประเทศต่างๆ อีกด้วย

นอกจากการทำกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยแล้ว

พวกเรายังได้ออกไปทัศนศึกษาตามสถานที ่สำคัญต่างๆ

ที่ดานัง อาทิ Montagne de Marbre หรือ ภูเขาหินอ่อน

ที่นี่เต็มไปด้วยงานแกะสลักหินอ่อนซึ่งทำไว้เพื่อเป็นของประดับ

ร่างกายและประดับบ้าน และเมื่อเดินขึ้นไปบนเขาก็จะพบ

พระพุทธรูปหินอ่อนอีกมากมาย

พิพิธภัณฑ์จาม (ชื่อโบราณของดานัง) (Le Musee

Cham) สถานที่นี้ได้เก็บรวบรวมรูปปั้นในสมัยที่ชาวดานัง

ยังเรียกตัวเองว่า “จาม” อยู่ เช่นรูปปั้นพระพุทธรูปในสมัยก่อน

รูปปั้นเทพเจ้าต่างๆ เช่น พระวิษณุ พระพิฆเนศ เป็นต้น

นั่งเรือชมวิวสองฝั่งแม่น้ำของเมืองฮอยอัน (Hoi An en

bateau) เมืองฮอยอัน เมืองโบราณของชาวเวียดนาม ที่คนไทย

รู้จักกันดี เป็นเมืองที่มีศิลปะผสมความเป็นจีน ซึ่งในตอน

กลางคืนสองข้างทางของเมืองจะเต็มไปด้วยโคมไฟหลากสีสัน

นอกจากนี้ พวกเราได้ไปเรียนรู้วิถีชีวิตของผู้คนที่นี่ อาชีพและ

ของขึ้นชื่อของที่นี่ก็คือ เครื่องปั้นดินเผา

ตลอดระยะเวลาที่เราได้เข้าค่ายอบรม ทำให้เรารู้ว่า

การเรียนภาษาเฉพาะในห้องเรียนนั้น คงไม่เพียงพอต่อการ

เสริมสร้างประสบการณ์ทางภาษา กิจกรรมต่างๆ เสริมสร้าง

ประสบการณ์ และความรู้ใหม่ๆ ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิด

ความรู้สึกสนุกสนานและเจตคติที่ดีต่อภาษาฝรั่งเศส นอกจาก

นั้น เรายังได้เรียนรู้ที่จะปรับพฤติกรรมเพื่ออยู่ร่วมกับเพื่อน

ชาวต่างชาติซึ ่งมีความแตกต่างทางวัฒนธรรมอย่างชัดเจน

แต่พวกเราก็สามารถเชื่อมโยงกันผ่านกิจกรรมต่างๆ ด้วยการ

ปรึกษากัน แลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกัน ทำให้พวกเรา

ได้มิตรภาพที ่ดีกลับมา ทั ้งนี ้ ขอขอบคุณสำนักงาน

ประชาคมโลกผู ้ ใช ้ภาษาฝร ั ่งเศสในระดับมหาว ิทยาลัย

(Agence Universitaire de la Francophonie) คณบดี

คณะมนุษยศาสตร์ คณาจารย์สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส ที่ได้

มอบโอกาสที่ดีให้แก่พวกเราในครั้งนี้ และหวังว่าจะเป็นแรง

จูงใจในการออกไปหาประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะทางด้าน

ภาษาฝรั่งเศสให้แก่น้องๆ รุ่นต่อไป เช่นกัน

/

Summary Report :

On July 28, 2012, the Faculty of Humanities

hosted its first academic Conference under the key

theme “English in the ASEAN Context.” The event was held

at the conference room number 2201 inside the Queen

Sirikit Building, Naresuan University. During the conference,

experts with outstanding profiles and long experiences in

teaching English came to deliver talks on their current

research projects, which agreed on the necessity of

promoting English in preparation for the ASEAN Community.

For those who missed the talks, this issue of Suwanna-

pingkarn brings you summaries of the articles presented at

the event. They represent a diversity of perspectives and

might be useful for many English teachers who wish to

apply them as guidelines for teaching.

Teaching in Thailand: Reflection on Shyness

David Travis

In this article, Travis shares his experience of

teaching English in Thailand. He discovers that shyness,

which is characteristic of Thai people, obstructs the Thai

learners’ progress in English. Travis identifies three forms

of shyness: “First, they are unsure of what to say. Second,

they are sure about what to say but uncomfortable to speak

out. Finally, they know what to say and know how to say,

but they do not want to disrupt the social situation.”

Shyness also restrains communication between

classmates which prevents the learning through “creative

trial and error.” To handle this issue, Travis advises the

teachers to “scaffold the lesson.” This means teachers

should “provide outlines or structures of the lessons before

the class” so that students know what to expect and “get

ready to participate.” Teachers should also organize

activities and provide related examples by means of

demonstration which can be “teacher-teacher”,

“teacher-student”, and “students-students.” Travis lastly

encourages English teachers to promote “a sense of

stakeholding” in classrooms.

Blended Language Learning: A Solution to Problems in ELL

in the Thai Tertiary Context

Dr. Thitirat Suwannasom & Nancy Guigue Catane

Information communication technology (ICT) can

add more fun and excitement to such activities as teaching

and learning, with programs and networks such as

YouTube, Facebook, Bebo, MySpace, Blogs, Twitter, email,

and chat. The two speakers, Dr. Thitirat and Nancy, share

their experiments on Facebook, which they make use for

general communications and knowledge exchange among

class members. Facebook is a great site for learners

to practice their English skills. By writing and answering

comments with friends and teachers, students also have

fun practicing English. In addition to social networking,

video-sharing websites such as Youtube might be places

where learners can sit down for some listening exercise.

These are the proofs of how “blended learning through ICT”

not only can make learning easier, but can also promote

“independent learning styles” and “positive attitudes in

language learning.”

A Study of Translation Problems and Coping Strategies

by Third-Year English Majors at Naresuan university

Assistant Professor Dutsadee Roongrattanakool

In this research, Professor Dutsadee asked 41

third-year English majors to “write their translation

problems and coping strategies when doing translation

homework.” The following are their major problems :

“wording ability” (100%), “grammatical accuracy”

(100%) and “translation ability” (53.65%). What did

they do in face of these situations? They “used dictionary”

(100%), they “read, reviewed, and went over grammar

rules” (78.04%), they “consulted with classmates or had

their peers comment on their works” (70.73%), they used

“their own experience to analyze the source language”

(38.92%), and they used “their imagination to

comprehend the original source” (4.84%).

เก็บ

มาฝ

ากอ.

สถิตย

์ ล

ีลาถา

วรชัย

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : มิถุนายน - กรกฎาคม 25558

Ways of ASEAN Language DevelopmentMs. Amporn Phoommarin,Inspector of Phitsanulok Primary Educational ServiceArea Office II (PPESAO2) In 2012, Thailand participated in the “English Speaking Year 2012 Program,” organized by the ASEAN country members. The Phitsanulok Primary Educational Service Area Office II (PPESAO2) provides supports for the schools under its jurisdiction to organize the “English Speaking Day” on every Monday of the week. Many schools have set up English corners where materials such as movies, music, books and magazines in English are readily available for students. Other interesting activities include the “English Today Program” and English speech competitions. These projects and activities are organized not only for the sake of the students, but also for those teachers and school executives who find the needs to improve their English as we are becoming parts of the ASEAN Community.

English in the ASEAN context

Art Seeha-Umpai Director of Continuing Education Center, Rangsit Univeristy

No. 34 of the ASEAN Charter has made it clear that English will be the “lingua franca” of the ASEAN Community. The talk affirms that “English will play a crucial role” in the economic, commercial, educational, and career developments in ASEAN. “People who can use English to communicate … [will] have a positive social image,” according Seeha-Umpai, who further indicates, “The key feature is that people from these countries can use English to communicate effectively.”

Communication in ASEAN ContextPaulo Masangcay

There are many reasons for communication breakdowns in the intercultural context, and cultural “taboos” might be one cause of it. After having spent some years in Thailand, Paulo recognizes how Thai people can greet foreigners with improper expressions without realizing what the words connote. For example, he has seen Thai people use “Hey, you! You!” as a form of greeting to

foreigners. Therefore, Paulo encourages the citizens of ASEAN “to be aware of other people’s feelings and careful in their word choices in speaking and writing.”

English as an International Language ParadigmDr. Phongsakorn Methitham

English as an International Language is, according to Dr. Phongsakorn, “by far controversial and entails critical considerations.” There are many factors that help promote English to its “international language” status, and these factors may include “its being a gatekeeper or passport to cross-cultural communication, job opportunity, higher education, social status, social mobility, immigration, and popular culture.” While English has become ever more important for career opportunities in the ASEAN countries, Dr. Phongsakorn encourages teachers and learners of English to “revisit” and “reconceptualize” the term “English as an international language.” Many questions arise and he finds it necessary to think hard: “What does ‘international language’ really mean?” “Should anyone own or have control over an international language?” “Who should gain benefits and profits from an international language?” And “what are the implications of cultural teaching in an “international language” classroom?

English in the Thai and ASEAN ContextsDr. Atit Pongpanit

Dr. Atit Pongpanit purposes that “one possible way to improve the learning-teaching of English in Thailand is perhaps to get rid of some ongoing biases and myths that surround the Thai conception of the English language teaching and learning. Two theories, one is semiotics and another is mimicry from the postcolonial discussions, seem to provide a solution. In brief, these theories remind us to treat languages as a sign system working to produce meaning. Therefore, when we learn a foreign language, it is necessary to know its system so that we can command the language efficiently. Nevertheless, using a foreign language should not be understood or taken as mimicry. This means learners should not hope to gain a positive social status from being able to use the language ‘almost the same, but not quite’ like the native speakers.”

On July 28, 2012, the Faculty of Humanities

hosted its first academic Conference under the key

theme “English in the ASEAN Context.” The event was held

at the conference room number 2201 inside the Queen

Sirikit Building, Naresuan University. During the conference,

experts with outstanding profiles and long experiences in

teaching English came to deliver talks on their current

research projects, which agreed on the necessity of

promoting English in preparation for the ASEAN Community.

For those who missed the talks, this issue of Suwanna-

pingkarn brings you summaries of the articles presented at

the event. They represent a diversity of perspectives and

might be useful for many English teachers who wish to

apply them as guidelines for teaching.

Teaching in Thailand: Reflection on Shyness

David Travis

In this article, Travis shares his experience of

teaching English in Thailand. He discovers that shyness,

which is characteristic of Thai people, obstructs the Thai

learners’ progress in English. Travis identifies three forms

of shyness: “First, they are unsure of what to say. Second,

they are sure about what to say but uncomfortable to speak

out. Finally, they know what to say and know how to say,

but they do not want to disrupt the social situation.”

Shyness also restrains communication between

classmates which prevents the learning through “creative

trial and error.” To handle this issue, Travis advises the

teachers to “scaffold the lesson.” This means teachers

should “provide outlines or structures of the lessons before

the class” so that students know what to expect and “get

ready to participate.” Teachers should also organize

activities and provide related examples by means of

demonstration which can be “teacher-teacher”,

“teacher-student”, and “students-students.” Travis lastly

encourages English teachers to promote “a sense of

stakeholding” in classrooms.

Blended Language Learning: A Solution to Problems in ELL

in the Thai Tertiary Context

Dr. Thitirat Suwannasom & Nancy Guigue Catane

Information communication technology (ICT) can

add more fun and excitement to such activities as teaching

and learning, with programs and networks such as

YouTube, Facebook, Bebo, MySpace, Blogs, Twitter, email,

and chat. The two speakers, Dr. Thitirat and Nancy, share

their experiments on Facebook, which they make use for

general communications and knowledge exchange among

class members. Facebook is a great site for learners

to practice their English skills. By writing and answering

comments with friends and teachers, students also have

fun practicing English. In addition to social networking,

video-sharing websites such as Youtube might be places

where learners can sit down for some listening exercise.

These are the proofs of how “blended learning through ICT”

not only can make learning easier, but can also promote

“independent learning styles” and “positive attitudes in

language learning.”

A Study of Translation Problems and Coping Strategies

by Third-Year English Majors at Naresuan university

Assistant Professor Dutsadee Roongrattanakool

In this research, Professor Dutsadee asked 41

third-year English majors to “write their translation

problems and coping strategies when doing translation

homework.” The following are their major problems :

“wording ability” (100%), “grammatical accuracy”

(100%) and “translation ability” (53.65%). What did

they do in face of these situations? They “used dictionary”

(100%), they “read, reviewed, and went over grammar

rules” (78.04%), they “consulted with classmates or had

their peers comment on their works” (70.73%), they used

“their own experience to analyze the source language”

(38.92%), and they used “their imagination to

comprehend the original source” (4.84%).

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : มิถุนายน - กรกฎาคม 2555 9

เก็บ

มาฝ

ากอ.

สถิตย

์ ล

ีลาถา

วรชัย

Ways of ASEAN Language DevelopmentMs. Amporn Phoommarin,Inspector of Phitsanulok Primary Educational ServiceArea Office II (PPESAO2) In 2012, Thailand participated in the “English Speaking Year 2012 Program,” organized by the ASEAN country members. The Phitsanulok Primary Educational Service Area Office II (PPESAO2) provides supports for the schools under its jurisdiction to organize the “English Speaking Day” on every Monday of the week. Many schools have set up English corners where materials such as movies, music, books and magazines in English are readily available for students. Other interesting activities include the “English Today Program” and English speech competitions. These projects and activities are organized not only for the sake of the students, but also for those teachers and school executives who find the needs to improve their English as we are becoming parts of the ASEAN Community.

English in the ASEAN context

Art Seeha-Umpai Director of Continuing Education Center, Rangsit Univeristy

No. 34 of the ASEAN Charter has made it clear that English will be the “lingua franca” of the ASEAN Community. The talk affirms that “English will play a crucial role” in the economic, commercial, educational, and career developments in ASEAN. “People who can use English to communicate … [will] have a positive social image,” according Seeha-Umpai, who further indicates, “The key feature is that people from these countries can use English to communicate effectively.”

Communication in ASEAN ContextPaulo Masangcay

There are many reasons for communication breakdowns in the intercultural context, and cultural “taboos” might be one cause of it. After having spent some years in Thailand, Paulo recognizes how Thai people can greet foreigners with improper expressions without realizing what the words connote. For example, he has seen Thai people use “Hey, you! You!” as a form of greeting to

foreigners. Therefore, Paulo encourages the citizens of ASEAN “to be aware of other people’s feelings and careful in their word choices in speaking and writing.”

English as an International Language ParadigmDr. Phongsakorn Methitham

English as an International Language is, according to Dr. Phongsakorn, “by far controversial and entails critical considerations.” There are many factors that help promote English to its “international language” status, and these factors may include “its being a gatekeeper or passport to cross-cultural communication, job opportunity, higher education, social status, social mobility, immigration, and popular culture.” While English has become ever more important for career opportunities in the ASEAN countries, Dr. Phongsakorn encourages teachers and learners of English to “revisit” and “reconceptualize” the term “English as an international language.” Many questions arise and he finds it necessary to think hard: “What does ‘international language’ really mean?” “Should anyone own or have control over an international language?” “Who should gain benefits and profits from an international language?” And “what are the implications of cultural teaching in an “international language” classroom?

English in the Thai and ASEAN ContextsDr. Atit Pongpanit

Dr. Atit Pongpanit purposes that “one possible way to improve the learning-teaching of English in Thailand is perhaps to get rid of some ongoing biases and myths that surround the Thai conception of the English language teaching and learning. Two theories, one is semiotics and another is mimicry from the postcolonial discussions, seem to provide a solution. In brief, these theories remind us to treat languages as a sign system working to produce meaning. Therefore, when we learn a foreign language, it is necessary to know its system so that we can command the language efficiently. Nevertheless, using a foreign language should not be understood or taken as mimicry. This means learners should not hope to gain a positive social status from being able to use the language ‘almost the same, but not quite’ like the native speakers.”

สืบเนื่องจากโครงการสัมมนาและการประชุมวิชาการ

ที่จัดขึ้นระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2555 ล้วนแต่

มุ่งประเด็นการเข้าสู ่ประชาคมอาเซียน ซึ่งจะเห็นได้ว่า

คณะมนุษยศาสตร์มีบทบาทอย่างมากในการเตรียมความ

พร้อม สู่การเป็นหนึ่งในประชาคมอาเซียนอย่างเต็มภาคภูมิ

โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของ “ภาษาและวัฒนธรรม” เมื่อ

วันที่ 19 - 20 กรกฎาคม 2555 คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร ร่วมกับ สถาบันการต่างประเทศ

สราญรมย์ (SIFA) กระทรวงการต่างประเทศ คณะ

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

จัดโครงการสัมมนาวิชาการเรื่อง “การเรียนรู้ภาษาและ

วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านในประชาคมอาเซียน” ณ

อาคารขวัญเมืองมหาวิทยาลัยนเรศวร จากการประชุม

ถอดบทเรียนและสรุปข้อเสนอเชิงนโยบาย มีประเด็นน่าสนใจ

ที่เกี่ยวข้องกับทิศทางการทำวิจัยเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรม

เพื่อนบ้าน นำเสนอโดย ดร. ม.ร.ว.รุจยา อาภากร ผู้อำนวยการ

ศูนย์ภูมิภาคโบราณคดีและวิจิตรศิลป์ องค์การรัฐมนตรีศึกษา

แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซีมีโอ) ซึ่งเห็นว่าการวิจัย

ควรเกิดจากแรงผลักดันทางวิชาการ นั่นคือ ต้องสนับสนุน

องค์ความรู้ของแต่ละสาขาวิชา โดยเป็นไปตามนโยบาย

ขององค์กรหรือนโยบายชาติ หากเป็นไปตามกระแสนิยม

ก็ควรทำอย่างสมเหตุสมผล และไม่ใช่ทำเพื่อประโยชน์ส่วนตัว

วัตถุประสงค์ของการวิจัยที่นอกเหนือไปจากเพื่อความก้าวหน้า

ทางวิชาการแล้ว ก็ควรเป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม ส่งเสริม

การมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อพัฒนาการศึกษาทั้งในระดับ

พื้นฐานและสูงกว่า รวมถึงเพื่อสนับสนุนการจัดการปัญหาด้าน

สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน

ทั ้งนี ้แนวทางการวิจัยควรมีลักษณะสหสาขาวิชาหรือการ

บูรณาการระหว่างสาขาวิชา เนื่องจากจะเห็นได้ว่างานวิชาการ

หรืองานวิจัยส่วนใหญ่มีความเป็นจุลภาค และใช้สอยในวง

จำกัด จึงมีความจำเป็นต้องเกิดการแลกเปลี่ยนและการพัฒนา

ถึงแม้จะมีข้อดีคือมีความลุ่มลึกและมีกรอบแนวคิดที่ชัดเจน

ก็ตาม

ทิศทางการวิจัยในสายมนุษยศาสตร์ที่ยังคงมีความ

น่าสนใจ ทันสมัย และสอดคล้องกับนโยบายชาติ ได้แก่

การศึกษาด้านวรรณกรรม เช่น วรรณกรรมไทย วรรณกรรม

ล้านนา วรรณกรรมพม่า เป็นต้น ด้วยความหลากหลายของ

ภาษาของประเทศรวมถึงของภูมิภาค การทำพจนานุกรมยังคง

เป็นที่ต้องการ รวมถึงงานวิจัยประเภทพัฒนาหรือสร้างสื่อ

การเรียนการสอน นอกจากนี้ ในด้านวัฒนธรรมควรมีการ

รวบรวมข้อมูลด้านวิถีชีวิต ความเป็นอยู ่ ความเชื ่อ

ขนบธรรมเนียมประเพณี และศิลปะทั้งในประเทศไทย และ

ประเทศเพื่อนบ้าน หรือศึกษาในแง่ประวัติศาสตร์ เพื่อแสวงหา

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของสังคม และแสวงหา

ความรู้ทางประวัติศาสตร์ที่จะนำไปสู่แนวทางการพัฒนาสังคม

ในอนาคต

จะเห็นได้ว่า ทิศทางหรือประเด็นวิจัยที่ ดร.

ม.ร.ว.รุจยา อาภากร ได้นำเสนอเป็นสิ่งที ่เกิดขึ ้นได้จริง

ในปริบทสังคมปัจจุบันที ่ต้องการรวมความหลากหลายให้

เป็นหนึ่ง ดังเช่นแนวคิดของประชาคมอาเซียน ทั้งนี้ก็ด้วย

การศึกษาวิจัยที ่สอดคล้องและสามารถนำไปใช้จริงนั ่นเอง

อย่างไรก็ตามสิ่งสำคัญที่นักวิจัยและนักวิชาการที่ดีควรพึง

ตระหนักอยู่เสมอก็คือ ทำวิจัยเพื่อประโยชน์ส่วนรวม มิใช่เพื่อ

ส่วนตัว

“ทิศทางการทำวิจัยเกี่ยวกับภาษา

และวัฒนธรรมเพื่อนบ้าน”โดย ดร. ม.ร.ว.รุจยา อาภากร

วิจัยช

วนค

ิดดร

.ชมน

าด

อินท

จามร

รักษ

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : มิถุนายน - กรกฎาคม 255510

จดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ : มิถุนายน - กรกฎาคม 2555 11

ข่าวก

ิจกรร

มสุร

ีย์พร

ชุมแ

สง

วันที่ 19 – 21 มิถุนายน 2555 รองศาสตราจารย์

ดร.กาญจนา วิชญาปกรณ์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ พร้อมด้วย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรนุช นิยมธรรม, ดร.ชมนาด

อินทจามรรักษ์ และดร.อาทิตย์ พงษ์พานิช เข้าร่วมพิธีเปิด

ในฐานะเจ้าภาพร่วม โครงการพัฒนาเครือข่ายวิจัยและการ

สัมมนาทางวิชาการ เรื่อง “คนข้ามแดนในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

และอาเซียน: มุมมองทางสังคม เศรษฐกิจ และประวัติศาสตร์”

โดย ความร่วมมือระหว่าง ศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สถาบันการ

ต่างประเทศสราญรมย์ กระทรวงการต่างประเทศ และ

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ณ อาคารเทพรัตน

สิริปภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อำเภอวารินชำราบ จังหวัด

อุบลราชธานี ภายในงาน ผศ.วิรัช นิยมธรรม รองคณบดี

ฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ ได้รับเชิญเป็นวิทยากรอภิปราย

ในหัวข้อ “พม่าในฐานะศูนย์เศรษฐกิจใหม่ของภูมิภาคแม่โขง

และอาเซียน” อีกด้วย

วันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม 2555 ดร.สุชาติ เมืองแก้ว

รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยนเรศวร ให้เกียรติเป็น

ประธานในพิธีเปิดโครงการประชุมวิชาการ เรื่อง การพัฒนา

เนื้อหารายวิชาอาเซียนศึกษาสำหรับอุดมศึกษาไทย ณ ห้อง

ประชุม Main Conference จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยได้รับเกียรติจาก ดร.สุชาติ เมืองแก้ว

รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร, ฯพณฯวิวัฒน์ กุลธรเธียร

เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ, อาจารย์

อัครพงษ์ ค่ำคูณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดีพนมยงค์ มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิรัช นิยมธรรม

และ ดร.อาทิตย์ พงษ์พานิช เป็นวิทยาการบรรยาย

วันที่ 19 - 20 กรกฎาคม 2555 คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร ร่วมกับ สถาบันการต่างประเทศสราญรมย์

(SIFA) กระทรวงการต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สถาบันวิจัยภาษาและ

วัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล จัดโครงการสัมมนาวิชาการ

เรื ่อง “การเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน

ในประชาคมอาเซียน” ณ อาคารขวัญเมือง มหาวิทยาลัยนเรศวร

จังหวัดพิษณุโลก โดยได้รับเกียรติจาก ฯพณฯ จิตติ สุวรรณิก

เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ และ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ.ศิริเกษม ศิริลักษณ์ รองอธิการบดี

ฝ่ายกิจการนิสิต เป็นประธานในพิธีเปิด ภายในงานมีวิทยากรผู้มีชื่อเสียงมาบรรยายให้ความรู้จำนวนมาก อาทิ ดร.ม.ร.ว.รุจยา

อาภากร องค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ซีมีโอ) คุณดำรง ใคร่ครวญ รองอธิบดีกรมสารนิเทศ คุณสุภลักษณ์

กาญจนขุนดี นักข่าวอาวุโส สำนักข่าวเดอะเนชั่น ผศ.ดร.ธัญญา สังขพันธานนท์ และ ผศ.ดร.บัญญัติ สาลี คณะมนุษยศาสตร์

และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผศ.วิรัช นิยมธรรม คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ผศ.ดร.โสฬส ศิริไสย์

และ อาจารย์สุนิดา ศิวปฐมชัย จากสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นต้น

มหาว ิทยาลัยนเร

ศวร

คณ

ะมนุษยศาสตร์ สุวรรณภิงคารจดหมายข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ท่านที ่สนใจจดหมายข่าวนี ้ กรุณาส่งชื ่อที ่อยู ่ของท่านมายังงานประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 0-5596-2035 โทรสาร 0-5596-2000 ไม่เส ียค่าใช ้จ ่ายใดๆ ทั ้งสิ ้น

สุวรรณภิงคาร หรือ “กลศ” หมายถึง หม้อดินสำหรับใส่น้ำ ดินและน้ำเป็นแม่บทของสิ ่งทั ้งปวง

อันเปรียบได้กับคณะมนุษยศาสตร์ ที ่เป็นรากฐานแห่งศาสตร์ทั ้งปวง

ชำระค่าฝากส่งเป็นรายเดือน

ใบอนุญาตเลขที ่ 85/2521

พิษณุโลก

วิสัยทัศน์ :

คณะมนุษยศาสตร์มีความเป็นเลิศทางวิชาการด้านภาษา วรรณคดี คติชน ดนตรี

และนาฏศิลป์ เป็นสังคมที่มีคุณธรรม ภูมิปัญญา และการเรียนรู้แบบต่อเนื่องยั่งยืน รวมทั้ง

เป็นหน่วยงานที่อนุรักษ์และสืบสานศิลปวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยนเรศวร

เป็นมหาวิทยาลัย สมบูรณ์แบบ

พันธกิจ :

1. ผลิตบัณฑิตที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ถึงพร้อมด้วยคุณธรรม และจริยธรรม

2. ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้ใหม่ด้านภาษา วรรณคดี คติชน ดนตรี และนาฏศิลป์

เพื่อประโยชน์ทางวิชาการ

3. บริการทางวิชาการเพื่อประโยชน์ในการพัฒนาสังคม

4. อนุรักษ์ ฟื้นฟู สร้างสรรค์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับชาติ

5. ส่งเสริมการเรียนรู้ และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมนานาชาติ

6. สร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบัน ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ

ประเด็นยุทธศาสตร์ :

1. สร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพและมาตรฐาน เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณธรรม จริยธรรม และ

สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและประเทศ

2. มุ่งสร้างงานวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านภาษาและดำเนินการสู่การเป็น

ศูนย์กลางของการศึกษาคติชนวิทยา

3. ส่งเสริมการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่าง

4. ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างงานด้านศิลปวัฒนธรรม และความเข้าใจวัฒนธรรมต่างชาติ

5. จัดระบบบริหารจัดการด้วยความโปร่งใส คล่องตัว ยุติธรรม เอื้อต่อการดำเนินงาน

ที่รวดเร็วและบุคลากรมีส่วนร่วม ตลอดจนบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล มุ่งนำการ

จัดการความรู้มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กร