783
พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ภาค - หนาที1 พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลมทีขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา พระองคนั้น . มูลปริยายสูตร () () ขาพเจาไดสดับมาอยางนีสมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาประทับอยู ควงไมพญารัง ใน สุภควัน เขตเมืองอุกกัฏฐา. ที่นั้นแล พระผูมีพระภาคเจาตรัส เรียกภิกษุทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุเหลานั้น ทูลรับพระ- ผูมีพระภาคเจาวา พระเจาขา. พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสพระพุทธ- พจนนี้วา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงเหตุที่เปนมูลของ ธรรมทั้งปวงแกพวกเธอ พวกเธอจงฟงเหตุนั้น จง ใสใจใหดี เราจักกลาว. ภิกษุเหลานั้นทูลรับพระผูมีพระภาคเจาวา อยางนั้น พระเจาขา. () พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสพระพุทธพจนนี้วา ดูกอนภิกษุ ทั้งทลาย ปุถุชนในโลกนีไมไดสดับ ไมไดเห็นพระอริยะ ไมฉลาดใน ธรรมของพระอริยะ ไมไดรับแนะนําในธรรมของพระอริยะ ไมไดเห็น

tripitaka 17pratripitaka.com/tripitaka-mbu/ebook-tripitaka/tripitaka... · 2013. 7. 10. · Title: tripitaka_17.rtf Author: Postharvest Created Date: 7/8/2005 6:34:31 AM

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 1 พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลมท่ี ๑ ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา พระองคนั้น ๑. มูลปริยายสูตร (๑) (๑) ขาพเจาไดสดับมาอยางนี้ สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาประทับอยู ณ ควงไมพญารัง ในสุภควัน เขตเมืองอุกกัฏฐา. ณ ที่นั้นแล พระผูมีพระภาคเจาตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย. ภิกษุเหลานั้น ทูลรับพระ-ผูมีพระภาคเจาวา พระเจาขา. พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสพระพุทธ-พจนนี้วา. ดูกอนภิกษุท้ังหลาย เราจักแสดงเหตุท่ีเปนมูลของ ธรรมท้ังปวงแกพวกเธอ พวกเธอจงฟงเหตุนั้น จง ใสใจใหดี เราจักกลาว.ภิกษุเหลานั้นทูลรับพระผูมีพระภาคเจาวา อยางนั้น พระเจาขา. (๒) พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสพระพุทธพจนนี้วา ดูกอนภิกษุทั้งทลาย ปุถุชนในโลกนี้ ไมไดสดับ ไมไดเห็นพระอริยะ ไมฉลาดในธรรมของพระอริยะ ไมไดรับแนะนําในธรรมของพระอริยะ ไมไดเห็น

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 2สัตบุรุษ ไมฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไมไดรับแนะนําในธรรมของ สัตบุรุษ. ยอมหมายรูธาตุดิน โดยความเปนธาตุดิน คร้ันหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดินแลว ยอมสําคัญหมายธาตุดิน ยอมสําคัญหมายในธาตุดินยอมสําคัญหมายโดยความเปนธาตุดิน ยอมสําคัญหมายธาตุดินวาของเรายอมยินดียิ่งซึ่งธาตุดิน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร. ? เราตถาคตกลาววาเพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูธาตุน้ํา โดยความเปนธาตุน้ํา คร้ันหมายรูธาตุน้ําโดยความเปนธาตุน้ําแลว ยอมสําคัญหมายธาตุน้ํา ยอมสําคัญหมายในธาตุน้ํายอมสําคัญหมายโดยความเปนธาตุนั้น ยอมสําคัญหมายธาตุน้ําวาของเรายอมยินดียิ่งซึ่งธาตุน้ํา. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูธาตุไฟ โดยความเปนธาตุไฟ คร้ันหมายรูธาตุไฟโดยความเปนธาตุไฟแลว ยอมสําคัญหมายธาตุไฟ ยอมสําคัญหมายในธาตุไฟ ยอมสําคัญหมายโดยความเปนธาตุไฟ ยอมสําคัญหมายธาตุไฟวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งธาตุไฟ ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาวา เพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูธาตุลม โดยความเปนธาตุลม คร้ันหมายรูธาตุลมโดยความเปนธาตุลมแลว ยอมสําคัญหมายธาตุลม ยอมสําคัญหมายในธาตุลม ยอมสําคัญหมายโดยความเปนธาตุลม ยอมสําคัญหมายธาตุลมวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งธาตุลม. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดกําหนดรู.

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 3 ยอมหมายรูสัตว โดยความเปนสัตว คร้ันหมายรูสัตวโดยความ เปนสัตวแลว ยอมสําคัญหมายสัตว ยอมสําคัญหมายในสัตว ยอมสําคัญหมายโดยความเปนสัตว ยอมสําคัญหมายสัตววาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งสัตว ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูเทวดา โดยความเปนเทวดา คร้ันหมายรูเทวดาโดยความเปนเทวดาแลว ยอมสําคัญหมายเทวดา ยอมสําคัญหมายในเทวดายอมสําคัญหมายโดยความเปนเทวดา ยอมสําคัญหมายเทวดาวาของเรายอมยินดียิ่งซึ่งเทวดา ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววาเพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูปชาบดีมาร โดยความเปนปชาบดีมาร คร้ันหมายรู ปชาบดีมารโดยความเปนปชาบดีมารแลว ยอมสําคัญหมายปชาบดีมารยอมสําคัญหมายในปชาบดีมาร ยอมสําคัญหมายโดยความเปนปชาบดีมารยอมสําคัญปชาบดีมารวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งปชาบดีมาร ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูพรหม โดยความเปนพรหม คร้ันหมายรูพรหมโดยความเปนพรหมแลว ยอมสําคัญหมายพรหม ยอมสําคัญหมายในพรหมยอมสําคัญหมายโดยความเปนพรหม ยอมสําคัญหมายพรหมวาของเรายอมยินดียิ่งซึ่งพรหม. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววาเพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูอาภัสสรพรหม โดยความเปนอาภัสสรพรหม คร้ันหมายรูอาภัสสรพรหมโดยความเปนอาภัสสรพรหมแลว ยอมสําคัญหมาย

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 4อาภัสสรพรหม ยอมสําคัญหมายในอาภัสสรพรหม ยอมสําคัญหมายโดย ความเปนอาภัสสรพรหม ยอมสําคัญหมายอาภัสสรพรหมวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งอาภัสสรพรหม. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาวาเพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูสุภกิณหพรหม โดยความเปนสุภกิณหพรหม คร้ันหมายรูสุภกิณหพรหมโดยความเปนสุภกิณหพรหมแลว ยอมสําคัญหมายสุภกิณหพรหม ยอมสําคัญหมายในสุภกิณหพรหม ยอมสําคัญหมายโดยความเปนสุภกิณหพรหม ยอมสําคัญหมายสุภกิณหพรหมวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งสุภกิณหพรหม. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววาเพราะเขาไมไดก าหนดรู. ยอมหมายรูเวหัปผลพรหม โดยความเปนเวหัปผลพรหม คร้ันหมายรูเวหัปผลพรหมโดยความเปนเวหัปผลพรหมแลว ยอมสําคัญหมายเวหัปผลพรหม ยอมสําคัญหมายในเวหัปผลพรหม ยอมสําคัญหมายโดยความเปนเวหัปผลพรหม ยอมสําคัญหมายเวหัปผลพรหมวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งเวหัปผลพรหม ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เพราะตถาคตกลาววาเพราะเขาไมไดก าหนดรู. ยอมหมายรูอสัญญีสัตว โดยความเปนอสัญญีสัตว คร้ันหมายรูอสัญญีสัตวโดยความเปนอสัญญีสัตวแลว ยอมสําคัญหมายอสัญญีสัตวยอมสําคัญหมายในอสัญญีสัตว ยอมสําคัญหมายโดยความเปนอสัญญีสัตวยอมสําคัญหมายอสัญญีสัตววาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งอสัญญีสัตว. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดก าหนดรู. ยอมหมายรูอากาสานัญจายตนพรหม โดยความเปนอากาสานัญ-

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 5จายตนพรหม คร้ันหมายรูอากาสานัญจายตนพรหมโดยความเปนอากาสา- นัญจายตนพรหมแลว ยอมสําคัญหมายอากาสานญจายตนพรหม ยอมสําคัญหมายในอากาสานัญจายตนพรหม ยอมสําคัญหมายโดยความเปนอากาสานัญจายตนพรหม ยอมสําคัญหมายอากาสานัญจายตนพรหมวาของเรา ยอมยินดียิงซึ่งอากาสานญจายตนพรหม. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ?เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดก าหนดรู. ยอมหมายรูวิญญาณัญจายตนพรหม โดยความเปนวิญญาณัญจาย-ตนพรหม คร้ันหมายรูวิญญาณัญจายตนพรหมโดยความเปนวิญญาณัญ-จายตนพรหมแลว ยอมสําคัญหมายวิญญาณัญจายตนพรหม ยอมสําคัญหมายในวิญญาณัญจายตนพรหม ยอมสําคัญหมายโดยความเปนวิญญาณัญ-จายตนพรหม ยอมสําคัญวิญญาณัญจายตนพรหมวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งวิญญาณัญจายตนพรหม. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววาเพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูอากิญจัญญายตนพรหม โดยความเปนอากิญจัญญาย-ตนพรหม คร้ันหมายรูอากิญจัญญายตนพรหมโดยความเปนอากิญจัญญาย-ตนพรหมแลว ยอมสําคัญหมายอากิญจัญญายตนพรหม ยอมสําคัญหมายในอากิญจัญญายตนพรหม ยอมสําคัญหมายโดยความเปนอากิญจัญญายตน-พรหม ยอมสําคัญหมายอากิญจัญญายตนพรหมวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งอากิญจัญญายตนพรหม ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววาเพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม โดยความเปนเนว-สัญญานาสัญญายตนพรหม คร้ันหมายรูเนวสัญญานาสัญญายตนพรหมโดย

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 6ความเปนเนวสัญญานาสัญญายตนพรหมแลว ยอมสําคัญหมายเนวสัญญา- นาสัญญายตนพรหม ยอมสําคัญหมายในเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ยอมสําคัญหมายโดยความเปนเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ยอมสําคัญหมายเนวสัญญานาสัญญายตนพรหมวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งเนวสัญญานาสัญ-ญายตนพรหม. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดก าหนดรู. ยอมหมายรูรูปท่ีตนเห็น โดยความเปนรูปที่ตนเห็น คร้ันหมายรูรูปที่ตนเห็นโดยความเปนรูปที่ตนเห็นแลว ยอมสําคัญหมายรูปที่ตนเห็นยอมสําคัญหมายในรูปที่ตนเห็น ยอมสําคัญหมายโดยความเปนรูปที่ตนเห็นยอมสําคัญหมายรูปท่ีตนเห็นวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งรูปที่ตนเห็น. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดก าหนดรู. ยอมหมายรูเสียงท่ีตนฟง โดยความเปนเสียงที่ตนฟง คร้ันหมายรูเสียงที่ตนฟงโดยความเปนเสียงที่ตนฟงแลว ยอมสําคัญหมายเสียงที่ตนฟงยอมสําคัญหมายในเสียงตนฟง ยอมสําคัญหมายโดยความเปนเสียงที่ตนฟงยอมสําคัญหมายเสียงท่ีตนฟงวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งเสียงที่ตนฟง. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดก าหนดรู. ยอมหมายรูอารมณ (กล่ิน รส โผฏฐัพพะ) ท่ีตนทราบ โดยความเปนอารมณที่ตนทราบ คร้ันหมายรูอารมณที่ตนทราบโดยความเปนอารมณที่ตนทราบแลว ยอมสําคัญหมายอารมณที่ตนทราบ ยอมสําคัญหมายในอารมณที่ตนทราบ ยอมสําคัญหมายโดยความเปนอารมณที่ตนทราบ ยอมสําคัญหมายอารมณท่ีตนทราบวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งอารมณที่ตนทราบ. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไม

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 7ไดกําหนดรู. ยอมหมายรูธรรมารมณท่ีตนรูแจง โดยความเปนธรรมารมณที่ตนรูแจง คร้ันหมายรูธรรมารมณที่ตนรูแจงโดยความเปนธรรมารมณที่ตนรูแจงแลว ยอมสําคัญหมายธรรมารมณที่ตนรูแจง ยอมสําคัญหมายในธรรมารมณที่ตนรูแจง ยอมสําคัญหมายโดยความเปนธรรมารมณที่ตนรูแจง ยอมสําคัญหมายธรรมารมณท่ีตนรูแจงวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งธรรมารมณที่ตนรูแจง. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววาเพราะเขาไมไดกําหนดรู. ยอมหมายรูความท่ีสักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกัน โดยความเปนอันเดียวกัน คร้ันหมายรูความที่สักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกันโดยความเปนอันเดียวกันแลว ยอมสําคัญหมายความที่สักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกัน ยอมสําคัญหมายในความที่สักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกัน ยอมสําคัญหมายโดยความที่สักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกัน ยอมสําคัญหมายความที่สักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกันวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งความที่สักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกัน ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดก า-หนดรู. ยอมหมายรูความท่ีสักกายทิฏฐิตางกัน โดยความเปนของตางกันคร้ันหมายรูความที่สักกายทิฏฐิตางกันโดยความเปนของตางกันแลว ยอมสําคัญหมายความที่สักกายทิฏฐิตางกัน ยอมสําคัญหมายในความที่สักกาย-ทิฏฐิตางกัน ยอมสําคัญหมายโดยความที่สักกายทิฏฐิตางกัน ยอมสําคัญหมายความที่สักกายทิฏฐิตางกันวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งความที่สักกาย-ทิฏฐิตางกัน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไม

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 8ไดก าหนดรู. ยอมหมายรูสักกายทิฏฐิท้ังปวง โดยความเปนสักกายทิฏฐิทั้งปวงคร้ันหมายรูสักกายทิฏฐิทั้งปวงโดยความเปนสักกายทิฏฐิทั้งปวงแลว ยอมสําคัญหมายสักกายทิฏฐิทั้งปวง ยอมสําคัญหมายในสักกายทิฏฐิทั้งปวงยอมสําคัญหมายโดยความเปนสักกายทิฏฐิทั้งปวง ยอมสําคัญหมายสักกาย-ทิฏฐิท้ังปวงวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งสักกายทิฏฐิทั้งปวง. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดก าหนดรู. ยอมหมายรูพระนิพพาน โดยความเปนพระนิพพาน คร้ันหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพานแลว ยอมสําคัญหมายพระนิพพานยอมสําคัญหมายในพระนิพพาน ยอมสําคัญหมายโดยความเปนพระนิพพานยอมสําคัญหมายพระนิพพานวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งพระนิพพาน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาไมไดก าหนดรู. กําหนดภูมินัยท่ี ๑ ดวยอํานาจปุถุชน. (๓) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย แมภิกษุใด เปนเสขบุคคล ยังไมบรรลุพระอรหัตตผล เมื่อปรารถนาธรรมเปนแดนเกษมจากโยคะซึ่งไมมีธรรมอ่ืนยิ่งกวาอยู แมภิกษุนั้น ยอมหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดิน คร้ันหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดินแลว อยาสําคัญหมายธาตุดิน อยาสําคัญหมายในธาตุดิน อยาสําคัญหมายโดยความเปนธาตุดิน อยาสําคัญหมายธาตุดินวาของเรา ยอมยินดียิ่งซึ่งธาตุดิน ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ?เราตถาคตกลาววา เพราะเขาควรก าหนดรู. ยอมหมายรูธาตุน้ํา__ธาตุไฟ__ธาตุลม__สัตว__เทวดา__ปชาบดี-มาร__ พรหม__อาภัสสรพรหม __ สุภกิณหพรหม __ เวหัปผลพรหม __

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 9อสัญญีสัตว__อากาสานัญจายตนพรหม__วิญญาณัญจายตนพรหม__อากิญ- จัญญายตนพรหม__เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม__รูปที่ตนเห็น__ เสียงที่ตนฟง อารมณที่ตนทราบ __ ธรรมารมณที่ตนรูแจง__ ความที่สักกาย-ทิฏฐิเปนอันเดียวกัน __ความที่สักกายทิฏฐิตางกัน__สักกายทิฏฐิทั้งปวง. ยอมหมายรูพระนิพพาน โดยความเปนพระนิพพาน คร้ันหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพานแลว อยาสําคัญหมายพระนิพพานอยาสําคัญหมายในพระนิพพาน อยาสําคัญหมายโดยความเปนพระนิพพานอยาสําคัญหมายพระนิพพานวาของเรา อยายินดียิ่งซึ่งพระนิพพาน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร. ? เราตถาคตกลาววา เพราะเขาควรกําหนดรู. ก าหนดภูมินัยท่ี ๒ ดวยอํานาจเสขบุคคล. (๔) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย แมภิกษุใด เปนพระอรหันตขีณาสพอยูจบพรหมจรรย เสร็จกิจแลว ปลงภาระเสียแลว บรรลุถึงประโยชนตนแลว ส้ินกิเลสเครื่องประกอบสัตวไวในภพแลว หลุดพนดวยปญญาอันชอบแลว แมภิกษุนั้น ยอมหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดิน คร้ันหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดินแลว ยอมไมสําคัญหมายธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายในธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายโดยความเปนธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายธาตุดินวาของเรา ยอมไมยินดียิ่งซึ่งธาตุดิน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเธอก าหนดรูแลว. ยอมหมายรูธาตุน้ํา__ธาตุไฟ__ธาตุลม__สัตว__เทวดา__ปชาบดี-มาร__พรหม__อาภัสสรพรหม__สุภกิณหพรหม__เวหัปผลพรหม__อสัญญีสัตว__อากาสานัญจายตนพรหม__วิญญาณัญจายตนพรหม__อากิญจัญญายตนพรหม__เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม__รูปที่ตนเห็น__

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 10เสียงที่ตนฟง__อารมณ (กล่ิน รส โผฏฐัพพะ) ที่ตนทราบ__ธรรมารมณ ที่ตนรูแจง__ความที่สักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกัน__ความที่สักกายทิฏฐิตางกัน__สักกายทิฏฐิทั้งปวง. ยอมหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพาน คร้ันหมายรู พระนิพพานโดยความเปนพระนิพพานแลว ยอมไมสําคัญหมายพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายในพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายโดยความเปนพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายพระนิพพานวาของเรา ยอมไมยินดียิ่งซึ่งพระนิพพาน ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเธอก าหนดรูแลว. ก าหนดภูมินัยท่ี ๓ ดวยอํานาจพระขีณาสพ. (๕) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย แมภิกษุใด เปนพระอรหันตขีณาสพอยูจบพรหมจรรย เสร็จกิจแลว ปลงภาระเสียแลว บรรลุถึงประโยชนตนแลว ส้ินกิเลสเครื่องประกอบสัตวไวในภพแลว หลุดพนดวยปญญาอันชอบแลว แมภิกษุนั้น ยอมหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดิน คร้ันหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดินแลว ยอมไมสําคัญหมายธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายในธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายโดยความเปนธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายธาตุดินวาของเรา ยอมไมยินดียิ่งซึ่งธาตุดิน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะเธอปราศจากราคะ เหตุราคะสิ้นไป. ยอมหมายรูธาตุน้ํา__ธาตุไฟ__ธาตุลม__สัตว__เทวดา__ปชาบดี-มาร__พรหม__อาภัสสรพรหม__สุภกิณหพรหม__เวหัปผลพรหม__อสัญญีสัตว__อากาสานัญจายตนพรหม__วิญญาณัญจายตนพรหม__อากิญจัญญายตนพรหม__เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม__รูปที่ตนเห็น__

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 11เสียงที่ตนฟง__อารมณ (กล่ิน รส โผฏฐัพพะ) ที่ตนทราบ__ธรรมารมณ ที่ตนรูแจง__ความที่สักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกัน__ความที่สักกายทิฏฐิตางกัน__สักกายทิฏฐิทั้งปวง. ยอมหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพาน คร้ันหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพานแลว ยอมไมสําคัญหมายพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายโดยความเปนพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายพระนิพพานวาของเรา ยอมไมยินดียิ่งซึ่งพระนิพพาน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เพราะเธอปราศจากราคะเหตุราคะสิ้นไป. กําหนดภูมินัยท่ี ๔ ดวยอํานาจพระขีณาสพ. (๖) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย แมภิกษุใด เปนพระอรหัตขีณาสพอยูจบพรหมจรรย เสร็จกิจแลว ปลงภาระเสียแลว บรรลุถึงประโยชนตนแลว ส้ินกิเลสเครื่องประกอบสัตวไวในภพแลว หลุดพนดวยปญญาอันชอบแลว แมภิกษุนั้น ยอมหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดิน คร้ันหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดินแลว ยอมไมสําคัญหมายในธาตุดินยอมไมสําคัญหมายโดยความเปนธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายธาตุดินวาของเรา ยอมไมยินดีซ่ึงธาตุดิน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เพราะเธอปราศจากโทสะ เหตุโทสะสิ้นไป. ยอมหมายรูธาตุน้ํา__ธาตุไฟ__ธาตุลม__สัตว__เทวดา__ปชาบดี-มาร__พรหม__อาภัสสรพรหม__สุภกิณหพรหม__เวหัปผลพรหม__อสัญญีสัตว__อากาสานัญจายตนพรหม__วิญญาณัญจายตนพรหม__อากิญจัญญายตนพรหม__เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม__รูปที่ตนเห็น__

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 12เสียงที่ตนฟง__อารมณ (กล่ิน รส โผฏฐัพพะ) ที่ตนทราบ__ธรรมา- รมณที่ตนรูแจง__ความที่สักกายทิฎฐิเปนอันเดียวกัน__ความที่สักกายทิฏฐิตางกัน__สักกายทิฏฐิทั้งปวง. ยอมหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพาน คร้ันหมายรู พระนิพพานโดยความเปนพระนิพพานแลว ยอมไมสําคัญหมายพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายในพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายโดยความเปนพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายพระนิพพานวาของเรา ยอมไมยินดียิ่งซึ่งพระนิพพาน ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เพราะเธอปราศจากโทสะเหตุโทสะสิ้นไป. กําหนดภูมินัยท่ี ๕ ดวยอํานาจพระขีณาสพ. (๗) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย แมภิกษุใด เปนพระอรหันตขีณาสพอยูจบพรหมจรรย เสร็จกิจแลว ปลงภาระเสียแลว บรรลุถึงประโยชนตนแลว ส้ินกิเลสเครื่องประกอบสัตวไวในภพแลว หลุดพนดวยปญญาอันชอบแลว แมภิกษุนั้น ยอมหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดิน คร้ันหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดินแลว ยอมไมสําคัญหมายธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายในธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายโดยความเปนธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายธาตุดินวาของเรา ยอมไมยินดียิ่งซึ่งธาตุดิน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เพราะเธอปราศจากโมหะ เหตุโมหะสิ้นไป. ยอมหมายรูธาตุน้ํา__ธาตุไฟ__ธาตุลม__สัตว__เทวดา__ปชาบดี-มาร__พรหม__อาภัสสรพรหม__สุภกิณหพรหม__เวหัปผลพรหม__อสัญญีสัตว__อากาสานัญจายตนพรหม__วิญญาณัญจายตนพรหม__อากิญจัญญายตนพรหม__เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม__รูปที่ตนเห็น__

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 13เสียงที่ตนฟง__อารมณ ( กล่ิน รส โผฏฐัพพะ) ที่ตนทราบ__ธรรมารมณ ที่ตนรูแจง__ความที่สักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกัน ความที่สักกายทิฏฐิตางกัน__สักกายทิฏฐิทั้งปวง. ยอมหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพาน คร้ันหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพานแลว ยอมไมสําคัญหมายพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายในพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายโดยความเปนพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายพระนิพพานวาของเรา ยอมไมยินดียิ่งซึ่งพระนิพพาน ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เพราะเธอปราศจากโมหะเหตุโมหะสิ้นไป. ก าหนดภูมินัยท่ี ๖ ดวยอํานาจพระขีณาสพ. (๘) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย แมพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธ-เจา ทรงหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดินจริง คร้ันทรงหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดินจริงแลว ยอมไมทรงสําคัญหมายธาตุดิน ยอมไมทรงสําคัญหมายในธาตุดิน ยอมไมทรงสําคัญหมายโดยความเปนธาตุดิน ยอมไมทรงสําคัญหมายธาตุดินวาของเรา ยอมไมทรงยินดียิ่งซึ่งธาตุดิน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะธาตุดินนั้น พระตถาคตก าหนดรูแลว. ยอมทรงหมายรูธาตุน้ํา__ธาตุไฟ__ธาตุลม__สัตว__เทวดา__ปชาบดีมาร__พรหม__อาภัสสรพรหม__สุภกิณหพรหม__เวหัปผล-พรหม__อสัญญีสัตว__อากาสานัญจายตนพรหม__วิญญาญัญจายตนพรหม__อากิญจัญญายตนพรหม__เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม__รูปที่ตนเห็น__เสียงที่ตนฟง__อารมณ (กล่ิน รส โผฏฐัพพะ) ที่ตนทราบ__

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 14ธรรมารมณที่ตนรูแจง__ความที่สักกายทิฏฐิเปนอันเดียวกัน__ความที่ สักกายทิฏฐิตางกัน__สักกายทิฏฐิทั้งปวง. ยอมทรงหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพาน คร้ันทรงหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพานแลว ยอมไมทรงสําคัญหมายพระนิพพาน ยอมไมทรงสําคัญหมายในพระนิพพาน ยอมไมทรงสําคัญหมายโดยความเปนพระนิพพาน ยอมไมทรงสําคัญหมายพระนิพพาน ยอมไมทรงสําคัญหมายโดยความเปนพระนิพพาน ยอมไมทรงสําคัญหมายพระนิพพานวาของเรา ยอมไมทรงยินดียิ่งซึ่งพระนิพพาน ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เราตถาคตกลาววา เพราะพระนิพพานนั้น พระตถาคตทรงก าหนดรูแลว. ก าหนดภูมินัยท่ี ๗ ดวยอํานาจพระศาสดา. (๙) ดูกอนภิกษุทั้งหลาย แมพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธ-เจา ทรงหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดินจริง คร้ันทรงหมายรูธาตุดินโดยความเปนธาตุดินจริงแลว ยอมไมสําคัญหมายธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายธาตุในธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายโดยความเปนธาตุดิน ยอมไมสําคัญหมายธาตุดินวาของเรา ยอมไมยินดียิ่งซึ่งธาตุดิน. ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เพราะทรงทราบอยางนี้วา นันทิ ความเพลิดเพลินเปนมูลรากของทุกข เพราะภพจึงมีชาติ สัตวผูเกิดแลว ก็มีชรามรณะ ดวยประการอยางนี้ (จึงไมสําคัญธาตุดิน__). ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล พระตถาคตจึงตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะสิ้นตัณหา สํารอกตัณหา ดับตัณหา สละตัณหา สละคืนตัณหาเสียไดโดยประการทั้งปวง.

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 15 ยอมทรงหมายรูธาตุน้ํา__ธาตุไฟ__ธาตุลม__สัตว__เทวดา__ ปชาบดีมาร__พรหม__อาภัสสรพรหม__ สุภกิณหพรหม__ เวหัปผล-พรหม__อสัญญีสัตว__ อากาสานัญจายตนพรหม__วิญญาณัญจาตน-พรหม__อากิญจัญญายตนพรหม__วิญญาณัญจายตนพรหม__อากิญจัญ-ญายตนพรหม__เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม__รูปที่ตนเห็น__เสียงที่ตนฟง__อารมณ ( กล่ิน รส โผฏฐัพพะ) ที่ตนทราบ__ธรรมารมณที่ตนรูแจง__ความที่สักกายะทิฏฐิเปนอันเดียวกัน__ความที่สักกายะทิฏฐิตางกัน__สักกายะทิฏฐิทั้งปวง__. ทรงหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพาน คร้ันทรงหมายรูพระนิพพานโดยความเปนพระนิพพานแลว ยอมไมทรงสําคัญหมายพระนิพพาน ยอมไมทรงสําคัญหมายในพระนิพพาน ยอมไมทรงสําคัญหมายโดยความเปนพระนิพพาน ยอมไมสําคัญหมายพระนิพพานวาของเรายอมไมทรงยินดียิ่งซึ่งพระนิพพาน ขอนั้นเพราะเหตุอะไร ? เพราะทรงทราบอยางนี้วา นันทิ เปนมูลเหตุแหงทุกข และวา เพราะภพจึงมีชาติ สัตวเกิดแลวจึงมีชรามรณะ ดวยประการอยางนี้ (จึงไมสําคัญธาตุ ดิน__). ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล พระตถาคตจึงตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะสิ้นตัณหา สํารอกตัณหา ดับตัณหาสละตัณหา สละคืนตัณหาเสียได โดยประการทั้งปวง. กําหนดภูมินัยท่ี ๘ ดวยอํานาจพระศาสดา. พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสมูลปริยายนี้จบแลว ภิกษุเหลานั้นชื่นชมยินดีภาษิตของพระผูมีพระภาคเจา ฉะนี้แล. มูลปริยายสูตรท่ี ๑ จบ.

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 16 อรรถกถามูลปริยายสูตร เอวมฺเม สุต ฯเปฯ สพฺพธมฺมปริยาย บทนมัสการพระรัตนตรัย ขาพเจาขอวันทาพระสุคตเจา ผูมีความมืด คือ โมหะอันกําจัดแลวดวยแสงสวาง คือปญญา หลุดพนแลวจากคติ (ทั้งปวง) มีพระหฤทัยเยือกเย็นดวยพระกรุณา เปนครูแหงสัตวโลกทั้งมนุษยและเทวดา. แมองคพระพุทธเจาทรงเขาถึงซึ่งพระธรรมอันปราศจากมลทินใดจึงทรงทําใหเกิดและทําใหแจงซึ่งความเปนพระพุทธ ขาพเจาขอวันทาพระธรรมอันเลิศนั้น. ขาพเจาขอวันทาพระอริยสงฆ คือ ชุมนุมแหงพระอริยบุคคลทั้ง ๘ผูเปนพระบุตร เกิดแตพระอุระแหงพระสุคตเจา ผูย่ํายีมารและเสนามารเสียได. บุญอันสําเร็จดวยการวันทาพระรัตนตรัยของขาพเจา ผูมีใจเลื่อมใสดังนี้อันใด ดวยอานุภาพแหงบุญนั้น ขาพาเจาเปนผูมีอันตรายอันขจัดเสียไดดวยดีแลว อรรถกถาอันใดที่พระอรหันตผูเชี่ยวชาญ ๕๐๐ องคสังคายนา (รอยกรอง) ไวแตเบื้องแรก และที่พระสังคีติกาจารยทั้งหลายสังคายนา (รอยกรอง) เพิ่มเติมในภายหลังก็ดี เพื่อประกาศ (อธิบาย)เนื้อความแหงพระสูตร มัชฌิมนิกาย ในคัมภีรนี้ อันกําหนดหมายดวย

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 17พระสูตรขนาดกลาง (ไมยาวไมส้ัน) ที่พระพุทธองคพระสาวก กลาวสังวรรณนาไว ย่ํายีเสียไดซ่ึงลัทธิอ่ืน คร้ันแลวพระมหินทมหาเถระผูเชี่ยวชาญไดนํามาสูเกาะสีหล ฐาปนา (จารึก) ไวในภาษาสีหลเพื่อประโยชนแกชาวเกาะ ขาพเจาจักนําภาษาสีหลออกแลวยกขึ้นสูภาษาอันเปนที่ร่ืนรมยใจ สมควรที่จะเปนแบบแผนได ปราศจากโทษ (คือภาษามคธ) อีกทอดหนึ่ง ประกาศ (อธิบาย) เนื้อความมิใหขัดมติของพระเถระคณะมหาวิหารผูเปนประทีปแหงเถรวงศ มีการวินิจฉัยละเอียดดี โดยเวนความที่ซํ้า ๆ กันเสียบาง เพื่อความพอใจแหงสาธุชน และเพื่อความตั้งอยูนานแหงพระธรรม. สวนขอธรรม คือ สีลกถา ธุตธรรม (เร่ืองธุดงค) กรรมฐานทุกอยาง ฌานสมาบัติอยางพิสดาร พรอมทั้งจริยาวิธาน (แจงจริตของบุคคล) อภิญญาทั้งปวง การวินิจฉัย ปญญาทั้งสิ้น ขันธ ธาตุอายตนะ อินทรีย อริยสัจ ๔ การแสดง ปจจยาการ (คือ ปฏิจจ-สมุปบาท) มีนัยบริสุทธิ์ละเอียดดี พอเปนแบบที่เชื่อได และวิปสสนา-ภาวนา ทั้งปวง (นี้) ขาพเจาไดกลาวไวแลวในวิสุทธิมรรคอยางหมดจดดี เหตุใด เหตุนั้น ขาพเจาจักไมวิจารณขอธรรมทั้งปวงนั้นยิ่งขึ้นไปละ. วิสุทธิมรรคนั้น ขาพเจารจนาทําดวยคิดวา วิสุทธิมรรคจักตั้งอยูในทามกลางแหงนิกายทั้ง ๔ แลวประกาศเนื้อความตามที่ทานภาษิตไวในนิกายทั้ง ๔ นั้นได ดังนี้ เหตุนั้น ทานทั้งหลายจงถือเอาแมวิสุทธิมรรคนั้นพรอมทั้งอรรถกถานี้ ทราบเนื้อความแหงมัชฌิมสังคีติ (คือ มัชฌิม-นิกายทั้ง ๓ ปณณาสก) เถิด.

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 18 ศีลกถา ธุดงคธรรม กัมมัฏฐาน ความพิสดารของฌานและ สมาบัติ ซ่ึงประกอบดวยวิธีการคลอยตามจริต ๖ อภิญญาทั้งปวง คําวินิจฉัยที่ประมวลไวดวยปญญา ขันธ ธาตุ อายตนะ อินทรีย อริยสัจ ๔ปจจัยการเทศนาที่ไมนอกแนวพระบาลี มีนัยที่ช่ือวา มัชฌิมสังคีติ ในคําวา มชฺฌิมสงฺคีติยา นั้น วาโดยปณณาสก ไดแกการรวบรวมปณณาสก ๓ หมวด คือมูลปณณาสก มัชฌิมปณณาสก และอุปริ-ปณณาสก. วาโดยวรรค ไดแกการรวบรวมวรรคได ๑๕ วรรค เพราะแบงแตละปณณสกออกเปน ๕ วาโดยสูตร มี ๑๕๒ สูตร วาโดยบทมี๘๐,๕๒๓ บท เพราะเหตุนั้น พระโบราณาจารยจึงกลาวไววา ทานกลาวกําหนดบทไว ๘๐,๕๒๓ บทอยางนี้. แตวาโดยอักษรมี ๗๔๐,๐๕๓ อักษร. วาโดยภาณวาร มี ๘๐ภาณวาร และกึ่งภาณวารมี ๒๓ บท. วาโดยอนุสนธิโดยยอมี ๓ อนุสนธิคือ ปุจฉานุสนธิ อัชฌาสยานุสนธิ และ ยถานุสนธิ แตเมื่อวาโดยพิสดารในเรื่องนี้มี ๓,๙๐๐ อนุสนธิ. เพราะเหตุนั้น ทานโบราณาจารยทั้งหลายจึงกลาวไววา ทานประกาศนัยอนุสนธิแหงมัชฌิมปณณาสกเหลานั้นไว ๓,๙๐๐ อนุสนธิ. ในปณณาสกเหลานั้น มูลปณณาสก เปนปณณาสกตน. ในวรรคทั้งหลาย มูลปริยายวรรค เปนวรรคตน และในสูตรทั้งหลาย มูล-ปริยายสูตร เปนสูตรตน. อธิบายนิทานพจน (๑) คํานิทานวา เอวมฺเม สุต ที่ทานพระอานนทกลาวไวใน

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 19กาลปฐมมหาสังคีติ เปนเบื้องตนของมูลปริยายสูตรแมนั้น. ก็ปฐมมหา- สังคีตินี้ ทานกลาวไวพิสดารแลวในเบื้องตนแหงอรรถกถาทีฆนิกาย ช่ือสุมังคลวิลาสินี. เพราะฉะนั้น ปฐมมหาสังคีตินั้น บัณฑิตพึงทราบโดยนัยที่กลาวใหพิสดารแลวในอรรถกถาทีฆนิกายนั้นนั่นแล. อธิบาย เอวมฺเม สุต ก็คําวา เอวมฺเม สุต เปนตนนี้ เปนคําเริ่มตน. บรรดาบทเหลานั้น บทวา เอว เปนนิบาต. บทวา เม เปนตน เปนบทนาม.ในคําวา อุกฺกฏาย วิหรติ นี้ บัณฑิตพึงทราบการแยกบท โดยนัยนี้กอนวา บทวา วิ เปนบทอุปสรรค. บทวา หรติ เปนบทอาขยาต. แตโดยใจความ เอว ศัพท มีใจความแยกออกไดหลายอยางเปนตนวาอุปมา อุปเทส สัมปหังสนะ ครหณะ วจนสัมปฏิคคหะ นิทัสสนะอวธารณะ. จริงอยางนั้น เอว ศัพท นี้ มาในอรรถวา อุปมา ในประโยคเปนตนอยางนี้วา กุศลเปนอันมาก อันสัตวที่เกิดแลว พึงกระทําฉันนั้นดังนี้. มาในอรรถวา อุปเทส ในประโยคเปนตนวา อันทานพึงกาวไปอยางนี้ พึงถอยกลับอยางนี้ ดังนี้. มาในอรรถวา สัมปหังสนะ ในประโยคเปนตนวา พระผูมีพระภาคเจาตรัสคํานี้ไวอยางนี้, พระสุคตเจาตรัสคํานี้ไวอยางนี้. มาในอรรถวา ครหณะ ในประโยคเปนตนวา ก็คนถอยนี้กลาวสรรเสริญคุณพระสมณะศีรษะโลนนั้น อยางนี้ ๆ ในทุก ๆ ที่ ดังนี้.

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 20 มาใน วจนสัมปฏิคคหะ ในประโยคเปนตนวา ภิกษุเหลานั้นแล ทูลรับพระผูมีพระภาคเจาวาอยางนั้น พระเจาขา ดังนี้. มาในอรรถวา อาการ ในประโยคเปนตนวา ทานผูเจริญขาพเจาทราบชัดพระธรรมที่พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงแลวดวยอาการอยางนี้. มาในอรรถวา นิทัสสนะ ในประโยคเปนตนวา ดูกอนมาณพทานจงมา จงเขาไปหาทานอานนท ผูสมณะถึงที่อยู คร้ันเขาไปหาแลวจงถามความไมเจ็บไข ความมีโรคนอย ความคลองตัว กําลัง และการอยูผาสุกกะทานพระอานนทผูสมณะ ตามคําของเรา และจงกลาวอยางนี้วา สุภมาณพ โตเทยยบุตร ยอมถามถึงความไมเจ็บไข ฯลฯ การอยูผาสุกกะทานพระอานนทผูเจริญ ดังนี้. นัยวา เปนการดีที่ทานพระอานนทผูเจริญอาศัยความอนุเคราะหเขาไปหาสุภมาณพ โตเทยยบุตรถึงที่อยู ดังนี้. มาในอรรถวา อวธารณะ ในประโยคเปนตนวา ดูกอนกาลามะทั้งหลาย พวกเธอจะสําคัญความขอนั้นเปนไฉน ? ธรรมเหลานี้เปนกุศลหรืออกุศล ? เปนอกุศล พระเจาขา. มีโทษหรือไมมีโทษ ? มีโทษ พระเจาขา.บัณฑิตติเตียนหรือสรรเสริญ ? ติเตียน พระเจาขา. ธรรมทั้งหลายที่ตนสมาทานใหบริบูรณ ยอมเปนไปเพื่อส่ิงไมใชประโยชน และเปนทุกขยอมมีแกขาพระองคทั้งหลายในขอนี้อยางนี้. เอว ศัพทนี้นั้น ในที่นี้ บัณฑิตพึงทราบวา (ใช) ในอรรถวา

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 21อาการะ นิทัสสนะ อวธารณะ ใน ๓ อยางนั้น พระอานนทแสดงความ นี้ดวย เอว ศัพท ซ่ึงมีอาการะเปนอรรถวา ใคร ๆ สามารถจะทราบพระดํารัสของพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ซ่ึงละเอียดออนดวยนัยตาง ๆ เกิดขึ้นดวยอัธยาศัยอันกวางขวางสมบูรณดวยอรรถและพยัญชนะมีปฏิหาริยหลากหลาย ลึกซึ้งโดยธรรม โดยอรรถ โดยเทศนา แลโดยปฏิเวธ มาสูโสตประสาทของสัตวทั้งปวง โดยสมควรแกภาษาของตน ๆ โดยประการทั้งปวง และทั้งใหเกิดความอยากฟงโดยเต็มกําลังขาพเจาไดฟงมาแลวอยางนี้ คือ แมขาพเจาไดฟงมาแลวดวยอาการอยางหนึ่ง. พระอานนทเถระเมื่อจะออกตัวดวยอรรถวา ช้ีแจงวา ขาพเจาไมใชสยัมภู สูตรนี้ขาพเจาไมไดทําใหแจง จึงแสดงสูตรทั้งสิ้นที่จะตองกลาวในบัดนี้วา ขาพเจาไดฟงอยางนี้ คือวา แมขาพเจาไดฟงมาแลวอยางนี้. พระอานนทเถระเมื่อจะแสดงกําลัง คือความทรงจําของตนที่สมควรแกภาวะที่พระผูมีพระภาคเจาทรงสรรเสริญอยางนี้วา ภิกษุทั้งหลาย บรรดาภิกษุสาวกของเราที่ทรงพหูสูต คืออานนท บรรดาอุปฏฐาก ที่มีคติ มีสติ มีธิติ คืออานนท และที่พระธรรมเสนาบดีสรรเสริญอยางนี้วา ทานอานนท ฉลาดในอรรถ ในธรรม ในพยัญชนะ ในภาษาและในอักษร เบื้องตนและเบื้องปลาย ยังสัตวทั้งหลายเกิดความอยากฟงดวยอรรถวา อวธารณะ วาขาพเจาไดฟงมาเทานี้ และสูตรนั้นแล ไมยิ่งไมหยอน โดยอรรถหรือพยัญชนะ พึงเห็นวาอยางนี้เทานั้น ไมพึงเห็นเปนอยางอื่น ดังนี้. เม ศัพท ปรากฏในอรรถ ๓ อยาง. จริงอยางนั้น เม ศัพทนั้นมีความหมายวา มยา (อันเรา) ในประโยคเปนตนวา โภชนะที่

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 22ไดมาดวยการขับกลอม เราไมควรบริโภค. มีความหมายวา มยฺห (แกเรา) ในประโยคเปนตนวา ขาแตพระองคผูเจริญ ขอประทานวโรกาส ขอพระผูมีพระเจาทรงแสดงธรรมแกขาพระองคแตโดยยอเถิด. มีความหมายวา มม ( ของเรา ) ในประโยคเปนตนวา ภิกษุทั้งหลาย ขอใหพวกเธอจงเปนธรรมทายาทของเราเถิด ดังนี้. แตในที่นี้ เม ศัพท ใชในอรรถ ๒ อยางวา อันขาพเจาไดฟงมา และวา สุตะ ของเรา ดังนี้. สุตะ ศัพท ในคําวา สุต นี้ มีอุปสรรค และไมมีอุปสรรคมีเนื้อความหลายอยางเปนตนวา คมน (การไป) วิสฺสุต (ปรากฏ)กิลินฺน (เปยก) อุปจิต (ส่ังสม) อนุโยค (ประกอบเนือง ๆ)โสตวิฺเยฺย (รูทางหู) โสตทวารานุสารวิญญาณ (รูตามกระแสทางหู). จริงอยางนั้น สุตะ ศัพทนั้น มีความหมายวา ไป ในประโยคเปนตนวา ไปแลวโดยเสนา. มีความหมายวา มีธรรมอันตนสดับตรับฟงแลวอยางแจมแจง ในประโยคเปนตนวา. ผูสดับธรรมแลวเห็น ( ธรรม) อยู. มีความหมายวา เปยกชุม ของบุคคลผูเปยกชุม ในประโยคเปนตนวา เปยกชุมของบุคคลผูเปยกชุม. มีความหมายวา สะสม ในประโยคเปนตนวา บุญมิใชนอย อันทานทั้งหลายสะสมแลว. มีความหมายวา ประกอบเนือง ๆ ในฌานเนือง ๆ ในประโยค

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 23เปนตนวา. นักปราชญเหลาใด ผูขวนขวายในฌาน. มีความหมายวา เสียงท่ีจะพึงทราบทางโสตประสาท ในประโยคเปนตนวา เห็นแลว ฟงแลว ทราบแลว. มีความหมายวา ทรงความรูคลอยตามโสตทวาร ในประโยคเปนตนวา ทรงไวซ่ึงสุตะ และสะสมสุตะ. แตในที่นี้ สุตะศัพทนั้นมุงเอาความหมายวา ทรงจํา หรือ ความทรงจํา ตามแนวแหงโสตทวารจริงอยู เมื่อ เม ศัพท มีเนื้อความเทากับ มยา ยอมประกอบความไดวา ขาพเจาไดสดับมา คือ ทรงจํา ตามแนวแหงโสตทวาร อยางนี้มีเนื้อความเทากับ มม ยอมประกอบความไดวา การสดับของขาพเจาคือ ความทรงจําตามแนวแหงโสตทวารของขาพเจาอยางนี้. ในบททั้ง ๓ เหลานั้น ดังกลาวมานี้ คําวา เอว เปนการแสดงกิจแหงวิญญาณ มีโสตวิญญาณเปนตน. คําวา เม เปนการแสดงบุคคลผูมีความพรอมเพรียงดวยวิญญาณดังกลาวแลว, คําวา สุต เปนการแสดงการถือเอาที่ไมผิด ไมหยอน ไมยิ่ง เพราะหามการไมฟง. อนึ่งคําวา เอว เปนการประกาศความเปนไปในอารมณ แหงวิงญาณวิถีที่เปนไปตามแนวแหงโสตทวารนั้น โดยประการตาง ๆ คําวา เม เปนการประกาศตน. คําวา สุต เปนการประกาศธรรมะ. จริงอยู ในคําวา เอวมฺเม สุต นี้ มีความยอดังตอไปนี้วา ขาพเจา ไมทํากิจอื่นแหงวิญญาณวิถีที่เปนไปแลวในอารมณโดยประการตาง ๆ แตขาพเจาทํากิจนี้, ธรรมนี้ขาพเจาฟงแลว. อนึ่ง คําวา เอว เปนการประกาศคําที่จะพึงแถลงไข. คําวา เมเปนการประกาศบุคคล. คําวา สุต เปนการประกาศกิจแหงบุคคล. มี

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 24คําอธิบายไวดังนี้วา พระสูตรที่ขาพเจาจักแสดง ขาพเจาไดฟงมาแลว อยางนี้. อนึ่ง คําวา เอว เปนการไขอาการตาง ๆ ของจิตสันดานที่มีการถือเอาอรรถและพยัญชนะตางๆ โดยการเปนไปโดยประการตาง ๆ กัน. จริงอยู ศัพทวา เอว นี้ เปนการบัญญัติอาการ, ศัพทวา เมเปนการแสดงกัตตา ( ผูทํา). ศัพทวา สุต เปนการแสดงวิสัย. ดวยการอธิบายเพียงเทานี้ ยอมเปนอันทําการสันนิษฐานไดวา ดวยจิต-สันดานที่เปนไปโดยประการตาง ๆ กัน พระเถระผูประกอบดวยจิต-สันดานนั้นจึงเปนกัตตา และรับอารมณได. อีกอยางหนึ่ง ศัพทวา เอว เปนการแสดงกิจแหงบุคคล. ศัพทวา สุต เปนการแสดงกิจแหงวิญญาณ. ศัพทวา เม เปนการแสดงถึงบุคคลที่ประกอบดวยกิจทั้ง ๒. ก็ในคําวา เอวมฺเม สุต นี้ มีความยอวา ขาพเจาไดฟงมาโดยโวหารแหงสวนกิจที่ไดดวยอํานาจแหงวิญญาณโดยบุคคลที่พรอมเพรียงดวยสวนกิจและวิญญาณกิจ. บรรดาบทเหลานั้น บทวา เอว เปนอวิชชมานบัญญัติ โดยอรรถวา แจมแจง และบทวา เม เปนอวิชชมานบัญญัติ โดยปรมัตถก็ในขอนี้ยังมีขอพิเศษอยูอีก คือ ขอที่พระเถระพึงไดการแถลงไขวาเอว หรือ เม มีอยูโดยปรมัตถ. บทวา สุต เปนวัชชมานบัญญัติ.อธิบาย ในบทวา สุต นี้ อารมณที่ไดทางโสตนี้ มีอยูโดยปรมัตถแล. อนึ่ง บทวา เอว และ เม จัดเปน อุปาทาบัญญัติ เพราะพระเถระกลาวหมายเอาธรรมที่มากระทบโสต และขันธที่นับเนื่องในสันดานของตนนั้น. บทวา สุต เปนอุปนิธาบัญญัติ เพราะพระเถระกลาวพาดพิงสิ่งที่เห็นแลวเปนตน.

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 25 อนึ่ง ในขอนี้ พระเถระแสดงความไมโงเขลา ดวยคําวา เอว อธิบายวา ผูโงเขลายอมไมสามารถแทงตลอดโดยประการตาง ๆ ได.ดวยคําวา สุต พระเถระแสดงความไมหลงลืมพระพุทธพจนที่ไดฟงมาแลว อธิบายวา สุตะ ที่ผูใดหลงลืมแลว ผูนั้นยอมนึกไมออกวาเราไดฟงมาแลวโดยกาลอื่น. ความสําเร็จแหงปญญาของพระเถระนั้น ยอมมีได เพราะความไมโงเขลา สวนความสําเร็จแหงสติ ยอมมีไดเพราะความไมหลงลืม. บรรดา ๒ อยางนั้น ความสามารถในการทรงจําพยัญชนะ มีไดดวยสติ มีปญญาเปนตัวนํา ความสามารถในการเขาใจอรรถ มีไดดวยปญญามีสติเปนตัวนํา ความสําเร็จเปนขุนคลังแหงธรรม โดยสามารถในการเก็บรักษาคลัง ธรรมที่ถึงพรอมดวยอรรถและพยัญชนะมีไดเพราะประกอบดวยความสามารถทั้ง ๒ อยางนั้น. อีกนัยหนึ่ง ดวยคําวา เอว ทานพระเถระแสดงการทําไวในใจโดยแยบคาย เพราะบุคคลผูทําไวในใจโดยไมแยบคาย จะไมมีการแทงตลอดประการตาง ๆ. ดวยคําวา สุต ทานแสดงความไมฟุงซาน เพราะบุคคลผูมีจิตฟุงซานจะไมเปนอันฟง. จริงอยางนั้น บุคคลที่มีจิตฟุงซานแมถูกบอกดวยคุณสมบัติทุกอยาง ก็ยังกลาววา ขาพเจาฟงไมถนัด ขอทานพูดอีกที. ก็ในขอนี้ เพราะการฟงโดยการทําไวในใจโดยแยบคายบุคคลยอมยังการตั้งตนไวโดยชอบ และความเปนผูมีบุญทําไวในปางกอนใหสําเร็จได เพราะบุคคลผูมิไดตั้งตนไวโดยชอบ และไมไดทําบุญไวในปางกอน ไมมีการทําไวในใจโดยแยบคายนั้น เพราะความไมฟุงซานบุคคลจึงยังการฟงพระสัทธรรม และการเขาไปคบสัตบุรุษใหสําเร็จ.จริงอยู บุคคลผูมีจิตฟุงซาน ไมอาจที่จะฟง (ธรรมได) และการฟง

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 26(ธรรม) ยอมไมเกิดมีแกบุคคลผูไมเขาไปพบสัตบุรุษ. อีกนัยหนึ่ง เพราะเหตุที่ทานกลาวไววา บทวา เอว เปนบทแสดงอาการตาง ๆ ของจิตสันดานที่มีการรับเอาอรรถและพยัญชนะ โดยเปนไปโดยประการตางๆ กัน. และอาการที่ดีอยางนี้นั้น ยอมไมมีแกบุคคลผูไมตั้งตนไวชอบ หรือมิไดทําบุญไวในปางกอน. ฉะนั้น ทานแสดงความถึงพรอมแหงจักรทั้ง ๒ ขางทายของตน ดวยอาการอันเจริญนี้ ดวยบทวาเอว ทานแสดงความถึงพรอมแหงจักรทั้ง ๒ ขางตนของตน ดวยบทวาสุต . จริงอยู การฟง (ธรรม) ยอมไมเกิดมีแกผูอยูในประเทศที่ไมสมควร หรือผูเวนจากการคบหากับสัตบุรุษ. ความบริสุทธิ์แหงอาสวกิเลสยอมสําเร็จแกบุคคลนั้น เพราะความสําเร็จแหงจักรทั้ง ๒ ขางทาย ความบริสุทธิ์แหงปโยคสมบัติ ยอมมีเพราะความสําเร็จแหงจักรทั้ง ๒ ขางตนดวยประการฉะนี้. อนึ่ง ความสําเร็จแหงความฉลาดในอธิคม (ปฏิเวธ) ยอมมีแกบุคคลนั้น เพราะความบริสุทธิ์แหงอาสวกิเลส ความสําเร็จแหงความฉลาดในอาคม (ปริยัติ) ยอมมีเพราะความบริสุทธิ์แหงปโยคสมบัติ (ความเพียร) พระเถระเมื่อจะเรียงนิทานพจนไวในฐานะที่เหมาะสม คําของทานผูถึงพรอมดวยอาคมและอธิคม ผูมีอาสวกิเลสบริสุทธิ์ดวยปโยคสมบัติยอมควร เปนพระดํารัสของพระผูมีพระภาคเจา ดุจแสงเงินแสงทองขึ้นนําพระอาทิตยที่ก าลังอุทัยอยู และดุจการทําไวในใจโดยแยบคาย เปนตัวนํา (การทํา) กุศลกรรม จึงกลาวคําเปนตนวา เอวมฺเม สุต ดังนี้. อีกนัยหนึ่ง ดวยคํานี้วา เอว ทานพระเถระแสดงสภาวะคือความถึงพรอมแหงอัตถปฏิสัมภิทาและปฏิภาณปฏิสัมภิทาของตน ดวยคํา

  • พระสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 27ที่แสดงถ�