36
รรรรรรรรรรร: รรร.รรรร-รรร รรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรร: รร / รรรรรร / .. รรรร แแแแแแแแแแแแแแแแแ แแแแแแแ 1: แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ 1. แแแแแแแแแแแ 1.1 รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรแแแแแแแแแแแ รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร 1.2 แแแแแแแแแแแแแ รรรรรร รรร: รรร.รรร 2 รรร. รร. รรร. 1.3 แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ รรรรรร - รรรรรรร 3 รรรร/รรร - รรร - รรรรร/รรรร รรรรรร รรรรรร/รรร รรรรรร รรรรรรร รรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรร 77110 รรรรรรรร - รรรรรรรรรรร 098-9900401 รรรรรร Email [email protected] website 1.4 รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรร รรรรรรรร รรรร แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ : 80 รรรรรรรร แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ 1.5 รรรรรรร แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ : 20 รรรรรรรร แแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแแ รรรรร รรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรร 1

dekthaikamsai.com · Web viewรหัสโครงการ: ศรร.๑๒๑๒-๐๓๖สำหรับเจ้าหน้าที่วันที่: ๓๐ / เมษายน

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

(รหัสโครงการ: ศรร.๑๒๑๒-๐๓๖สำหรับเจ้าหน้าที่วันที่: ๓๐ / เมษายน / พ.ศ. ๒๕๕๙)

แบบข้อเสนอโครงการ

ส่วนที่ 1: ข้อมูลพื้นฐานผู้เสนอโครงการ

1. ชื่อโครงการ

1.1 โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ

โรงเรียนบ้านทุ่งยาวจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

1.2 ข้อมูลพื้นฐาน

สังกัดสพฐ: สพป.เขต2อปท.สช.กทม.

1.3 สถานที่ที่ตั้งโรงเรียนและการติดต่อ

เลขที่-หมู่ที่3 ตรอก/ซอย-ถนน-

ตำบล/แขวงทับใต้อำเภอ/เขตหัวหินจังหวัดประจบคีรีขันธ์รหัสไปรษณีย์77110

โทรศัพท์-เบอร์มือถือ098-9900401โทรสาร

[email protected]

1.4 โรงเรียนตั้งอยู่ในพื้นที่ลักษณะใด

ในเขตเมือง ชานเมืองชนบท

ระยะทางจากโรงเรียนถึงจังหวัด : 80กิโลเมตรเดินทางโดยรถยนต์ประมาณ1.5ชั่วโมง

ระยะทางจากโรงเรียนถึงอำเภอ : 20กิโลเมตรเดินทางโดยรถยนต์ประมาณครึ่งชั่วโมง

รถยนต์สามารถเข้าถึงได้ทุกฤดูกาลหรือไม่ได้

1.5 ขนาดของพื้นที่ขนาดพื้นที่โรงเรียน : 16ไร่งานตรว. พื้นที่ทำเกษตรโรงเรียน : 1ไร่งานตรว.1.6 จำนวนบุคลากรและขนาดโรงเรียนนักเรียน156คน ครูและบุคลากร13คน

กลุ่มเป้าหมายหลักที่เป็นนักเรียนแบ่งตามระดับใช้เรียน

อนุบาล

.............37............ คน

ประถมศึกษา

...........119.............. คน

มัธยมศึกษา

......................... คน

โรงเรียนขนาดเล็ก (ไม่เกิน 120 คน) โรงเรียนขนาดกลาง(ตั้งแต่ 121-300 คน)โรงเรียนขนาดใหญ่ (มากกว่า300 คนขึ้นไป)

1.7 โรงเรียนเคยดำเนินงานโครงการที่เกี่ยวข้องด้านอาหารและโภชนาการใดบ้าง (นับแต่ พศ.2556 – ปัจจุบัน)

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับ......เหรียญเงิน.......................

โครงการเด็กไทยสุขภาพดี

โครงการเด็กอ่อนหวาน

โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม

โรงเรียนอาหารปลอดภัย ปลอดโรค

โรงเรียน อย. น้อย

โครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการโภชนาการสมวัย

โครงการเด็กกินอิ่มเรายิ้มได้

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกาย

โครงการการส่งเสริมสุขภาพฟันและอนามัยช่องปาก

อื่นๆ (โปรดระบุ)

2.ภาคี/องค์กร/ชุมชน/ผู้ปกครอง ที่ร่วมสนับสนุนการดำเนินงานด้านพัฒนาสุขภาพ

ลำดับที่

ชื่อหน่วยงาน/ชุมชน/ผู้ปกครอง

บทบาทหน้าที่

1.

องค์การบริหารส่วนตำบลทับใต้

สนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน

2.

อนามัยทับใต้

ดูแลเรื่องสุขภาพและสุขภาพฟันในช่องปากให้กับนักเรียน

3.

ผู้ปกครอง

ให้ความร่วมมือและเป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องการเกษตร

4.

ส.อบต. ผู้ใหญ่บ้าน และชุมชน

ให้ความร่วมมือให้คำปรึกษาเสนอแนะในกิจกรรม

3. ผู้รับผิดชอบโครงการ

** ผู้รับผิดชอบโครงการ หมายถึงผู้ผู้บริหารโรงเรียน

1. ชื่อ-สกุล ผู้รับผิดชอบโครงการนางอมรรัตน์ เถื่อนทอง

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก 3-7706-00817-31-6

ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

บทบาทหน้าที่ในโครงการรับผิดชอบโครงการ ให้คำแนะนำ เป็นที่ปรึกษา ให้ความสะดวกในการจัดกิจกรรมรวมถึงจัดวัสดุอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมแต่ละกิจกรรม

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก-ต่อ -

*เบอร์มือถือ081-1936063* [email protected]

ที่อยู่ตามบัตรประจำตัวประชาชน

เลขที่425/42หมู่ที่2 ตรอก/ซอย-ถนน-

ตำบล/แขวงวังก์พงอำเภอ/เขตปราณบุรีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์รหัสไปรษณีย์ 77110

ที่อยู่ปัจจุบัน : เหมือนที่อยู่ตามบัตรประชาชน (ไม่ต้องให้ข้อมูลแล้ว) ไม่เหมือน (ต้องให้ข้อมูล)

อาคาร/หมู่บ้าน

เลขที่หมู่ที่ตรอก/ซอยถนน

ตำบล/แขวงอำเภอ/เขตจังหวัด

รหัสไปรษณีย์

2. ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยผู้รับผิดชอบโครงการนางสาวดารารัตน์ ทัพโต

ตำแหน่งครู คศ.1

บทบาทหน้าที่ในโครงการรับผิดชอบโครงการ ดำเนินงานตามโครงการ ประเมิน สรุปโครงการ

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก -ต่อ -

*เบอร์มือถือ098-9900401โทรสาร-* [email protected]

4. รายชื่อผู้ดำเนินโครงการ/คณะทำงาน (ผู้รับผิดชอบหลักอย่างน้อย 2 คน)

บุคคลที่ 1

ชื่อ-สกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก----

ตำแหน่ง

บทบาทหน้าที่ในโครงการ

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวกต่อ*เบอร์มือถือ

โทรสาร* Email

บุคคลที่ 2

ชื่อ-สกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก

ตำแหน่ง

หน้าที่ในโครงการ

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก-ต่อ*เบอร์มือถือ

โทรสาร-* Email-

บุคคลที่ 3

ชื่อ-สกุลนางสาวอโนชา สุขผล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก 3-7707-00067-02-5

ตำแหน่งครูคศ.2

หน้าที่ในโครงการรับผิดชอบด้านการเงิน-การบัญชี

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก-ต่อ -*เบอร์มือถือ089-5205852* Emailanochasukphon @ gmail.com

*บุคคลที่ 4-6 (ต้องมาจากองค์กรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่/ชุมชน เช่น รพ.สต/อปท./ผู้แทนชุมชน/ ผู้นำทางศาสนา/ สมาคมผู้ปกครอง/เอกชน หรือที่เรียกชื่ออย่างอื่นเป็นต้น)

ชื่อ-สกุล

เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก----

ตำแหน่ง

บทบาทหน้าที่ในโครงการ

เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวกต่อ*เบอร์มือถือ

โทรสาร* Email

โครงสร้างการบริหารโครงการของโรงเรียน (โปรดระบุ)

(แสดงตัวอย่างแผนผังการทำงานและผู้รับผิดชอบ รวมทั้งฝ่ายการเงิน) สามารถปรับได้ตามความเหมาะสม

(ผู้รับผิดชอบโครงการนางอมรรัตน์ เถื่อนทอง(ผอ.)) ((ชื่อ)ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง)

(ผู้ช่วยผู้รับผิดชอบโครงการนางสาวดารารัตน์ ทัพโต) ((ชื่อ)ชุมชน)

((ชื่อ)ชมรม/ผู้ปกครอง)

(การติดตามภาวะโภชนาการนางสาวดารารัตน์ ทัพโต) (การจัดบริการอาหารในโรงเรียนนางอัจฉรา อภิรักษ์ชัยพร) (สหกรณ์นักเรียนนาสาวดารารัตน์ ทัพโต) (กิจกรรมการเกษตรในโรงเรียนนางสาวอโนชา สุขผลกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียน)

(การจัดการเรียนรู้ :เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัยนายจักกฤษณ์ ฉัตรไธสง) (การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะนางมัลลิกา ชิตมณี) (การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนนางระหงส์ ดีล) (การจัดบริการสุขภาพนางสาวชลธิชา น้อยวิจิตร)

ส่วนที่ 2:รายละเอียดข้อเสนอโครงการ

5. หลักการและเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ 8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ

สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544 พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น

จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านทุ่งยาวจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้

รายละเอียดผลการดำเนินงาน

กิจกรรม

ผลการดำเนินงาน

1.กิจกรรมพืชผักสวนครัวสู่อาหารกลางวัน

นักเรียนได้รับประทานผักที่ได้ปลูกจากโรงเรียนอย่างเพียงพอและปลอดสารพิษนักเรียนมีความภูมิใจในผักที่นักเรียนปลูกและนำมาเป็นอาหารกลางวัน

2.กิจกรรมการเลี้ยงไก่

นักเรียนได้ทานไข่ที่เกิดจากการเลี้ยงไก่อย่างเพียงพอ และยังนำไปจำหน่ายให้กับผู้ปกครองที่เหลือจากโครงการอาหารกลางวัน

3.กิจกรรมการเลี้ยงปลา

การเลี้ยงปลาในบ่อธรรมชาติซึ่งบ่อปลา อยู่ข้างล่างเล้าไก่

เมื่อถึงเวลาจับก็นับมาเข้าโครงการอาหารกลางวัน

4.กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน

นำผลผลิตจากการปลูกผักสวนครัว ไข่ไก่ และปลา ผ่านสหกรณ์ แล้วสหกรณ์จำหน่ายเข้าโครงการอาหารกลางวัน เงินทุนหมุนเวียน และจะมีเงินปันผลสิ้นปีการศึกษา

5.กิจกรรมแอโรบิคยามเช้า

กิจกรรมแอโรบิคยามเช้า นักเรียนมีความสนุกสนานและนักเรียนมีร่างกายสมส่วนภาวะโรคอ้วนน้อยลงสุขภาพร่างกายแข็งแรง

สรุปสถานการณ์ด้านอาหาร และโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อนที่จะมีโครงการเด็กไทยแก้มใส จากการสังเกตนักเรียนจะไม่ทานผัก แต่หลังจากมีโครงการนี้ขึ้นนักเรียนกินผักมากขึ้นพร้อมทั้งโภชนาการทางอาหารดีขึ้นนักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงสมส่วน ภาวะโรคอ้วนน้อยลง และนักเรียนที่มีสุขภาพที่ไม่ตามเกณฑ์หมดไป

กิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม ทุกกิจกรรมเห็นผลได้จากตัวนักเรียนที่เราประสบความสำเร็จ รวมถึงเรื่องการจัดตั้งสหกรณ์นักเรียนขึ้น ที่เราได้เห็นเป็นรูปธรรม ที่ได้รับรางวัลจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นโรงเรียนต้นแบบการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์

6. กรอบแนวคิดหลักการดำเนินงานตามรอยพระยุคลบาทฯ (Conceptual Framework)

(เด็กเป็นผู้ลงมือทำเองสถานศึกษาเป็นฐานของการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนความร่วมมือของหน่วยงานในการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีให้โรงเรียน)

อธิบายกรอบแนวคิดหลักของโรงเรียนที่จะประยุกต์ใช้ ดังนี้

การจัดทำการเกษตรในโรงเรียนสู่การเรียนรู้ในบทเรียนและการปรับใช้ในชีวิตประจำวัน รวมถึงสหกรณ์นักเรียนให้นักเรียนได้เรียนรู้ถึงความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ การเสียสละ และการประหยัด เมื่อได้เรื่องการเกษตรก็สู่นักเรียนในเรื่องสุขภาพ นักเรียนได้รับประทานในสิ่งที่นักเรียนปลูกเอง ปลอดสารพิษ ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง สมส่วนตามวัย รวมถึงนักเรียนได้ออกกำลังกาย

ดังนั้น โรงเรียนบ้านทุ่งยาว จึงได้เสนอแผนการพัฒนาของโรงเรียนร่วมกับชุมชน เพื่อต่อยอดการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสจากปีที่1โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจร มาปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนต่อยอดให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องอย่างยั่งยืน ตามผลที่คาดหวังของโครงการ

กิจกรรมที่โรงเรียนสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับโรงเรียนอื่นมีดังนี้

1. กิจกรรมพืชผักสวนครัวสู่อาหารกลางวัน

โรงเรียนสามารถให้คำแนะนำและวิธีการดำเนินงานในการทำเกษตรที่ได้ผลผลิตให้กับนักเรียนได้รับประทานและมีความเพียงพอกับนักเรียนตลอดจนทำให้นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษและนักเรียนเกิดความภาคภูใจในสิ่งที่นักเรียนปลูกและสามารถนำมารับประทานได้

2. กิจกรรมการเลี้ยงไก่ไข่

นักเรียนสามารถให้ความรู้ในเรื่องการให้เลี้ยง การให้อาหารไก่ ตลอดจนการเก็บไข่ ในการเลี้ยงไก่ไข่ในโรงเรียนทำให้นักเรียนมีไข่ไก่ที่ผลิตเองในโรงเรียนได้กินอย่างต่อเนื่องและมีปริมาณที่เพียงพอกับจำนวนนักเรียนและยังสามารถจำหน่ายให้กับผู้ปกครองในราคาที่ถูกกว่าท้องตลอด

3. กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน

สามารถให้คำแนะนำในการจัดทำสหกรณ์ในโรงเรียน ซึ่งสหกรณ์โรงเรียนไม่ใช่ร้านค้าที่จะขายพวกเครื่องเขียน หรือขนมอย่างเดียว และคำว่าสหกรณ์ในโรงเรียนคือการนำผลผลิตในโรงเรียนมาจำหน่ายผ่านสหกรณ์และลงสู่โครงการอาหารกลางวันของนักเรียน รวมถึงเรื่องการออมทรัพย์ ที่ฝึกให้นักเรียนรู้จักการประหยัดการออม สหกรณ์โรงเรียนยังเป็นการฝึกให้นักเรียนมีความรับผิดชอบ การเสียสละ ความซื่อสัตย์ ฯลฯ

4. กิจกรรมแอโรบิคยามเช้า

กิจกรรมยามเช้าเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่เราสามารถทำได้ทุกวัน

ในช่วงกิจกรรมหน้าเสาธง โดยทำทุกวันให้เกิดเป็นกิจวัตรประจำวัน

ทำให้นักเรียนเกิดความสนุก ความรักในสุขภาพของตนเอง

7. วัตถุประสงค์ของโครงการ

7.1 วัตถุประสงค์ทั่วไป

เพื่อพัฒนาโรงเรียนบ้านทุ่งยาวให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ผู้ปกครองและโรงเรียนในพื้นที่ตำบลทับใต้ หรือ อำเภอหัวหินและอำเภอปราณบุรีจำนวน 2โรงเรียนได้แก่ โรงเรียนบ้านวังยาว โรงเรียนคอกช้าง ในการเจริญรอยตามพระยุคลบาทสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีด้านเกษตร-อาหาร-โภชนาการ-สุขภาพ แบบบูรณาการภายในปี 2560

7.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ

7.1. เพื่อแก้ปัญหานักเรียนทุพโภชนาการ และนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน

7.2. เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70อย่างยั่งยืน

7.3. เพื่อน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาใช้เป็นหลักในการดำเนินชีวิต

7.3 ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ

นักเรียนเจริญเติบโตสมวัยโดยมี

ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกิน ....15....%

ภาวะผอมไม่เกิน ....10....%

ภาวะเตี้ยไม่เกิน ....10...%

ดูส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ(กรณีที่ภาวะโภชนาการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.5 ต่อปี)

นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ยผัก วันละประมาณ ...390......กรัม อนุบาล ..2.....ช้อน (...130...กรัม) ประถม ...2...ช้อน (......260........กรัม)ผลไม้ (อนุบาล …0.5..ส่วน ประถม 1ส่วน) ต่อมื้อต่อคน

8. กลุ่มเป้าหมาย

1. นักเรียนทั้งหมด จำนวน......156.... คน

2. ครูและบุคลากรทั้งหมดในโรงเรียนจำนวน....... 13..... คน

3. ผู้ปกครองจำนวน....... 90....... คน

4. แกนนำชุมชนและคนในชุมชนจำนวน....... 10....... คน

9. ระยะเวลาดำเนินงาน

12

วันเริ่มดำเนินการ วันที่ 2 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559

วันสิ้นสุดโครงการ วันที่ 30 เดือนเมษายนพ.ศ. 2560

10. กิจกรรมการดำเนินงาน /ผลผลิต/ผลลัพธ์/งบประมาณ

ระบุกิจกรรมที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนด โดยแสดงรายละเอียดวิธีดำเนินงาน ช่วงเวลาจัดกิจกรรม งบประมาณ ผลผลิตและผลลัพธ์ของแต่ละกิจกรรมให้ชัดเจนโดยให้นำวัตถุประสงค์ที่ได้ระบุไว้มากรอก และแสดงรายละเอียดกิจกรรม/วิธีดำเนินงานที่ชัดเจนของแต่ละวัตถุประสงค์

ชื่อกิจกรรม

ผลผลิต(Output)

ผลลัพธ์ (Outcome)

งบประมาณ

กิจกรรมเกษตรในโรงเรียน

1. ปลูกผักสวนครัว

ผักสวนครัว

ได้ผลผลิตมาใช้ในโครงการอาหารกลางวัน

4,000

2. เลี้ยงไก่ไข่

ไข่ไก่

ได้ผลผลิตมาใช้ในโครงการอาหารกลางวัน

16,000

3. เลี้ยงเป็ด

ไข่เป็ด

ได้ผลผลิตมาใช้ในโครงการอาหารกลางวัน

10,000

4. การเพาะเห็ดฟางและเห็ดภูฐาน

เห็ดฟางและเห็ดภูฐาน

ได้ผลผลิตมาใช้ในโครงการอาหารกลางวัน

4,000

กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

1. สหกรณ์นักเรียน

-นักเรียนเป็นคณะกรรมการสหกรณ์โดยมีการจัดตั้งนักเรียนขึ้นมา

จำนวน 10 คน

- มีการรับสมัครสมาชิกโดยการสมัครใจ และมีการเก็บค่าหุ้นๆละ 10 บาท

-มีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย บัญชีสินค้า และมีสรุปประจำปี พร้อมกับปันผลให้กับสมาชิก

- มีกิจกรรมร้านค้า

-กิจกรรมส่งเสริมการผลิตที่ดำเนินการโดยนักเรียน

- นักเรียนเข้าใจหลักการดำเนินงานของสหกรณ์ ฝึกความรอบคอบในการจัดทำบัญชี และฝึกอาชีพพื้นฐานการค้าขาย

- นักเรียนได้เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่ม

5,000

2. หนูน้อยนักออม (การออมทรัพย์)

-นักเรียนที่เป็นเจ้าหน้าที่สหกรณ์ ฝ่ายออมทรัพย์ เปิดรับฝากเงินทุกวัน

กิจกรรมออมทรัพย์ดำเนินการโดยนักเรียน

1,500

กิจกรรมการจัดบริการอาหารในโรงเรียน

1. รณรงค์ให้นักเรียนรับประทานผักและผลไม้

ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน

นักเรียนมีความรู้เรื่องผักและผลไม้ และรับประทานผักผลไม้

10,500

2. อบรมความรู้ด้านอาหารและการจัดการให้ถูกสุขลักษณะ

วิทยากรมาให้ความรู้กับแม่ครัวและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

แม่ครัวและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความรู้ด้านการทำอาหารให้ถูกสุขลักษณะและการจัดการ

5,000

กิจกรรมการติดตามและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ

1. การชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทุกเดือน

ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง

นำมาประเมินตนเองและพัฒนาตนเอง

1,500

2. ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ทดสอบสมรรถภาพ

นักเรียนได้ฝึกฝนตนเองให้เป็นคนที่แข็งแรง

นักเรียนได้ทดสอบสมรรถภาพทางกายเทอมละ 1 ครั้ง

3,000

กิจกรรม การพัฒนาสุขนิสัยนักเรียนและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

1. โรงเรียนปลอดเหา

ครูให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาความสะอาดเส้นผมและศีรษะของตนเอง

นักเรียนเรียนรู้วิธีการดูแลรักษาความสะอาดร่างกายและศีรษะของตนเอง

1,000

2. ฟันสวยด้วยมือเรา

ครูให้ความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธี

นักเรียนรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีการดูแล

ในช่องปาก

1,000

3. จัดกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด

วิทยากร (ครูตำรวจ)ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด

นักเรียนได้รู้วิธีการป้องกันและห่างไกลยาเสพติด

3,100

4. จัดกิจกรรมแอโรบิคยามเช้า

ครูและนักเรียนออกกำลังกายในช่วงเช้า

นักเรียนรู้จักการออกกำลังกายให้แข็งแรง

3,000

กิจกรรม การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

1. ห้องเรียนน่าอยู่ (5 ห้องชีวิต)

นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการทำให้ห้องเรียนน่าอยู่

นักเรียนในห้องเรียนมีสุขลักษณะที่ดี และห้องเรียนสะอาด

5,000

2. คัดแยกขยะ

ครูให้ความรู้นักเรียนรู้จักวิธีการแยกขยะ

ขยะแห้ง ขยะเปียก ขยะรีไซเคิล

ขยะลดลง

2,000

3. สถานที่ดื่มน้ำสะอาด

นักเรียนรู้จักใช้สถานที่ดื่มน้ำสะอาดถูกสุขลักษณะ

นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

3,000

4. ที่แขวนแก้วน้ำและแปรงสีฟัน

นักเรียนมีที่แขวนภาชนะแปรงฟันที่ถูกสุขลักษณะ

นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

7,000

กิจกรรม การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

1. ฟันสวย ช่องปากสะอาด

นักเรียนมีอุปกรณ์ในการแปรงฟันที่ถูกสุขลักษณะ

นักเรียนฟันไม่ผุ 60%ของนักเรียนทั้งหมด

2,600

2. มือสะอาด 7 ขั้นตอน ปราศจากโรค

คุณครูมีโปสเตอร์ให้ความรู้เรื่องการล้างมือ 7 ขั้นตอนที่ถูกวิธี

นักเรียนปราศจากโรคและล้างมือได้สะอาดถูกหลัก 7ขั้นตอน

2,000

3. ร่างกายแข็งแรง จิตใจดี ชีวีมีสุข

ครูจัดกิจกรรมนันทนาการให้นักเรียนและการฝึกนั่งสมาธิทุกวันพระ

นักเรียนมีสุขภาพกายที่แข็งแรง สุขภาพจิตที่ดี และมีความสุขในการใช้ชีวิต

2,000

กิจกรรม การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

1. ฐานแหล่งเรียนรู้เกษตร สหกรณ์อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

วิทยากรให้ความรู้เรื่องเกษตร สหกรณ์นักเรียน และโภชนาการรวมถึงสุขภาพอนามัย

นักเรียนมีความรู้เกษตร

สหกรณ์นักเรียน และโภชนาการรวมถึงสุขภาพอนามัยที่ถูกวิธีและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

3,800

2. การแปรรูปอาหารหรือการทำอาหารเพื่อสุขภาพรวมถึงการทำผลิตภัณฑ์

ครูให้ความรู้เรื่องการแปรรูปอาหารและผลิตภัณฑ์

นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

4,000

3. อบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร

- โปรแกรม Thai School Lunch

- ระบบเฝ้าระวังโภชนาการ

บุคลากรที่ดูแลโครงการฯ ได้เข้ารับการอบรมโรงเรียนละ 2 คน

บุคลากรสามารถใช้โปรแกรม TSLในการวางแผนจัดบริการอาหารกลางวันได้อย่างถูกต้อง

เบิกจากโครงกลางส่วนกลาง

รวมงบประมาณที่ขอสนับสนุนจาก สสส. ภายในวงเงิน ………100,000………………… บาท

หมายเหตุ : งบประมาณพิจารณาจากกิจกรรมการดำเนินงาน

*ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม, จำนวนผู้ผ่านการอบรม, จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม, จำนวนครอบครัวที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น

** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น

11. แผนการปฏิบัติงาน

การดำเนินงาน

ระยะเวลาการดำเนินงาน พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๐

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

สค.

กย.

ตค.

พย.

ธ.ค

ม.ค.

ก.พ

มี.ค.

เม.ย

ระยะที่ 1 วางแผน

1.1 คณะทำงานแต่ละกิจกรรมประชุมวางแผนการปฏิบัติงาน

1.2 มอบหมายงานในกิจกรรมย่อยของแต่ละกิจกรรม

ระยะที่ 2 ดำเนินงาน

2.1 กิจกรรมต่างๆ ลงมือปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย

2.2 ให้ความรู้กับนักเรียนมีการทดสอบความรู้ก่อน – หลัง

ระยะที่ 3 สรุปการดำเนินงาน

3.1 ให้แต่ละกิจกรรมสรุปผลของกิจกรรมที่ปฏิบัติมา

3.2 รวบรวมข้อสรุปของแต่ละกิจกรรม

ระยะที่…. งานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

สรุปรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อ สสส.

· รายงานงวดที่ 1

· รายงานงวดที่ 2

· รายงานฉบับสมบูรณ์

เอกสารแนบท้ายรายละเอียดงบประมาณ

งบรวมทั้งโครงการ .....................100,000...................... บาท

(ระบุรายละเอียดค่าใช้จ่ายในแต่ละกิจกรรมของโครงการ)

ชื่อกิจกรรม

รายละเอียดงบประมาณ

งบประมาณ(บาท)

กิจกรรมที่ 1 เกษตรในโรงเรียน

ปลูกผักสวนครัว

พันธุ์ผัก 200ห่อX20 บาท

4,000

4,000

เลี้ยงไก่ไข่

ไก่ 100ตัวX130บาท

อาหารไก่ 6 กระสอบX500บาท

16,000

13,000

3,000

เลี้ยงเป็ด

จำนวน50ตัวX100บาท

อาหารเป็ด 10กระสอบX500บาท

10,000

5,000

5,000

การเพาะเห็ดฟางและเห็ดภูฐาน

ก้อนเห็ด1000ก้อนX4บาท

4,000

4,000

รวมงบกิจกรรมที่ 1

34,000

กิจกรรมที่ 2 สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์นักเรียน

ค่าวิทยากร 650บาทX5 คน

ค่าเอกสาร

5,000

3,250

1,750

หนูน้อยนักออม (การออมทรัพย์)

ค่าเอกสาร150 ชุดๆละ 10 บาท

1,500

1,500

รวมงบกิจกรรมที่ 2

6,500

กิจกรรมที่ 3 การจัดบริการอาหารในโรงเรียน

รณรงค์ให้นักเรียนรับประทานผักและผลไม้

จัดทำป้ายไวนิล 30 แผ่นX350บาท

10,500

10,500

อบรมความรู้ด้านอาหารและการจัดการ

ให้ถูกสุขลักษณะ

ค่าวิทยากร 650บาทX4คน

ค่าเอกสาร

5,000

2,600

2,400

รวมงบกิจกรรมที่ 3

15,500

กิจกรรมที่ 4 การติดตามและเฝ้าระวังโภชนาการ

การชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทุกเดือน

ค่าเอกสาร150ชุดๆละ10 บาท

1,500

1,500

ทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ค่าเอกสาร

จัดทำอุปกรณ์การทดสอบ

3,000

1,000

2,000

รวมงบกิจกรรมที่ 4

4,500

กิจกรรมที่ 5 การพัฒนาสุขนิสัยนักเรียนและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

โรงเรียนปลอดเหา

ทำป้ายให้ความรู้เรืองเหา 10แผ่นx100บาท

1,000

1,000

ฟันสวยด้วยมือเรา

จัดทำป้ายวิธีการแปรงฟัน 10แผ่น x100บาท

1,000

1,000

จัดกิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด

วิทยากร 650บาทx2คน

ป้ายรณรงค์ 300บาทx 6ป้าย

3,100

1,300

1,800

จัดกิจกรรมแอโรบิคยามเช้า

ค่าวิทยากร 200บาทx 1 คน 15 วัน

3,000

3,000

รวมงบกิจกรรมที่ 5

8,100

กิจกรรมที่ 6 การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

ห้องเรียนน่าอยู่ (5 ห้องชีวิต)

จัดทำป้ายความรู้ 10แผ่นๆละx200บาท

จัดซื้ออุปกรณ์มาทำสื่อตกแต่งในห้อง

5,000

2,000

3,000

คัดแยกขยะ

จัดทำป้ายแยกขยะ 4 ชุดๆละ200บาท

2,000

2,000

สถานที่ดื่มน้ำสะอาด

ภาชนะอุปกรณ์การดื่มที่สะอาด แก้ว+ถาดวาง 6 ชุดๆละ 500บาท

3,000

3,000

ที่แขวนแก้วน้ำและแปรงสีฟัน

จัดทำที่แขวนแปรงและแก้ว 7 ชุดๆละ1,000 บาท

7,000

7,000

รวมงบกิจกรรมที่ 6

17,000

กิจกรรมที่ 7 การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ฟันสวย ช่องปากสะอาด

แปรงสีฟัน+แก้วน้ำ 150 คน x 17 บาท

2,600

มือสะอาด 7 ขั้นตอน ปราศจากโรค

ป้ายไวนิลการล้างมือ 10แผ่นx200บาท

2,000

ร่างกายแข็งแรง จิตใจดี ชีวีมีสุข

ค่าวิทยากร 650บาทx1คน

ค่าเอกสาร

2,000

650

1,350

รวมงบกิจกรรมที่ 7

6,600

กิจกรรมที่ 8 การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนการและสุขภาพอนามัย

ฐานแหล่งเรียนรู้เกษตร สหกรณ์อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ค่าวิทยากร 650บาทx 2คน

ค่าเอกสาร

ค่าป้ายไวนิล 10 แผ่นx200บาท

3,800

1,300

500

2,000

การแปรรูปอาหารหรือการทำอาหารเพื่อสุขภาพรวมถึงการทำผลิตภัณฑ์

ค่าวิทยากร 650บาทx4 คน

ป้ายไวนิล 140บาทx10 แผ่น

4,000

2,600

1,400

รวมงบกิจกรรมที่ 8

7,800

การพัฒนาศักยภาพบุคลากร

- โปรแกรม Thai School Lunch

- การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ

กลุ่มเป้าหมาย1.ครูโภชนาการ/ผู้ดูแลอาหารกลางวัน

2.ครูอนามัย

เบิกจากโครงการส่วนกลาง

รวมงบอบรม

-

งบประมาณรวมทั้งโครงการ

100,000

12.ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ความคาดหวังจากโครงการ)

1. นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานที่กรมอนมัยกำหนด

2. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีจิตใจร่างเริงแจ่มใสสมวัย

3. นักเรียนมีเจตคติที่ดีในการักษาสุขภาพของตนเองและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

4. นักเรียนรักการทำงาน มีอาชีพสุจริต ซื่อสัตย์ ละรักสิ่งแวดล้อม

5. นักเรียนมุ่งมั่น เสียสละ สามัคคี ทำงานด้วยความกระตือรือร้น และจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์

13.การกำกับติดตามและประเมินผล

กิจกรรม

วิธีการติดตามประเมินผล

เครื่องมือการติดตาม

ผู้มีบทบาท

ระยะเวลา

1.เกษตรในโรงเรียน

- สังเกตการณ์ทำงานของนักเรียน

- ตรวจผลงานนักเรียนเป็นประจำ

- แบบบันทึก

- รูปภาพต่างๆ

- ผลผลิตในแปลงผักต่างๆหรือจากโรงเรือนไก่ไข่

- ครูสอนวิชาการงานฯ

- ครูชมรม

- ครูอนามัยโรงเรียน

- ภูมิปัญญาชาวบ้าน

- ผู้ปกครอง

- ภารโรง

ตลอดปีการศึกษา

2.สหกรณ์ในโรงเรียน

- แบบสอบถามในการให้บริการ

- แบบสอบถามความพึงพอใจในสินค้า

- แบบสอบถามความพึงพอใจ

- ทุกคนโรงเรียน

ตลอดปีการศึกษา

3.การจัดบริการอาหารในโรงเรียน

- สังเกตและตรวจสอบการบริการอาหารเสริม

- แบบบันทึก

- แบบสังเกต

- รูปภาพ

- ครูผู้รับผิดชอบอาหารกลางวัน

- ทุกคนโรงเรียน

ตลอดปีการศึกษา

4.การติดตามและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ

-บันทึกน้ำหนักและวัดส่วนสูง โดยใช้เกณฑ์ของกรมอนามัย

- ปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพเป็นรายบุคคล

- แบบบันทึกการเจริญเติบโต

- แบบบันทึกการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

- ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม

- ครูทุกคนโรงเรียน

ภาคเรียนละ

1 ครั้ง

5.การพัฒนาสุขนิสัยนักเรียนและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

- สังเกตและตรวจสอบ

จำนวนนักเรียน

- แบบบันทึก

- แบบสังเกต

- รูปภาพ

- ครูผู้รับผิดชอบอาหารกลางวัน

- ครูทุกคนโรงเรียน

ตลอดปีการศึกษา

6.การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

-สังเกตและตรวจสอบความสะอาด

- แบบสอบถามความพึงพอใจ

- ครูผู้รับผิดชอบอาหารกลางวัน

- ครูทุกคนโรงเรียน

ตลอดปีการศึกษา

7.การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

- ตรวจสอบจากการใช้บริการและสุขภาพของนักเรียน

- แบบสอบถามความพึงพอใจในการให้บริการ

- ทุกคนโรงเรียน

ตลอดปีการศึกษา

8.การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

- ตรวจสอบจากการใช้บริการ

- แบบสอบถามความพึงพอใจในการเข้าอบรม

- ทุกคนโรงเรียน

ตลอดปีการศึกษา

14.ความต่อเนื่องยั่งยืนหรือแนวทางการขยายผล

1.เมื่อดำเนินโครงการแล้วเสร็จ จะมีการดำเนินการต่อเนื่องหรือไม่ อย่างไร

มีการดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่องและหยั่งยืนต่อไป เพราะเราจะสร้างให้เป็นโครงการทุนหมุนเวียนและสามารถทำให้เป็นโครงการได้อย่างต่อเนื่อง

2.ระบุวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการ และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการนี้อย่างไร

ทางโรงเรียนเปิดให้เป็นแหล่งเรียนรู้กับโรงเรียนที่ต้องการเข้ามาขอดูงานร่วมถึงการเชิญชวนให้ชุมชนมามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และให้ความรู้กับชุมชนในการใช้ชีวิตตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

คำรับรองของผู้เสนอโครงการข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อความที่กล่าวมาข้างต้นนี้เป็นความจริงทุกประการ และขอยืนยันว่าจะเข้าร่วมกิจกรรมและปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การสนับสนุนทุนตามที่ สสส. กำหนดทุกประการหากโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนทุนจาก สสส. และหากตรวจพบว่าข้อมูลที่อยู่ในแบบเสนอโครงการนี้เป็นเท็จ สสส. สงวนสิทธิ์ที่จะระงับการสนับสนุนโครงการของท่าน/หน่วยงานของท่านทุกโครงการ พร้อมนี้ขอยืนยันว่าข้าพเจ้า ไม่ได้ขอทุนซ้ำซ้อนจากแหล่งทุนอื่นๆ ขอจากแหล่งทุนอื่นด้วยได้แก่ ...................................

ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการนางอมรรัตน์ เถื่อนทองตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา

ลายมือชื่อวันที่23 ก.พ 59

ชื่อผู้ดูแลโครงการ นางสาวดารารัตน์ ทัพโตตำแหน่งครู

ลายมือชื่อวันที่23 ก.พ. 59

32