83
แนวทางเจริญวิปสสนา ครั้งที๒๑-๓๐ โดย สุจินต บริหารวนเขตต มูลนิธิศึกษาและเผยแพรพระพุทธศาสนา Dhamma Study and Support Foundation เลขที174/1 . เจริญนคร 78 บุคคโล ธนบุรี กทม 10600 โทร 02-4680239 ปณ. บางคอแหลม บานธัมมะ www.dhammahome.com ถอดเทปโดย คุณยาสงวน สุจริตกุล พิมพโดย ..หญิง . กาญจนา เชื้อทอง พิสูจนอักษรโดย ..หญิง สุชาดา แสงเกร็ด ปรับปรุงครั้งทีพฤษภาคม ๒๕๔๙

แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

Embed Size (px)

DESCRIPTION

แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐ โดย อาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์

Citation preview

Page 1: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

แนวทางเจริญวิปสสนา ครั้งที่ ๒๑-๓๐

โดย สุจินต บริหารวนเขตต

มูลนิธิศึกษาและเผยแพรพระพุทธศาสนา Dhamma Study and Support Foundation เลขที่ 174/1 ซ. เจริญนคร 78 บุคคโล ธนบุรี กทม 10600

โทร 02-4680239 ปณ. บางคอแหลม

บานธัมมะ www.dhammahome.com

ถอดเทปโดย คุณยาสงวน สุจริตกุล พิมพโดย น.อ.หญิง ศ. กาญจนา เชื้อทอง พิสูจนอักษรโดย น.อ.หญิง สุชาดา แสงเกร็ด

ปรับปรุงครั้งท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙

Page 2: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 1

เทปตนฉบับ ของมูลนิธิศึกษา และ เผยแพรพระพุทธศาสนา แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ การฟงธรรมก็ควรที่จะใหไดประโยชน ไดเหตุผลจากการฟง เพื่อจะได ประพฤติปฏิตามไดถูกตองดวย แตรูสึกวาถาเปนแบบปกติธรรมดานี่ หลายทานก็อาจจะรูสึกวาสตินี้เจริญนอยเสียจริงๆ ทานอยากจะไดสติมากๆ แตอยาลืมเรื่องของการเจริญสตินั้น เปนเรื่องของการเจริญปญญา รูลักษณะของสิ่งที่ปรากฏจริงๆ ดวยสติ คือการที่ขณะในนั้นมีการระลึกไดแลวก็พิจารณาลักษณะของสิ่งที่ปรากฏ วิธีนี้วิธีเดียวเทานั้นไมใชวิธีอ่ืน เพราะเหตุวาไมวากิเลสที่ละเอียดสลับซับซอนซอนอยูอยางไรก็ตาม ถาขณะในนั้นปรากฏ ปญญาจะตองรูวาสภาพนั้นไมใชตัวตน ไมใชสัตว ไมใชบุคคลเกิดขึ้นเพราะเหตุปจจัย แลวแตวาจะเปนทางตา หรือทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ แลววิธีนี้เปนวิธีขัดเกลา เปนวิธีที่ทําใหทานละคลายความไมรู ละคลาย อกุศลตางๆ โดยที่ประการแรกที่สุดนั้นรูวาอกุศลตางๆเหลานั้นก็ไมใชตัวตน ไมเหมือนกับวิธีที่จะระงับไวดวยสมาธิ ถาเปนวิธีที่ระงับไวดวยสมาธิแลวละก็ ทานไดความสงบเพียงชั่วคราว แตไมรูวาชีวิตจริงๆของทานวันหนึ่งๆนั้นไมมีสิ่งใดเลยที่จะพึงยึดถือไดวาเปนตัวตนได ฉะนั้นก็เปนเรื่องที่ทานจะตองพิจารณาเปรียบเทียบใหแนใจจริงๆวา ถาเปนทางที่จะใหรูลักษณะของสิ่งที่กําลังปรากฏในขณะนี้แลวทานจะตองเจริญสติในขณะนี้เอง มีขอสงสัยอะไรไหมคะ การรูลักษณะของอารมณที่กําลังปรากฏโดยไมจํากัดสถานที่ ไมจํากัดเวลา ไมจํากัดอารมณ คือไมเลือกอารมณ ถาขณะนั้นรูลักษณะของนามและรูปโดยไมจงใจ โดยไมเลือก เปนสัมมาสติ เปนสัมมาทิฏฐิ เรื่องของการเจริญสติปฏฐานเปนเรื่องที่ละเอียดมากทีเดียว ความตองการแอบแฝงอยูที่ไหนอยางไรบางบางทานอาจจะไมรูสึกตัวเลย เคยมีความจงใจในเฉพาะบางนามบางรูป พอมีความรูสึกตัวทีไร รูเฉพราะนามนั้น รูเฉพาะรูปนั้น จิตจดจอง

Page 3: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 2

อยูที่นั่น ไมสามารถที่จะใหรูกําลังเห็นตามปกติ กําลังไดยินตามปกติคือในขณะนี้ เพราะเหตุวาในขณะนี้ไมไดจดจอง แลวแตวากําลังเห็นเกิดระลึกได รูวาที่กําลังเห็นก็เปนเพียงสภาพรูทางตา หรือสิ่งที่ปรากฏในขณะนี้ก็เปนของจริงที่ปรากฏทางตา การเจริญสติปฏฐานนั้นละอภิชฌาและโทมนัสในโลก โลกคืออารมณที่กําลังปรากฏ ไมวาอารมณนั้นจะเปนอะไรก็ตาม ละความยินดียินรายดวยการรูลักษณะของนามและรูปมากขึ้น ยังสงสัยไหมคะ ถ. ถาอยางนั้น ถากําลังตั้งใจฟงอยูในขณะนี้ ก็เปนการเพิ่มอภิชชาขึ้นดวยใชไหม สุ. อภิชชา ใชไหมคะ กําลังฟง ฟงธรรมเปนกุศลหรืออกุศลคะ ? เปนกุศล เพราะฉะนั้น ไมใชอภิชชา เกิดพรอมกันไมได แตวาไมใชสติปฏฐานเปนกุศลขั้นการฟง ถาโดยปริยัติโดยอภิธรรมก็เปน มหากุศลญานสัมปยุต เวลาที่เจริญสติปฏฐานก็เปน มหากุศลญานสัมปยุต แตอารมณตางกัน เพราะเหตุวาในขณะที่กําลังฟงดวยความตั้งใจที่จะเขาใจ ในขณะนั้นเปนมหากุศล เปนญาณสัมปยุตจริง แตไมใชการรูลักษณะของไดยิน และไมใชการรูลักษณะของเสียง เพราะฉะนั้น ในขณะที่ฟงแลวเขาใจยังเปนตัวตนอยู เปนกุศลจริงแตเปนกุศลขั้นการฟง ไมใชเปนกุศลที่ละความเห็นผิดในนามและรูปที่กําลังปรากฏ ฉะนั้น ก็จะตองแยกดวยถาเปนกุศลข้ันการฟง ก็ตองเปนกุศลขั้นการฟง ไมใชกุศลในขณะที่กําลังเจริญสติปฏฐาน แตวากําลังฟงก็เจริญสติปฏฐานได รูลักษณะของนามและรูปที่กําลังปรากฏได แตวาใครจะรูแลวหรือยัง นั่นอยูที่วาเริ่มเจริญสติมากนอยเทาไรแลว เวลาวางของฆราวาสกอนที่จะไดฟงเรื่องของเจริญสติปฏฐานนั้น ฆราวาส ทําอะไรบางคะเวลาวาง เรื่องเพลิดเพลินของฆราวาสมีมากไมใชนอยเลย แลวแตอัธยาศัย ไมวาจะเปนในบาน ในรม นอกบาน กลางแจง ก็มีเรื่องการที่ฆราวาสจะเพลิดเพลินไป จะทําใหจิตใจเบิกบานสนุกสนาน คลายความเครงเครียดจากการ ประกอบธุรกิจการงานตางๆ นั่นเปนเรื่องการพักผอนของฆราวาส แตวาในเพศของบรรพชิตเวลาวาง ทานไมสามารถที่จะพักผอนหาความสนุกสนานเพลิดเพลิน

Page 4: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 3

ไดเชนเดียวกับเพศของฆราวาสเลย ตามพระวินัยบัญญัติ เพราะฉะนั้น ทานจะทําอะไรเวลาที่ทานวาง เวลาที่ทานบิณฑบาตทานก็เจริญสติปฏฐาน เวลาที่ทานฉันภัตตาหารทานก็เจริญสติปฏฐาน เวลาที่ทานประกอบกิจการงานทานก็เจริญสติปฏฐาน เวลาที่ทานฟงธรรมทานก็เจริญสติปฏฐาน ที่ทานแสดงธรรมทานก็เจริญสติปฏฐาน แลวก็ยังมีเวลาวางอีกพระผูมีพระภาคทรงทราบอัธยาศัยของสัตวโลก พระธรรมงามพรอมทั้งเบื้องตน ทามกลาง และที่สุด ทั้งศีลซึ่งเปนขอประพฤติทางกาย ทางวาจา ตามปกติในชีวิตประจําวัน พรอมทั้งสมาธิและปญญา และกอนที่ทานเหลานั้น จะมาบวชในพระธรรมวินัยของพระผูมีพระภาคนั้นทานเหลานั้นก็เคยเจริญสมาธิ อาณาปานสติ ไดฌาน ไดอรูปฌานก็มี ทานเคยทําสมาธิกันมากอนแลว แลวอัธยาศัยของทานนอมไปในเรื่องของสมาธิก็มี ฉะนั้นในมหาสติปฏฐาน ภิกษุนั่งคูบัลลังก หมายความวาเปนอัธยาศัยที่ทานไดเคยเจริญ ไดเคยฝกหัด เคยอบรมในเรื่องของการเจริญอานาปานสติ ในเรื่องของการทําสมาธิมาแลว ฉะนั้นเวลาที่ทานมีเวลาวาง ใจของทานก็นอมไปในเรื่องของสมาธิซึ่งเปนอัธยาศัยของทาน พระผูมีพระภาคมิไดทรงบังคับวาไมใหทํา แตพระองคทรงรูแจงวาสิ่งทั้งหลายที่เกิดขึ้นเพราะเหตุปจจัย ไมวาจะเปนความสงบ ไมวาจะเปนสมาธิไมวาจะเปนโลภะ ไมวาจะเปนโทสะ ไมวาจะเปนโมหะ ของสัตวโลกแตละคนไมเหมือนกัน เพราะฉะนั้น เมื่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่เกิดขึ้นเพราะเหตุปจจัย ก็รูลักษณะของสิ่งนั้นตามความเปนจริง แมฌานจิตก็ไมเที่ยง ผูใดจะรู ผูเจริญสติปฏฐานจึงจะรูไดวาฌานจิตนั้นไมเที่ยง ถาไมเคยเจริญสติปฏฐานเลย เพียงแตเจริญความสงบ เคยทําฌานที่จะใหเกิดความรูวาฌานจิตไมเที่ยงนั้น เปนไปไมไดเลย แตผูที่จะรูวาฌานจิตไมเที่ยงไดนั้น ตองเปนผูที่เจริญสติปฏฐาน เพราะฉะนั้น ฌานจิตจึงเปน จิตตานุปสสนา ใน สังยุตตรนิกาย สคาถวรรค ภาค ๒ ปวารณาสูตร ที่ ๗ ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคประทับ ณ ปุพพาราม ปราสาทของวิสาขา มิคารมารตา เขตรพระนครสาวัตถี พระองคประทับกับภิกษุสงฆประมาณ ๕๐๐ รูป ลวนเปน

Page 5: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 4

พระอรหันตทั้งหมด พระองคประทับนั่งในที่แจง เพื่อทรงปวารณาในวันอุโบสถ ๑๕ คํ่า พระผูมีพระภาครับสั่งกับภิกษุทั้งหลายวา ดูกร ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เราขอปวารณาเธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะไมติ- เตียนกรรมไรๆ ที่เปนไปทางกายหรือทางวาจาของเราบางหรือ ทานพระสารีบุตรก็ไดกราบทูลพระผูมีพระภาค วา พระองคเปนศาสดาและสาวกก็เปนผูประพฤติปฏิบัติตามพระองค เพราะฉะนั้น ก็ไมมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดเลยที่สาวกทั้งหลายจะติเตียนพระผูมีพระภาคได เพราะพระองคเปนพระอรหันต-สัมมาสัมพุทธเจา พรอมกันนั้นทานพระสารีบุตรก็ไดกราบทูลวา พระผูมีพระภาคจะไมทรงติเตียนกรรมไรๆที่เปนไปทางกายหรือทางวาจา ของภิกษุทั้งหลายเหลานี้บางหรือ พระผูมีพระภาคก็ตรัสสรรเสริญทานพระสารีบุตร เวลาที่ทานพระสารีบุตร กราบทูลวา พระผูมีพระภาคจะไมทรงติเตียนกรรมไรๆของภิกษุ ๕๐๐ รูป เหลา นี้บางหรือ พระผูมีพระภาคก็ไดตรัสวา พระองคไมทรงติเตียนกรรมไรๆที่เปนไปทาง กายหรือทางวาจา ของบรรดาภิกษุ ๕๐๐ รูปเหลานี้ เพราะบรรดาภิกษุ ๕๐๐ รูปเหลานี้ ภิกษุ ๖๐ รูปเปนผูไดวิชชา ๓ ภิกษุ ๖๐ รูปเปนผูไดอภิญญา ๖ ภิกษุ ๖๐ รูปเปนผูได อุภโตภาควิมุตต ภิกษุที่เหลือไดปญญาวิมุตติ นี่ก็เปนเครื่องแสดงใหเห็นแลวนะคะวา ในการเจริญสติปฏฐานในสํานักของพระผูมีพระภาคนั้น แลวแตอัธยาศัยวาทานผูใดเคยเจริญสมาธิถึงขั้นที่จะได วิชชา ๓ ถึงขั้นที่จะไดอภิญญา ๖ สามารถแสดงอิทธิปาฏิหาริยตางๆได หรือสามารถที่จะไดอุภโตภาควิมุตต คือเจริญสมถะไดฌานแลวบรรลุมรรคผล แตวาที่เปนปญญาวิมุตติมีมากกวา นี่ก็เปนเรื่องที่จะชี้ใหเห็นวา เหตุใด พระผูมีพระภาคจึงมิไดทรงวางกฏ- เกณฑในการเจริญสติปฏฐาน ดวยเหตุนี้ในพระไตรปฏกจึงไมมีสํานักของฆราวาสเลยในครั้งพุทธกาล มีแตสํานักของสงฆเทานั้น เพราะวา คําวาสํานักนั้นแปลวาที่อยู ฆราวาสมีบานเรือนเปนที่อยูเจริญสติปฏฐานในชีวิตประจําวันตามปกติ

Page 6: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 5

เพื่อที่จะใหรูลักษณะของนามและรูปทั่ว เพื่อละคลายความเห็นผิดที่ยึดถือนามและรูปนั้นวาเปนตัวตนในเพศของฆราวาส บรรพชิตก็เจริญสติปฏฐานที่สํานักโดยการ ที่รูลักษณะของชีวิตจริงๆของทานตามปกติ เพราะวา จะตองรูลักษณะของนามและรูปทั่ว จึงจะละคลายความเห็นผิดที่เคยยึดถือนามรูปวาเปนตัวตนได ถาทานคิดวาคนในสมัยโนนมีสัทธานอยกวาคนในสมัยนี้ ก็เขาใจผิดเพราะเหตุวาคนสมัยโนนไดฟงพระธรรมมีสัทธา ไมวาจะเปนพระเจาแผนดิน หรือไมวาจะเปนทาสีก็เจริญสติปฏฐาน ถาพูดถึงสัทธาผูที่เปนอริยบุคคลยอมมีสัทธามากกวาผูที่ไมใชอริยบุคคล อยางทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีเปนอุบาสก มีทรัพยสินเงินทองบํารุงพระภิกษุบํารุงพระสงฆ แตทานมิไดสรางสํานักปฏิบัติของฆราวาส วิสาขาคารมารดาเปนพระโสดาบันบุคคล เปนผูที่มีความเลื่อมใส มีความสัทธา มั่นคงในพระรัตนตรัย เปนผูที่มีทรัพยสินเงินทอง มีทั้งสัทธา มีทั้งปญญา มีทั้งทรัพย แต วิสาขามิคารมารดาก็ไมไดสรางสํานักปฏิบัติ เปนเพราะเหตุใด คนในสมัยโนนจึงไมมีสํานักปฏิบัติของฆราวาส เพราะเหตุวา คนในสมัยโนน ไมไดเขาใจคลาดเคลื่อนในเรื่องของขอปฏิบัติถาจะคิดถึงขุชชุตตรา ซึ่งเปนอุบาสิกาสาวิกา เปนเอตทัคคะในทางพหูสูตร เปนผูที่ไดฟงมาก แตขุชชุตตราก็ไมไดมีสํานักปฏิบัติ ไมมีใครตั้งสํานักปฏิบัติในครั้งโนนเลย ขอกลาวถึง สังยุตตรนิกาย สฬายตนวรรค ภาค ๑ มิคชาละ สูตรที่ ๑ ที่พระนครสาวัตถี ครั้งนั้น ทานพระมิคชาละไดไปเฝาพระผูมีพระภาคแลว กราบทูลถามวา ขาแตพระองคผูเจริญ ที่พระองคตรัสวา ผูมีปกติอยูผูเดียว ผูมีปกติอยูผูเดียว ฉะนี้ ดวยเหตุเพียงเทาไรพระเจาขา ภิกษุจึงชื่อวามีปกติอยูผูเดียว และดวยเหตุเพียงเทาไร ภิกษุจึงชื่อวาอยูดวยเพื่อนสอง พระผูมีพระภาคตรัสวา ดูกร มิคชาละ รูปที่จะพึงรูแจงดวยจักษุ อันนาปรารถนา นาใคร นาพอใจใหเกิดความรัก ชักใหใคร ชวนใหกําหนัด มีอยู ถาภิกษุยินดีกลาวสรรเสริญ แสดงความหมกมุนในรูปนั้นอยู เมื่อเธอยินดีกลาวสรรเสริญ

Page 7: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 6

หมกมุนในรูปนั้นอยู ยอมเกิดความเพลิดเพลิน เมื่อมีความเพลิดเพลิน ก็มีความกําหนัดกลา เมื่อมีความกําหนัดกลา ก็มีความเกี่ยวของ ดูกร มิคชาละ ภิกษุผูประกอบดวยความเพลิดเพลิน และมีความเกี่ยวของเราเรียกวา ผูมีปกติอยูดวยเพื่อนสอง ......... ( ตลอดเรื่อยไปจากรูปารมณ สัททา-รมณ ..... ธัมมารมณทางใจ ) แลวพระผูมีพระภาคก็ตรัสตอไปวา ดูกร มิคชาละ ภิกษุผูมีปกติอยูดวยอาการอยางนี้ ถึงจะเสพเสนาสนะอันสงัด คือปาหญาและปาไม เงียบเสียงไมอ้ืออึง ปราศจากลมแตชนที่เดินเขาออก ควรเปนที่ประกอบกิจของมนุษยผูตองการความสงัด สมควรเปนที่หลีกเรนอยูก็จริง ถึงอยางนั้นก็ยังเรียกวา มีปกติอยูดวยเพื่อนสอง ขอนั้นเพราะเหตุไร เพราะผูนั้นยังมีตัณหาเปนเพื่อนสอง เขายังละตัณหานั้นไมได ฉะนั้น จึงเรียกวา มีปกติอยูดวยเพื่อนสอง โดยนัยตรงกันขาม ถึงแมจะเปนรูปที่นาพอใจมีอยู เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณที่นาพอใจมีอยู แตไมยินดี ไมกลาวสรรเสริญ ไมหมก มุน ไมประกอบดวยความเพลิดเพลิน และความเกี่ยวของ พระผูมีพระภาคเรียกวา มีปกติอยูผูเดียว แลวพระผูมีพระภาคก็ตรัสตอไปวา ดูกร มิคชาละ ภิกษุผูมีปกติอยูดวยอาการอยางนี้ แมจะปะปนกับภิกษุ ภิ-ษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระราชา มหาอํามาตยของพระราชา เดียรถีย สาวกของเดียรถีย ในที่สุดบานก็จริง ถึงอยางนั้นก็ยังเรียกวา มีปกติอยูผูเดียว เพราะฉะนั้น ถาผูนั้นเจริญสติปฏฐานอยูกับนามและรูป ทางตาบาง ทางหูบาง ทางจมูกบาง ทางลิ้นบาง ทางกายบาง ทางใจบาง มีคนเยอะก็จริง แตขณะนั้นใสใจที่ลักษณะของเสียง หรือใสใจลักษณะที่ไดยิน ใสใจที่ลักษณะเย็นที่ปรากฏ ในขณะนั้นไมไดมีความเกี่ยวของกับผูอ่ืน บุคคลอื่นเลย ถึงแมวาจะอยูทามกลางภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เดียรถีย พระราชาหรือวามหาอํามาตยของพระราชาก็ตาม

Page 8: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 7

บางทานก็บอกวาที่บานของทานไมสงบ จะทํายังไงละคะในเมื่อเปนชีวิตจริงๆของทาน มีนามมีรูป และการที่จะไมรูจักชีวิตจริงๆ ทุกๆวัน ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ทานมุงหวังเพียงแตจะประพฤติตามผูที่ออกจาก เรือนบวชเปนบรรพชิต ในขณะที่เจริญสมาธิ ในที่หลีกเรน หรือวาทานหวังที่จะเจริญตามพระภิกษุทั้งหลายที่ทานเจริญสติปฏฐาน ไมวาจะกําลังนั่ง นอน ยืน เดิน เคลื่อนไหว เหยียดคู ประกอบกิจการงาน หรือวามีความสงบเพราะวาพระภิกษุทานเจริญสติปฏฐานดวย ถาทานอยากจะทําตามเพียงการเจริญสมาธิ เปนที่หลีกเรนเทานั้น หรือวาทานจะเจริญสติปฏฐานตามพระภิกษุ ไมวาทานจะทํากิจการงานใด ฆราวาสทําฆราวาสก็เจริญสติปฏฐานดวย เพราะเหตุวาจะตองรูลักษณะของนามและรูปตามความเปนจริง ถ. ทานผูฟงก็บอกวา เวลาที่ฟงเพลงก็ยังเจริญสติปฏฐานได รูลักษณะของนามและรูปได แตเวลาที่มีคนมาพูดคุยดวยก็จะตองฟงใหรูเรื่อง สุ. ทําไมจะรูเพียงไดยินกับเสียงละคะ การรูเรื่องก็เปนนามชนิดหนึ่ง เวลาที่พูดมีปากไหวไปไหมคะ รูสึกตัวในขณะนั้นไดไหม อยางเจาะจงวาจะตองรู เฉพาะที่แคไดยินเทานั้นไมใหเลยไปถึงรูเรื่อง ถ. ............... สุ. ในตอนตนๆจะมีความรูสึกวา สติรูลักษณะของนามนั้นบางรูปนี้บางยังไมทั่ว เพราะฉะนั้นอยากลัว ถาโลกในพระวินัยของพระอริยเจาแลวเหมือนกันหมด สติจะรูที่ลักษณะแข็ง หรือวารูที่สภาพที่กําลังไหวไปเวลาพูด หรือรูเย็นหรือรอน ที่กระทบ ก็เปนโลก ๑โลกใดใน ๖ โลกในวินัยของพระอริยเจา ที่จะตองปรา- กฏวาเปนเพียงนามและรูปที่เกิดขึ้นแลวก็ดับไป การเจริญสติปฏฐานเปนการเจริญปญญา เพื่อละความเห็นผิดวาเปนตัวตน ถาความเห็นผิดวาเปนตัวตนในตอนตนไมมี จะตองเจริญสติไหมคะ ก็ไมตองเจริญสติ เพราะฉะนั้น ความสําคัญอยูที่รูชัดในโลก ๖ โลก สาวกของพระผูมีพระภาคก็มี ทั้งผูที่บรรลุมัคคผลดวยการเจริญสติปฏฐาน แตไมไดเจริญสม-ถภาวนา และมีทั้งผูเจริญสมถภาวนาดวยเจริญสติปฏฐานดวย แลวเวลาที่บรรลุก็มี

Page 9: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 8

การบรรลุพรอมกับฌานจิต บางทานก็ไดวิชชา ๓ บางทานก็ไดอภิญญาดวย นั่นก็เปนในครั้งพุทธกาล อยางใน อังคุตตรนิกาย จตุกนิบาต ปฏิปทาวรรค ยุตนัทธสูตร ขอ ๑๗๐ ครั้งนั้น ทานพระอานนท อยู ณ โฆษิตาราม ใกลเมืองโกสัมพี ทานเรียกพระภิกษุทั้งหลาย แลวก็กลาววา ดูกร อาวุโสทั้งหลาย บุคคลผูใดผูหนึ่งเปนภิกษุหรือภิกษุณีก็ตาม ยอมพยากรณการบรรลุอรหัตตในสํานักของเราดวยมัคค ๔ โดยประการทั้งปวง หรืออยางใดอยางหนึ่งในบรรดามัคค ๔ ประการนี้ มัคค ๔ ประการเปนไฉน ประ การที่ ๑ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เจริญวิปสสนามีสมถะเปนเบื้องหนา เมื่อเจริญวิปสสนามีสมถะเปนเบื้องหนา มัคคยอมเกิด ยอมเสพ ยอมเจริญ ยอมกระทําให มากซึ่งมัคคนั้น ยอมละสังโยชนทั้งหลายได อนุสัยยอมสิ้นสุด

Page 10: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 9

เทปตนฉบับ ของมูลนิธิศึกษา และ เผยแพรพระพุทธศาสนา แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๒ อยางใน อังคุตตรนิกาย จตุกนิบาต ปฏิปทาวรรค ครั้งนั้น ทานพระอานนท อยู ณ โฆษิตาราม ใกลเมืองโกสัมพี ทานเรียกพระภิกษุทั้งหลาย แลวกลาววา ดูกร อาวุโสทั้งหลาย บุคคลผูใดผูหนึ่ง เปนภิกษุหรือภิษุณีก็ตาม ยอมพยากรณการบรรลุอรหัตต ในสํานักของเราดวยมัคค ๔ โดยประการทั้งปวง หรืออยางใดอยางหนึ่ง ในบรรดามัคค ๔ ประการนี้ มัคค ๔ ประการเปนไฉน ประการที่ ๑ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เจริญวิปสสนามีสมถะเปนเบื้องหนา เมื่อเจริญวิปสสนาเปนเบื้องหนา มัคคยอมเกิด ยอมเสพ ยอมเจริญ ยอมกระทําใหมากซึ่งมัคคนั้น ยอมละสังโยชนทั้งหลายได อนุสัยยอมสิ้นสุด อีกประการหนึ่ง คือประการที่ ๒ ภิกษุยอมเจริญสมถะมีวิปสสนาเปนเบื้องหนา เมื่อเจริญสมถะมีวิปสสนาเปนเบื้องหนา มัคคยอมเกิด ยอมเสพยอมเจริญ ยอมกระทําใหมากซึ่งมัคคนั้น ยอมละสังโยชนทั้งหลายได อนุสัยยอม สิ้นสุด อีกประการหนึ่ง คือประการที่ ๓ ภิกษุยอมเจริญสมถะและวิปสสนาควบคูกันไป เมื่อเจริญสมถะและวิปสสนาควบคูกันไป มัคคยอมเกิด ยอมเสพยอมเจริญ ยอมกระทําใหมากซึ่งมัคคนั้น ยอมละสังโยชนทั้งหลายได อนุสัยยอมสิ้นสุด อีกประการหนึ่ง คือประการที่ ๔ ใจของภิกษุปราศจาก อุทธัจจะใน ธรรม สมัยนั้น จิตนั้นยอมตั้งมั่น สงบในภายใน ( คือเปนสมาธิ ) เมื่อใจของภิกษุปราศจากอุทธัจจะในธรรม จิตตั้งมั่นแลว มัคคยอมเกิด ยอมเสพ ยอมเจริญ ยอมกระทําใหมากซึ่งมัคคนั้น ยอมละสังโยชนทั้งหลายได อนุสัยยอมสิ้นสุด

Page 11: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 10

ทานพระอานนทกลาววา บุคคลผูใดผูหนึ่ง เปนภิกษุหรือภิกษุณีก็ตามยอมพยากรณการบรรลุอรหัตต ในสํานักของเราดวยมัคค ๔ โดยประการทั้งปวงหรืออยางใดอยางหนึ่ง เพราะฉะนั้น ขอใหพิจารณาประการที่ ๑ คือภิกษุในธรรมวินัยนี้ เจริญวิปสสนามีสมถะเปนเบื้องหนา โดยมากมักจะเขาใจกันวา สมถะนั้นจะตองถึงข้ันฌานจิต แตความหมายของสมถะธรรมดาตามปกตินั้น ก็คือ ความสงบ เพราะฉะนั้น เวลาที่มีสติความสงบก็มีได ฉะนั้น ผูที่เจริญวิปสสนารูลักษณะของนามรูป ก็จะรูไดวาในขณะนั้นมีความสงบ ฉะนั้น ทานผูนั้นมีสมถะเปนเบื้องหนา ถึงแมวาทานเจริญวิปสสนามีสติรูลักษณะของนามและรูป แตในขณะที่มีสติบอยๆเนืองๆนั้น ความสงบอาจจะเกิดขึ้นมากก็ได โดยสภาพของความเปนอนัตตา ไมใชเพราะความจงใจ หรือความตองการที่จะใหมีความสงบ นี่ก็เปนประการที่ ๑ อีกประการหนึ่ง คือประการที่ ๒ ยอมเจริญสมถะมีวิปสสนาเปนเบื้องหนา บางทานกําลังโกรธสติไมเกิดเลย เพราะวาเปนปกติ กิเลสมีกําลังในขณะนั้น ถาหากมีกําลังมาก ก็อาจจะทําใหกายวาจาไหวไปในทางที่ไมสมควรเพราะโลภะบาง โทสะบาง โมหะบาง ในขณะนั้นสติไมสามารถที่จะรูลักษณะของนามและรูปได ทานอาจจะเจริญกุศลวิธีอ่ืน อานพระธรรมจิตสงบ หรือระลึกถึงความเมตตา ทานทําเองไมไดมีใครสั่ง ถึงบอกยังไงก็ทําไมได ถาในขณะนั้นสภาพธรรมเหลานั้นไมไดเกิดขึ้น แตการที่ทานไดเคยฟงธรรม ก็มีอุบายมีวิธีที่จะทําใหความรูสึกหรือวาลักษณะสภาพธรรมนั้นเบาบางหรือวาระงับไป ทําใหจิตใจสงบขึ้น เพราะฉะนั้น เวลาที่จิตใจของทานสงบ ทานก็พิจารณาลักษณะของนามและรูปที่ปรากฏได เพราะฉะนั้น สําหรับทานเหลานั้นยอมเจริญสมถะมีวิปสสนาเปนเบื้องหนา ทานที่ไมสามารถที่จะมีสติรูลักษณะของอกุศลธรรมที่กําลังปรากฏ แลว ทานก็มีวิธีระงับยับยั้ง ทําใหเกิดความสงบขึ้น เมื่อจิตใจของทานสงบแลว สติก็พิจารณารูลักษณะของนามและรูป ทานเหลานั้นก็อยูในขอที่วา

Page 12: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 11

ภิกษุยอมเจริญสมถะมีวิปสสนาเปนเบื้องหนา หมายความวาจิตใจสงบ เสียกอนแลวจึงจะรูลักษณะของนามและรูป แตอยาไปบังคับหรืออยาไปตั้งเปนกฏเกณฑ ถาขณะนั้นมีอะไรที่ทําใหทานไมเกิดสติ มีอะไรที่ทําใหทานหันไปหาการกุศล เปนการศึกษาเปนการอานพระธรรมที่จะทําใหจิตใจสงบ แลวก็เมื่อสงบแลวทานก็มีสติเกิดขึ้นพิจารณานามและรูปตามปกติในชีวิตประจําวัน ก็เปนเรื่องของธรรมทั้งหลายที่เกิดขึ้นเพราะเหตุปจจัย แมในขณะที่ทานกระทําเชนนั้น ก็เปนนามเปนรูปเกิดขึ้นเพราะเหตุปจจัย ไมใชตัวตน ใหทราบวาอบรมมาอยางนั้น ประการที่ ๓ ที่วา ภิกษุเจริญสมถะและวิปสสนาควบคูกันไป อันนี้ก็หมายความถึงทานที่เคยเจริญสมถกัมมัฏฐานมากอนแลว เพราะฉะนั้น เวลาที่ทานเจริญสมถกัมมัฏฐานแลว ทานก็ไดฟงพระธรรมเทศนาเรื่องของการเจริญสติปฏฐานดวย เพราะฉะนั้น อุปนิสสัยของความเคยชินของการที่จะทําใหจิตสงบดวยการเจริญสมถะ ก็เปนปกติในชีวิตของทาน แตวาเมื่อไดฟงพระธรรมขณะที่ทานกําลังเจริญความสงบอยู จะเปนสมถะชนิดหนึ่งชนิดใดใน ๔๐ กัมมัฏฐานนั้นก็ตาม สติปฏฐานคือการรูลักษณะของจิต การรูลักษณะของนาม การรูลักษณะของสภาพธรรม ที่ปรากฏในขณะนั้นก็มีได เพราะเหตุวาทานเคยฟง นี่ก็เปนการเจริญสมถะและวิปสสนาควบคูกันไป อีกประการหนึ่ง คือประการที่ ๔ ใจของภิกษุปราศจากอุทธัจจะในธรรม คือปราศความฟุงซาน สมัยนั้นจิตยอมตั้งมั่นสงบภายใน พิจารณาฌานจิต หรือวาพิจารณาจิตใจที่สงบถึงขั้นนั้นแลว ก็ชื่อวาเปนขอที่ใจของภิกษุปราศจากอุทธัจ- จะในธรรม สมัยนั้นจิตยอมตั้งมั่น เมื่อใจของภิกษุปราศจากอุทธัจจะในธรรม มัคคยอมเกิด ยอมเสพ ยอมเจริญ ยอมกระทําใหมากซึ่งมัคคนั้น ยอมละสังโยชนทั้งหลายได อนุสัยยอมสิ้นสุด แตจะเห็นไดวาผูเจริญฌานนั้น ไมใชทุกคนบรรลุมัคคผลไดฌานจริงจิตตั้งมั่นจริง แตถาเจริญสติปฏฐานไมพอ ปญญารูลักษณะของนามและรูปไมพอที่จะคลายความยึดถือสภาพนามรูปเหลานี้วาเปนตัวตนแลว ถึงแมวาไดฌานก็ไมบรรลุมัคคผล

Page 13: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 12

นี่จะเห็นความสอดคลองในพระวินัยปฏกที่วา ทําไมพระผูมีพระภาคจึงมิไดทรงวางกฏเกณฑในเรื่องของการเจริญสติปฏฐาน ทรงบัญญัติวินัย แตทรงแสดงธรรมอุปการะใหสติเกิดบอยข้ึน เพื่อใหรูธรรมทั่วข้ึน ทรงแสดงเรื่องของสมาธิจริง เพราะวามีเวลาวางจิตใจยอมเปนไปในเรื่องของความสงบสําหรับผูที่ละอาคารบานเรือนแลว แตก็แสดงเรื่องของสติปฏฐานวา แมขณะที่จิตสงบนั้นก็เปนแตเพียงนามชนิดหนึ่ง เพราะฉนั้น ไมใชโคนไมตลอดเวลา ไมใชเรือนวางตลอดเวลา ตองทํากิจอ่ืนๆ ซึ่งเปนไปตามปกติในชีวิตประจําวันดวย เพื่อใหเห็นวาแมขณะที่กําลังกระทํากิจอื่น ตามพระวินัยบัญญัตินั้น ก็เปนเพียงแตนามรูปเทานั้น ยังมีในพระสูตรอีกที่เปนเครื่องแสดงใหเห็นวา การเจริญสติปฏฐานนั้นปญญาจะตองรูลักษณะของนามและรูปตามปกติในชีวิตประจําวัน ใน อังคุตตรนิกาย จตุกนิบาต ปฏิปทาวรรคที่ ๒ กลาวถึงขอปฏิบัติสําหรับผูที่บรรลุมัคคผลไว ๔ ประการ คือ ทุกฺขา ปฏิปทา ทนฺธาภิญญา ปฏิบัติลําบาก ทั้งรูไดชา ๑ ทุกฺขา ปฏิปทา ขิปฺปาภิญญา ปฏิบัติลําบาก แตรูไดเร็ว ๑ สุขา ปฏิปทา ทนฺธาภิญญา ปฏิบัติสดวก แตรูไดชา ๑ สุขา ปฏิปทา ขิปฺปาภิญญา ปฏิบัติสดวก ทั้งรูไดเร็ว ๑ นี่ก็เปนเรื่องของแตละชีวิต แตละบุคคลในชีวิตประจําวัน ทานแสดงไววา ที่ชื่อวา ทุกฺขาปฏิปทานั้น ก็คือ โดยปกติเปนคนมีราคะกลา ยอมไดเสวยทุกขโทมนัสอันเกิดแตราคะเนือง ๆ บาง หรือวาโดยปกติเปนคนมีโทสะกลา ยอมไดเสวยทุกขโทมนัสอันเกิดจากโทสะเนือง ๆ บาง โดยปกติเปนคนมีโมหะกลา ยอมไดเสวยทุกขโทมนัสอันเกิดแตโมหะเนือง ๆ บาง ทุกทานรูจักตัวดีกวาคนอื่น ใชไหมคะวา มีราคะกลา หรือวามีโทสะกลาหรือวามีโมหะกลา จะตองใหคนอื่นบอกไหมคะ

Page 14: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 13

สําหรับปฏิปทาขอที่ ๑ คือ ทุกฺขาปฏิปทา ทนฺธาภิญญา นั้นก็ตือวา ทุกฺขา ปฏิปทา โดยปกติเปนคนมีราคะกลา โทสะกลา โมหะกลา ก็ยอมไดเสวยทุกข- โทมนัส อันเกิดแตราคะ โทสะ โมหะ เนืองๆ บอยๆ และสวนที่เปน ทันธาภิญญา นั้นคือวา อินทรียออน จึงสิ้นกิเลสชา อินทรีย ๕ ไดแก สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา เราสิ้นกิเลสเร็วหรือชาคะ แลวก็มีราคะกลา โทสะกลา โมหะกลา ไหม เพลินไปเนือง ๆ บอยๆ หรือวามีความโกรธทําใหเกิดทุกขโทมนัสวันหนึ่งๆไมรูเทาไร ทางตาก็ไมพอใจ ทางหูกระทบอะไรก็ไมพอใจ ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจเปนไปในเรื่องราคะบาง โทสะบาง โมหะบาง ที่กลาขึ้นมาไดอยางนี้ก็เพราะเหตุวาสะสมเนืองๆ บอยๆ เพราะฉะนั้น เมื่อนิสสัยเดิมปกติเปนคนมีราคะกลา โทสะกลา โมหะกลา ก็จะตองเจริญนิสสัยมีสติรูลักษณะของนามและรูป แลวอินทรียจะไดกลาขึ้น สําหรับ สุขาปฏิปทา ทันธาภิญญา ก็คือผูที่ปฏิบัติสดวก แตรูไดชา สุขา-ปฏิปทา ขิปปาภิญญา ก็เปนผูที่ปฏิบัติสดวก ทั้งรูไดเร็ว สุขาปฏิปทาก็คือ โดยปกติไมเปนคนมีราคะกลา ยอมไมไดเสวยทุกขโทมนัสอันเกิดดแตราคะเนืองๆบาง โดยปกติไมเปนคนมีโทสะกลา ยอมไมไดเสวยทุกขโทมนัสอันเกิดแตโทสะเนืองๆบาง โดยปกติไมเปนคนมีโมหะกลา ยอมไมไดเสวยทุกขโทมนัสอันเกิดแตโมหะเนืองๆบาง ใครจะหามไมใหเห็น ไดยินสิ่งตางๆ ซึ่งเกิดขึ้นเพราะกรรมที่ไดทํามาแลว แตไมใชเปนเรื่องของกรรมเทานั้น เรื่องของกิเลสสะสมมามากหรือนอย เพราะวาบางทีสิ่งที่เห็นอาจจะไมใชสิ่งที่ดีนาเพลิดเพลินที่นาพอใจ แตโลภะไมเกิดโทสะไมเกิดโมหะไมเกิดก็ได หรือวาอาจจะแวดลอมไปดวยสิ่งที่นาเพลิดเพลินยินดีพอใจทั้งนั้น ก็มีราคะกลาพอใจมากเพลิดเพลินก็ได หรือวาเปนคนที่ถึงแมวาอารมณจะประณึต สักเทาไร แตก็เปนผูที่มีโทสะกลาก็ได มีโมหะกลาก็ได

Page 15: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 14

สุขาปฏิปทาก็ดี ทุกขาปฏิปทาก็ดีนั้น เปนเรื่องของความเปนผูที่มีกิเลสคือ มีราคะกลา มีโทสะกลา มีโมหะกลา หรือเปนผูที่ไมมีราคะกลา ไมเปนคนมีโทสะกลา ไมเปนคนมีโมหะกลา สวนเรื่องของการบรรลุ ถึงแมวาจะเปนสุขาปฏิปทา บรรลุชาก็ได เปน เพราะเหตุใด ? เพราะเรื่องของการบรรลุมัคคผลนั้นเปนเรื่องของอินทรีย ถาอินทรียออนถึงแมจะเปนสุขาปฏิปทาก็บรรลุชา แตถาเปนสุขาปฏิปทาขิปปาภิญญา เปนผูที่ปกติไมเปนผูมีราคะ โทสะ โมหะกลา แลวก็อินทรียกลาดวย ไดเจริญสัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญามามาก เพราะฉะนั้น ก็เปนผูที่บรรลุไดเร็ว เพราะฉะนั้น ก็จะเห็นไดนะคะวา การเจริญสติปฏฐานไมวาในครั้งพุทธกาลหรือวาในปจจุบันนี้ ก็เปนการเจริญสติปฏฐานตามปกติในชีวิตประจําวัน ถาไมใชชีวิตประจําวันแลว จะมีเรื่องราคะกลาไหม จะมีเรื่องโทสะกลาไหม จะมีเรื่องโมหะกลาไหม แตเพราะเหตุวา เปนเรื่องตองรูชีวิตจริงๆ ตามปกติในชีวิตประจําวัน ฉะนั้น ปฏิปทาของผูที่บรรลุมัคคผลสิ้นกิเลส จึงมี ๔ ประการคือ ทุกฺขาปฏิปทา ทันธาภิญญา ปฏิบัติลําบากทั้งรูไดชา ๑ ทุกฺขาปฏิปทา ขิปปาภิญญา ปฏิบัติลําบากแตรูไดเร็ว ๑ ทั้งๆที่มีราคะกลา โทสะกลา โมหะกลา แตอินทรีย คือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา ก็ไดเจริญมามาก เพราะฉะนั้น ทานก็เปนผูที่บรรลุไดเร็ว และขอ ความในพระสูตรก็ไดกลาวถึงเรื่องนี้วา ทานพระสารีบุตรไดเขาไปหาทานพระโมคคัลลานะถึงที่อยู เมื่อไดปราศัยแลว ทานพระสารีบุตรก็ไดถามทานพระมหาโมคคัลลานะวา ปฏิปทา ๔ นี้ ทาน พระมหาโมคคัลลานะพนจากอาสวะทั้งหลาย เพราะอาศัยปฏิปทาขอไหน ซึ่งทานพระมหาโมคคัลานะก็ไดกลาวตอบวา ทานพนดวยทุกขาปฏิปทา -ขิปปาภิญญา เปนผูที่มีราคะกลา โทสะกลา โมหะกลา แตบรรลุเร็ว เพราะวาอดีตชาตินั้นทานก็สะสมเรื่องของ ราคะ โทสะ โมหะ แลวทานก็ไดเจริญอินทรีย สัทธา วิริยะ

Page 16: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 15

สติ สมาธิ ปญญามามาก เพราะฉะนั้น ถึงแมวาทานจะมีราคะ โทสะ โมหะกลา ทานก็บรรลุเร็ว และขอความตอไปก็มีวา ทานพระมหาโมคคัลลานะก็ไดเขาไปหาทานพระสารีบุตร เมื่อไดปราศรัยทักทายกันแลว ทานก็ถามวา ปฏิปทา ๔ นี้ ทานพระสารีบุตรพนจากอาสวะทั้งหลาย เพราะอาศัยปฏิปทาขอไหน ทานพระสารีบุตรก็กลาวตอบวาเพราะ สุขาปฏิปทา ขิปปาภิญญา นี่คือความตางกันของทานอัครสาวกทั้งสอง ใน ขุททกนิกาย เถรคาถา อภัยเถรคาถา มีขอความวา เราไดฟงพระวาจาอันเปนสุภาษิตของพระพุทธเจาผูเปนเผาพันธุแหงพระอา- ทิตย จึงไดรูแจงแทงตลอดซึ่งธรรมะอันละเอียด เหมือนบุคคลยิงปลายขนทรายดวยลูกศร ฉะนั้น ผูเปนพระอริยะทานกลาวไวอยางนี้ เพราะฉะนั้น ผูที่จะเปนพระอริยะก็จะตองรูธรรมละเอียด ชัดเจน ถูกตอง ไมใชไมรู ถายังคงไมรูแลวก็แยกโลกทั้ง ๖ ทางนี้ไมออก ไมรูชัดตามความเปนจริง ที่จะใหปญญาสมบรูณข้ึนเปนขั้นๆนั้น ก็เปนสิ่งที่เปนไปไมไดเลย เพราะฉะนั้น ผูที่มีชีวิตอยูวันหนึ่งๆ ก็เพราะเหตุวา ยังมีกรรมที่ทําใหวิบากดํารงสืบตอจากขณะหนึ่งไปสูอีกขณะหนึ่ง เชามาถึงเย็น เย็นไปถึงพรุงนี้ หมุนเวียนไปเรื่อยๆ ก็เปนเรื่องของกรรมที่แลวแตวาจะไดรับผลของกรรมอะไร ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็จงเปนผูที่พิจารณารูลักษณะของโลกที่ปรากฏตาม ความเปนจริง ใน ขุททกนิกาย เถรคาถา อุตติยาภรคาถา มีขอความวา เมื่ออาพาธบังเกิดขึ้นแกเรา สติก็เกิดแกเราวา อาพาธเกิดขึ้นแกเราแลว เวลานี้ เปนเวลาที่เราไมควรประมาท การเจ็บไขไดปวยก็เปนผลของกรรมเหมือนกัน มีผูใดจะบังคับได วันนี้แข็งแรงดี พรุงนี้ก็เจ็บปวยได แตสําหรับทานที่เจริญสติ แลวมีปญญาที่ไดอบรมมาแลว ถึงแมวาในขณะที่ทานไดรับวิบากซึ่งเปนผลของกรรม คือการอาพาธ

Page 17: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 16

เกิดขึ้น สติก็เกิดขึ้นแกทานดวยวา เมื่ออาพาธเกิดขึ้นแกทานอยางนั้นแลว เวลานั้นเปนเวลาที่ทานไมควรประมาท และการเจ็บไขไดปวยไมสบายจะมีการจํากัดสถานที่ไหมคะ จะเจ็บไขไดปวยที่ไหนไดทั้งนั้น ฉะนั้น การเจริญสติปฏฐานก็ ยอมเจริญไดทุกแหงไมมีจํากัดสถานที่ แลวแตทานจะอยูที่ใดก็ตาม มีสติเกิดขึ้นทานก็เปนผูไมประมาท เชิญคะ ถ. ........... ส. ผลที่ไดรับทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็เปนผลของกรรมในอดีต แตอดีต ก็มีทั้งปจจุบันชาตินี้ ที่ไดทําแลวก็เปนอดีต แลวก็มีชาติกอนๆดวย เพราะฉะนั้น เราจะมีหนทางทราบไดไหมวา ที่เรากําลังไดรับผลของกรรมทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เปนผลของกรรมในชาตินี้เอง หรือวาเปนผลของกรรมในชาติกอน ถึงรูก็ ไมทําใหรูแจงอริยสัจจ แลวก็รูไมได นอกจากพระผูมีพระภาค ถามิฉะนั้นแลวพระสาวกทั้งหลายก็คงไมตองไปเฝากราบทูลถามวา แตละขณะที่ปรากฏกับแตละทานนั้นเปนผลของกรรมอะไร เปนกรรมในอดีตหรือกรรมในปจจุบันชาติ แตขอสําคัญก็คือวา ขอใหรูลักษณะของนามและรูปกอน เรื่องของการเจริญสติปฏฐาน เรื่องของการที่จะรูวาเปนผลของกรรมอะไรไมใชเพราะการศึกษา แตเปนเพราะการเจริญสติปฏฐานรูลักษณะของนามและรูป มากขึ้น ชัดขึ้น ละคลายมากขึ้น รูทั่วข้ึน บรรลุมัคคผลถึงขั้นพระอรหันตเมื่อไรประกอบดวยปฏิสัมภิทาก็ได ประกอบดวยอภิญญาก็ได ประกอบดวยวิชชา ๓ ก็ได แตวาขอสําคัญที่สุดก็คือ ถาทานมีแตเพียงการศึกษา ไมมีการเจริญสติปฏฐาน อยาหวังที่จะไดรูอะไรมาก ไมมีหนทางเลย เพราะวาเพียงแตทางตา หู จมูก ลิ้น ทางกาย ทางใจที่กําลังปรากฏใกลๆ เปนปจจุบันก็ยังไมรู แลวจะไปรูถึงอดีตชาติหรือกรรมที่ทําสําเร็จไปแลววา กรรมใดเปนปจจัยใหวิบากจิตไดรับผลทางตา หูจมูก ลิ้น กาย ในขณะนี้ก็เปนสิ่งที่เปนไปไมได .....................

Page 18: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 17

เทปตนฉบับ ของมูลนิธิศึกษา และ เผยแพรพระพุทธศาสนา แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๓ แตขอสําคัญก็คือวา ขอใหรูลักษณะของนามและรูปกอน เรื่องของการ เจริญสติปฏฐาน เรื่องของการที่จะรูวาเปนผลของกรรมอะไร ไมใชเพราะการศึกษา แตเปนเพราะการเจริญสติปฏฐานรูลักษณะของนามและรูปมากขึ้น ชัดข้ึน ละคลายมากขึ้น รูทั่วข้ึน บรรลุมัคคผลถึงขั้นพระอรหันตเมื่อไร ประกอบดวยปฏิสัมภิทาก็ได ประกอบดวยอภิญญาก็ได ประกอบดวยวิชชา ๓ ก็ได แตวาขอสําคัญที่สุดฏ็คือ ถาทานมีแตเพียงการศึกษา ไมมีการเจริญสติปฏฐาน อยาหวังที่จะไดรูอะไรมาก ไมมีหนทางเลย เพราะเหตุวา เพียงแคทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ที่กําลังปรากฏใกลๆเปนปจจุบันก็ยังไมรู แลวจะไปรูถึงอดีตชาติ หรือกรรมที่ทําสําเร็จไปแลว วากรรมใดเปนปจจัยใหวิบากจิตไดรับผลทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกายในขณะนี้ ก็เปนสิ่งที่เปนไปไมได คงจะทราบแลววา เมื่อพระผูมีพระภาคตรัสรูที่ใกลฝงแมน้ําเนรัญชรา ตําบลอุรุเวลา พระองคก็ไดทรงปรารถถึงวา พระองคจะทรงแสดงธรรมกับผู ใดแลวก็เห็นวา ขณะนั้น ผูที่ยังมีชีวิตอยูที่สมควรจะไดรับการฟงพระธรรมเทศนาก็คือ พระปญจวัคคีย ซึ่งอยูที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน ที่เมืองพาราณสี เพราะฉะนั้น พระผูมีพระภาคก็เสด็จจาริกจากที่ตรัสรูไปยังพระนครพาราณสี ที่ปา อิสิปตนมฤคทายวัน เมื่อพระองคเสด็จไปถึงปาอิสิปตนมฤคทายวันนั้น พระปญจวัคคียคิดวาจะไมฟงธรรมจะไมตอนรับ เพราะวาเคยเห็นพระผูมีพระภาคทรงทรมาน พระองคดวยความเพียรอยางมาก แลวก็เลิกลมการทรมานพระองคดวยความเพียรนั้น ก็เขาใจวาไมใชหนทางที่จะทําใหบรรลุเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาไดแตพระผูมีพระภาคก็ไดตรัสกับพระปญจวัคคียซึ่งไมเต็มใจจะฟงธรรมวา ณ บัดนี้พระองคไดตรัสรูเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาแลว เพราะ ฉะนั้น ก็ใหพระปญจวัคคียไดฟงธรรมที่พระองคจักแสดง ซึ่งพระปญจวัคคียก็

Page 19: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 18

ฟง เมื่อฟงจบเทศนาแลว ทานพระอัญญาโกณทัญญะ ก็ไดบรรลุเปนพระโสดาบัน นั่นเปนเรื่องของการฟงธรรม แลวก็บรรลุเปนพระโสดาบันบุคคลสําหรับ ผูที่เปนบรรพชิตเพราะเหตุวาในขณะนั้นทานพระปญจวัคคียก็ไดละอาคารบานเรือนแลว เพราะฉะนั้น ตอไปก็จะเปนตัวอยางของ อุบาสก อุบาสิกา ที่ยังครองเรือน ในพระวินัย มหาวรรค ภาค ๑ มหาขันธกะ เรื่อง ยสกุลบุตร ยสกุลบุตรเปนบุตรเศรษฐีในพระนครพาราณสี เปนผูที่เพียบพรอมสมบรูณ ดวยกามคุณ ๕ มารดาบิดาก็สรางปราสาทใหอยูถึง ๓ หลัง สําหรับหนาหนาวหนารอน หนาฝน และทานเปนผูที่เพียบพรอมดวยกามคุณ แตถึงกระนั้นก็ตามจิตของผูที่ไดสะสมเจริญอินทรียมาในอดีตนั้น ก็ทําใหทานสามารถที่จะเห็นโทษหรือวาเกิดจิตที่เบื่อหนายในสิ่งที่ทานมองเห็น ซึ่งคนอื่นเห็นวาเปนความเพลิดเพลินเปนสิ่งที่นาพอใจ ถึงกับเปลงอุทานวา " ทานผูเจริญ ที่นี่วุนวายหนอ ที่นี่ขัดของหนอ " ( ก็คงจะเปนการบน เวลาที่เห็นสิ่งที่รูสึกวา ไมใชความสงบ ) แลวยสกุลบุตรทานก็สวมรองเทาทองเดินตรงไปที่ประตูบาน พวกอมนุษยเปดประตูใหดวยหวังใจวาใครๆ อยาไดทําอันตรายแกการออกจากเรือน บวชเปนบรรพชิตของยสกุลบุตรเลย ลําดับนั้น ยสกุลบุตรเดินตรงไปทางประตูพระนคร พวกอมนุษยก็เปดประตูให ดวยหวังใจวาใครๆ อยาไดทําอันตรายแกการออกจากเรือน บวชเปนบรรพชิตของยสกุลบุตรเลย ยสกุลบุตรก็ไดเกินตรงไปทางปาอิสิปตนมฤคทายวัน ขณะนั้นก็เปนเวลาใกลรุง พระผูมีพระภาคตื่นบรรทมแลวเสด็จจงกลมอยู ณ ที่แจง พระผูมีพระภาคทอดพระเนตรเห็นยสกุลบุตรเดินมาแตไกล ก็เสด็จลงมาจากที่จงกลมประทับ นั่งบนอาสนะที่ปูลาดไว ขณะนั้น ยสกุลบุตรก็เปลงอุทานในที่ไมไกลพระผูมีพระภาคอีกวา " ทาน ผูเจริญ ที่นี่วุนวายหนอ ที่นี่ขัดของหนอ " พระผูมีพระภาคก็ตรัสกับ ยสกุลบุตรวา " ที่นี่ไมวุนวาย ที่นี่ไมขัดของ "

Page 20: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 19

มาเถิด ยสะ นั่งลงเราจักแสดงธรรมแกเธอ ยสกุลบุตรพอไดยินวา " ที่นี่ไมวุนวาย ที่นี่ไมขัดของ " ก็รูสึกราเริงบันเทิงใจ ก็ถอดรองเทาทอง เขาไปเฝาพระผูมีพระภาค ถวายบังคมพระผูมีพระภาคแลวนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง เมื่อยสกุลบุตรนั่งเรียบรอยแลว พระผูมีพระภาคก็ไดทรงแสดง อนุปุพพิ- กถา ซึ่งเปนการแสดงธรรมตามลําดับ คือทรงแสดงเรื่องของทาน เรื่องของศีล เรื่องของสวรรค เรื่องโทษของกาม เรื่องอานิสงสในการออกจากกาม และตอน สุดทายก็ทรงแสดงอริยสัจจ ๔ ซึ่งก็มีเรื่องของการเจริญสติปฏฐานเปนมัคค ยสกุลบุตรไดดวงตาเห็นธรรม ไดเปนพระโสดาบันบุคคล รุงเชา มารดาของยสกุลบุตรไมเห็นบุตร ก็ไดไปบอกทานเศรษฐีผูเปนบิดาทานเศรษฐีผูเปนบิดาก็ไดใหคนขี่มาไปตามหายสกุลบุตรทั้ง ๔ ทิศ สวนตัวเองนั้นไปทางปาอิสิปตนมฤคทายวัน เมื่อไปถึงก็เห็นรองเทาทองวางอยู ก็ตามไปสูณ ที่ซึ่งพระผูมีพระภาคประทับอยู พระผูมีพระภาคทรงบรรดาลดวยอิทธิฤทธิไมใหเศรษฐีเห็นบุตร เศรษฐีก็ทูลถามถึงยสกุลบุตร พระผูมีพระภาคตรัสวา ดูกร คหบดี ถาอยางนั้นเชิญนั่ง บางทีทานนั่งอยู ณ ที่นี้ จะพึงไดเห็นยสกุลบุตรผูนั่งอยู ณ ที่นี้ เศรษฐีพอไดฟงก็ดีใจวา ถาทานเศรษฐีนั่งอยูที่นั่นก็จะไดเห็นบุตรชาย เพราะฉะนั้น เศรษฐีก็ถวายบังคมพระผูมีพระภาค แลวนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง พระผูมีพระภาคก็ไดทรงแสดงธรรม เชนเดียวกับยสกุลบุตร คือทรงแสดง อนุปุพพิกถา เศรษฐีก็ไดบรรลุธรรมเปนพระอริยบุคคล ถึงความเปนผูแกลวกลา ไมตองเชื่อผูอ่ืนในคําสอนของพระศาสดา เศรษฐีก็ไดทูลคํานี้แดพระผูมีพระภาควา ขาแตพระองคผูเจริญ ภาษิตของพระองคแจมแจงนัก ภาษิตของพระองคไพเราะนัก พระพุทธเจาขา พระองคทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยายอยางนี้เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ํา เปดของที่ปด บอกทางแกคนหลง หรือสองประทีปในที่มืด ดวยตั้งใจวาคนมีจักษุจักเห็นรูป ดังนี้

Page 21: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 20

ขาพระพุทธเจานี้ ขอถึงพระผูมีพระภาค พระธรรม และพระสงฆ วาเปนสรณะ ขอพระองคจงทรงจําที่ขาพระพุทธเจาวา เปนอุบาสกผูมอบชีวิตถึงสรณะ จําเดิมแตวันนี้เปนตนไป พระผูมีพระภาคก็ไดคลายฤทธิ์ ใหทานเศรษฐีไดเห็นยสกุลบุตร ซึ่งขณะที่พระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมกับเศรษฐีซึ่งเปนบิดานั้น ยสกุลบุตรก็ไดฟงธรรมนั้นอีกครั้งหนึ่ง แลวก็ไดบรรลุเปนพระอรหันต เพราะฉะนั้น เวลาที่พระผูมีพระภาคทรงคลายฤทธิ์ ใหเศรษฐีไดเห็น ยสกุลบุตร เศรษฐีก็ไดบอกแกยสกุลบุตรใหทราบถึงความทุกขความเศราโศกของ มารดา เพื่อใหยสกุลบุตรกลับไปครองเรือนอยางเกา ซึ่งยสกุลบุตรก็ไดชําเลืองดูพระผูมีพระภาค พระผูมีพระภาคตรัสกับทานเศรษฐีวา ยสกุลบุตรหมดกิเลสแลว ควรหรือที่จะกลับเปนคฤหัสถบริโภคกาม เหมือนเปนคฤหัสถครั้งกอน ซึ่งทานเศรษฐีก็ไดกราบทูลวา " ขอนั้นไมควรเลย พระพุทธเจาขา " แลวพรอมกันนั้นก็ไดกราบทูลวา " เปนลาภของยสกุลบุตร ที่ไดบรรลุธรรมถึงขั้นเปนพระอรหันต " แลวไดทูลเชิญพระผูมีพระภาค มียสกุลบุตรเปนปจฉาสมณะใหรับภัตตาหารในวันรุงขึ้น ซึ่งพระผูมีพระภาคก็ทรงรับโดยดุษณีภาพ เมื่อเศรษฐีกลับไปแลว ยสกุลบุตรก็ขออุปสมบทในสํานักของพระผูมีพระภาค ซึ่งเปนพระอรหันตองค ที่ ๗ นับพระผูมีพระภาคเปนพระอรหันตองค ที่ ๑ ปญจวัคคียอีก ๕ ทานพระยสกุลบุตรก็เปนองคที่ ๗ ซึ่งทานเศรษฐีนั้นเมื่อไดเห็นธรรม ไดประกาศตนถึงพระรัตนตรัยแลวเศรษฐีผูเปนบิดาของยสกุลบุตร ก็เปนอุบาสกที่กลาวอางพระรัตนตรัยเปนคนแรกในโลก เวลานี้ทุกทานที่เปนอุบาสกนับถือพระพุทธศาสนา ทานก็ไดกลาวคํานี้กันอยูเสมอ คือถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะ แตทานอาจจะไมทราบวาใครเปนอุบาสกคนแรกที่ไดกลาวคํานี้ ก็ใหทราบดวยวาเปนบิดาของยสกุลบุตร

Page 22: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 21

ตอนเชา พระผูมีพระภาคก็ไดเสด็จไปที่บานเศรษฐีพรอมดวยทานพระยสะมารดาและภรรยาเกาของทานพระยสะก็มาเฝา ถวายบังคมแลวนั่ง ณ ที่สมควรสวนขางหนึ่ง พระผูมีพระภาคก็ทรงแสดงอนุปุพพิกถา ซึ่งเมื่อมารดาและภรรยาเกาของทานพระยสะไดฟงธรรมก็ไดบรรลุธรรม ประกาศตนเปนอุบาสิกาผูมอบชีวิตถึงสรณะจําเดิมแตวันนั้นเปนตนไป มารดาและภรรยาเกาของทาน พระยสะก็เปนอุบาสิกา ที่กลาวอางพระรัตนตรัยเปนคูแรก ทานพระยสะทานเปนบุตรเศรษฐี เพราะฉะนั้น ทานก็มีสหายคฤหัสถเปนอันมากทีเดียว สหายคฤหัสถ ๔ คนของทานพระยสะ คือ วิมะละ ๑ สุพาหุ ๑ ปุณณชิ ๑ ควัมปติ ๑ ลวนเปนเศรษฐีสืบๆมาในพระนครพาราณสี เมื่อสหายคฤหัสถของทานพระยสะไดทราบขาววาทานพระยสะไดบวชในสํานักของพระผูมีพระภาค ก็คิดวาการกระทําของทานพระยสะนั้น ตองเปนทางที่ไมต่ําทรามเปนแนนอน เพราะฉะนั้นทั้ง ๔ ทานก็พากันไปหาทานพระยสะ ทาน พระยสะก็พาไปเฝาพระผูมีพระภาค กราบทูลขอใหพระผูมีพระภาคโปรดประ ทานโอวาทสั่งสอนสหายทั้ง ๔ พระผูมีพระภาคก็ทรงแสดงอนุปุพพิกถา แลวสหายทั้ง ๔ นั้น ก็บรรลุเปนพระอริยบุคคล เมื่อบรรลุเปนพระอริยบุคคลบวชแลวไดฟงธรรม ก็ไดบรรลุเปนพระอรหันตอีก ๔ ทาน ก็รวมเปนพระอรหันต ๑๑ องค มีขอปฏิบัติเปนแบบฉบับที่ตองใหทําอยางนั้น ตองใหทําอยางนี้ ใหนั่งอยาง นั้น ใหเดินอยางนี้ หรือใหเริ่มที่โนน ใหตั้งตนที่นี่ ในพระไตรปฏกไมไดกลาวไวเลย ตอจากสหายคฤหัสถ ๔ คน ก็ถึงสหายคฤหัสถ ๕๐ คนเปนชาวชนบทเปนบุตรของสกุลเกาๆสืบๆกันมาในนครพาราณสี ซึ่งก็ไดไปหาทานพระยสะ พระ ยสะก็ไดพาไปเฝาพระผูมีพระภาคเชนเคย กราบทูลขอใหพระผูมีพระภาคโปรดประทานโอวาทสั่งสอนสหาย ก็เหมือนกันอีก คือ ทรงแสดงอนุปุพพิกถากับอริยสัจจ ๔ แลวสหาย คฤหัสถนั้นก็บรรลุเปนพระโสดาบัน และเมื่อไดฟงธรรมตอไปก็ไดบรรลุธรรมเปนพระอรหันต

Page 23: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 22

นี่ก็เปนเรื่องที่ทานจะคิดได วาเรื่องของการเจริญสติปฏฐานนั้น ยังจะตองคิดอยูในเรื่องของระเบียบ เรื่องของกฏเกณฑตางๆไหม สําหรับตอนนี้ มีผูใดสงสัยบางไหมคะ อีกสูตร ๑ ใน มัชฌิมนิกาย อุปริปณณาสน ปุณโณวาทสูตร ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคประทับ ณ พระวิหารเชตวัน ทานพระปุณณะออกจากที่หลีกเรนในเวลาเย็น เขาไปเฝาพระผูมีพระภาคยังที่ประทับ ถวายอภิวาทแลวนั่งลง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง พอนั่งเรียบรอยแลวก็ไดกราบทูลพระผูมีพระ-ภาค ดังนี้วา ขาแตพระองคผูเจริญ ขอพระผูมีพระภาคไดโปรดสอนขาพระองค ดวย พระโอวาทยอๆ พอที่ขาพระองคไดสดับธรรมของพระผูมีพระภาคแลว จะเปนผูๆเดียวหลีกออก ไมประมาท มีความเพียร สงตนไปในธรรมอยู พระผูมีพระภาคตรัสวา ดูกร ปุณณะถาอยางนั้นเธอจงฟง จงใสใจใหดี เราจักกลาวตอไป ซึ่งขอความก็มีวา พระผูมีพระภาคก็ทรงโอวาทไมใหทานพระปุณณะ ติด ใจเพลิดเพลินในรูป ในเสียง ในกลิ่น ในรส ในโผฏฐัพพะ ในธัมมารมณนั่นเอง แลวพระผูมีพระภาคไดตรัสตอไปวา ดูกร ปุณณะ ก็เธออันเรากลาวสอนดวยโอวาทยอๆนี้แลว จะอยูในชนบทไหน ซึ่งทานพระปุณณะก็ไดกราบทูลวา ทานไปอยูชนบทชื่อวา สุนาปรันตะซึ่งเปนเมืองที่ผูคนดุราย และภายในพรรษานั้นเองทานแสดงธรรม มีคนกลับใจเปนอุบาสก ๕๐๐ อุบาสิกา ๕๐๐ และทานเอง ก็ไดทําใหแจงซึ่งวิชชา ๓ ในพรรษานั้นเหมือนกัน ครั้นสมัยตอมา ทานไดปรินิพพานแลว ครั้งนั้น ภิกษุมากดวยกันเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคยังที่ประทับ ถวายอภิวาทแลวนั่งลง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่งไดกราบทูลพระผูมีพระภาควา

Page 24: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 23

ขาแตพระองคผูเจริญ กุลบุตรชื่อ ปุณณะ ที่พระผูมีพระภาคทรงสั่งสอนดวยพระโอวาทยอๆนั้น ทํากาละเสียแลว เธอมีคติเปนอยางไร มีสัมปรายภพเปนอยางไร พระผูมีพระภาคตรัสวา ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ปุณณะกุลบุตรเปนบัณฑิตไดบรรลุธรรมสมควรแกธรรมแลว ทั้งไมใหเราลําบากเพราะเหตุแหงธรรม ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ปุณณะกุลบุตรปรินิพพานแลว ถึงแมวาจะเปนสูตรสั้นเพียงโอวาทยอๆ ที่วาไมใหเพลินไป ไมใหติดในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ ก็จะตองมีวาทําอยางไรจึงจะไมเพลิน ถาไมมีสติเกิดขึ้น ไมพิจารณาใสใจที่ลักษณะของนามและรูปที่กําลังปรากฏ ก็เพลินไปโดยงายและนานๆดวย ถาเปนโทสะ ความไมแชมชื่น ความไมพอใจ ไมมีสติเกิดขึ้น ไมพิจารณา รูลักษณะของนามและรูปที่กําลังปรากฏในขณะนั้น ก็เพลินไปในเรื่องของ โทสะในเรื่องของ โมหะ เพราะฉะนั้น ถาขาดการเจริญสติ ไมมีอะไรที่จะเปนเครื่องกั้นความติดความเพลินไปในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธันมารมณไดเลย ถ. อาจารยเคยกลาวเสมอวา ธรรมทั้งหลายอาศัยเหตุปจจัยเกิดขึ้นแลวก็ดับไปๆๆ จะมีวิธีทางอะไรที่จะชวยใหไดประจักษความจริงขอนี้ไหม สุ. เปนอนัตตา แลวอะไรประจักษ ? ปญญาประจักษ ถาปญญายังไมเจริญ ถึงข้ันที่ประจักษ ก็ประจักษไมได เพราะฉะนั้น ก็ควรจะทราบถึงเหตุของการ เจริญปญญาใหเพิ่มขึ้นเปนขั้นๆ จนถึงขั้นที่ประจักษการเกิดดับของนามและรูป ดวย ฉะนั้น จะตองศึกษาตั้งแตข้ันตน ซึ่งเปนขั้นที่สําคัญที่สุด ถาความเขาใจข้ันตนผิดแลวก็หมดหวัง ถาไมมีความรูไมมีปญญา ก็ละอะไรไมได ประจักษการเกิดดับของนามและรูปไมได เพราะวาการเกิดดับนั้น ตองประจักษดวยปญญาที่สมบรูณเปนขั้นๆ ผูฟง. ขอทราบขอสงสัยดังนี้ วิชาใหมีสติ เปนวิชาพิเศษขนาดยาวพิสดารชอบกล นับวาประหลาดที่สุดของอาจารย ใครก็ตามฟงเขาใจแลว เปนไดทั้งหลักวิชาและหลักปฏิบัติในชีวิต

Page 25: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 24

ประจําของแตละคนไดดีมาก หากรูจักใช ประโยชนอยางยิ่ง และสําคัญที่สุดถามีสติเฉพาะจวนจะตาย ดีแน คําวา สติ คงเปนชื่อจํางายไมตองทอง มีการงานรูสึกตัวเปนลักษณะ รู เพียงเทานี้ยังไมพอ อาจารยผูใหวิทยาทานนี้ เตือนใหเจริญสติเนืองๆ ยังจํากัดความหมายไวอีกวา การเจริญสติไมมีแบบฉบับ ทําใหกันดูไมได ถามีแบบฉบับก็ไมเรียกวาเจริญสติ ทั้งเนนชัดอีกวาสติจะเกิดขึ้นเองก็ไมได ตอง อาศัยทวารทั้ง ๖ เปนเหตุเปนปจจัย จะสรางหรือบังคับใหสติเกิดก็ไมได ยังหามไมใหเจาะจงจดจอง นึกคิดเอาตามใจชอบใหผิดปกติ พอมาถึงตรงนี้ก็กลาววา สภาพธรรมทั้งหลายเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไปอยางรวดเร็ว คงมีความหมายวา สติของคนทุกคนเกิดดับอยูแลว เจาของสติไมรู ผูมีความสังเกตจะทราบไดเมื่อสติเกิดขึ้นขณะใด ลักษณะของนามรูปก็ปรากฏแลวพิจารณาใหรู นามใดรูปใดเกิดจากทวารไหนใหชัดวา นามนั้นรูปนั้นมีลักษณะอยางไร ถารูอยางนี้ปญญาก็จะเกิดทีละขั้นๆ เมื่อสติเจริญมากเขาๆ ปญญาก็สมบรูณ การละคลายตัวตนที่ยึดมั่นถือมั่นก็จะหมดไป จําไดเพียงเทานี้จะผิดหรือจะถูกยังไมแนเหมือนกัน ใครทราบวาการเจริญสติที่วาไมมีแบบฉบับนั้น ขอคําอธิบายใหชัดเจนวา อาจารยไดมาโดยวิธีการอยางไร หากบอกใหสวนรวมเขาใจ จะดีมาก สุ. ที่ถามวาไดมาโดยวิธีการอยางไร คงจะไมคิดวานอกตําราใชไหม ตําราคืออะไร ? พระไตรปฏก ทานผูใดสงสัยก็ศึกษาดูได ตั้งแตธรรมทั้งหลายเปนอนัตตา แลวแตละทานนี้สะสมเหตุปจจัยที่จะใหเกิดนามและรูปตางๆกัน ไม เหมือนกัน แตละคนจะคิดก็ตองคิดถึงสิ่งที่เคยเห็น เคยไดยิน เคยไดกลิ่น เคย รูรส เคยพอใจ เคยไมพอใจ เพราะฉะนั้น จะวางกฏเกณฑใหขณะนี้รูนามนั้น ขณะนั้นรูรูปนี้ ไดอยางไร ในเมื่อเหตุปจจัยอาจจะทําใหโลภะของคนหนึ่งเกิด สําหรับอีกคนหนึ่งเปนโทสะ สําหรับอีกคนหนึ่งเปนกุศล แลวแตวาขณะนั้นนามชนิดใดเกิดขึ้นเพราะเหตุปจจัย

Page 26: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 25

แลวแตละคนบังคับสติใหเกิดพรอมกันไดไหม ? ก็ไมได บางคนขณะนี้ไมเกิด ตอไปอีกประเดี๋ยวหนึ่งสติก็เกิดขึ้น และเมื่อเกิดแลว คนนั้นจะรูที่เสียงวาเปนสภาพที่ปรากฏใหรูไดเฉพาะทางหูเทานั้น อีกคนหนึ่งอาจจะรูที่ไดยิน อีกคนหนึ่งอาจจะรูที่เย็น อีกคนหนึ่งอาจจะรูที่เมื่อย อีกคนหนึ่งอาจจะรูที่กําลังคิดนึกก็ได ก็เปนสิ่งที่แลวแตเหตุปจจัยทั้งสิ้น ไมมีผูหนึ่งผูใดสามารถที่จะวางกฏเกณฑแบบฉบับไดเลย ปญหานี้ควรจะเปลี่ยนเปนวา การมีแบบฉบับวางกฏเกณฑนั้น อยูที่ไหนในพระไตรปฏก มีทานผูใด ยังมีขอสงสัยอะไรอีกบางไหมคะ .................

Page 27: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 26

เทปตนฉบับ ของมูลนิธิศึกษา และ เผยแพรพระพุทธศาสนา แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๔ ใน นาวาสูตร ที่ ๘ มีขอความวา ก็ บุคคลพึงรูแจงธรรมจากบุคคลใด พึงบูชาบุคคลนั้น เหมือนเทวดา บูชาพระอินทร ฉะนั้น การที่บุคคลหนึ่งบุคคลใด จะมีความนอบนอมเคารพในครูอาจารย หรือ วาผูที่ใหความเขาใจเรื่องธรรมนั้น ก็จะตองกระทําในฐานะที่สมควรดวย เพราะเหตุวา บางทานนั้นเคยเคารพในครูอาจารยเกินพระรัตนตรัย ตองขอประทานโทษ ที่จะใชคํานี้ เพราะเหตุวา บางทานไมสนใจที่จะสอบทานเทียบเคียงกับพระธรรม วินัย แลวแตวาผูที่เปนครูอาจารยนั้นจะกลาววาอยางไร ก็พึงพอใจในเหตุผลของผูนั้นโดยที่ไมเทียบเคียงเหตุผล ไมสอบทานกับพระธรรมวินัย ซึ่งเปนสิ่งที่ไมถูกตอง เพราะเหตุการที่จะเคารพบุคคลที่เปนครูอาจารยนั้น ก็ตองเคารพในสวนที่เปนครูอาจารย ไมเหนือกวาการเคารพในพระรัตนตรัย คือในพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ในพระธรรมและในพระสงฆ เพราะฉะนั้น ก็เคารพครูอาจารยในความเมตตาที่ทานอนุเคราะหแสดงธรรม อุปการะเกื้อกูลใหไดเขาใจธรรม แตวาจะตองสอบทานธรรมนั้นกับพระธรรม วินัย จนกระทั่งใหไดเหตุไดผล แตไมใชจะไปลบหลูครูบาอาจารย ซึ่งอาจจะ มีความคลาดเคลื่อนกับพระธรรมวินัยที่ไดสอบทานแลว ในที่นี้จึงกลาววา ก็บุคคลพึงรูแจงธรรมจากบุคคลใด พึงบูชาบุคคลนั้นเหมือนเทวดาบูชาพระอินทร ฉะนั้น บุคคลผูที่เคารพนอบนอมบุคคลที่เปนครูอาจารยก็เปนผูที่มีคุณความดี ก็เปรียบไดกับเทวดา สวนครูอาจารยที่ใหความรูในทางธรรมนั้น ก็เปรียบไดกับพระอินทรซึ่งเปนหัวหนาของเทวดา ไมใชใหสูงกวาพระรัตนตรัย ไมใชใหสูง

Page 28: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 27

กวาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ แตใหพึงบูชาเหมือนเทวดาบูชาพระอินทรและมีขอความตอไปวา บุคคลซึ่งจะพึงเปนที่เคารพบูชานั้น บุคคลนั้นเปนพหุสูต ผูอันเตวาสิก บูชาแลว มีจิตเลื่อมใสในอันเตวาสิกนั้น ยอมชี้แจงธรรมใหแจมแจง นี่ก็ตองทั้งสองฝาย คือทั้งผูที่ชี้แจงธรรมและผูที่รับฟงธรรมดวย ซึ่งผูที่ไดรับการนอบนอมก็ตองมีจิตเลื่อมใสในผูรับฟงธรรม แลวก็ชี้แจงธรรมใหแจมแจงเปนอุปการะดวย บุรุษผูมีปญญา ไมประมาทคบบุคคลผูเปนพหุสูตเชนนั้น กระทําธรรม นั้นใหมีประโยชน ใครครวญแลวปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรม ยอมเปนผูรูแจมแจงแสดงธรรม และเปนผูละเอียด พยัญชนะในพระไตรปฏกละเอียดมาก เวลาที่จะแสดงธรรมในเรื่องหนึ่งเรื่องใด ก็มีอรรถพยัญชนะสมบรูณในขอความนั้น แมแตผูที่เปนผูที่มีปญญา ไมประมาท คบบุคคลผูเปนพหุสูตเชนนั้น ก็ตองกระทําธรรมนั้นใหมีประโยชน การที่จะกระทําธรรมใหมีประโยชน ก็คือใครครวญแลว ปฏิบัติธรรมสมควร แกธรรมยอมเปนผูรูแจมแจง แสดงธรรมแกบุคคลอื่น และเปนผูละเอียด เมื่อรูธรรมแจมแจงแลว ก็ไมพึงเปนผูที่ไมแสดงธรรมนั้นแกผูอ่ืน ควรที่จะแสดงธรรมที่ไดศึกษา ไดใครครวญ ไดพิจารณา ไดเขาใจแลวนั้นตอๆไป ดวยความ เปนผูละเอียด อยาเปนผูที่ฟงเผินๆ หรือวาจับขอความจากธรรมเพียงเผินๆ ไมใครครวญพิจารณาใหรอบคอบกอน แลวแสดงแกผูอ่ืน เพราะเหตุวา อันนี้ก็จะเปนอันตรายมากทีเดียว ถาผูฟงเกิดความเขาใจผิด เห็นผิด ปฏิบัติผิดตามไปดวย ขอความตอไปมีวา อันเตวาสิก สองเสพอาจารยผูประกอบดวยธรรมนอย เปนคนเขลา ผูยังไมบรรลุประโยชนและริษยา ไมยังธรรมใหแจมแจงในศาสนานี้เทียว ยังขามความสงสัยไมได ยอมเขาถึงความตาย

Page 29: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 28

นี่ก็เปนอันตรายอีกเหมือนกัน ที่วาอันเตวาสิกสองเสพอาจารยผูประกอบดวยธรรมนอย ผูเปนคนเขลา ผูยังไมบรรลุประโยชนและริษยา ไมยังธรรมใหแจมแจงในศาสนานี้เทียว ยังขามความสงสัยไมได ยอมเขาถึงความตาย เพราะวาธรรมนั้นไมสามารถจะอุปการะใหพนจากความตาย ใหพนจากการที่จะตองเวียนวายตายเกิดในวัฏฏะตอๆ ไปได แตถาผูนั้นไมเปนผูเขลา ไมเปนผูที่มีธรรมนอย ก็ยอมจะอุปการะสามารถที่จะทําใหอันเตวาสิกผูที่เปนศิษยนั้นบรรลุประโยชน และพนจากความตายได ขอความตอไปมีวา บุคคลไมยังธรรมใหแจมแจงแลว ไมใครครวญเนื้อความในสํานักแหง บุคคลผูเปนพหุสูตทั้งหลาย ไมรูดวยตนเอง ยังขามความสงสัยไมได จะสามารถใหผูอ่ืนเพงพินิจไดอยางไร เหมือนคนขามแมน้ําที่มีน้ํามาก มีกระแสไหลเชื่ยว ถูกน้ําพัดลอยไปตามกระแสน้ํา จะสามารถชวยใหผูอ่ืนขามไดอยางไร ฉะนั้น ผูใดขึ้นสูเรือที่มั่นคง มีพายและถอพรอมมูล ผูนั้นรูอุบายในเรือนั้น เปน ผูฉลาดมีสติ พึงชวยผูอ่ืนแมมีจํานวนมากในเรือนั้น ใหขามไดแมฉันใด ผูใดไปดวยมัคคญาณทั้ง ๔ อบรมตนเปนพหุศูต ไมมีความหวั่นไหวเปนธรรมดา ผูนั้นแลรูชัดอยู พึงยังผูอ่ืนผูตั้งใจสดับและสมบรูณดวยธรรมอันเปนอุปนิสสัย ใหเพงพินิจได ก็ฉันนั้น เพราะเหตุนั้นแล บุคคลควรคบสัปบุรุษผูมีปญญา เปนพหุศูต บุคคล ผูคบบุคคลเชนนั้น รูชัดเนื้อความนั้นแลว ปฏิบัติอยูรูแจงธรรมแลว พึงไดความสุข เปนขอความในพระไตรปฏก ซึ่งไดกลาวเตือนถึงในเรื่องการใครครวญธรรม เพราะวาอุปมาเหมือนคนขามแมน้ําที่มีน้ํามาก มีกระแสไหลเชื่ยว ถูกน้ําพัดลอยไปตามกระแสน้ํา ยอมไมสามารถจะชวยใหผูอ่ืนขามได แตผูใดขึ้นสูเรือที่มั่นคง มีพายและถอพรอมมูล ผูนั้นรูอุบายในเรือนั้น ถึงแมเราจะไดฟงเรื่องของมรรคมีองค ๘ วาในการที่จะรูแจงอริยสัจจธรรมไดนั้น จะตองเจริญสติ จะตองเปนผูเจริญมรรคมีองค ๘ แตถาไมพิจารณาไมใตรครวญในมัคคทั้ง ๘ นั้นใหถูกตองตามความเปนจริง ดวยความแยบคายคือดวย

Page 30: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 29

ความสมบรูณพรอมดวยเหตุผล ก็เทากับผูที่ไมรูอุบายในเรือ มีเรือจริงมีของหลายอยางในเรือนั้น แตไมทราบวาของนั้นเพื่อประโยชนอะไร ก็ไมสามารถจะ ใชเรือนั้นใหเปนประโยชนได ฉันใด ในเรื่องของมรรคมีองค ๘ ก็เชนเดียวกัน คือจะตองมีการศึกษาใหเขาใจเรื่องของมรรคมีองค ๘ ไมใหคลาดเคลื่อนไขวเขวแลวจึงจะเปนผูรูอุบายในเรือนั้น สามารถที่จะใชประโยชนใหเรือนั้นถึงฝงได นี่ก็เปนเรื่องที่ถาทานผูใด มีพระธรรมวินัยเปนศาสนา แลวก็มีคูรบา อาจารยที่อุปการะใหความรูความเขาใจ แตวาผูที่ยังไมรูแจงธรรมนั้น ถามี ความมั่นใจในบุคคลโดยที่ไมสอบทานธรรม ซึ่งไดฟงจากบุคคลนั้น กับพระธรรมวินัยก็ยอมเปนอันตรายได เพราะเหตุวายังไมทราบถึงความลึกซึ้งของธรรม แลวก็อาจจะเขาใจธรรมคลาดเคลื่อนไป เพราะฉะนั้น ไมวาทานจะฟงธรรมจากใคร ก็ควรที่จะไดพิจารณาใครครวญสอบทานอยูเสมอจนกระทั่งไดเหตุผลที่สมบรูณ ถาทานศึกษาหรือวาอานในพระไตรปฏกจะพบวา ไมวาจะเปนเรื่องอะไรที่ทานของใจ จะมีคําอธิบายอยางละเอียด และอีกประการหนึ่งบางทีทานอาจจะไมทราบวา บุคคลในครั้งโนนทานมีความสงสัยกันเรื่องอะไร ทานสนทนากันเรื่องอะไร เพราะวาการสนทนาธรรมมีเรื่องที่จะสนทนามากมายหลายประการ จะสนทนาเรื่องอริยสัจจ ๔ จะสนทนาเรื่องปฏิจจสมุปปาท จะสนทนาเรื่องมรรคมีองค ๘ จะสนทนาเรื่องญาณจะสนทนาเรื่องอะไรก็มีมากมายหลายเรื่อง และบุคคลในครั้งโนนทานคิดอยางไร ทานถามอยางไร ก็เปนการที่วาถาทานศึกษาพระไตรปฏกมากขึ้น ทานก็จะไดความรูความแจมแจงมากขึ้นดวย แตวาจะเห็นไดวา บุคคลซึ่งศึกษาธรรมมีความเขาใจธรรม จะไมเห็นวาตนเองนั้นสําคัญ แตวาสิ่งสําคัญคือพระรัตนตรัย ทานเหลานั้นจะไมคิดวาทานเปนใหญ ไมคิดถึงวาใหใครๆมาเคารพกราบไหวนับถือเปนครูบาอาจารย เปนสิ่งสําคัญที่จะตองมีศิษย หรือมีผูฟงธรรมมากๆ ทานเหลานั้นจะไมคิดถึงตัวทานเลย แตจะคิดถึงพระธรรมวินัยและคิดถึงพระรัตนตรัยเปนใหญ ที่จะยกตัวอยางอีกสูตรหนึ่ง เพื่อที่จะใหทาน

Page 31: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 30

เห็นถึงความคิด หรือความของใจของบุคคลในครั้งนั้น หรือหัวขอที่บุคคลในครั้งนั้นสนทนาธรรมกัน แลวธรรมที่ไดฟงจะอุปการะแกผูฟงอยางไร ใน มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณสถ พรามณวรรค โฆฏมุขสูตร ขอ ๖๓๐ ซึ่งเปนสมัยที่พระผูมีพระภาคดับเสด็จขันธปรินิพพานแลว สมัยหนึ่ง ทานพระอุเทนอยู ณ เขมิยอัมพวัน ใกลเมืองพาราณสี สมัยนั้นมีพราหมณคนหนึ่ง ชื่อวา โฆฏมุขะ ไดไปถึงเมืองพาราณสีดวยกรณียกิจบางอยาง แลวไดเดินเที่ยวเลนไปมาเปนการพักผอน แลวไดเขาไปยังเขมิยอัมพวันครั้งนั้น ทานพระอุเทนเดินจงกลมอยูในที่แจง โฆฏมุขพราหมณก็เขาไปหา ปราศัย เดินตามทานพระอุเทนซึ่งกําลังเดินจงกลมอยู แลวไดกลาวกับทาน พระอุเทนวา ดูกร สมณะผูเจริญ การบวชอันชอบธรรมยอมไมมี ในเรื่องนี้ขาพเจามีความเห็นอยางนี้ เพราะบัณฑิตทั้งหลายเชนทานไมเห็นขอนั้น หรือไมเห็นธรรมในเรื่องนี้ คือวา โฆฏมุขพราหมณไมเห็นประโยชนของการบรรพชาอุปสมบทเปนบรรพชิตเลย จึงไดกลาววาการบวชอันชอบธรรมยอมไมมี พราหมณเองมีความเห็นวา การบวชเปนบรรพชิตไมมีประโยชน แตทานพระอุเทนเปนบรรพชิต ฉะนั้นความเห็นของทานพระอุเทนกับความเห็นของโฆฏมุขพราหมณนั้น ก็ยอมจะตางกัน ซึ่งเมื่อโฆฏมุขพราหมณไดกลาวอยางนั้นแลว ทานพระอุเทนลงจากที่เดินจงกรมเขาไปยังวิหาร แลวนั่งลงบนอาสนะที่จัดไว แมโฆฏมุขพราหมณก็ลงจากที่จงกรมเขาไปยังวิหารแลวยืนอยู ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ครั้นแลวทานพระอุเทน ไดกลาวกะโฆฏมุขพราหมณวา ดูกร พราหมณ อาสนะมีอยู ถาทานปรารถนาก็เชิญนั่งเถิด นี่เปนคําเชิญของพระภิกษุในครั้งอดีต สํานวนก็ไพเราะ คือแลวแตวาผูฟงปรารถนาจะนั่งก็นั่งได ไมปรารถนาจะนั่งก็แลวแตอัธยาศัย

Page 32: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 31

โฆฏมุขพราหมณก็กลาววา ก็ขาพเจารอการเชื้อเชิญของทานพระอุเทน นี้แล จึงยังไมนั่ง เพราะวา คนเชนขาพเจาอันใครไมเชื้อเชิญกอนแลว จะพึงสําคัญการที่จะพึงนั่งบนอาสนะ อยางไร นี่ก็เปนธรรมเนียมของพราหมณ ถาไมมีคนเชื้อเชิญแลวก็ยอมจะไมนั่งหรือผูที่เปนแขกก็เหมือนกัน ถาเจาของสถานที่ยังไมเชื้อเชิญก็ยอมไมนั่ง แลวโฆฏมุขพราหมณก็ถือเอาอาสนะที่ต่ําแหงหนึ่ง เพราะทานก็ทราบวาทานไมไดเปนบรรพชิต ฉะนั้น ก็นั่งที่อาสนะที่ต่ํากวา ครั้นแลวไดกลาวกะทาน พระอุเทน มีขอความเหมือนกับที่ไดกลาวกับทานพระอุเทนตอนที่ทานพระอุเทน ยังเดินจงกรมอยูที่เขมิยอัมพวัน คือ ดูกร สมณะ การบวชอันชอบธรรมยอมไมมี ในเรื่องนี้ขาพเจามีความเห็นอยางนี้ เพราะบัณฑิตทั้งหลายเชนทานไมเห็นขอนั้น หรือไมเห็นธรรมใน เรื่องนั้น ฟงในตอนตนๆ เผินๆ เหมือนกับจะไมมีอะไรเกี่ยวกับการเจริญสติปฏฐานเลย แตขอใหทราบวาผูที่เปนบัณฑิต ไมวาหัวขอธรรมที่นํามาสนทนากับทานนั้นจะเปนเรื่องอะไรก็ตาม ทานนอมไปสูเหตุและผลของการปฏิบัติในตอนสุดทายเสมอ ซึ่งก็จะทําใหผูที่ไดฟงนั้นเขาใจแจมแจงขึ้น แตขอใหฟงคําสนทนาระหวางทานพระอุเทนกับโฆฏมุขพราหมณตอไป ทานพระอุเทนกลาววา ดูกร พราหมณ ถาทานพึงยอมคําที่ควรยอม และพึงคัดคานคําที่ควรคัดคานของเรา อนึ่งทานไมพึงรูเนื้อความแหงภาษิตใด พึงซักถามเราในภาษิตนั้นใหยิ่งไปวา ดูกร ทานอุเทน ภาษิตนี้อยางไร เนื้อความแหงภาษิตนี้เปนไฉน เพราะ ทําไดอยางนี้ เราทั้งสองพึงมีการเจรจาปราศัยในเรื่องนี้กันได คือกอนที่จะสนทนากัน ก็จะตองตกลงกันเสียกอนวา ถามีขอความใดที่เปนเหตุผล ก็จะตองยอมรับตามเหตุผลนั้น ถามีสิ่งใดที่พึงคัดคานไมเห็นดวย ก็ขอใหแสดงความคิดเห็นคัดคานที่ไมเห็นดวยนั้น และถามีภาษิตคําใดที่ไมเขาใจ

Page 33: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 32

ชัดก็ขอใหถามเพื่อใหเขาใจภาษิตนั้นชัดเจนยิ่งขึ้น จึงจะสนทนากันในเรื่องของธรรมซึ่งโฆฏมุขพราหมณก็รับวาจะกระทําเชนนั้น ทานพระอุเทนก็กลาววา ดูกร พราหมณ บุคคล ๔ จําพวกนี้มีปรากฏอยูในโลก ๔ จําพวกเปนไฉน จําพวกที่ ๑ เปนผูที่ทําตนใหเดือดรอน ประกอบความขวนขวายในการ ทําตนใหเดือดรอน จําพวกที่ ๒ เปนผูที่ทําใหผูอ่ืนเดือดรอน ประกอบความขวนขวายในการ ทําผูอ่ืนใหเดือดรอน จําพวกที่ ๓ เปนผูที่ทําตนและผูอ่ืนใหเดือดรอน ประกอบความขวนขวายในการทําตนและผูอ่ืนใหเดือดรอน จําพวกที่ ๔ ไมเปนผูทําตนและผูอ่ืนใหเดือดรอน ไมประกอบความ ขวนขวายในการทําตนและผูอ่ืนใหเดือดรอน เปนผูไมมีความหิว เปนผูเย็น เสวยแตความสุข มีตนเปนดังพรหมอยูในปจจุบัน แลวทานพระอุเทนก็ถามโฆฏมุขพราหมณ ตอไปวา ดูกร พราหมณ บรรดาบุคคล ๔ จําพวกนี้ บุคคลไหนยอมยังจิตของทานใหยินดี มีบุคคล ๔ จําพวก แตตอไปพราหมณนี้ก็จะขอใหทานพระอุเทนบรรยายขยายความชี้แจงบุคคล ๔ จําพวกนี้โดยละเอียดอีก แตวากอนอื่นทานพระอุเทน ก็ไดถามโฆฏมุขพราหมณกอนวา ในบุคคล ๔ จําพวกนี้ บุคคลใดยอมยังจิตของโฆฏมุขพราหมณใหยินดีได ซึ่งโฆฏมุขพราหมณก็ไดกลาวตอบวา บุคคลจําพวกที่ ๔ คือพวกที่ไมยังทั้งตนเองและผูอ่ืนใหเดือดรอน ไมขวนขวายในการประกอบความเดือดรอนทั้ง กับตนเองและผูอ่ืน ยอมยังจิตของโฆฏมุขพราหมณใหยินดีได ซึ่งทานพระอุเทนเมื่อไดฟงแลวก็ถามเหตุผล ทานสนทนาธรรมกันจริงๆ ตองการเหตุผลจริงๆ ไมใชวาตอบแลวพอใจในเหตุผลนั้นโดยงาย เพราะฉะนั้นโฆฏมุขพราหมณจะไดตอบอยางนั้นแลว ทานพระอุเทนก็ยังตองการเหตุผลวา

Page 34: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 33

เพราะเหตุใด บุคคลที่ไมเปนผูทําตนและผูอ่ืนใหเดือดรอน ไมประกอบความขวนขวายในการทําตนและผูอ่ืนใหเดือดรอนนั้น จึงเปนผูที่ทําใหจิตของ โฆฏมุขพราหมณยินดีได ซึ่งโฆฏมุขพราหมณก็ไดชี้แจงใหฟงวา สําหรับผูที่ทําตนใหเดือดรอน ประกอบความขวนขวายในการทําตนใหเดือดรอนนั้น ยอมกระทําตนผูรักสุขเกลียดทุกขใหเดือดรอนใหเลารอน เปนความจริงใชไหมคะ ที่วาทุกคนตองการความสุข ไมมีใครตองการความทุกขเลย แลวไปทรมานตัวทําไมไปทําในสิ่งที่ไมเปนประโยชนทําไม เพื่ออะไรเพราะฉะนั้น เมื่อขอปฏิบัตินั้นเปนเชนนั้น คือเปนผูที่ทําตนใหเดือดรอน แลวก็ประกอบความขวนขวายในการทําตนใหเดือดรอน ก็ยอมทําตนผูรักสุขเกลียดทุกขใหเดือดรอนใหเรารอนโดยเปลาประโยชน ไมมีประโยชนอะไรเลย สวนบุคคลจําพวกที่ ๒ เปนบุคคลที่กระทําใหผูอ่ืนเดือดรอน ขวนขวายในการกระทําผูอ่ืนใหเดือดรอน ก็ยอมทําบุคคลอื่นผูรักสุขเกลียดทุกขใหเดือดรอนใหเรารอนดวย ไมใชแตตนเองเทานั้นรักสุขเกลียดทุกข แมบุคคลอื่นก็รักสุขเกลียดทุกขเชนเดียวกัน ฉะนั้น ถาใครเปนผูที่ทําใหบุคคลอื่นผูรักสุขเกลียดทุกข ใหเดือดรอนใหเรารอน ก็ยอมไมทําใหจิตของโฆฏมุขพราหมณยินดีได สวนบุคคลที่ ๓ คือบุคคลที่กระทําตนและผูอ่ืนใหเดือดรอน ขวนขวายในการกระทําใหตนและผูอ่ืนเดือดรอนนั้น ก็ยอมทําตนและผูอ่ืนผูรักสุขเกลียดทุกขใหเดือดรอนใหเรารอนดวย ซึ่งก็เปนบุคคลซึ่งไมทําใหจิตของโฆฏมุขพราหมณยินดีดวย สวนบุคคลจําพวกที่ ๔ เปนผูที่ไมกระทําตนและบุคคลอื่นใหเดือดรอน ไมขวนขวายในการกระทําตนและผูอ่ืนใหเดือดรอนนั้น ก็ยอมเปนผูที่ไมกระทํา ตนและผูอ่ืนผูรักสุขเกลียดทุกขใหเดือดรอนใหเรารอน เพราะฉะนั้น บุคคลจําพวกที่ ๔ นี้ ยอมยังจิตของโฆฏมุขพราหมณใหยินดีได

Page 35: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 34

ทานผูฟงก็คงจะยินดีในจิตใจ หรือในบุคคลประเภทที่ ๔ นี้ เชนเดียวกันเพราะวาไมทําทั้งตนเองและผูอ่ืนใหเดือดรอน ..................

Page 36: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 35

เทปตนฉบับ ของมูลนิธิศึกษา และ เผยแพรพระพุทธศาสนา แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๕ ซึ่งพระอุเทนเมื่อไดฟงโฆฏมุขพราหมณรับรองเชนนั้น ก็ไดถามโฆฏมุขพรามณตอไปวา ในบริษัท ๒ จําพวก คือจําพวกที่ ๑ นั้น เปนบริษัทที่ยินดีในแกวมณีแสวงหาบุตรภรรยา ทาสีและทาส นาและที่ดิน ทองและเงิน ( บริษัทในที่นี้ก็ไดแกหมูคนนั่นเอง ) สวนอีกบริษัท ๑ นั้น ไมกําหนัดยินดีในแกวมณี ไมแสวงหาบุตรภรรยา ทาสีและทาส นาและที่ดิน ทองและเงิน แลวออกบวชเปนบรรพชิต โฆฏมุขพราหมณเห็นบุคคลนี้ในบริษัทไหนมาก คือเห็นในหมูบริษัทซึ่งยังยินดีในแกวมณี แสวงหาบุตรภรรยา ทาสีและทาส นาและที่ดิน ทองและเงิน หรือวาในหมูบริษัทซึ่งไมกําหนัดยินดีในแกวมณี ไมแสวงหาบุตรภรรยา ทาสีและทาส นาและดิน ทองและเงิน แลวออกบวชเปนบรรพชิต ซึ่งโฆฏมุขพราหมณก็ไดตอบตามความจริงวา เห็นบุคคลนี้ในบริษัทที่ไมกําหนัดยินดีในแกวมณี ไมแสวงหาบุตรภรรยา ทาสีและทาส นาและที่ดิน ทองและเงิน แลวออกบวชเปนบรรพชิต นี่ก็เปนการรับรองอยูในตัววา การบรรพชาเปนบรรพชิตนั้นมีประโยชน ไมไดทําตนใหเดือนดรอนดวยการที่ยังยินดี หมกมุน แสวงหาทั้งเงินทอง บุตร ภรรยา ทาสีทาส นาที่ดิน ทองและเงิน แลวก็ไมไดทําใหผูอ่ืนเดือดรอนเพราะความยินดีในแกวมณี ในการแสวงหาบุตรภรรยา ทาสีและทาส นาและที่ดิน ทองและเงินเลย ซึ่งทานพระอุเทนเมื่อไดฟงโฆฏมุขพราหมณกลาวดังนี้แลว ทานก็บอกวาทานเขาใจวา ทําไมโฆฏมุขพราหมณจึงไดกลาวอยางนั้น โฆฏมุขพราหมณก็ไดกลาวกับทานพระอุเทนตอไปวา

Page 37: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 36

วาจาที่ทานกลาวกับขาพเจานั้น เปนวาจามีเหตุสนับสนุนโดยแท การบวชอันชอบธรรมมีจริง ขาพเจามีความเห็นในเรื่องนี้อยางนี้ และขอทานโปรดจําขาพเจาไวอยางนี้ และขอใหจําแนกบุคคล ๔ โดยละเอียด คือทานที่มีปญญาถาทานเห็นเหตุผล ทานก็ยอมรับในเหตุผล และทานก็กลาวใหบุคคลที่ทานรับฟงเหตุผลนั้น ไดจําไวดวยวา ทานไดมีความเห็นในเรื่องนี้อยางนี้แลว พรอมกันนั้นก็ไดขอใหทานพระอุเทนจําแนกบุคคล ๔ นั้นโดยละเอียด ซึ่งทานพระอุเทนก็ไดจําแนกบุคคล ๔ นั้นโดยละเอียดวา บุคคลที่กระทําตนใหเดือดรอน ขวนขวายในการกระทําตนใหเดือดรอนนั้น ก็ไดแกผูที่ปฏิบัติผิด เชนเปนคนเปลือยไมมีประโยชนเลย แตเขาใจวาเปนการหมดกิเลส ละกิเลส กิเลสนอย เปนผูไรมารยาท เปนผูเยียวยาอัตตภาพ หรือวาเลี้ยงชีวิตดวยการทรมานตัว ดวยขาวเพียงคําเดียวบาง ๒ คําบาง หรือ ดวยอาหารที่คางวัน ๑ วันบาง ๒ วันบาง หรือวาดวยการนุงหมผาหอศพ หรือผาที่ไมสบาย หรือดวยการถือการอาบน้ําวันละ ๓ ครั้งบาง นอกจากนั้นยังมีเรื่องปฏิบัติผิดอีกมากทีเดียว ซึ่งไมเปนประโยชนเลย การ ทรมารตน หรือขวนขวายในการทรมานตนใหเดือดรอนนั้นมีประโยชนอะไร ไมใชมัชฌิมาปฏิปทาเปนของที่แนนอนที่สุด เพราะวา มัชฌิมาปฏิปทานั้นไมทรมานในเรื่องการนั่ง ไมทรมานในเรื่องการนอน ไมทรมานในเรื่องการยืน ไมทรมานในเรื่องการเดิน ไมทรมานในเรื่องการเคลื่อนไหว เหยียดคูตามปกติ ไมทรมานในเรื่องการรักษาอัตตภาพใหเปนไปดวยอาหารตามปกติ เพราะเหตุวาผูที่จะละกิเลสไดนั้น ตองเปนผูที่รูแจงลักษณะที่ปรากฏตามความเปนจริง ละความไมรู ละความสงสัย จึงจะละความเห็นผิดที่เคยยึดถือนามรูปนั้นวาเปนตัวตนเปนลําดับขั้น ไมใชละดวยการทรมานตนแลวก็ผิดปกติ แลวไมรูลักษณะของสิ่งที่ปรากฏตามความเปนจริง เพราะฉะนั้น ถาทานผูใดจะประพฤติปฏิบัติธรรม แตวาทรมานตนดวยการนั่งผิดปกติ ทรมานตนดวยการนอนผิดปกติ ทรมานตนดวยการยืนการเดิน ก็ผิดปกติ เพราะเหตุวา คําวาผิดปกตินอกจากจะหมายความถึงในครั้งอดีต ซึ่งทานมี

Page 38: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 37

การยืนกระโยงเทายืนไมเต็มเทา ยืนนานๆ ทรมานตัวอยูนานๆ ไมเปลี่ยนอิริยาบถดวยความเขาใจผิดแลว ทานก็ควรจะทราบถึงมัชฌิมาปฏิปทาดวย วาขณะใดที่ทานมีความตองการในการนั่งนานๆ เปนการทรมานตัวไหม ? ในการเดินนานๆเปนการทรมานตัวไหม ? ในการยืนนานๆ เปนการทรมานตัวไหม ? และการที่จะรูแจงสภาพของธรรมที่ปรากฏทุกๆขณะตามความเปนจริงนั้น จําเปนหรือที่จะตองทรมาน ในเมื่อนามรูปก็เปนสภาพที่เกิดขึ้นเพราะเหตุปจจัย ไมวาจะเปนกุศลหรืออกุศล อัพยากตะ ก็มีเหตุปจจัยทําใหเกิดขึ้นทั้งนั้น ไมวาจะนั่ง นอน ยืน เดิน ตามปกตินามรูปก็เกิดดับ ฉะนั้น ปญญาจะตองพิจารณาเจริญเหตุใหสมควรกับผล และรูลักษณะของนามและรูปตามปกตินั้นตาม ความเปนจริง ไมใชดวยความตองการที่จะไปทรมานตน หรือวาประกอบการขวนขวายในการทรมานตน แลวก็เขาใจวาตองทรมานเชนนั้นจึงจะรูความจริงได หรือวาจึงจะรูทุกขได แตหมายความวาการจะรูทุกขไดนั้น ตองเปนการเจริญปญญารูลักษณะของนามและรูปเปนลําดับขั้นตามความเปนจริง สําหรับบุคคลจําพวกที่ ๒ นั้น ทําใหคนอื่นเดือดรอน ก็ไดแกผูที่ฆาสัตว หรือวาเปนโจร มีอาชีพในทางทุจริต มีการงานที่หยาบชา นี่ก็เปนการทําใหผูอ่ืนเดือดรอน อันนี้ถาเขาใจในเรื่องของสัมมาอาชีวะ หรือสัมมาอาชีพ ก็จะเห็นไดวาจะไมทําใหบุคคลนั้นเปนผูที่หยาบชา เพราะวาไมใชทรมานหรือทําใหบุคคลอื่นสัตวอ่ืนใหเดือดรอน ดวยการฆาสัตว ดวยการเปนโจร หรือวาดวยการมีอาชีพซึ่งไมสุจริต ประการที่ ๓ เปนผูที่ปฏิบัติผิดดวยการทําตนใหเดือดรอน และทําใหผูอ่ืนเดือดรอนดวย ในเรื่องนี้ก็กลาวรวมหมดไมวาบุคคลนั้นจะเปนพระราชามหากษัตริย เปนสมณพราหมณหรือเปนบุคคลใดก็ตาม เปนผูที่ทรมานตนดวยการนอนบนพื้นดินปกติธรรมดาก็ไมไดนอนอยางนั้น แตเมื่อมีความเขาใจผิดก็ทรมานตนดวยการนอนบนพื้นดิน แลวก็ยังไมพอ ยังสั่งใหบุคคลอื่นนอนบนพื้นดินดวย ตนเองก็อดอาหารรับประทานเพียงเล็กนอย สอนใหผูอ่ืนหรือสั่งใหผูอ่ืนอดอาหารดวย

Page 39: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 38

ในครั้งโนนก็มีความเห็นผิด ดวยการที่สั่งใหผูอ่ืนฆาโค แพะ แกะ บูชายัญ หรือวาใหตัดตนไม ใหทําโรงบูชายัญ ซึ่งก็เปนการกระทําที่ไมมีประโยชนเลย นอกจากวาจะทําตนเองใหเดือดรอนและทําผูอ่ืนใหเดือดรอนดวย ประการที่ ๔ ทานพระอุเทนกลาววา ดูกร พราหมณ บุคคลผูไมกระทําตนใหเดือดรอน ไมกระทําผูอ่ืนใหเดือดรอน ไมประกอบการขวนขวายในการทําตนและผูอ่ืนใหเดือดรอนนั้น คือ พระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา เสด็จอุบัติข้ึนในโลกนี้เปนพระอรหันต เปนผูจําแนกธรรม ทรงสอนหมูสัตว สมณพราหมณ เทวดาและมนุษยใหรูตาม ทรงแสดงธรรมอันงามในเบื้องตน งามในทามกลาง งานในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย พรอมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบรูณสิ้นเชิง คฤหบดีก็ดี บุตรคฤหบดีก็ดี หรือบุคคลผูเกิดภายหลังในตระกูลหนึ่งตระกูลใด ไดฟงธรรมนั้นยอมไดสัทธาในพระผูมีพระภาค ออกบวชเปนบรรพ ชิต เมื่อบวชแลวก็เปนผูมีศีล มีความประพฤติทางกายทางวาจางาม เพราะ เหตุวา ประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย นี่ก็เปนเรื่องที่ไมทําตนเองและผูอ่ืนใหเดือดรอน เพราะวาพระผูมีพระภาคเปนผูที่ตรัสรูธรรม ไมไดเห็นวาการทรมานตน จะเปนเหตุนํามาใหเกิดปญญาละกิเลสไดเลย เพราะขอปฏิบัติของพระองคนั้นเปนมัชฌิมาปฏิปทา ไมใชการทรมานตนดวยประการหนึ่งประการใด แตวาในขณะเดียวกันก็ไมใชใหเพลินไปในอกุศลทั้งหลาย แตใหมีสติพิจารณารูสภาพธรรมที่ปรากฏบอยๆ จนกวาปญญาจะรูแจง ละคลายความไมรูละคลายความสงสัยในธรรมนั้น และ เมื่อไดทรงแสดงธรรมคฤหบดีก็ดี บุตรคฤหบดีหรือวาบุตรตระกูลหนึ่งตระกูลใดในภายหลัง แมในสมัยนี้ลวงเลยมาตั้ง ๒๕๐๐ กวาปแลว แตวาผูที่ไดฟงธรรมไดเห็นประโยชนของธรรมของพระผูมีพระภาค ก็ไดสละอาคารบานเรือนออกบวชเปนบรรพชิต ไมใชทรมานตน แตเปนผูที่ประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย เปนผูที่อบรมทางกาย ทางวาจา ทางใจ

Page 40: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 39

สําหรับการอบรมก็ดวยศีล ซึ่งก็คงจะทราบแลวถึงขอบัญญัติตางๆ นอกจากนั้นในเรื่องของการพูด ผูที่ไดรับการอบรมตามธรรมวินัยเปนบรรพชิตนั้น พูดถูกกาละ พูดความจริง พูดอิงอรรถ พูดอิงธรรม พูดอิงวินัย พูดแตคํามีหลักฐาน มีที่อาง มีที่กําหนด ประกอบดวยประโยชนโดยกาลอันควร อันนี้ก็เปนเรื่องที่เห็นความละเอียดของพระธรรมวินัย ซึ่งแสดงไวละเอียดกวานี้มาก เพราะวาผูที่ออกบวชเปนบรรพชิตแลว ยอมประกอบดวยศีล สํารวมอินทรียทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไมเปนผูยึดถือนิมิต ไมยึดถือโดย อนุพยัญชนะ มีสติรูสึกตัวในการกาวไป ในการถอยกลับ ในการแล ในการเหลียว ในการคูเขา ในการเหยียดออก ในการดื่ม ในการพูด ในการนิ่ง ในการเคี้ยว ในการลิ้ม คือทุกอยางที่เปนอยูแลวตามปกติในชีวิตประจําวัน แตวาเปนผูที่มีสติรูสึกตัวในการแล ในการเหลียว ในการพูด ในการนิ่ง ในการคิด ในการคู ในการเหยียด และคําวา " ไมเปนผูยึดถือในนิมิต ไมยึดถือโดยอนุพยัญชนะ " จะไมยึดถือไดอยางไร ถาไมมีสติ ถาไมมีการรูสึกตัว ฉะนั้น ในการเจริญสติปฏฐานเวลาที่มีสติมีการรูสึกตัวเกิดขึ้นนั้น มีการรูลักษณะของสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่กําลัง ปรากฏตามความเปนจริง เปนเหตุใหไมถึงในนิมิตและอนุพยัญชนะ เปนตนวาทางตา ถาขณะใดมีการรูสึกตัวรูวาที่กําลังเห็นนี้ ก็เปนเพียงสภาพรูที่เพียงอาศัยตา หรือวาเพราะปรากฏเมื่อลืมตาเทานั้น หลับตาแลวไมมี ถาในขณะนั้นมีสติ รูสภาพที่กําลังปรากฏที่กําลังเห็นตามความเปนจริง ในขณะนั้นไมถือนิมิตไมถือ อนุพยัญชนะ คําวา " นิมิต " คือรูปราง คําวา " อนุพยัญชนะ " คือสวนละเอียดตางๆไมวาจะเปนทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ก็ตาม ทางหูถาหลงลืมสติในขณะนั้นไมมีการรูวาสภาพที่กําลังไดยินนี้ก็เปน สิ่งที่ปรากฏนิดเดียวทุกๆขณะนี้ทีละนิดเทานั้นเอง ถาในขณะนั้นมีสติรูวาสภาพนี้เปนสภาพรูเกิดขึ้นแลวก็หมดไป ในขณะนั้นเปนผูไมถือนิมิตอนุพยัญชนะ ไมยึดถือวาการ เห็นนั้นเปนตัวตน แลวก็ไมติดตามอนุพยัญชนะของเสียงดวยการเจริญสติ

Page 41: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 40

แตวาผูที่บวชเปนบรรพชิตนั้นมีโอกาสมากกวานั้น ไมใชมีโอกาสเพียงแครักษาศีล เพราะวา พระธรรมของพระผูมีพระภาคนั้นงามทั้งในเบื้องตน ในทามกลาง ในที่สุด เมื่อเปนผูที่ไมวุนวายไปในธุรกิจการดําเนินชีวิตแบบฆราวาส มีการศึกษาทางกาย ทางวาจา ทางใจ นอกจากพระวินัยบัญญัติที่จะตองประพฤติปฏิบัติตาม ก็ยังมีเวลาอีกมาก ซึ่งทานก็ดําเนินชีวิตในทางที่เปนประโยชนยิ่งขึ้น ฉะนั้น ผูที่ออกบวชเปนบรรพชิตนั้น ไมใชเพียงประกอบดวยศีล แตประกอบดวยสมาธิ เปนผูเสพเสนาสนะอันสงัดคือ ปา โคนไม ภูเขา ซอกเขา ถ้ํา รอมฟาง เมื่อเสพเสนาสนะที่สงัดเชนนั้นแลว ก็สามารถที่จะละนิวรณ เครื่องขัดขวางไมใหจิตสงบไดจนกระทั่งสามารถจะเกิดความสงบ ถึงขั้นอัปปนาสมาธิเปนลําดับขั้นได สามารถที่จะระลึกชาติได สามารถที่จะรูจุติและปฏิสนธิของสัตวได นอกจากนั้นยังสามารถที่จะโนมจิตไปเพื่อญาณ อันเปนเหตุใหสิ้นกิเลสอาสวะได รูชัดตามความเปนจริงวา นี้ทุกข นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทา เหลานี้คืออาสวะ นี้เหตุเกิดอาสวะ นี้ความดับอาสวะ นึ้ขอปฏิบัติเพื่อใหถึงความดับอาสวะ เมื่อรูอยางนี้ยอมพนจากอาสวะ บุคคลนี้เรียกวาผูไมทําตนใหเดือดรอน ไมประกอบความขวนขวายในการทําตนใหเดือดรอน ทั้งไมทําใหผูอ่ืนเดือดรอน ไมประกอบความขวนขวายในการทําผูอ่ืนใหเดือดรอน ไมมีความหิว ดับสนิท เปนผูเย็นเสวยแตความสุข มีตนเปนดังพรหมอยูในปจจุบันเทียว นี่คือ ตั้งแตศีล สมาธิ จนกระทั่งถึงปญญา ซึ่งผูที่ออกจากเรือนบวชเปนบรรพชิตยอมมีโอกาส นอกจากจะประพฤติปฏิบัติทํากิจของสงฆตามพระธรรมวินัย เวลาวางทานก็ปลีกตนในที่สงัดเพื่อความสงบ บรรลุฌานเปนขั้นๆ สามารถที่จะรูจุติปฏิสนธิ สามารถที่จะโนมจิตไปเพื่อญาณ อันเปนเหตุใหสิ้นอาสวะ อันนี้ก็เปนเรื่องประโยชนของสมาธิ นอกจากทานจะประกอบดวยศีล ทานก็ยังประกอบดวยสมาธิดวย และเมื่อประกอบดวยศีลสมาธิและปญญาเปนพระอรหันต ก็ไมเปนผูที่ไมประกอบความขวนขวายในการทําตนใหเดือดรอนและในการทําใหผูอ่ืนใหเดือดรอนดวย

Page 42: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 41

เมื่อทานพระอุเทนกลาวอยางนี้แลว โฆฏมุขพราหมณก็ไดกลาวกับทานพระอุเทนวา ขาแตทานอุเทน ภาษิตของทานแจมแจงนัก ภาษิตของทานแจมแจงนัก ทานอุเทนประกาศธรรมโดยเอนกปริยาย เปรียบเหมือนหงายของที่คว่ํา เปดของที่ปด บอกทางแกคนหลง หรือตามประทีปไวในที่มืดดวยหวังวาผูมีจักษุจักเห็นรูปได ฉะนั้น ขาพเจานี้ขอถึงทานอุเทน กับทั้งพระธรรมและพระภิกษุสงฆวาเปนสรณะ ขอทานอุเทนทรงจําขาพเจาไววา เปนอุบาสกผูถึงสรณะตลอดชีวิตตั้งแตวันนี้เปนตนไป นี่คือความเลื่อมใสเวลาที่ไดฟงธรรม ก็ขอถึงทานพระอุเทนผูแสดงธรรมนั้นเปนสรณะ พรอมทั้งธรรมที่แสดงและพระสงฆดวย แตทานพระอุเทนกลาว วา ดูกร พราหมณ ทานอยาไดถึงอาตมาเปนสรณะเลย เชิญทานถึงพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาที่อาตมาถึงเปนสรณะ เปนสรณะเถิด โฆฏมุขพราหมณ ก็ไดกลาวตอบทานพระอุเทนวา ขาแตทานอุเทน เดี่ยวนี้ทานพระโคดมอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น ประทับอยูที่ไหน ทานพระอุเทนกลาวตอบวา ดูกร พราหมณ เดี๋ยวนี้พระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น เสด็จปรินิพพานเสียแลว โฆฏมุขพราหมณก็ไดกลาววา ขาแตทานอุเทน ถาแหละขาพเจาพึงไดฟงวา ทานพระโคดมพระองคนั้นประทับอยูในหนทางแม ๑๐ โยชน ขาพเจาก็พึงไปเฝาทานพระโคดมอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น และตอไปถึง ๒๐ โยชน ๓๐ โยชน ๔๐ โยชน ถึงแม ๑๐๐ โยชน โฆฏมุขพราหมณก็ไดกลาววา แมสิ้นหนทาง ๑๐๐ โยชน ขาพเจาก็พึงไปเฝาทานพระโคดมอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนั้น แตวาทานพระโคดมพระองคนั้นเสด็จปรินิพพานเสียแลว ขาพเจาขอถึงทานพระโคดมพระองคนั้นแมเสด็จปรินิพพานแลว กับทั้งพระธรรมและพระภิกษุสงฆเปนสรณะ ขอทานอุเทนทรงจําขาพเจาวาเปนอุบาสกผูถึงสรณะตลอดชีวิต ตั้งแตวันนี้เปนตนไป

Page 43: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 42

อนึ่ง มีเบี้ยเลี้ยงประจําที่พระเจาอังคราชโปรดพระราชทานแกขาพเจาทุกวัน ขาพเจาขอถวายสวนหนึ่งจากเบี้ยเลี้ยงประจํานั้น แดทานอุเทน ก็ดูผูที่ไมเห็นวาตนเองสําคัญ วาทานจะคิดทานจะกลาวอยางไร ทาน พระอุเทนก็ไดกลาวกับโฆฏมุขพราหมาณวา พระเจาอังคราชโปรดพระราชทานอะไรเปนเบี้ยเลี้ยงเปนประจําแกทาน โฆฏมุขพราหมณก็ไดกลาววา พระเจาอังคราชโปรดพระราชทานกหาปนะ ๕๐๐ เปนเบี้ยเลี้ยงประจําวันแกขาพเจา ทานพระอุเทนก็กลาววา การรับเงินและทอง ไมสมควรแกอาตมาทั้งหลาย โฆฏมุขพราหมณก็กลาวตอบวา ถาทองและเงินนั้นไมสมควร ขาพเจาจะใหสรางวิหารถวายทานอุเทน ทานพระอุเทนกลาววา ถาแลทานปรารถนาจะใหสรางวิหารถวายอาตมา ก็ขอใหสรางโรงเลี้ยงถวายแกสงฆในเมืองปาตลีบุตรเถิด ไมจํากัดเจาะจงวาตองถวายทาน แตวาพึงกระทําประโยชนแกพระศาสนาแกพระธรรมวินัย โดยการที่แทนการที่จะสรางวิหารถวายตัวทานเองโดยเฉพาะ ก็ขอใหโฆฏมุขพราหมณสรางโรงเลี้ยงถวายแกสงฆในเมืองปาตลีบุตร ซึ่งโฆฏมุขพราหมณก็เกิดความปติยินดีมากทีเดียว ก็ไดกลาววา ดวยขอที่ทานอุเทนชักชวนขาพเจาในสังฆทานนี้ ขาพเจามีใจชื่นชมยินดีเหลือประมาณ ขาแตทานอุเทน ขาพเจาจะใหสรางโรงเลี้ยงถวายแกสงฆในเมืองปาตลีบุตรดวยเบี้ยเลี้ยงประจําสวนนี้ดวย ดวยเบี้ยเลี้ยงประจําสวนอื่นดวย นี่เปนสัทธาหรือความปติชื่นชมยินดี ที่ไมเห็นวาทานพระอุเทนนั้น จะเปนผูเห็นแกตน แตเปนผูที่เห็นแกพระรัตนตรัย เปนผูที่เห็นแกพระธรรมวินัย แทนที่จะชักชวนใหเลื่อมใสในการใหสังฆทาน

Page 44: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 43

ฉะนั้น แทนที่จะใหสรางโรงเลี้ยงดวยเบี้ยเลี้ยงประจําสําหรับตนดังที่กลาวไว ก็ยังใหเพิ่มดวยเบี้ยเลี้ยงประจําสวนอื่นดวย ครั้งนั้นแล โฆฏมุขพราหมณใหจัดสรางโรงเลี้ยงถวายแกสงฆในเมืองปาตลีบุตร ดวยเบี้ยงเลี้ยงประจําสวนนี้และสวนอื่น โรงเลี้ยงนั้นเรียกวาโฆฏมุกขี ฉะนี้แล นี่เปนเหตุการณในครั้งนั้น ซึ่งก็เปนตัวอยางใหเห็นวา การสนทนาธรรมเริ่มจากการที่ไมเห็นประโยชนของการบวชเลย จนกระทั่งไดเห็นประโยชนของการบวช แลวไดเกิดจิตศรัทธาเลื่อมใส ในตอนตนก็เลื่อมใสในผูแสดงคือทานพระอุเทน แตภายหลังก็เลื่อมใสในพระรัตนตรัย ..................

Page 45: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 44

เทปตนฉบับ ของมูลนิธิศึกษา และ เผยแพรพระพุทธศาสนา แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๖ ถาทานมีความเลื่อมใสในพระรัตนตรัย ในพระพุทธ ในพระธรรม ใน พระสงฆแลว ไมตองกลัววาทานจะไมไดเลื่อมใสในครูอาจารยของทาน เพราะเหตุวาถาครูอาจารยเปนพระอริยสาวก ถึงแมวาทานจะไมเจาะจงความเลื่อมใส เปนรายบุคคล แตการที่ทานแสดงความเปนอุบาสกอุบาสิกา ถึงพระรัตนตรัยเปนสรณะ นั่นก็แสดงความเคารพเลื่อมใสตั้งแตในพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ซึ่งเปนพุทธรัตนะและในพระธรรมและในพระสงฆ เพราะฉะนั้น อันนี้ก็เปนเครื่องที่จะใหทานเห็นวา ความเลื่อมใสใดๆนั้น ไมควรจะใหเกินกวาความเลื่อมใสในพระรัตนตรัย สําหรับความเลื่อมใสในพระรัตนตรัยแลวก็ควรจะแสดงความนอบนอม ซึ่งมีปรากฏในพระตรัยปฏก ใน สังยุตตรนิกาย สคาถวรรค ภาค ๑ นสันติสูตร ที่ ๔ สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคประทับอยู ณ พระวิหารเชตวัน เมื่อปฐมยามลวงไปแลว พวกเทวดาก็ไดไปเฝาพระผูมีพระภาคถึงที่ประทับ ทําใหพระ วิหารเชตวันนั้นสวางไสว เมื่อเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคถวายอภิวาทแลว ยืน ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ไดกลาวคาถาในสํานักของพระผูมีพระภาค สรรเสริญพระอรหันตผูพนจากเครื่องของทั้งปวงได เมื่อเทวดากลาวสรรเสริญแลว ทานพระโมฆราช ก็กลาววา ก็หากวาพวกเทวดา พวกมนุษยในโลกนี้ก็ดี ในโลกอื่นก็ดี ไมไดเห็นพระขีณาสพนั้น ผูอุดมกวานรชน ผูประพฤติประโยชนเพื่อพวกนรชน ผูพนแลวอยางนั้น เทวดาและมนุษยเหลาใด ยอมไหวพระขีณาสพนั้น เทวดาและมนุษยเหลานั้น ยอมเปนผูอันบัณฑิตพึงสรรเสริญ แลวพระผูมีพระภาคก็ไดตรัสวา

Page 46: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 45

ดูกรภิกษุ แมพวกเทวดาและมนุษยเหลานั้น ยอมเปนผูอันบัณฑิตพึง สรรเสริญ พวกเทวดาและมนุษยเหลาใด ยอมไหวขีณาสพภิกษุนั้น ผูพน แลวอยางนั้น ดูกรภิกษุ แมเทวดาและมนุษยเหลานั้นรูธรรมแลว ละวิจิกิจฉาแลว ก็ยอมเปนผูลวงแลวซึ่งธรรมเปนเครื่องของ เมื่อมีพระรัตนตรัยเปนสรณะแลว ขอปฏิบัติก็ถูกได เพราะวาไมมีการคลาดเคลื่อนไปตามความคิดเห็นของบุคคล ซึ่งอาจจะมีการบกพรองหรือวาการคลาดเคลื่อน การไขวเขวได ถาไมสอบทานเทียบเคียงพิจารณาเหตุผลใหตรงกับพระธรรมวินัย แตถาผูใดมีพระธรรมวินัย มีพระรัตนตรัยเปนสรณะที่แทจริง พิจารณาสอบทานเทียบเคียงอยูเสมอ ก็ยอมจะทําใหขอประพฤติปฏิบัติของผูนั้นสมบรูณไมคลาดเคลื่อน วันนี้ก็เปนเรื่องของพระสูตรหลายๆพระสูตร ซึ่งก็เปนความประสงคที่อยากจะใหทานเพิ่มความสนใจ ศึกษา สอบทาน เทียบเคียงกับพระธรรมวินัยใหยิ่งขึ้น ไมวาทานจะมีความของใจสงสัยในธรรมประการหนึ่งประการใด แมแตในเรื่องขอสนทนาที่วา การบวชเปนบรรพชิตจะเปนประโยชนหรือไมเปนประ โยชนอยางไร ทานก็จะไดฟงความคิดเห็นของบุคคลในครั้งอดีต พรอมทั้งเหตุ ผล แลวก็ยังมีเรื่องที่จะทําใหทานหายของใจไดนานาประการทีเดียว สําหรับในวันนี้ก็จะขอกลาวถึงอีกสูตรหนึ่ง คือ ใน สังยุตตรนิกาย มหาวารวรรคภาค ๑ สูกรขาตาสูตร ซึ่งก็เปนเรื่องของการนอบนอมตอพระรัตนตรัย ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคประทับ ณ ถ้ําสูกรขาตา เขาคิชกูฏ ใกลพระนครราชคฤห ณ ที่นั้น พระผูมีพระภาคตรัสเรียกทานพระสารีบุตร แลวตรัสถามวา ดูกร สารีบุตร ภิกษุผูขีณาสพ เห็นอํานาจประโยชนอะไรหนอ จึงประพฤตินอบนอมอยางยิ่งในตถาคต หรือในศาสนาของตถาคต ทานพระสารีบุตรเปนอัครสาวก เปนผูที่มีปญญาเฉียบแหลมมาก แตแมกระนั้น ปญญาของทานพระสารีบุตรก็ไมเสมอกับพระผูมีพระภาค เพราะฉะนั้นถามีโอกาสใดที่พระผูมีพระภาคตองการที่จะใหมีการสนทนาใหไดเหตุผล ใหได

Page 47: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 46

ความแจมแจงชัดเจนยิ่งขึ้น พระองคก็ทรงพระมหากรุณาตรัสเรียก แมทานพระสารีบุตรไปเฝาแลวก็ตรัสถาม เพื่อใหทานพระสารีบุตรไดแสดงเหตุผลที่ชัดเจน สําหรับในพระสูตรนี้ พระผูมีพระภาคตรัสถามทานพระสารีบุตรวา ภิกษุผูขีณาสพ ( คือภิกษุผูเปนอรหันต ) เห็นอํานาจประโยชนอะไรหนอ จึงประพฤตินอบนอมอยางยิ่งในตถาคต หรือในศาสนาของตถาคต ทานพระสารีบุตรกราบทูลวา ภิกษุขีณาสพ เห็นธรรมเปนแดนเกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยม จึงประพฤติ นอบนอมอยางยิ่งในพระผูมีพระภาค หรือในศาสนาของพระผูมีพระภาค ไมใชวาจะนอบนอมโดยไมมีเหตุผลเลย เพราะวา การนอบนอมจะเพิ่มขึ้นในบุคคลใด ก็เนื่องมาจากธรรมที่ไดรับมาจากบุคคลนั้น เพราะฉะนั้น ผูที่ยังเปนปุถุชนที่จะนอบนอมในพระรัตนตรัยมากเทากับผูที่เปนอริยบุคคลนั้น ยอมเปนไปไมไดเลย ถาเปนปุถุชนที่ไดฟงธรรมนอย ความนอบนอมในพระรัตนตรัยก็นอยกวาผูที่ไดฟงธรรมมาก ถาเปนปุถุชนผูที่ไดประพฤติปฏิบัติเจริญปญญาจนกระทั่ง รูธรรมเพิ่มขึ้นมากขึ้น ความนอบนอมในพระรัตนตรัยก็เพิ่มมากขึ้น เพราะฉะนั้นความนอบนอมของปุถุชน ความนอบนอมของพระอริยะขั้นพระโสดาบัน ความนอบนอมของพระอริยะขั้นพระสกทาคามี ความนอบนอมของพระอริยะขั้นพระอนาคามี ความนอบนอมของพระอริยะขั้นพระอรหันต จึงตางกัน แลวทานก็คงจะทราบไดวา ผูใดมีความนอบนอมในพระรัตนตรัยมากกวากัน ก็ตองเปนพระอรหันต ซึ่งไดเห็นธรรมเปนแดนเกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยม พระผูมีพระภาคก็ไดตรัสตอไปอีกวา ก็ธรรมะเปนแดนเกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยม ที่ภิกษุขีณาสพเห็นอยู จึงประพฤตินอบนอมอยางยิ่งในตถาคต หรือในศาสนาของตถาคตเปนไฉน ทานพระสารีบุตรก็กราบทูลวา ภิกษุผูขีณาสพ ในธรรมวินัยนี้ ยอมเจริญสัทธินทรีย อันใหถึงความสงบใหถึงความตรัสรู ยอมเจริญวิริยินทรีย อันใหถึงความสงบ ใหถึงความตรัสรูยอมเจริญสตินทรีย อันใหถึงความสงบ ใหถึงความตรัสรู ยอมเจริญสมาธินทรีย อัน

Page 48: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 47

ใหถึงความสงบ ใหถึงความตรัสรู ยอมเจริญปญญินทรีย อันใหถึงความสงบ ใหถึงความตรัสรู นั่นเปนธรรมอันเปนแดนเกษมจากโยคะ คงจะสงสัยวาทําไมทานพระสารีบุตรทานกลาวถึงอินทรีย ๕ นี้ซ้ําถึง ๒ ครั้ง คือกลาววายอมเจริญสัทธินทรีย อันใหถึงความสงบ ใหถึงความตรัสรู ไมใชใหหยุดเพียงแควาใหถึงความสงบ แตวาอันใหถึงความสงบ ใหถึงความตรัสรู นั่นจึงจะเปนความสมบรูณของพระธรรมของพระผูมีพระภาค ไมใชเพียงแคสมาธิซึ่งเปนความสงบ แตตองใหถึงความตรัสรูดวย เพราะฉะนั้น การเจริญสัทธาเปนอินทรียทําใหจิตใจสงบผองใสนั้น ไมใชเพียงแคนั้น แตจะตองมีปญญารูลักษณะของสิ่งที่ปรากฏตามความเปนจริง เพื่อใหถึงความตรัสรูดวย ฉะนั้น เวลาที่ไดฟงเรื่องของการเจริญสติปฏฐานแลว มีสติเกิดขึ้นขณะใด แสดงถึงสัทธาที่จะพิจารณาลักษณะของธรรมที่กําลังปรากฏในขณะนั้น ไมใชเพียงใหถึงความสงบ แตใหถึงความตรัสรูดวย เพราะฉะนั้น พยัญชนะจึงแสดงไวโดยละเอียดในการเจริญอินทรีย ๕ นั้น ทั้ง สัทธินทรีย วิริยินทรีย สตินทรีย สมาธินทรีย ปญญินทรีย อันใหถึงความสงบ ใหถึงความตรัสรู พระผูมีพระภาคตรัสวา ถูกละ ถูกละ สารีบุตร ธรรมเปนแดนเกษมจากโยคะ อันยอดเยี่ยมนี้แล ที่ภิกษุผูขีณาสพเห็นอยู จึงประพฤตินอบนอมอยางยิ่งในตถาคต หรือในศาสนาของตถาคต ดูกร สารีบุตร การนอบนอมอยางยิ่งที่ภิกษุผูขีณาสพประพฤติในตถาคต หรือในศาสนาของตถาคต เปนไฉน คือตองการความสมบรูณของขอความที่ทานพระสารีบุตรกราบทูลตอ ทาน พระสารีบุตรก็กราบทูลวา ขาแตพระองคผูเจริญ ภิกษุผูขีณาสพในธรรมวินัยนี้ มีความเคารพยําเกรงในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ ในการศึกษา ในสมาธิ

Page 49: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 48

ขาแตพระองคผูเจริญ การนอบนอมอยางยิ่งนี้แล ที่ภิกษุขึณาสพประพฤติในพระตถาคต หรือในศาสนาของพระตถาคต พระผูมีพระภาคตรัสวา ถูกละ ถูกละ สารีบุตร การนอบนอมอยางยิ่งนี้แล ที่ภิกษุผูขีณาสพประพฤติในตถาคต หรือในศาสนาของตถาคต ขอใหพิจารณาพยัญชนะอีกครั้งหนึ่ง ทานพระสารีบุตรกราบทูลวา ภิกษุผูขีณาสพในธรรมวินัยนี้ มีความเคารพยําเกรงในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ ในการศึกษา ในสมาธิ ทานเปนพระขีณาสพ เปนผูที่มีกาย วาจา ใจ สงบ ไมไดเวนในการ ศึกษาเลย ทานตองศึกษาพระวินัย เพราะเหตุวาถาทานไมไดศึกษาพระวินัย ทานก็อาจจะทําผิดพลาดได ในเรื่องระเบียบขอประพฤติปฏิบัติที่พระผูมีพระภาคไดทรงบัญญัติไว แตเมื่อทานเปนผูที่ศึกษาเชนนี้ ทานก็ยอมจะอุปการะทั้งแกพระวินัยและแกบุคคลอื่นภายหลังดวย สําหรับในวันนี้ก็ใครที่จะกลาวถึง อนาถบิณฑิกเศรษฐี ทานอนาถ บิณฑิกเศรษฐี เปนผูสรางพระวิหารเชตวันถวายพระผูมีพระภาคและพระภิกษุสงฆ ทุกทานก็คงจะไดยินชื่อทานบอยๆ แตเวลาที่ไดยินชื่อของทานนั้น ก็ มักจะนึกถึงทานในฐานะที่ทานเปนอุบาสกสาวกผูเลิศในการถวายทาน แตทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีนั้น ทานเปนพระอริยสาวกดวย คือทานบรรลุธรรมในขณะที่ไดฟงธรรมจากพระผูมีพระภาค และเวลาที่เราระลึกถึงทานอนถบิณฑิกเศรษฐีนั้น เราคิดถึงในฐานะที่เปนอุบาสกธรรมดาทานหนึ่ง แตถาทานไดทราบวาทานอนาถบิณฑิกาเศรษฐีนั้น เปนพระอริยบุคคล เปน อริยสงฆ เปนสังฆรัตนะบุคคลหนึ่ง ซึ่งทานเองก็ไดกลาวขอถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะ ในการขอถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะนั้น ก็ยอมแสดงอยูแลววา ทานขอถึงขอประพฤติปฏิบัติ ขอถึงธรรม ขอถึงพระธรรมที่พระผูมีพระภาคทรงแสดง เพื่อใหทานไดประพฤติปฏิบัติจนกระทั่งถึงความเปนสังฆรัตนะดวยบุคคลหนึ่ง

Page 50: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 49

เพราะฉะนั้น เวลาระลึกถึงทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี ก็ขอใหระลึกถึงคุณ ธรรมของความเปนพระอริยสาวกของทานดวย เพราะวาทานไมไดเปนแตเพียงอุบาสกผูเลิศในการถวายทานเทานั้น ทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี เปนนองเขยของราชคหเศรษฐี ราชคหเศรษฐีก็เปนเศรษฐีที่เมืองราชคฤห ทานราชเศรษฐีก็เปนผูที่ใหสรางวิหารถวายสงฆ ๖๐ หลังในวันเดียวที่เวฬุวัน ซึ่งพระเจาพิมพิสารไดถวายแกพระผูมีพระภาคและพระภิกษุสงฆ เพราะไดเห็นปฏิปทาอาจาระที่นาเลื่อมใสของพระภิกษุเหลานั้น แลว ก็เห็นวาการที่ทานตองอยูปาบาง โคนไมบาง ภูเขาบาง ซอกเขาบาง ถ้ําเขาบางนั้น ก็ไมเปนที่สดวกสบายแกการประพฤติปฏิบัติธรรม ซึ่งพระผูมีพระภาคก็ไดกลาวอนุโมทนาวา การถวายวิหารแกสงฆ เพื่อหลีกเรนอยู เพื่อความสุข เพื่อเพงพิจารณา เพื่อเห็นแจง เปนทานอันเลิศ ครั้งนั้น อนาถบิณฑิกะไดไปที่เมืองราชคฤหดวยกรณียกิจบางอยาง ราช คหเศรษฐีไดนิมนตพระภิกษุสงฆ มีพระผูมีพระภาคเปนประมุขเพื่อฉันในวันรุงขึ้น ทานราชคหเศรษฐีก็ไดสั่งใหทาสกรรมกรทั้งหลาย ใหลุกขึ้นตั้งแตเชาตรู ตมขาว หุงขาว ตมแกง ชวยกันจัดหาอาหารที่มีรสอรอย ทําใหทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีแปลกใจและคิดวา เมื่อทานมาที่เมืองราชคฤหในคราวกอนๆนั้น ราชคหเศรษฐี ผูนี้เมื่อจัดทําธุระทุกสิ่งทุกอยางเสร็จแลว ก็สนทนาปราศัยกับทาน แตเพียงผูเดียว แตวาวันนี้ราชคหเศรษฐีสั่งทาสกรรมกรทั้งหลายใหลุกขึ้นแตเชาตรู ตมขาว หุงขาวตมแกง ชวยกันจัดอาหารที่มีรสอรอย ฉะนั้น อนาถบิณฑิกเศรษฐีก็คิดวา ทานราชคหเศรษฐีคงจะมีงานอาวาห มงคล วิวาหมงคล หรือมหายัญ หรือวาจะทูลเชิญเสด็จพระเจาพิมพิสารพรอมทั้งกองพลมาเลี้ยงในวันรุงขึ้น เมื่อทานราชคหเศรษฐีสั่งขาทาสกรรมกรเหลานั้นเรียบรอยแลว ก็ไดไป หาทานอนาถบิณฑิกะแลวก็ไดสนทนากัน ซึ่งทานอนาถบิณฑิกะก็ไดปรารถถึงความสงสัยของทาน วาคงจะมีงานวิวาหมงคล อวิวาหมงคล หรือวาบูชายัญ

Page 51: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 50

ทานราชเศรษฐีก็ตอบวา ทานไมไดมีงานตางๆเหลานั้นเลย แตวาทาน นิมนตสงฆมีพระผูมีพระภาคเปนประมุข เพื่อเลี้ยงในวันรุงขึ้น อนาถบิณฑิกเศรษฐีพอไดยินก็กลาวา ทานคหบดี ทานกลาววา " พระพุทธเจาหรือ ? " ราชคหเศรษฐีก็ตอบวา " ทานคหบดี ฉันกลาววา พระพุทธเจา ดังนี้ " ทานอนาถบิณฑิกะก็ถามซ้ําถึง ๓ ครั้ง ซึ่งทานราชคหเศรษฐีก็รับอยางนั้นถึง ๓ ครั้ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีก็กลาววา " ทานคหบดี แมเสียงพุทธะนี้ ก็ยากที่จะหาไดในโลก " แลวก็ถามทานราชคหเศรษฐีตอไปวา " ทานสามารถที่จะเขาเฝาพระผูมีพระภาคในเวลานี้ไดไหม " ( คือเมื่อไดทราบวา พระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาในโลก ทานก็ใครที่จะไดเฝา ซึ่งทานราชคหเศรษฐีก็กลาวตอบวา " เวลานั้นยังไมใชเวลาที่สมควร พรุงนี้จึงจะไดเขาเฝา " หลังจากนั้นทานอนาถบิณฑิกะก็ไดแตนอนนึกถึงพระผูมีพระภาคเปนอารมณคือคิดวา พรุงนี้จะไดเฝา พรุงนี้จะไดเฝาพระผูมีพระภาค ซึ่งเปนเหตุใหทานลุกข้ึนแลวในกลางดึกถึง ๓ ครั้งเพราะเขาใจวาสวางแลว ทานเดินไปทางประตูปา สีตวัน พวกอมนุษยก็เปดประตูให เมื่ออกจากเมืองไปแลวแสงสวางไดหายไป ความมืดปรากฏ ความกลัว ความหวาดเสียว ความขนพองสยองเกลาเกิดขึ้น ทานก็คิดจะกลับ ครั้งนั้น สีวกยักษไมปรากฏราง ไดยินแตเสียงกลาวคาถาวา ชางแสนหนึ่งมาแสนหนึ่ง รถเทียบดวยมาอัสดรแสนหนึ่ง หญิงสาวประดับดวยแกวมณี ตาง หูเพชรแสนหนึ่ง ก็ยังไมเทาเสี้ยวที่ ๑๖ แหงการยางเทากาวไปกาวหนึ่ง จงกาวไปขางหนาเถิดทานคหบดี จงกาวไปขางหนาเถิดทานคหบดี การกาวไปขางหนาของทานประเสริฐ การถอยหลังไมประเสริฐเลย เพราะวาแตละกาวที่กาวไป เพื่อจะไดฟงธรรม เพื่อจะไดพบพระผูมีพระภาคนั้น เปนโอกาสที่หาไดยากที่สุดในโลกทีเดียว ฉะนั้น เมื่อผูใดทราบถึงเจตนาของผูที่มีความตั้งใจที่จะไดเฝาพระผูมีพระ

Page 52: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 51

ภาค แลวเกิดความวิตกหรือวาเกิดความกลัวข้ึน ก็ไดกลาวคาถาเตือนถึงประโยชนที่จะเกิดขึ้น ครั้งนั้น ความมีดหายไป แสงสวางปรากฏแกทานอนาถบิณฑิกะ ความกลัว ความหวาดเสียว ความขนพองสยองเกลาที่เกิดขึ้นนั้น ก็ระงับไป เปนอยางนี้ถึง ๓ ครั้ง ทานอนถบิณฑิกเศรษฐีจึงไดเดินเขาไปถึงสีตวัน สมัยนั้น พระผูมีพระภาคเสด็จลุกขึ้นจงกรมในที่แจงในเวลาใกลรุง เห็นทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี พระองคก็เสด็จลงจากที่จงกรม ประทับบนอาสนะที่ ปูลาดไว

Page 53: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 52

เทปตนฉบับ ของมูลนิธิศึกษา และ เผยแพรพระพุทธศาสนา แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๗ ครั้นแลวไดตรัสกับทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีวา " มาเถิด สุทัตตะ " อนาถบิณฑิกเศรษฐีเบิกบานใจที่พระผูมีพระภาคตรัสเรียกชื่อ จึงเขาไปซบศรีษะลงแทบพระบาทของพระผูมีพระภาค กราบทูลวา " ขาแตพระผูมีพระภาคผูเจริญ พระองคประทับสําราญหรือ พระพุทธเจาขา " เวลาที่ผูหนึ่งผูใดไดพบพระผูมีพระภาค และถาทานศึกษาพระสูตร ทาน จะเห็นวา คําปราศรัยของแตละทานนั้นตางกัน พระผูมีพระภาคตรัสโดยคาถาวา " พราหมณ ผูดับทุกขไดแลว ยอมอยูเปนสุขแท ทุกเวลา ผูใดไมติดในกาม มีใจเย็น ไมมีอุปธิ ตัดความเกี่ยวของทุกอยางไดแลว บรรเทาความกระวนกระวายในใจ ถึงความสงบแหงจิต เปนผูสงบระงับแลว ยอมอยูเปนสุข " ตอจากนั้นพระผูมีพระภาคก็ไดตรัส อนุปุพพีกถา ไดแกกถาเรื่องของทาน เรื่องของศีล เรื่องของสวรรค เรื่องโทษของกาม เรื่องการออกจากกาม แลว ก็เรื่องอริยสัจจ ๔ อนาถบิณฑิกเศรษฐีก็ไดดวงตาเห็นธรรม ไดบรรลุธรรม ไดรูธรรมแจมแจงแลว มีธรรมหยั่งลงแลว ขามความสงสัยไดแลว ปราศจากถอยคําแสดง ความสงสัย ถึงความเปนผูแกลวกลา ไมตองเชื่อผูอ่ืนในคําสอนของพระศาสดา ไดพูดคํานี้แตพระผูมีพระภาควา ขาแตพระองคผูเจริญ ภาษิตของพระองคแจมแจงนัก ภาษิตของพระองคไพเราะนัก พระพุทธเจาขา พระองคทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยายอยางนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ํา เปดของที่ปด บอกทางแกคนหลง หรือสอง ประทีปในที่มืด ดวยตั้งใจวา คนมีจักษุจะเห็นรูปดังนี้

Page 54: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 53

ขาพระพุทธเจานี้ ขอถึงพระผูมีพระภาค พระธรรม และ พระสงฆวาเปนสรณะ ขอพระองคจงทรงจําขาพระพุทธเจา วาเปนอุบาสกผูมอบชีวิตถึงสรณะ จําเดิมแตวันนี้เปนตนไป และขอพระองคพรอมดวยพระภิกษุสงฆจงทรงรับ ภัตตาหาร เพื่อเจริญบุญกุศลปติและปราโมทย ในวันพรุงนี้ของขาพระพุทธเจา พระผูมีพระภาคทรงรับโดยดุษณีภาพ ซึ่งเมื่อผูอ่ืนไดฟงวาทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีนิมนตพระผูมีพระภาคพรอมดวยภิกษุสงฆ ไปรับภัตตาหารที่บาน ทานราชคหเศรษฐีก็ปรารภที่จะใหอนถบิณฑิกเศรษฐีขอยืมเงิน เพราะวาเมือง ราชคฤหไมใชเมืองของทานอนาถบิณฑิกะ ทานเปนชาวเมืองสาวัตถี แตวาทานไปธุระที่เมืองราชคฤห ซึ่งทานอนาถบิณฑิกะก็ตอบวา เงินที่จะจัดภัตตาหารของทานนั้นมีพอ แลว เมื่อชาวเมืองไดทราบวาทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีจะนิมนตพระผูมีพระภาคพรอมทั้งพระภิกษุสงฆไปรับภัตตาหารที่บาน ชาวเมืองก็ใหขอยืมอีกเหมือนกัน เพราะคิดวาทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีคงจะมีเงินไมพอ ถึงแมพระเจาพิมพิสารก็ปรารภจะใหอนาถบิณฑิกเศรษฐีขอยืม ซึ่งทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีก็ไดกราบทูลวาทานมีพอแลว และเมื่อทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีไดถวายภัตตาหารแกพระผูมีพระภาคแลว ก็ไดกราบทูลขอใหพระผูมีพระภาคและภิกษุอยูจําพรรษาอยูที่ เมืองสาวัตถี ซึ่งพระผูมีพระภาคก็ตรัสวา ดูกร คหหบดี พระตถาคตเจาทั้งหลายยอมยินดีในสูญญาคาร ซึ่งทานอนาถบิณฑิกะก็จะตองจัดเตรียมสถานที่ หรือพระวิหารใหแก พระพุทธเจาและพระภิกษุสงฆ ทานเห็นวาอุทยานเจาเชตราชกุมาร เปนสถาน ที่ไมไกลนักไมใกลนักจากหมูบาน มีการคมนาคมสดวก กลางวันก็มีคนนอย กลางคือนก็ เงียบ สมควรเปนที่หลีกเรน ทานก็ไดไปขอเฝาเจาเชตขอประทานเชตวัน ซึ่งเจาเชตราชกุมารก็รับสั่งวา " ใหไมได ตองซื้อดวยการเอาทรัพย มาปูลาดใหเต็ม" ซึ่งอนาถบิณฑิกเศรษฐีถามวา ถาเชนนั้นก็เปนอันวาเจาเชตตกลง เจาเชต ก็บอกวายังไมตกลงขาย ทานอนาถบิณฑิกะก็ขอใหมหาอํามาตยผูพิพากษาเปนผู

Page 55: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 54

ตัดสินความ ซึ่งมหาอํามาตยก็ไดตอบวา เมื่อพระองคตีราคาแลว เปนอันตกลงขาย ทานอนาถบิณฑิกะก็ใหคนเอาเงินมาเรียงราด จนกระทั่งเหลือที่ซุมประตู ซึ่งเจาเชตก็ไดเห็นสัทธาของทานอนาบิณฑิกเศรษฐี วามีสัทธามากในพระผูมีพระภาค เพราะฉะนั้น ก็ขอมีสวนในการถวายสวนแกพระผูมีพระภาคดวย ซึ่งทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีก็เห็นวาเจาเชตนั้นก็เปนคนที่มีชื่อเสียง ฉะนั้น ก็ใหชื่ออาราม นั้นวา " เชตวนาราม " แตทุกคนก็เรียกวา อารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี ทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีใหสรางวิหารหลายหลัง สรางบริเวณ สรางซุมประตู สรางศาลาหอฉัน สรางโรงไฟ สรางกัปปยกุฎี สรางวัจจกุฎี สรางที่จงกรม สรางโรงจงกรม สรางบอน้ํา สรางศาลาบอน้ํา สรางเรือนไฟ สรางศาลาเรือนไฟ สระโบกขรณี สรางมณฑป เพื่อความสดวกสบายของพระผูมีพระภาคและพระภิกษุสงฆ ซึ่งก็ปรากฏวาพระผูมีพระภาคประทับที่พระวิหาร เชตวัน คือทรงจําพรรษาอยูที่นั่นถึง ๑๙ พรรษา และที่บุพพารามที่เมืองสาวัตถึซึ่งเปนอารามที่มหาอุบาสิกาวิสาขาสรางถวาย ๖ พรรษา และระหวางที่พระผูมีพระภาคและพระภิกษุสงฆจําพรรษาอยูที่พระวิหารเชตวันและบุพพารามนั้น ทั้งทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีและวิสาขามหาอุบาสิกา ก็ไปสูที่อุปฏฐากพระผูมีพระภาควันละ ๒ ครั้งเปนประจํา คือกอนฉันครั้งหนึ่ง และหลังจากฉันแลวอีก ครั้งหนึ่ง และทานทั้งสองนี้ก็เปนผูที่มีสัทธามาก ในการที่จะอุปฎฐากพระภิกษุสงฆ ฉะนั้น กอนฉันทานก็นําอาหารภัตตาหารตางๆไปถวาย เวลาที่หลังจากฉันแลว ก็มีน้ําอัฏฐบาลและพวกดอกไมเครื่องสักการะ สําหรับทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีนั้น ทานไมเคยทูลถามปญหาพระผูมีพระภาคสักวันเดียว เพราะทานคิดวา พระตถาคตเจาเปนพระพุทธเจาผูละเอียดออน เปนกษัตริยผูละเอียดออน เมื่อทรงแสดงธรรมแกเราดวยเขาพระหฤทัยวา คฤหบดีมีอุปการะแกเรามากดังนี้จะทรงลําบาก แลวทูลถามปญหาดวยความรักในพระศาสดาเปนอยางยิ่ง

Page 56: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 55

นี่คืออุปนิสสัยของอุบาสกอุบาสิกาแตละคน คือบางทานดวยความเคารพยําเกรงเลื่อมใสสัทธาในพระผูมีพระภาค ไมถามปญหาพระผูมีพระภาคเลยสัก ครั้งเดียว ถึงแมวาจะไปสูที่อุปฎฐากพระผูมีพระภาคถึงวันละ ๒ ครั้งก็ตาม แตพระศาสดานั้น เมื่อทานเศรษฐีนั่งแลว ทรงพระพุทธดําริวาเศรษฐีผูนี้ รักษาเราในที่ไมควรรักษา เหตุวาพระผูมีพระภาคไดทรงบําเพ็ญพระบารมีถึง ๔อสงไขแสนกัปปนั้น ก็เพื่อแสดงธรรมแกผูอ่ืนเทานั้น ฉะนั้นอนาถบิณฑิกเศรษฐีรักษาพระผูมีพระภาคในที่ไมควรรักษา ครั้นทรงพระพุทธดําริดังนี้แลว พระผูมีพระภาคตรัสพระธรรมเทศนาใหทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีฟงกัณฑ ๑ เสมอ นี่ก็เปนในครั้งอดีต บุคคลในครั้งอดีตนั้นถาจะใดเห็นพระวิหารเชตวันก็ จะไดเห็น ศาลาโรงไฟตางๆ ที่จงกรม เห็นพระผูมีพระภาค เห็นพระภิกษุสงฆ เห็นกิจวัตร เห็นขอประพฤติปฏิบัติของทานในครั้งโนน แตวาในสมัยนี้พระเชตวันก็ยังเปนสถานที่นารื่นรมย แตวาผูที่เขาไปก็ดี ออกมาก็ดี ผูที่เดินผานไปผานมามีจักษุวิญญาณ มีโสตวิญญาณที่จะเห็นพระเชตวันในครั้งนี้ ก็อาจจะไมไดเปนผูที่รูลักษณะของการเห็น รูลักษณะของการไดยิน รูลักษณะของเย็น รอน ออนแข็งที่กําลังปรากฏในขณะนั้น เหมือนผูที่เขาออก ณ พระเชตวันในครั้งกระโนน ซึ่งไมวาจะเปนภิกษุ ภิกษุณี หรือวาอุบาสก อุบาสิกา ทานเหลานั้นฟงธรรมและเจริญสติปฏฐานรูลักษณะของธรรมที่กําลังปรากฏในขณะนั้น แลวแตวาทานจะเจริญกันมากนอยนานเทาไร จึงจะบรรลุมัคคผล นี่ก็เปนเรื่องที่ทานก็ควรที่จะไดทราบถึงอดีตของสถานที่ของบุคคล เพื่อเทียบเคียงกับขอปฏิบัติ และสําหรับพระวิหหารเชตวันนั้น เมื่อทานอนาถบิณ ฑิกเศรษฐีทานสรางแลว ก็เปนสถานที่ที่ทําใหทานเกิดความปติเปนอันมาก ถึงแมวาทานจะไดสิ้นชีวิตไปแลว และเกิดเปนเทพบุตรในชั้นดุสิต ทานก็ไดมาเฝาพระผูมีพระภาค ในสังยุตตรนิกาย สคาถวรรค อนาถบิณฑิกสูตร ที่ ๑๐ มีขอความวา อนาถบิณฑิกเทวบุตร ยืนอยู ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง แลวไดกลาวคาถา เหลานี้ในสํานักพระผูมีพระภาควา

Page 57: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 56

ก็พระเชตวันนี้นั้น อันหมูแหงทานผูแสวงคุณพํานักอยู พระธรรมราชาก็ประทับอยูแลว เปนที่ใหเกิดปติแกขาพระองค สัตวทั้งหลายยอมบริสุทธิ์ดวยสวน ๕ นี้ คือ กรรม วิชชา ธรรม ศีล และชีวิตอันอุดม หาใชบริสุทธิ์ดวยโคตรหรือทรัพยไม เพราะเหตุนั้นแหละบุรุษผูเปนบัณทิต เมื่อเล็งเห็นประ โยชนของตน พึงเลือกเฟนธรรมโดยแยบคายอยางนี้ จึงจะบริสุทธิ์ในธรรมนั้น พระสารีบุตรรูปเดียวเทานั้น เปนผูประเสริฐดวยปญญา ศีลและธรรมเครื่องสงบระงับ ภิกษุใดเปนผูถึงซึ่งฝง ภิกษุนั้นก็มีทานพระสารีบุตรนั้นเปนอยางเยี่ยม เมื่ออนาถบิณฑิกเทวบุตรไดกลาวดังนี้แลว ก็ถวายบังคมพระผูมีพระภาคทําปทักษิณแลวอันตรธานไปในที่นั้นเอง นี่คือพระอริยบุคคล ซึ่งเปนอุบาสกผูเลิศในการถวายทาน แลวก็เปนสังฆรัตนะ คือไดบรรลุธรรมเปนพระอริยบุคคล เมื่อทานสิ้นชีวิตไปแลว ทานก็ไดไปเกิดในชั้นดุสิตและไดมาเฝาพระผูมีพระภาค ลําดับนั้น พระผูมีพระภาคจึงตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาวา ดูกร ภิกษุทั้งหลาย เมื่อคืนนี้เทวบุตรองค ๑ เมื่อราตรีปฐมยามสิ้นไปแลว มีวรรณะงามยิ่งนัก ยังวิหารเชตวันทั้งสิ้นใหสวาง เขามาหาเราถึงที่อยู ครั้น แลวก็อภิวาท แลวไดกลาวคาถามีขอความ (อยางที่ไดกลาวไวแลว ) เมื่อพระ ผูมีพระภาคตรัสอยางนี้แลว ทานพระอานนทไดกราบทูลพระผูมีพระภาควา ขาแตพระองคผูเจริญ ก็เทวบุตรนั้นเห็นจะเปนอนาถบิณฑิกเทวบุตรแน อนาถบิณฑิกคฤหบดีไดเลื่อมใสยิ่งนักในทานพระสารีบุตร พระผูมีพระภาคตรัสวา ดูกร อานนท ถูกละ ถูกละ ดูกร อานนท ขอที่จะพึงถึงดวยการนึกคิด มีประมาณเพียงใดนั้น เธอถึงแลว ดูกร อานนทก็ เทวบุตรนั้น คือ อนาถบิณฑิกเทวบุตร อันนี้ก็เปนเครื่องที่จะใหทานไดระลึกถึงทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีวา ณ บัด นี้ทานอยูที่ไหน แตแมกระนั้นทานก็ไดความปติจากพระวิหารเชตวันที่ทานไดสรางถวายแกพระภิกษุสงฆ

Page 58: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 57

และสําหรับขอความที่วา " สัตวทั้งหลายยอมบริสุทธิ์ดวยสวน ๕ นี้ " คือ กรรม ๑ วิชชา ๑ ธรรม ๑ ศีล ๑ ชีวิตอันอุดม ๑ อันนี้ก็ไมพนไป จากเรื่องของการเจริญสติปฏฐาน หรือวาไมพนจากเรื่องการเจริญมัคค ๘ สําหรับบริสุทธิ์ดวยสวน ๕ สวนที่ ๑ คือ " กรรม " นั้นก็ไดแกการกระ ทําที่ถูกตองดวยการออกบวชเปนบรรพชิต มีความตั้งใจที่จะประพฤติปฏิบัติธรรมเพื่อที่จะใหรูแจงอริยสัจจ ๔ นี่เปนการงานที่ถูกตองทีเดียว นี่เปนเจตนาหรือความตั้งใจที่ชอบในการที่จะคิดสละกาม หรือในการที่จะออกบวชเปนบรรพชิตเพื่อประพฤติปฏิบัติธรรม ใหรูแจงอริยสัจจธรรม สําหรับ " วิชชา ๑ " นั้น ก็ไดแก สัมมาทิฏฐิ สําหรับ " ธรรม ๑ " นั้น ก็ไดแก สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สําหรับ " ศีล ๑ " นั้น ก็ไดแก สัมมาวาจา และ สัมมากัมมันตะ สําหรับ " ชีวิตอันอุดม " ก็ไดแก สัมมาอาชีวะ เพราะฉะนั้น ก็จะเห็นไดวา พยัญชนะเรื่องของการเจริญมัคคมีองค ๘ นั้น บางครั้งบางแหง ก็แสดงไวดวยพยัญชนะอีกพยัญชนะหนึ่ง แทนที่จะแสดงเรื่องมัคคมีองค ๘ ก็แสดงเปนเรื่องของวิชชา ธรรม ศีล และชีวิตอันอุดม สําหรับเรื่องของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี ในตอนทายแมวาทานจะเปนเทพ บุตร ทานก็ไดกลาวสรรเสริญทานพระสารีบุตรดวยขอความที่เปนคาถาวา ทานพระสารีบุตรรูปเดียวเทานั้น เปนผูประเสริฐดวยปญญา ศีล และธรรมเครื่องสงบระงับ ภิกษุใดเปนผูถึงซึ่งฝง ภิกษุนั้นก็มีทานพระสารีบุตรนั้นเปนอยาง เยี่ยม เวลาที่ทานผานพยัญชนะนี้ทานรูสึกยังไงคะ รูสึกวาทานอนาถบิณฑิก เทพบุตรนี่ลําเอียงหรือเปลาคะ ที่กลาวสรรเสริญทานพระสารีบุตร หรือวาทานมีความรูสึกนอบนอมเปนพิเศษอยางไรจึงไดกลาวสรรเสริญทานพระสารีบุตร ทานก็อาจจะผานไปโดยไมคิดเลยวาเพราะเหตุใด แตวาความจริงนั้นผูที่เปนพระ

Page 59: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 58

อริยบุคคลนั้น จะมีความเลื่อมใสหรือจะมีความนอบนอมในบุคคลใดนั้น ทาน มีความนอบนอมที่ไมเหมือนกับปุถุชน ปุถุชนเลื่อมใสนอบนอมผิดไดตามความคิดตามความคาดคะเน หรือวาตามความเขาใจในบุคคลนั้นๆ แตผูเปนพระอริยบุคคลเปนผูที่ไดรูแจงธรรม การเลื่อมใสหรือความนอบนอมของทานนั้น ไมเปนไปในทางที่ผิดเลย แตเพราะเหตุไร ทานอนถบิณฑกเทพบุตรจึงไดกลาวสรรเสริญทานพระสารีบุตร ดวยขอความวา " พระสารีบุตรรูปเดียวเทานั้น เปนผูประเสริฐดวยปญญา ศีล และเครื่องสงบระงับ ภิกษุใดเปนผูถึงซึ่งฝง ภิกษุนั้นก็มีทานพระสารีบุตรนั้นเปนอยางเยี่ยม ขอความที่อนาถบิณฑิกเทพบุตรกลาว เปนขอความที่จริงหรือไมจริง ใน พระสาวกทั้งหมดทานพระสารีบุตรเปนอัครสาวกเบื้องขวา เปนพระสาวกผูเปนเอตทัคคะผูเปนเลิศดวยปญญา ไมมีผูใดในบรรดาสาวกทั้งหมดที่มีปญญายิ่งกวาทานพระสารีบุตร เพราะฉะนั้น ที่อนาถบิณฑิกเทพบุตรมีความเลื่อมใส กลาวสรรเสริญทาน พระสารีบุตรดวยคาถานี้จึงเปนความจริง และอีกประการหนึ่งกอนที่ทานอนาถ บิณฑิกะจะสิ้นชีวิต ทานพระสารีบุตรไดแสดงธรรมกับทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี ซึ่งทําใหทานเกิดปติเกิดความซาบซึ้งในพระธรรมอยางยิ่ง แตไมใชไดหมายความวาทานอนาถบิณฑิกเทพบุตร จะมีความเลื่อมใสในทานพระสารีบุตรเกินกวาพระ ผูมีพระภาค ไมใชอยางนั้น เพราะวาพระอริยสาวกทั้งหลายยอมมีความเคารพนอบนอมอยางยิ่งในพระผูมีพระภาคและในศาสนาของพระผูมีพระภาค คือ ในพระรัตนตรัย ฉะนั้น ที่ทานอนาถบิณฑิกเทพบุตรมีความเลื่อมใสในทาน พระสารีบุตรนั้นก็โดยตําแหนงของสาวก ซึ่งเปนเอตทัคคะผูเลิศในทางปญญา และทานเองก็ไดรับฟงคําเทศนาของทานพระสารีบุตรเกิดความเขาใจแจมแจง ไดเห็นความเปนผูเลิศดวยปญญาของทานพระสารีบุตร ฉะนั้น ทานก็ไดกลาวคาถาที่แสดงความเลื่อมใสตอทานพระสารีบุตร แลวเวลาที่ทานพระสารีบุตรแสดงธรรมกับทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีนั้น ทานพระอานนทก็ไดไปดวย ไดไปเยี่ยมทานอนาถบิณฑิกะดวย ฉะนั้น ก็ไดเห็นความเลื่อมใสที่ทานอนาถบิณฑิกคฤหบดีมีตอทานพระสารีบุตร

Page 60: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 59

เพราะฉะนั้น พระผูมีพระภาคไดตรัสใหพระภิกษุสงฆทราบเรื่องของเทพ บุตรที่กลาวสรรเสริญพระเชตวันวิหาร ทานพระอานนททราบไดทันทีวาเทพบุตรนั้นก็คงจะเปนอนาถบิณฑิกเทพบุตรนั่นเอง เพราะวาเรื่องของความเลื่อมใสในธรรมนั้น ใน อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต พหุการสูตร มีขอความวา ดูกร ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จําพวกนี้เปนผูมีอุปการะมาก แกบุคคล ๓ จําพวก เปนไฉน คือ บุคคลอาศัยบุคคลใดแลว เปนผูถึงพระพุทธเจาวาเปนสรณะ ถึงพระธรรม วาเปนสรณะ ถึงพระสงฆวาเปนสรณะ ดูกร ภิกษุทั้งหลาย บุคคลนี้เปนผูมีอุปการะมากแกบุคคลผูอาศัย อีก ประการหนึ่ง บุคคลอาศัยบุคคลใดแลว ยอมรูชัดตามความจริงวา นี้ ทุกข นี้ สมุทัย นี้ ทุกขนิโรธ นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ดูกร ภิกษุทั้งหลาย บุคคลนี้เปนผูมีอุปการะมากแกบุคคลผูอาศัย อีกประการหนึ่ง บุคคลอาศัยบุคคลใดแลวทําใหแจงซึ่ง เจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ดวยปญญาอันยิ่งเองในปจจุบัน เขาถึงอยู ดูกร ภิกษุทั้งหลาย บุคคลนี้เปนผูมีอุปการะมากแกบุคคลผูอาศัย ดูกร ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ จําพวกนี้แล เปนผูมีอุปการะมากแกบุคคล ดูกร ภิกษุทั้งหลาย เรากลาววา บุคคลอื่นจากบุคคล ๓ จําพวกนี้ จะเปนผูมีอุปการะมากแกบุคคลนี้ หามิได ดูกร ภิกษุทั้งหลาย เรายอมกลาววา บุคคลนี้ทําการตอบแทน คือดวยการกราบไหว การลุกรับ การประนมมือไหว สามีจิกรรม การใหผานุงหม อาหาร ที่อยูอาศัยและยารักษาโรคแกบุคคล ๓ จําพวกนี้ มิใชงายแล นี่ก็เปนเรื่องที่วา สมัยนี้ก็มีการฟงธรรม สมัยโนนก็มีการฟงธรรม ผูใดสามารถที่จะทําใหบุคคลใดถึง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะ บุคคลนั้นก็เปนบุคคลผูมีอุปการะมาก

Page 61: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 60

เทปตนฉบับ ของมูลนิธิศึกษา และ เผยแพรพระพุทธศาสนา แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๘

สมัยนี้ก็มีการฟงธรรม สมัยโนนก็มีการฟงธรรม ผูใดสามารถที่จะทํา ใหบุคคลใดถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะ บุคคลนั้นก็เปนบุคคลผูมีอุปการะมาก นั่นขั้นหนึ่ง ซึ่งในครั้งพุทธกาลก็จะเห็นไดวามีพระสาวกมากทีเดียว ที่ทานทําใหพราหมณผูมีความเห็นผิด หรือพวกเดียรถียปริพาชกผูมีความเห็นผิดไดถึงพระรัตนตรัยเปนสรณะ เพราะฉะนั้น ทานพระสาวกเหลานั้น ก็เปนผูที่มีอุปการะมากแกพวกเดียรถียปริพาชก หรือพราหมณที่มีความเห็นผิดแลวก็เกิดความเห็นถูกขึ้น นั่นเปนประการหนึ่ง สวนอีกประการหนึ่ง ผูใดไดรูวานี้ทุกข นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาจากบุคคลใด บุคคลนั้นก็เปนผูมีอุปการะมาก ทานผูฟงคงจะไดทราบเรื่องทานพระสารีบุตร ทานมีความเคารพในทาน พระอัสชิ ซึ่งเปนผูที่ทําใหทานไดฟงธรรมและไดดวงตาเห็นธรรม ก็อยูใน ประการที่วาเปนผูที่ทําใหทานไดเห็นทุกข ไดเห็นทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกข นิโรธคามินีปฏิปทา นี่ก็เปนบุคคลที่มีอุปการะมากบุคคลหนึ่ง สวนอีกบุคคลหนึ่งนั้นก็เปนผูที่เมื่ออาศัยบุคคลนั้นแลว ทําใหแจงซึ่ง เจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ คือถึงความสิ้นอาสวะเปนพระอรหันต อันนี้ก็จะเห็นไดวาพระผูมีพระภาคทรงอุปการะแกพระสาวก ไมใชแตเพียงใหบรรลุคุณธรรมเปนพระโสดาบันบุคคลเทานั้น แตยังอุปการะใหบรรลุคุณ ธรรมถึงขั้นเปนพระอรหันตทีเดียว ใน ขุททกนิกาย เถรคาถา เตลุกานิเถระคาถา มีขอ ความวา เรามีความเพียร คนคิดธรรมะอยูนาน ก็ไมไดความสงบใจ จึงไดถามสมณะพราหมณท้ังหลายวา

Page 62: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 61

ใครหนอในโลก เปนผูถึงฝงแลว ใครเลาเปนผูไดบรรลุธรรมอันหยั่งลงสูอมตะ เราจะปฏิบัติธรรมของใคร ซึ่งเปนเครื่องใหรูแจงปรมัตถ เราเปนผูมีความคด คือกิเลสอันไปแลวในถายใน เหมือนปลาที่กินเหยื่อ ฉะนั้น เราถูกผูกดวยบวงใหญคือกิเลส เหมือนทาวเวปปจิตตยาสูรถูกผูกดวยบวงของทาวสักกะ ฉะนั้น เรากระชากบวง คือกิเลสนั้นไมหลุด จึงไมพนไปจากความโศกและความร่ําไร ใครในโลกจะชวยเราผูถูกผูกแลวใหหลุดพน ประกาศทางอันเปนเครื่องตรัสรูใหเรา เราจะรับสมณะหรือพราหมณคนไหนไวเปนผูแสดงธรรมอันกําจัดกิเลสได จะปฏิบัติธรรมเพื่อนําไปปราศจากชราและมรณะของใคร จิตของเราถูกรอยไวดวยความรังเรสงสัย ประกอบดวยความแขงดีเปน กําลัง ฉุนเฉียว ถึงความเปนจิตกระดางดวยใจเปนเครื่องรองรับตัณหา สิ่งใดมีธนูคือตัณหาเปนสมุฏฐาน มีประเภท ๓๐ เปนของมีอยูในโลก เปนของหนัก ทําลายหทัยแลวต้ังอยู ขอทานจงดูสิ่งนั้นเถิด การไมละทิฏฐินอยๆ อันลูกศรคือความดําริผิดใหอาจหาญแลว เราถูก ยิงดวยลูกศรคือทิฏฐินั้น หวั่นไหวอยู เหมือนใบไมท่ีถูกลมพัด ฉะนั้น กรรมอันลามกตั้งขึ้นแลวในภายในของเรา ยอมพลันใหผล กายอัน เนื่องดวยสัมผัส ๖ เกิดแลวในที่ใด ยอมแลนไปในที่นั้นทุกเมื่อ เราไมเห็นหนอที่จะถอนลูกศรของเราไดเลย หมอไมสามารถจะเยียวยาเราดวยศาสตราอยางอื่นตางๆชนิด ใครไมตองดวยศาสตรา ไมทําใหรางกายเราเปนแผล ไมเบียดเบียนรางกายเราทั้งหมด จะถอนลูกศรอันเสียบอยูภายในหทัยของเรา ออกได ก็บุคคลผูนั้นเปนใหญในธรรม เปนผูประเสริฐ ลอยโทษอันเปนพิษ เสียได ชวยยกเราผูตกไปในหวงน้ํา คือสังสาระอันลึกขึ้นสูบกได เราเปนผูจมอยูในหวงน้ําใหญ อันเปนที่สุดแหงธุลี เปนหวงน้ําลาด ไปดวยมายา ริษยาความแขงดี และความงวงเหงาหาวนอน ไมมีใครจะนํา ออกได ความดําริท้ังหลายอันอาศัยซึ่งราคะ เปนเชนกับหวงน้ําใหญ มีธรรม คือ อุธัจจะ เปนเสียงคํารน มีสังโยชนเปนผล ยอมนําบุคคลผูมีความเห็นผิดไปสู

Page 63: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 62

สุมทรคืออบาย กระแสตัณหาทั้งหลาย ยอมไหลไปในอารมณท้ังปวง ตัณหาเพียงดังเถาวัลย เกิดขึ้นแลวต้ังอยู ใครจะพึงกั้นกระแสเหลานี้ได ใคร เลาจะตัดตัณหาอันเปนดังเถาวัลยนั้นได ขาแตทานผูเจริญทั้งหลาย ขอทานทั้งหลายจงทําฝงอันเปนเครื่องกั้นกระแสตัณหาเหลานั้นเถิด อยาใหกระแสตัณหาอันเกิดแตใจ พัดทานทั้ง หลายไปเร็วพลัน ดังกระแสพัดตนไม อันตั้งอยูริมฝง ฉะนั้น พระศาสดาผูมีอาวุธ คือปญญา ผูอันหมูฤาษีอาศัยแลว เปนที่พึ่งแก เราผูมีภัยเกิดแลว ผูแสวงหาฝง คือ นิพพาน จากที่มิใชฝง พระองคไดประทานบันใดอันนายชางทําดีแลว บริสุทธิ์ทําดวยไมแกน คือ ธรรมะ เปน บันใดมั่นคงแกเราผูถูกกระแสตัณหาพัดไปอยู และไดตรัสเตือนเราวา อยา กลัวเลย เราไดขึ้นสูปราสาท คือสติปฏฐานแลว พิจารณาเห็นหมูสัตว ผูยินดี ในรางกายของตน ท่ีเราไดสําคัญในกาลกอนโดยเปนแกนสาร ก็เมื่อใดเราได เห็นทางอันเปนอุบายขึ้นสูเรือ เมื่อนั้นเราจักไมยึดถือวาเปนตัวตน ไดเห็นทา คืออริยมรรคอันอุดม พระพุทธเจาทรงแสดงทางอันสูงสุด เพื่อไมใหบาป ธรรมท้ังหลาย มีทิฏฐิและมานะเปนตน ซึ่งเปนดังลูกศรเกิดขึ้นในตน เกิดแตตัณหาเครื่องนําไปสูภพ เปนไปได พระพุทธเจากําจัดโทษอันเปนพิษ ไดทรงบรรเทากิเลส เครื่องรอย กรองของเรา อันนอนเนื่องอยูในสันดาน อันตั้งอยูแลวในใจของเรา ตลอด กาลนาน นี่เปนผูที่รูเรื่องกิเลสของตนเอง เห็นภัยของกิเลสที่ตนมีดวย แลวก็เปนผูที่ใครจะไดหมดจากกิเลส ซึ่งเปนโทษเปนภัยนั้น นี่ก็เปนสิ่งที่ทานแสดงไว ในครั้งโนน และเราก็พอจะเปรียบเทียบกับตัวเราไดวา เราเปนผูที่เปนไปกับรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะที่มากระทบตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เหมือนกับถูกพัดไปดวยกระแสน้ําที่ไหลเชี่ยว แลวเมื่อมีความเห็นผิด ก็ยอมมีความหวั่นไหว มีความรังเร ถูกกิเลสตางๆพัดพาไป แตวาถาขึ้นสูปราสาทที่มั่นคงคือ สติปฏฐาน ก็เหมือนกับที่ทานพระเถระไดกลาววา ทานไดถูกยกขึ้นจากน้ําที่ทานตกลงไป ดวยบันใดที่มั่นคง

Page 64: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 63

นี่คืออานิสงสของการฟง ฟงเรื่องของการเจริญสติปฏฐาน ฟงใหได เหตุผล ใหไดความเขาใจ ถึงแมวาจิตใจจะเปนโลภะ เปนโทสะ เปนโมหะ มุงลาภ มุงอะไรก็ตามแต ทําใหเปนไปดวยอํานาจของกิเลส แตเพราะเหตุวา ไดฟงเนืองๆไดฟงบอยๆ ก็สามารถที่จะมนสิการพิจารณารูลักษณะของธรรม ที่กําลังปรากฏนั้นตามความเปนจริงได ในคราวกอนไดกลาวถึงทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีซึ่งทานเปนพระอริยบุคคล ที่มีขอความวา ทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีไมเคยทูลถามปญหาพระผูมีพระภาค ถึงแมทานจะไดไปสูที่อุปฏฐาก ของพระผูมีพระภาคถึงวันละ ๒ ครั้งเปนประจําเพราะทานคิดวา พระตถาคตเจา เปนพระพุทธเจาผูละเอียดออน เปนกษัตริยผูละเอียดออนเมื่อทรงแสดงธรรมแกเราดวยเขาพระหฤทัยวา คฤหบดีมีอุปการะแกเรามากดังนี้ จะทรงลําบาก แลวทานก็ไมทูลถามปญหาดวยความรักในพระศาสดาเปนอยางยิ่ง สําหรับในเรื่องที่จะทําใหเขาใจความคิดของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีชัดเจน ข้ึน ในขุททกนิกาย จุฬนิทเทส ภาค ๒ ขัคควิสาณสุตตนิทเทส มีขอความวา บุคคลเมื่ออนุเคราะหพวกมิตร และพวกที่มีใจดี ยอมใหประโยชนเสื่อมไป ยอมเปนผูมีจิตผูกพัน บุคคลเมื่อเห็นภัยนั้นในความสนิทสนม พึงเที่ยวไปผูเดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น ที่ยกขอความนี้มากลาว ก็เพราะวาเปนเรื่องของการอนุเคราะห เปนเรื่องของการให แตวาการใหที่เปนประโยชนทั้งกับตนเองและผูอ่ืนนั้นก็มี แตวาที่เปนโทษทําใหประโยชนเสื่อมไปนั้นก็มี ถาการใหนั้นเปนไปดวยความเปนผูมีจิตผูกพัน นี่คือความละเอียด ซึ่งทุกทานก็มีการอนุเคราะห มีการสงเคราะห มี การให มีการอุปการะกัน แตการใหการอุปการะที่จะเปนคุณประโยชนจริงๆ นั้นเปนอยางไร ทานแสดงไววา ความเปนผูมีจิตผูกพันนั้นดวยเหตุ ๒ อยาง คือ เมื่อต้ังตนไวตํ่า ๑ ต้ังคนอื่นไวสูง ๑ หรือวา เมื่อต้ังตนไวสูง ๑ ต้ังคนอื่นไวตํ่า ๑

Page 65: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 64

สําหรับการตั้งตนไวต่ําและตั้งคนอื่นไวสูง ก็คือดวยความคิดวาคนอื่นเปนผูให ตนเปนผูรับ ไมวาจะเปนอาหาร เปนบิณฑิบาต เปนจีวร เปนเสนาสนะ ถาเปนการใหดวยการผูกพัน ถาเปนผูรับก็ตั้งตนไวต่ํา ตั้งคนอื่นไวสูง คือคิดวาคนอื่นให ตนรับ ถาเปนผูใหดวยความผูกพัน ก็ตั้งตนไวสูง ตั้งคนอื่นไวต่ํา คือดวยความคิดวา าตนเปนผูให คนอื่นเปนผูรับ เชนมีความคิดวาเพราะเราคนอื่นจึงถึงพระรัตนตรัยเปนสรณะ เปนผูงดเวนจากปาณาติบาต เปนตน และมีความคิดวา เรายอมบอกบาลีบาง อรรถกถาบาง ศีลบาง อุโบสถ บางแกทานทั้งหลาย เมื่อเปนดังนั้นทานทั้งหลายยังสละฉันไปสักการะเคารพนับถือบูชาบุคคลอื่น เพราะ ฉะนั้น จึงชื่อวาบุคคลเมื่ออนุเคราะหพวกมิตรและพวกคนผูมีใจดี ยอมใหประ โยชนเสื่อมไป ยอมเปนผูมีจิตผูกพัน ทุกทานที่เกิดมาก็ยอมมีทั้งการใหและการรับ แตวาการใหของผูใดยังเปนการใหดวยความผูกพัน การรับของผูใดเปนการรับดวยการผูกพัน ในสูตรนี้ อธิบายคําวา มิตร วามิตรมี ๒ จําพวก คือ มิตรคฤหัสถ ๑ มิตรบรรพชิต ๑ มิตรคฤหัสถนั้น ยอมใหของซึ่งใหกันยาก ยอมสละของที่สละใหกันยากทํากิจที่ทํากันยาก อดทนอารมณที่อดทนกันยาก บอกความลบแกมิตร ปดบัง ความลับของมิตร ไมละทิ้งในคราวที่มีอันตราย ถึงชีวิตก็ยอมสละเพื่อประโยชนแกมิตร เมื่อมิตรยากจนก็ไมดูหมิ่น สวนลักษณะของมิตรบรรพชิตนั้น ก็อธิบายไววา ภิกษุเปนที่เคารพ เปนผูควรแกการสรรเสริญ เปนผูอดทนถอยคํา เปนผูทําถอยคําลึก ยอมไมชักชวนในเหตุอันไมควร ยอมชักชวนแตอธิศีลในการขวนขวายบําเพ็ญสติปฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ ยอมชักชวนในการขวนขวายบําเพ็ญอริยมัคคมีองค ๘ นี้ชื่อวามิตรบรรพชิต

Page 66: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 65

สําหรับลักษณะของคนที่มีใจดี ก็มีคําอธิบายวา การไปสบาย มาสบาย การยืนสบาย นั่งสบาย นอนสบาย พูดสบาย เจรจาสบาย สนทนาสบาย ปราศรัยสบายกับบุคคลใด บุคคลนั้นทานกลาววา คนที่มีใจดี และในพยัญชนะขางตนก็แสดงไวแลววา บุคคลเมื่ออนุเคราะหพวกมิตรและพวกที่มีใจดี การอนุเคราะหทานก็จะสังเกตุไดวา ทานยอมอนุเคราะหมิตรและผูที่ที่มีใจดี เพราะเหตุวา ผูใดที่เปนมิตร ผูนั้นก็ยอมรับการอนุเคราะห หรือวาคนที่มีใจดีก็ยอมจะงายแกการที่จะอนุเคราะหดวย ไมเหมือนกับผูที่ไม ใชมิตรแลว ก็ผูที่ไมใชคนใจดี การอนุเคราะหก็อนุเคราะหกันยากทั้งผูที่จะอนุเคราะหและผูที่จะรับการอนุเคราะหดวย แตถาผูใดเปนมิตรกันก็อนุเคราะหกัน แลวไมวาจะเปน ทั้งมิตรคฤหัสถ และมิตรบรรพชิต หรือวาคนที่มีใจดีก็ตาม ก็ยอมจะมีเหตุการณที่จะทําใหอนุเคราะหกันเสมอ แตตองระวังในการอนุเคราะหนั้น อยาใหประโยชนเสื่อมไป การ อนุเคราะหควรจะเปนสิ่งที่ดีแนนอนทีเดียว การให การอนุเคราะห การสงเคราะหใหคนอื่นไดรับความสดวกสบายนั้น ไมใชสิ่งที่ไมควรกระทํา แตวาถาจะกระทําก็ ควรที่จะไมใหประโยชนเสื่อมไปดวย สําหรับประโยชนที่เสื่อมนั้น ก็มีขอความอธิบายไววา ไดแกประโยชนตน ประโยชนผูอ่ืน ประโยชนทั้งสอง ประโยชนชาตินี้ชาติหนา และประโยชนอยางยิ่ง เสื่อมไป อันตธานไป ที่ประโยชนจะเสื่อมนั้น ก็ตองเปนอกุศล ที่อกุศลจะเกิดขึ้นในการ อนุเคราะหสงเคราะหนั้น ทานแสดงวา ยอมเปนผูมีจิตผูกพัน และในพระสูตรนี้ก็อธิบายวา การเปนผูมีจิตผูกพัน นั้น มีดวยเหตุ ๒ อยาง คือ ๑ เมื่อ ตั้งตนไวต่ํา ๑ ตั้งคนอื่นไวสูง ๑ ประการที่ ๒ เมื่อต้ังตนไวสูง ๑ ตั้งคนอื่นไวต่ํา ๑ เพราะฉะนั้น เวลาให เวลารับ ก็อาจจะมีความรูสึกผูกพันวา ตนเองต่ําบาง คนอ่ืนสูงบาง หรือวาตนเองสูง คนอื่นต่ําบาง

Page 67: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 66

เพราะฉะนั้น ขอความที่อธิบายเรื่องตั้งตนไวต่ํา ตั้งคนอื่นไวสูง และตั้งตนไวสูงตั้ง คนอื่นไวต่ํา ตั้งตนไวต่ํา ตั้งคนอื่นไวสูง คือเมื่อตนเองเปนฝายรับ ก็ตั้งผูใหไวในฐานะสูง ไดแกความคิดผูกพันวา คนอื่นเปนผูให ตนเองเปนผูรับ ถาจิตใจในขณะนั้นผองใสเปนกุศล ก็เปนความกตัญูกตเวที ก็ไมอยู ในฐานะที่วาเปนผูมีจิตผูกพัน แตถาบางครั้งผูรับเกิดมีความรูสึกผูกพันวา ไมวาผูใหนั้นจะชักชวนใหเปนไปในเรื่องของอกุศลก็ตาม ก็ควรที่จะคลอยตามทําตาม เพราะวาตนอยูในฐานะที่ต่ํากวาอยูในฐานะที่เปนผูรับ ก็ยอมจะทําใหประโยชนของตนเสื่อม ยอมทําใหประโยชนชาตินี้ชาติหนาเสื่อมดวย เพราะวาเมื่อผูใหชักชวนไปในทางที่เปนอกุศล ผูรับซึ่งผูมีจิตผูกพันวาจะตองเชื่อหรือวาจะตองประพฤติปฏิบัติตาม ในฐานะที่เปนผูรับก็ทําอกุศลนั้นตาม ก็จะทําใหประโยชนเสื่อมได หรือวาในเรื่องของธรรมก็อาจจะเปนได เพราะวาบางทานไดรับฟงธรรมจากทานผูหนึ่งผูใด ก็มีความผูกพันตนเองวาเปนผูรับ ฉะนั้น ความผูกพันนี้ก็อาจจะทําใหจําเปนตองเชื่อตามทุกสิ่งทุกอยาง จําเปนตองเชื่อ หรือวาจะตองตามประพฤติปฏิบัติตามทุกอยาง ถึงแมวาจะไมเห็นดวยหรือแมวาจะไมสมบรูณดวยเหตุผล ก็ยอมทําใหประโยชนตนเสื่อม ประโยชนชาตินี้ ประโยชนชาติหนา ประโยชนอยางยิ่งดวย ผูที่มีความเห็นอยางพระเทวทัตก็มีเปนจํานวนมาก เพราะฉะนั้น เมื่อทาน พระเทวทัตมีความเห็นอยางไร มีความตองการที่จะแตกแยกออกไปอยางไร ผูติดตามทานพระเทวทัต ก็ติดตามไปโดยฐานะที่มีความผูกพันกับทานพระเทวทัต นี่ก็สําหรับผูที่รับ แลวต้ังตนไวต่ํา ตั้งคนอื่นไวสูง ซึ่งเปนเรื่องของ อกุศล ไมใชเรื่องของกตัญูกตเวที สําหรับขอความที่วา ตั้งตนไวสูง ตั้งคนอื่นไวต่ํา ในสูตรนี้อธิบายไววาไดแกการคิดผูกพันวาตนใหคนอื่นรับ เชนเพราะเราคนอื่นจึงถึงพระรัตนตรัยเปนสรณะ เปนผูงดเวนจากการฆาสัตว การลักทรัพยเปนตน เรายอมบอกบาลีบางอรรถกถาบาง ศีลบาง อุโบสถบางแกทานทั้งหลาย เมื่อเปนดังนั้นทานทั้งหลายยังสละฉันไปสักการะ เคารพนับถือ บูชาบุคคลอื่น

Page 68: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 67

เพราะฉะนั้น จึงชื่อวา บุคคลเมื่ออนุเคราะหพวกมิตรและพวกคนที่มีใจดี ยอมใหประโยชนเสื่อมไป ยอมเปนผูมีจจิตผูกพัน ถาผูใหตั้งคนไวสูงและตั้งผูรับไวต่ํา ขณะนั้นไมใชการอนุเคราะหดวยจิตที่บริสุทธิ์ มีความผูกพันวาผูรับจะตองเคารพ นับถือ สักการะตนซึ่งเปนผูให นี่ก็เปนอกุศล เพราะวาอนุเคราะเพื่ออะไร เพื่อใหบุคคลนั้นมีความเห็นถูก มีความเขาใจถูก เปนการอนุเคราะหที่แทจริง แตไมใชผูกพันไววาผูรับจะตองมาเคารพมานับถือหรือวามาสรรเสริญ เปนการตั้งตนเองไวสูงตั้งคนอื่นไวต่ํา เปน อกุศลไมควรมี ถาผูใดมีก็ควรจะขัดเกลา เพราะเหตุวาไมควรจะเปนผูสะสมอกุศล และสําหรับคําวาภัย เพราะขอความนั้นมีวา บุคคลนั้นเมื่อเห็นภัยนั้นในการสนินสนม พึงเที่ยวไปผูเดียวเหมือนนอแรดฉะนั้น คําวา ภัย ไดแก ชาติภัย ชราภัย พยาธิภัย มรณภัย ราชภัย โจรภัย อัคคีภัย ภัย คือ การติเตียนตน ภัย คือ การติเตียนของผูอื่น ภัย คือ อาชญา ภัย คือ ทุคคติ เปนตน เวลานี้ที่เราตองเกิดกันอยูเรื่อย ก็เพราะเหตุวา ยังมีกิเลสยังมีอกุศลอยู เพราะฉะนั้น ถายังมีความผูกพัน แมในการใหในการรับก็เปนกิเลส เปนอกุศล ซึ่งยอมไมพนจากภัย คือการเกิด ...................

Page 69: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 68

เทปตนฉบับ ของมูลนิธิศึกษา และ เผยแพรพระพุทธศาสนา แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๙

เมื่อเกิดก็ไมพนจากภัยคือการแก ไมพนจากภัยคือโรคภัยไขเจ็บพยาธิตางๆไมพนจากภัยคือความตาย และบางทานยังมีชีวิตวนเวียนในวัฏฏะ ก็จะไมมีใครทราบแนวามีราชภัย โจรภัย อัคคีภัยเกิดกับแตละบุคคลเมื่อไร และภัยที่ละเอียดกวานั้นก็คือการติเตียนตน อกุศลมีมากทีเดียวและเวลาที่ไดกระทําไมวาจะเปนทุกจริตกรรมทางกาย ทางวาจา แมแตอกุศลที่เกิดกับใจ ผูที่มีสติรูวาสภาพธรรมนั้นเปนสภาพธรรมที่นารังเกียจ เกิดหิริความรังเกียจในอกุศลนั้น มีโอตตตัปปะความเห็นภัยแมในอกุศลที่เล็กนอยเชนนั้น ก็ยอมติเตียนตนที่ไดมีกาย วาจา หรือมีจิตที่เปนอกุศลเชนนั้น นอกจากนั้นก็ยังมีการติเตียนของผูอ่ืน หรือวายอมไดรับภัยคืออาชญา และที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือภัย คือ ทุคติไดแกอบายภูมิ คงไมมีใครที่ตองการจะไปทุคติอบายภูมิเปนแน แตถึงอยากไปไมอยากไปอยางไรก็ตาม ถามีทุจริตกรรมทุจริตกรรมแลวละก็ ยอมเปนเหตุที่จะใหปฏิสนธิในทุคติ แตถาเปนผลของกุศลก็จะไมทําใหปฏิสนธิในทุคติอบายภูมิเลย นี่ก็เปนเรื่องภัยของกิเลสอกุศล ซึ่งถาผูใดพิจารณาตนเองมากก็ยิ่งมีโอกาส ที่จะขัดเกลากิเลสละเอียดมากขึ้น สําหรับในเรื่องของความสนิทสนมก็มี ๒ อยาง คือความสนิทสนมดวยอํานาจตัณหา ๑ ความสนิทสนมดวยอํานาจทิฏฐิ ๑ เมื่อเห็นภัยในความสนิทสนม พึงเที่ยวไปผูเดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น ทุกทานก็ยอมมีผูที่มีความคุนเคยสนิทสนม ซึ่งทานก็พอจะแยกไดวาผูที่ทานคุนเคยสนนนิทสนมนั้น ดวยอํานาจของตัณหาหรือดวยอํานาจของทิฏฐิ อยางญาติพ่ีนองเพื่อนฝูงที่มีความสนิทสนม อันนี้ก็เห็นไดชัดวาดวยอํานาจตัณหา และถึงแมวาจะเปนพระอริยบุคคลไมมีความเห็นผิดก็ตาม แตก็ยังมีโลภะ ยังมีความสนิทสนม อันนี้ทานผูฟงก็คงจะพิจารณาไดเรื่องของจิตใจของทานเอง แลวทานก็

Page 70: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 69

จะไดเห็นจริงๆวาความสนิทสนมนั้น บางฐานะบางบุคคลก็เปนความสนินสนม ดวยอํานาจของตัณหา แตทานไมไดมีแตญาติพ่ีนองเพื่อนฝูง ทานยังมีความสนใจในธรรมดวย แลวทานยังจะสังเกตไดจริงๆวาความสนใจในธรรมนั้น ยอมแลวแตทิฏฐิคือความเห็น ผูใดที่พอใจในความเห็นอยางไร ก็สนิทสนมกับบุคคลที่มีความเห็นอยางนั้น ไมสนิทสนมกับบุคคลอื่นซึ่งมีความเห็นคนละอยาง หรือวามีความเห็นตรงกันขาม ฉะนั้น ความสนิทสนมดวยอํานาจของทิฏฐิ ถาเปนการ ทําใหประโยชนตนเสื่อมทั้งชาตินี้ชาติหนา ก็หมายถึงความสนิทสนมดวยอํานาจของมิจฉาทิฏฐิความเห็นผิด เพราะวาถาเปนดวยอํานาจของสัมมาทิฏฐิไมเปนโทษไมเปนภัย พระภิกษุในสํานักพระผูมีพระภาค ทานพระสารีบุตร ทานพระโมคคัลลานะ ทานพระอานนท ทานพระมหากัสสป ทานก็มีความสนิทสนมกลมเกลียวกัน ไมเปนโทษไมเปนภัย ไมใชดวยอํานาจของมิจฉาทิฏฐิ เพราะวา ทานเปนผูที่มีความคิดเห็นถูกเสมอกัน สําหรับบุคคลในครั้งนี้ ก็ยอมจะมองเห็นไดวา ทานมีความสนิทสนมในเรื่องของความเห็นกับบุคคลใด ลองพิจารณาความเห็นของทานกับบุคคลนั้นวาคลายคลึงกันหรือไม สอดคลองกันหรือไม เห็นดวยหรือไมจึงไดสนิทสนมกันทําไมทานไมสนิทสนมกับบุคคลอื่น อาจจะเปนเพราะวาความคิดเห็นไมตรงกันฉะนั้น เรื่องของภัยของความเห็นผิดก็เปนสิ่งซึ่งมีอันตรายมากทีเดียว เพราะฉะ นั้น เมื่อมีความเชื่อผิด มีความเห็นผิด ความดําริผิด วาจาก็ตองผิดตามไปดวย เพราะฉะนั้นก็ จะเห็นไดวาคําพูดใดๆก็ตาม สองไปถึงความเห็นและความดําริของผูนั้น ฉะนั้น ในมัคคมีองค ๘ จึงมีทั้งสัมมามัคค ๘ และมิจฉามัคคก็ ๘ เหมือนกัน สัมมามัคค ก็เปนความเห็นถูก เวลาที่มีความเห็นถูกเกิดขึ้น ความดําริก็ถูก คําพูดวาจาก็ถูก ความเพียรก็ถูก การเจริญสติก็ถูก แตถาเปนความเห็นผิด ความดําริก็ผิด คําพูดคําแนะนําก็ผิด ซึ่งทานก็แสดงไววา อุปมาเหมือนกับการปลูกสะเดาและเถาบรเพ็ดลอมรอบตนมะมวง รากและกิ่งของมะมวงเกี่ยวพันกับรากและกิ่งของสะเดาและเถาบรเพ็ด รสมะมวงก็เลยกลายเปนรสขมคลายใบสะเดา

Page 71: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 70

เพราะฉะนั้น การอยูกับคนพาลเห็นผิด ก็เหมือนกับอยูรวมกับศตรูหรือสัตว ราย สวนการคบกับบัณฑิตนั้น ก็เหมือนสมาคมกับหมูญาติ ซึ่งมีแตจะนําความสุขมาให แตคบกับคนพาลนั้นทานอุปมาวา เหมือนกับการอยูรวมกับศตรูหรือสัตวราย เพราะวาถามีความเห็นผิด ก็ยอมจะทําใหเสื่อมจากประโยชนทั้งชาตินี้ ชาติหนา บุคคลที่ทําความเสื่อมให ผูนั้นจะเปนมิตรหรือวาเปนศตรู เรื่องโทษของคนพาล ใน ขุททกนิกาย ปราภวสูตร ที่ ๖ มีขอความวา ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคประทับ ณ พระวิหารเชตวัน ครั้งนั้นเมื่อปฐมยามสิ้นไปแลว เทวดาทานหนึ่ง มีรัศมีอันงดงามยิ่ง ทําพระวิหารเชตวันทั้งสิ้น ใหสวางไสว ไดเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผูมี พระภาคแลวไดยืนอยู ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ครั้นแลว ไดทูลถามพระผูมีพระภาคดวยคาถาวา ขาพระองคมาเพื่อจะทูลถามถึงคนผูเสื่อมและคนผูเจริญ กะทานพระ โคดม จึงขอทูลถามวา " อะไรเปนทางของคนเสื่อม " ? พระผูมีพระภาคตรัสตอบวา " ผูรูดี เปนผูเจริญ ผูรูชั่ว เปนผูเสื่อม ผูใครธรรมเปนเจริญ ผูเกลียดธรรมเปนผูเสื่อม เพราะเหตุนั้นแล จงทราบชัดขอนี้เถิดวา ความเสื่อมนั้นเปนที่ ๑ " เทวดาก็ไดกราบทูลถามตอไปวา ขาแตพระผูมีพระภาคผูเจริญ ขอพระองคจงตรัส บอกคนเสื่อมที่ ๒ " อะไรเปนทางของคนเสื่อม " ? พระผูมีพระภาคตรัสตอบวา " คนมีอสัตบุรุษเปนที่รัก ไมกระทําสัตบุรุษใหเปนที่รัก ชอบใจธรรมของอสัตบุรุษ ขอนั้นเปนทางของคนเสื่อม เพราะเหตุนั้นแล จงทราบขอนี้เถิดวา ความเสื่อมนั้น เปนที่ ๒ " เทวดากราบทูลถามถึงทางของคนเสื่อม ทางของคนเจริญอีกหลายประการ แต จะเห็นไดวาพระผูมีพระภาคตรัสตอบวา " ผูรูดี เปนผูเจริญ ผูรูชั่ว เปนผูเสื่อม " ไมใชผูไมรู แตรูชั่วเปนผูเสื่อม " ผูใครธรรม เปนผูเจริญ ผูเกลียดธรรมเปนผูเสื่อม " ทานที่ใครธรรม คือทานที่ไมละเลยการที่จะฟงธรรม พิจารณาธรรมใครครวญศึกษาคนควาเทียบเคียงดวย อยาเพียงแตฟงแลวเชื่อ แตวาไมวาทานผูใด

Page 72: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 71

จะกลาวธรรมใดก็ตาม เมื่อฟงแลวก็พิจารณา แลวก็สอบทานกับพระวินัยดวย อยาใหตางคนตางคิดวาพระธรรมวินัยนั้นมีมากเหลือเกิน เรียนไมไหว ไมมีเวลาพอที่จะศึกษาคนควา แตขอใหเราทุกคนคิดวา แตละคนควรจะชวยกันศึกษาพระธรรมวินัย เพื่อจะใหเขาใจธรรมชัดเจนยิ่งขึ้น ไมวาผูหนึ่งผูใดที่จะกลาววาขอความนั้นผิด ก็ควรที่จะอางดวยวาผิดจากขอใด ตอนใด ในพระวินัย ในพระสูตร หรือในพระอภิธรรม ไมใชเพียงแตกลาวเฉยๆวาผิด หรือกลาวเฉยๆวาถูก แตควรจะมีขอเทียบเคียงพิสูจนพิจารณาอางอิง พรอมทั้งเหตุผลดวยวาผิดกับขอความใด ถูกหรือตรงกับขอความใดดวย นอกจากนั้นพระผูมีพระภาคตรัสตอบวา คนมีอสัตบุรุษเปนที่รัก ไมกระทําสัตบุรุษใหเปนที่รัก ชอบใจธรรมของ อสัตบุรุษ ขอนั้นเปนทางของคนเสื่อม พระผูมีพระภาคไมใชอสัตบุรุษ เพราะฉะนั้น ธรรมใดๆที่ไดฟงเทียบเคียงกับพระไตรปฏก ถามีเหตุผลตรงตามพระธรรมวินัยที่พระผูมีพระภาคทรงแสดง นั่นก็เปนธรรมของสัตบุรุษ ใน อังคุตตรนิกาย ปญจกนิบาต ฆตวาอวชานาติสูตร มีขอความวา บุคคล ๕ จําพวกมีปรากฏในโลก คือ บุคคลยอมใหแลวดูหมิ่น ๑ บุคคลยอมดูหมิ่นเพราะอยูรวมกัน ๑ บุคคลเปนผูเชื่องาย ๑ บุคคลเปนผูโลเล ๑ บุคคลเปนผูเขลา หลง งมงาย ๑ มีประโยชนไหมคะพระสูตรนี้ มีประโยชนสําหรับใคร ไมใชไปแกไขคนอ่ืน แตมีประโยชนสําหรับผูที่ฟง อาน ศึกษาพิจารณาตนเองวา จะเปนบุคคลหนึ่งบุคคลใดในบุคคลที่ปรากฏในโลก ๕ จําพวก ที่พระผูมีพระภาคทรงแสดงไวในที่นี้บางหรือไม บุคคลที่ ๑ บุคคลยอมใหแลวดูหมิ่น คือเมื่อใหอะไรใครก็คิดวา เรา เปนผูให คนอื่นเปนผูรับ ตั้งตนไวสูงในฐานะที่เปนผูให ตั้งผูอ่ืนไวต่ําในฐานะที่เปนผูรับ ขณะใดที่เกิดความรูสึกอยางนี้ ขอใหทราบวาเปนอกุศลจิต การใหเปนการดี แตก็ควรจะดีบริสุทธิ์ยิ่งขึ้น ดวยการที่ใหแลวอยาดูหมิ่น เพราะวาในชีวิต

Page 73: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 72

ของแตละคนก็ยอมจะตองมีการใหบาง การรับบางอยูเรื่อยๆ แตถาไมมีพระ ธรรมที่แสดงไว บางครั้งจิตใจอาจจะหลงไปเผลอไป ฉะนั้น ก็ทําใหไมไดสังเกตจิตใจของตนวาในขณะนั้น ไดมีความรูสึกดูหมิ่นผูรับบางหรือเปลา แตถาไดพิจารณาสูตรนี้แลวก็จะไดเห็นวา บุคคล ๕ จําพวกนี้ ไมควรที่จะเปนตัวทาน ควรที่จะไดขัดเกลามากๆ ก็จะไดระลึกไดทุกครั้งที่ใหสิ่งใดก็อยาเปนผูใหแลวดูหมิ่น บุคคลจําพวกที่ ๒ ยอมดูหมิ่นเพราะอยูรวมกัน เวลาที่คุนเคยกันมากขึ้น ก็อาจจะดูหมิ่นกัน อันนี้ก็เปนสิ่งซึ่งอาจจะมีได คือธรรมไมใชนอกโลก แต วาทุกชีวิตจริงๆที่มีอยูในโลก พระผูมีพระภาคทรงแสดงไวอยางละเอียดทีเดียว ไมใชพระ องคทรงรูแจงแตธรรมขั้นสูงที่เปนโลกุตตระ แตไมวาจิตใจของใคร จะมีความรูสึก มีกิเลสมากนอยหนาแนนเบาบางสักเทาไร เปนไปเพราะเหตุใด พระผูมีพระภาคทรงรูแจง และทรงแสดงธรรมไว เพื่อใหมีการขัดเกลากิเลสใหมาก แมวาจะเปนการดูหมิ่นเพราะวาคุนเคยกัน เพราะสนิทสนมกัน เพราะอยูรวมกัน นั่นก็เปนธรรมที่เปนอกุศลที่ไมควรจะใหเกิดขึ้น เพราะวาธรรมที่เปนกุศลนั้นคือการ นอบนอม การแสดงความเคารพ ไมใชการดูหมิ่น บุคคลจําพวกที่ ๓ คือ บุคคลเปนผูเชื่องาย ๑ ขอนี้ก็คือ เวลาที่ผูใดกลาวคุณหรือโทษของผูอ่ืน ผูนั้นก็ยอมนอมใจเชื่อโดยเร็วพลัน อันนี้ก็แสดงลักษณะวาเปนบุคคลผูเชื่องาย เพราะเหตุวาคุณและโทษของผูอ่ืน ไมใชวาเพียงแตฟง แลวก็จะเปนจริงตามคําพูดที่ไดยินไดฟง แตจะตองอาศัยการพิจารณา พิจารณาจากกาย พิจารณาจากวาจา พิจารณาจากจิตใจ หรือวาหลักธรรมตางๆ อันนี้ก็เปนเครื่องแสดงใหเห็นวา เวลาที่ยังมีผูหนึ่งผูใด กลาวถึงคุณโทษของผูอ่ืนนั้น เราเปนผูที่นอมใจเชื่อโดยเร็วพลันหรือไม โดยเฉพาะในเรื่องของธรรมก็จะเปนเรื่องที่เห็นไดวาบางทานนั้น เวลาที่ไดฟงผูใดสรรเสริญคุณธรรม อาจเปนอิทธิฤทธิ์ ปาฏิหารยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด ก็เชื่อทันที นอมใจเชื่อโดยเร็วพลัน ไมไดคํานึงถึงวาอิทธิปาฏิหารยตางๆที่จะเกิดขึ้นไดนั้น เปนผลซึ่งเนื่องมาจากเหตุอยางไร ถาเหตุไมสมควรแกผล ผลนั้นก็จะเปนความจริงไป

Page 74: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 73

ไมได เพราะฉะนั้น ก็ตองเปนผูที่ไตรตรอง ไมวาผูหนึ่งผูใดจะกลาวคุณหรือโทษของผูอ่ืน ก็ตองพิจารณากอน ไมใชผูที่นอมใจเชื่อโดยเร็วพลัน บุคคลจําพวกที่ ๔ บุคคลเปนผูโลเล ที่วาเปนผูโลเล คือเปนผูที่มีสัทธาเล็กนอย มีความภักดีเล็กนอย มีความเลื่อมใสเล็กนอย สัทธาหรือความเลื่อม ใสในพระพุทธศาสนา ไมไดหมายความถึงสัทธาหรือความเลื่อมใสในบุคคล เพราะวาสัทธาที่แทจริงในพระพุทธศาสนา เปนสัทธาในธรรมในเหตุผล ไมใชในบุคคล พุทธบริษัทมีสัทธาในพระผูมีพระภาค เพราะพระปญญาคุณ พระบริสุทธิคุณ พระมหากรุณาคุณ เปนสัทธาในคุณธรรมที่เลิศยิ่งกวาบุคคลใด ผูที่มีสัทธานอยนั้น คือผูที่ไมไดมีสัทธาพรอมดวยปญญา จึงกลาววาเปนผูที่มีสัทธาเล็กนอย ถามีสัทธาพรอมดวยปญญา คือสัทธาพิจารณาในเหตุในผลในธรรม สัทธานั้นหนักแนนเพิ่มขึ้นมากขึ้น เพราะวาไมใชสัทธาในบุคคล แตเปนสัทธาที่พรอมดวยเหตุพรอมดวยผล ที่ไดพิจารณาไตรตรอง สัทธานั้นจึงเปนสัทธาที่มีกําลัง ไมใชเปนผูที่โลเล อันนี้ก็จําเปนที่แตละทานก็จะตองพิจารณาดู วาทานเปนผูที่โลเลไหม ถา ทานเปนผูมีสัทธานอยเปนเพราะเหตุใด เพราะวาทานไมไดพิจารณาธรรม ไมไดฟงมากไมไดศึกษามาก เพราะฉะนั้น บางทีบางครั้งความเชื่อของทานก็คลอน แคลนและเปลี่ยแปลงไปได เหมือนอยางบางทาน พุทธศาสนิกชนบางคน ก็ยังเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอ่ืนได เพราะเหตุใด ถาไดศึกษาธรรมโดยละเอียดประพฤติปฏิบัติตาม รูแจงธรรม ถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆเปนสรณะ โดยโลกุตตรสรณาคมน หมายความวาเปนผูที่รูแจงอริยสัจจ ผูนั้นจะไมมีการเปลี่ยนอีก แตเปนเพราะ เหตุวาเปนผูขาดการศึกษา ขาดความเขาใจ เพราะฉะนั้นก็เปนผูที่ยังคงเปลี่ยนความคิดเห็นหรือความเชื่อได บุคคลจําพวกที่ ๕ คือ บุคคลเปนผูเขลา หลงงมงาย ๑ บุคคลซึ่งเปนผู เขลาหลงงมงายนั้น ยอมไมรูกุศลธรรม และอกุศลธรรม ยอมไมรูธรรมที่มี โทษและไมมีโทษ ยอมไมรูธรรมที่เลวและประณีต ยอมไมรูธรรมฝายดําและธรรมฝายขาว

Page 75: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 74

บางทานก็ยังไมไดพิจารณาถึงความละเอียดของธรรมวา ทานรูลักษณะสภาพของธรรมของฝายกุศล และฝายอกุศลถูกตองหรือยัง หรือวารูวาธรรมใดมีโทษ ธรรมใดไมมีโทษ อยางสติเปนธรรมฝายกุศลหรือวาเปนธรรมฝายอกุศล เปนธรรมที่มีโทษหรือวาเปนธรรมที่ไมมีโทษ พอที่จะตัดสินใจไดแนนอนหรือยัง วาควรเจริญหรือไมควรเจริญสติ หรือบางครั้งบางขณะควรเวนไมเจริญสติ ถาเปนในลักษณะนั้นละก็สติไมใชธรรมที่เปนกุศลถาจะตองเวน แตในพระไตรปฏกไมไดเคยมีในที่ใดกลาวไวเลยถึงโทษของสติ และธรรมของพระผูมีพระภาคจะเห็นไดวาขัดเกลา ตลอดหมดทั้ง ๓ ปฏก แลวก็ขัดเกลากิเลสอยางละเอียดอยางยิ่งเพียงใดนั้น ก็จะขอกลาวถึง สังยุตตนิกาย สคาถวรรค วนสังยุตต ปทุมปุพพสูตร มีขอความวา สมัยหนึ่ง ภิกษุรูปหนึ่ง พํานักอยูในแนวปาแหงหนึ่งในแควนโกศล สมัยนั้น ภิกษุนั้นกลับจากบิณฑบาต ภายหลังเวลาฉันทานก็ลงสูสระโบกขรณี แลวสูดดมดอกปทุม คือดมดอกบัว ครั้งนั้น เทวดาผูสิงอยูในแนวปานั้นมีความเอ็นดูใครประโยชนแกภิกษุนั้น หวังจะใหเธอสลด จึงเขาไปหาถึงที่อยู

Page 76: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 75

เทปตนฉบับ ของมูลนิธิศึกษา และ เผยแพรพระพุทธศาสนา แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๓๐

เมื่อเทวดาเขาไปหาภิกษุถึงที่อยูเพื่อประโยชนแกภิกษุนั้น ครั้นแลวไดกลาวกะเธอดวยคาถาวา ทานสูดดมไมที่เกิดในน้ํา ซึ่งใคร ๆ มิไดใหแลว นี้เปนองคอันหนึ่งแหงความเปนขโมย ทานผูนิรทุกข ทานเปนผูขโมยกลิ่น ความละเอียดของกิเลสที่จะตองขัดเกลา เพียงแคดมดอกบัวที่เกิดในสระโบกขรณีเทานั้น แตเมื่อเปนไปดวยอํานาจของกิเลสคือโลภะ เทวดาซึ่งมีความเอ็นดูใครประโยชน ก็ไดกลาวคาถาเพื่อใหภิกษุนั้นระลึกได โดยกลาววา ทานสูดดมดอกไมที่เกิดในน้ํา ซึ่งใคร ๆ มิไดใหแลว นี้เปนองคอันหนึ่งแหงความเปนขโมย ทานผูนิรทุกข ทานเปนผูขโมยกลิ่น ภิกษุนั้นก็ไมเขาใจวา ทําไมเทวดาจึงกลาวหาวาทานเปนผูขโมย ทั้ง ๆ ที่ทานไมไดทําอะไร ทานไมไดเอาอะไรไปดวย พระภิกษุก็กลาวตอบวา เราไมไดนําไป เราไมไดหัก เราดมดอกไมที่เกิดในน้ําหาง ๆ เมื่อเปนเชนนี้ ทานจะเรียกวา เปนผูขโมยกลิ่น ดวยเหตุดังฤา สวนบุคคลที่ขุดเหงาบัว หักดอกบัวบุณฑริก เปนผูมีการงานอันเกลื่นกลนอยางนี้ ไฉนทานจึงไมเรียกเขาวาเปนขโมย พวกชาวบานที่ไปขุดเหงาบัว หรือหักดอกบัว ทําไมเทวดาไมเรียกบุคคลเหลานั้นวาเปนขโมย แตทานเพียงแตดมดอกไมที่เกิดในน้ําหาง ๆ ทําไมจึงกลาววาทานเปนผูขโมยกลิ่น เทวดาก็กลาวตอบวา บุรุษผูมีบาปหนา แปดเปอนดวยราคาทิกิเลสเกินเหตุ เราไมพูดถึงคนนั้น แตเราควรจะกลาวกะทาน บาปประมาณเทาปลายขนทราย ยอมปรากฏแกบุรุษผูไมมีกิเลสดังวาเนิน ผูมักแสวงหาไตรสิกขาอันสอาดเปนนิจ ประดุจเทากอนเมฆในนภากาส

Page 77: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 76

นี่คือความหางไกลกันของเพศบรรพชิตกับฆราวาส เมื่อทานเปนผูที่แสวงหาไตรสิกขา โทษเพียงเล็กนอยของทานนั้น ก็ปรากฏดังวาเนิน หรือเทากับกอนเมฆในอากาศทีเดียว พระภิกษุก็กลาวตอบกะเทวดาวา ดูกอนเทวดา ทานรูจักเราแนละ และทานเอ็นดูเรา ดูกอนเทวดา ทานเห็นกรรมเชนนี้ในกาลใด ทานพึงกลาวอีกในกาลนั้นเถิด สติเกิดขึ้นหรือยังตอนนี้ ระลึกไดหรือยังวา ผูที่กลาวคาถาเชนนั้นเปนผูที่หวังดี เปนบัณฑิตหรือวาเปนคนพาลที่เปนศัตรู ถามีสติระลึกได ก็จะรูไดทีเดียววา ผูที่กลาวเชนนั้นเปนผูที่เอ็นดูทาน ฉะนั้น สติของทานก็เกิดตอโดยการกลาววา ทานเห็นกรรมเชนนี้ในกาลใด ทานพึงกลาวอีกในกาลนั้นเถิด หมายความวา ถาทานกระทําเชนนี้อีกเมื่อไร ก็ขอใหเทวดานั้นกลาวคาถาที่เปนขอเตือนใจทานเชนนี้อีก นี่ก็เปนเรื่องของสติ ซึ่งไมเพียงระลึกไดวาสิ่งนั้นไมควร แตยังมีสติใครที่จะขอใหผ้ือ่ืนไดกลาวคาถาตักเตือนทานเชนนั้นอีก แตเทวดาจะกลาววาอยางไร เพราะวา บางครั้ง การที่จะเอ็นดูอนุเคราะหผูอ่ืนนั้น ก็อาจจะตองใชคําพูดซึ่งฟงดูเหมือนจะรุนแรงสักหนอย แตวาถามีเจตนาดี และรูวาคําพูดเชนนั้น จะเปนการอนุเคราะหอุปการะใหผูนั้นมีความสลดมากขึ้น ก็จําเปนที่จะตองกลาว คําใดที่เปนคําจริงอาจจะไมนาฟง แตวาประกอบดวยประโยชน คํานั้นถึงแมจะไมเปนที่รัก ไมเปนที่นาพอใจ แมพระผูมีพระภาคก็ตรัสคํานั้น เทวดาก็กลาวตอบภิกษุนั้นวา เรามิไดอาศัยทานเปนอยูเลย และเราไมไดมีความเจริญเพราะทาน ดูกอนภิกษุ ทานพึงไปสูสุคติได ดวยกรรมที่ทานพึงรู หมายความวา ใครก็ยอมอาศัยใครไมไดทั้งนั้น ใครทํากรรมดี ก็ยอมไดรับผลของกรรมดีนั้น ลําดับนั้น ภิกษุนั้นเปนผูอันเทวดานั้นใหสลด ถึงซึ้งความสังเวช ผูที่มีสติ สติยอมจะอุปการะทําใหมีการระลึกได ไมวาจะเปนถอยคํา เปนภาษิต สั้น ๆ ของบุคคลหนึ่งบุคคลใดก็ตาม

Page 78: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 77

สําหรับในวันนี้มีอะไรสงสัยบางไหมคะ ? ถาไมมีขอตอไปถึงเรื่องของ “ปลิโพธ” ซึ่งคําวา ปลิโพธ เปนความหวงใย เปนความกังวล ผูที่ยังไมหมดกิเลส ก็ยอมมีความกังวล ยอมมีความหวงใยเปนของที่แนนอนที่สุด ไมวาคฤหัสถหรือบรรพชิต เพราะวาเรื่องของปลิโพธ มีกลาวไวโดยละเอียดในวิสุทธิมรรคสมาธินิเทศ วิสุทธิมรรค มี ๓ ภาค คือ ศีลนิเทศ สมาธินิเทศ ปญญานิเทศ ศีลนิเทศ ก็เปนเรื่องของศีล รวบรวมไวทุกประการ สมาธินิเทศ ก็เปนเรื่องของการทําจิตใหสงบจนกระทั่งถึงอัปปนาสมาธิ สวน ปญญานิเทศ ก็เปนเรื่องของการเจริญปญญาที่จะรูลักษณะของสภาพธรรมตามความเปนจริง สําหรับเรื่อง ปลิโพธ นั้นมีในสมาธินิเทศ แตวากอนอื่น ขอใหทานเขาใจใหถูกตองเสียกอนวา คําวา “ปลิโพธ” นั้นเปนความกังวล ไมใชมีเฉพาะกับคฤหัสถ บรรพชิตก็มี ใครก็ตามที่ยังมีกิเลสอยู ยอมมีความกังวลอยู ยอมมีความหวงใยอยู ความหวงใยก็เปนลักษณะของกิเลส ลักษณะของโลภะ เมื่อยังมีโลภะอยู ความหวงใยก็ตองมี แลวก็ปลิโพธนั้น จะมีละเอียดมากมายสักเทาไร ก็เปนเรื่องที่แตละคนก็ยอมพิสูจนธรรมในชีวิตประจําวันได แตที่กลาวไวในวิสุทธิมรรค ในเรื่องของสมาธินิเทศนั้น ก็ไดแสดงปลิโพธไว ๑๐ ประการ คือ ๑.อาวาสปลิโพธ ๒.กุลปลิโพธ ๓.ลาภปลิโพธ ๔.คณปลิโพธ ๕.กัมมปลิโพธ ๖.อัทธานปลิโพธ ๗.ญาติปลิโพธ ๘.อาพาธปลิโพธ ๙.คันถปลิโพธ ๑๐.อิทธิปลิโพธ เฉพาะประการที่ ๑๐ คือ อิทธิปลิโพธเทานั้น ที่เปนเครื่องขัดขวางการเจริญวิปสสนาได สวนปลิโพธ ๑ - ๙ นั้น เปนเครื่องขัดขวางการเจริญความสงบ จนกระทั่งอัปปนาสมาธิ แตไมเปนเครื่องขัดขวางการเจริญวิปสสนาเลย ขอกลาวถึงปลิโพธ ประการใหญ ๆ ๑๐ ประการนี้

Page 79: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 78

ประการที่ ๑ อาวาสปลิโพธ คือความกังวลในเรื่องที่อยู ฆราวาสมีหรือไมมีคะ ? มี พระภิกษุมีหรือไมมีคะ ? มีเหมือนกัน มีทั้งฆราวาส มีทั้งภิกษุ และจะเห็นวาในปลิโพธประการใหญ ๆ ๑๐ ประการนี้ แสดงไวโดยนัยที่เปนปลิโพธของพระภิกษุ ฆราวาสก็มีมาก แตวาลักษณะอาจจะตางกัน ประการที่ ๒ กุลปลิโพธ สําหรับพระภิกษุก็หมายความถึงความหวงใย ความกังวลในตระกูลอุปฏฐาก ละอาคารบานเรือนแลวก็ยังมี เพราะฉะนั้น ก็อยาเขาใขวาเพราะทานมีปลิโพธ ทานจึงเจริญสติปฏฐานไมได ถาเขาใจอยางนั้น ไมถูกเลย เพราะวา เปนเพียงเครื่องกั้นการเจริญความสงบหรือสมาธิเทานั้น ประการที่ ๓ ลาภปลิโพธ ไดแกความหวงใย ความกังวลในเรื่องของลาภ ถาสําหรับฝายทางของพระภิกษุ ก็ในเรื่องของพวกปจจัยที่ไดรับ แลวก็มีความกังวลในการรับ ในการอนุโมทนาเปนตน ประการที่ ๔ คณปลิโพธ คือการเปนหวงความกังวลหมูคณะ ถึงแมจะเปนพระภิกษก็มีกิจ คือการอบรมภิกษุหรือผูที่เปนสัทธิวิหาริก อันนั้นก็เปนกิจ กังวลที่เปนเครื่องขัดขวางการเจริญสมาธิ แตไมใชเปนเครื่องขัดขวางการเจริญวิปสสนา ประการที่ ๕ กัมมปลิโพธ ความกังวลเรื่องการงาน สําหรับพระภิกษุไมมีการงานอื่น แตก็ยังมีการงานในเพศของบรรพชิต คือในเรื่องของการกอสรางเปนตน ทานก็มีความกังวลมีความหวงใย วาสิ่งที่ทําแลวเสร็จหรือยัง หรือวายังไมไดทํา หรือวาเสร็จแลวดีหรือไม หรือจะตองแกไขอยางไร นั่นก็เปนเครื่องความกังวล ซึ่งเปนเครื่องขัดขวางการเจริญสมาธิ ไมเปนเครื่องขัดขวางการเจริญวิปสสนา ประการที่ ๖ อัทธานปลิโพธ ความหวงหรือความกังวลในเรื่องการเดินทางไกล นี่ก็เปนเครื่องขัดขวางการเจริญสมาธิ ไมเปนเครื่องขัดขวางการเจริญวิปสสนา

Page 80: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 79

ประการที่ ๗ ญาติปลิโพธ มีความเปนหวงกังวลในเรื่องญาติ บิดามารดา พ่ีนองชายหญิงเปนตน สําหรับพระภิกษุนั้น ทานก็ยังมีอุปชฌายอาจารย ซึ่งทานก็มีความหวงกังวล เพราะเหตุวาทานเหลานั้นอาจจะปวยไข ประการที่ ๘ อาพาฑปลิโพธ คือความไมสบายความมีโรคตาง ๆ อันนี้ก็เปนเครื่องขัดขวางการเจริญความสงบ การเจริญสมาธิใหถึงขั้นอัปปนา แตไมใชเปนเครื่องขัดขวางการเจริญวิปสสนา เวลาที่ไมสบายก็มีความกังวล ถาเปนโรคภัยไขเจ็บธรรมดาเล็ก ๆ นอย ๆ ความกังวลก็นอย แตถาเรื่องของโรคภัยไขเจ็บที่รายแรง ก็อาจจะทําใหมีความกังวลมาก แตความกังวลน้ันก็เปนนามธรรม ไมขัดขวางการเจริญสติปฏฐาน แตขัดขวางการเจริญสมาธิ ประการที่ ๙ คันถปลิโพธ ความหวงความกังวลในเรื่องของการศึกษาการทองจํา ซึ่งขอนี้ก็เปนเครื่องขัดขวางการเจริญสมถภาวนา แตวาไมเปนเครื่องขัดขาวงการเจริญวิปสสนาเลย ประการที่ ๑๐ อิทธิปลิโพธ ความหวงความกังวลในการเจริญฤทธิ ประการที่ ๑๐ นี้ เปนเครื่องขัดขวางการเจริญวิปสสนาได แตไมเปนเครื่องขัดขวางการเจริญสมาธิ เพราะเหตุวา ในขณะที่ผูหนึ่งผูใดกําลังมีความฝกใฝตองการที่จะเจริญฤทธิตาง ๆ การเจริญอิทธิฤทธิ์ตองอาศัยความสงบอยางมาก ไมใชเพียงเดี๋ยวเดียว ตองอาศัยการฝกหัด ตองอาศัยการฝกหัด ตองอาศัยความชํานาญอยางมากทีเดียว เพราะฉะนั้น ถาผูใดมีความฝกใฝใจที่จะเจริญฤทธิ์ในขณะนั้น ยอมไมมีสติที่จะรูลักษณะของนามและรูปที่กําลังปรากฏในขณะนั้น เพราะความตองการความปรารถนาฤทธิ์ ปดบังไมทําใหสติเกิดขึ้นรูลักษณะของนามและรูปที่กําลังปรากฏในขณะนั้น เพราะฉะนั้น ถามีความตองการฤทธิ์ มีการใฝใจมีความกังวลในเรื่องการเจริญฤทธิ์ ก็เปนเครื่องขัดขวางไมใหสติรูลักษณะของนามและรูปที่ปรากฏในขณะนั้นได อันนี้ก็คงจะไมมีขอสงสัยเรื่องปลิโพธ เพราะเหตุวา เปนเรื่องความกังวลธรรมดา ๆ ที่ทุกคนมี ถาม ………………………….

Page 81: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 80

อ.สุจินต ดิฉันไดเรียนใหทราบแลววา ปลิโพธใหญ ๆ ๑๐ ประการนั้น ๙ ประการขางตนเปนเครื่องขัดขวางการเจริญสมถภาวนา ไมใหจิตถึงขั้นอัปปนา ประการที่ ๑๐ ประการเดียว ซึ่งเปนเครื่องขัดขวางการเจริญวิปสสนาได แตไมขัดขวางการเจริญสมถภาวนาเลย

เพราะเหตุวา ประการที่ ๑ ไมวาอยูที่ไหนก็ตาม มีใครบางที่ไมกังวลเรื่องที่อยู บางคนก็กังวลมาก บางคนก็กังวลนอย จะอยูที่ไหน จะนอนที่ไหนก็ไมคอยจะลําบาก แตบางคนนั้นมีความหวง มีความกังวลในเรื่องที่อยูมากทีเดียว ตัวอยางที่แสดงไวในวิสุทธิมรรคในเรื่อง อาวาสปลิโพธ ความกังวลในเรื่องที่อยู กลาวไววา อาวาสปลิโพธนั้น ไมเปนเครื่องกังวล สําหรับภิกษุทั่วไปทุกรูป บางรูปก็กังวล บางรูปก็ไมกังวล แลวทานก็ยกเรื่องกุลบุตร ๒ นาย ออกจากอนุราธบุรี ไปบวชในวิหารถูปาราม รูปหนึ่งทํามาติกาทั้ง ๒ คือ หัวขอธรรมและวินัยใหคลองแคลว มีพรรษาครบ ๕ ปวารณาแลว ไปสูปาจันขัณฑราชี และอยูในวิหารนั้นจนเปนพระเถระ ระหวางพรรษาที่ ๑ ถึงพรรษาที่ ๕ นั้น ก็เปนพระนวกะ ระหวางพรรษาที่ ๕ ถึงพรรษาที่ ๑๐ ก็เปนมัชฌิมะ ตั้งแต ๑๐ พรรษาขึ้นไป ก็เปนพระเถระ เพราะฉะนั้น ทานก็อยูที่ปาจีนขัณฑราชี จนทานเปนพระเถระ แลวก็คิดวาที่นั่น เปนที่สมควรจะหลีกเรน เมื่อทานเห็นวาปาจีนขัณฑราชีเปนที่หางไกล เปนที่สงล เปนที่ควรหลีกเรน ทานก็คิดถึงสหายของทานที่บวชพรอมกัน ทานก็ออกจากวิหาร แลวก็เดินทางไปสูถูปาราม พระภิกษุเถระผูเปนสหายของทาน เมื่อเห็นทาน ก็ลุกขึ้นรับบาตร จีวร และทําวัตร คือการตอนรับ พระภิกษุผูอาคันตุกะ ก็เขาไปสูที่พักคือเขาไปสูเสนาสนะ แลวก็คิดวา บัดนี้สหายของเราจะสงเนยใส หรือน้ําดื่นแกเรา เพราะทานอยูในเมืองนี้นาน แตวาทั้งคืนนั้นทานก็ไมไดอะไร ตอนเชาทานก็คิดวาเพื่อนของทานคงจะสงขาวยาคู และของเคี้ยว ซึ่งอุปฏฐากสงไปถวาย กังวลอีกหรือเปลานี่ ไมหมด ไมวาจะไปอยูที่ไหนก็ตาม อยาคิดวาปลิโพธนั้นจะมีอยูแตที่บานทานเทานั้น เครื่องกังวลความกังวลเปนกิเลส อยูที่จิต

Page 82: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 81

ตังทานจะอยูที่ไหนก็ตาม ความกังวลไมหมด เมื่อความกังวลไมหมด ก็ยอมจะปรากฏในลักษณะในอารมณตาง ๆ กัน ไมใชวาหลีกเรนไปแลวก็จะหมดความกังวลได พอถึงตอนเชา ทานก็คิดกังวลอีก วาเพื่อนของทานคงจะสงขาวยาคู และของเคี้ยว ซึ่งอุปฏฐากสงมาถวาย ซึ่งทานก็ไมเห็นอะไรเลย ไมไดรับอะไรเลย เพื่อของทานก็ไมไดอะไรมาใหเลย ทานก็คิดวา ชาวบานคงจะไมสงของมาถวาย คงจะถวายเมื่อไปบิณฑบาต ทานก็ไปบิณฑบาตกับสหายของทาน แตเชาตรู ทานเที่ยวไปตลอดถนน ก็ไดขาวยาคูประมาณถวยหนึ่งหรือกระบวยหนึ่ง แลวทานก็กลับไปที่โรงฉัน แลวก็นั่งดื่มในโรงฉัน แลวทานซึ่งเปนพระอาคันตุกะก็คิดตอไป กังวลตอไปวา ชาวบานคงจะไมถวายขาวยาคูเปนนิจเปนแน แตพอถึงเวลาภัตรเขาคงถวายภัตรอันประณีต แตครั้นถึงเวลาภัตตาหาร ก็ไดฉันเฉพาะสิ่งที่ทานไดจากบิณฑบาต ความหวังความกังวลมีตอไปเรื่อย ๆ จากตอนกลางคืน ถึงตอนเชา และจะตอไปถึงเวลาภัตตาหาร แตพอถึงเวลาภัตตาหารแลวก็ไมไดอะไร ไมมีชาวบานนําภัตตาหารอันประณีตมาถวาย ทานก็ไดฉันแตเฉพาะขายาคูที่ทานไดจากการบิณฑบาต ทานพระอาคันตุกะก็ไดถามสหายของทานวา ทานดํารงชีพอยางนี้ตลอดมาหรือ ซึ่งสหายของทานก็รับวา ทานดํารงชีพมาอยางนี้ พระอาคันตุกะก็ชวนทานไปอยูที่ปาจีนขัณฑราชี เพราะเหตุวาที่นั่นสดวกดี เมื่อทานพระเถระทานไดฟงพระอาคันตุกะซึ่งเปนสหายกลาวดังนั้น ทานก็ออกจากเมืองโดยประตูดานทักษิณ คือไปทางทิศใต เดินไปทางถนนบานชางหมอ ซึ่งเปนทางไปสูปราจีนขัณฑราชี พระอาคันตุกะก็แปลกใจมาก ที่ทานพระเถระเดินไปทางนั้น ก็ถามทานวา “ทานขอรับ ทําไมทานถึงไปทางนี้” ทานพระเถระก็กลาวตอบวา “ก็ทานมิไดกลาววา จะไปสูปาจีนขัณฑราชีหรือ” ทานพระอาคันตุกะก็กลาววา “ทานไมไดมีอดิเรกบริขารอะไร ๆ บางหรือ ในฐานะที่ทานอยูที่นั่นนานถึงเพียงนั้น”

Page 83: แนวทางเจริญวิปัสสนา ๒๑-๓๐

www.dhammahome.com

แนวทางเจริญวิปสสนา คร้ังที่ ๒๑ – ๓๐ หนา 82

ทานพระเถระก็กลาวตอบวา “อาวุโส เตียงตั่งเปนของสงฆ ซึ่งก็ไดเก็บเรียบรอยแลว นอกจากนั้นก็ไมมีอะไร” พระอาคันตุกะก็กลาววา “ทานขอรับก็ไมเทาและทะนานน้ํามัน ทั้งถุงรองเทาของผมยังอยูที่ถูปารามนั่น” พระเถระก็กลาววา “อาวุโส ทานอยูวันเดียวเทานั้น วางของมีประมาณเทานี้ไวหรือ” ซึ่งพระอาคันตุกะก็รับวา “ขอรับทาน” ทานเปนพระอาคันตุกะมาจากที่ไกล ซึ่งเปนที่หลีกเรน แตวาความกังวลของทานมากมาย เพราะวา เพียงวันเดียวทานก็มีของ ๆ ทานซึ่งทานเปนหวง ซึ่งทานวางไว แตวาพระเถระ ซึ่งอยูที่พระวิหารถูปารามนั้น เมื่อไดฟงสหายของทานกลาวชวนทานไปปาจีนขัณฑราชี ทานก็ตรงไปไดเลย ไมมีความกังวล ไมมีความหวงใยใด ๆ ทั้งสิ้น พระอาคันตุกะมีจิตเลื่อมใส ไหวพระเถระแลวพูดวา “ขาแตทานผูเจริญ สําหรับพระเถระเชนทาน ณ ที่ทุกสถาน ยอมเปนเชนอรัญวาส พระวิหารถูปารามเปนที่เก็บพระบรมสารีริธาตุ เปนที่ฟงธรรม เปนที่สบาย ในโลหปราสาท เปนที่ไดเห็นมหาเจดีย เปนที่ไดสนทนาปราศัยกับทานพระเถรทั้งหลาย เชนในครั้งพุทธกาล ณ สถานที่เชนนี้เปนที่อันทานควรอยู” และในวันรุงขึ้น ทานพระอาคันตุกะก็ไดเดินทางกลับไปปาจีนขัณฑราชี