10
WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2 issue 38 18 Oct - 24 Oct 2011 www.thaifood.org Thai Food Processors’ Association Pineapple Sweet Corn Tuna Seafood Fruits&Vegetables Food Ingredient&Ready-to-Eat ชิลีเรียกร้อง RVC 50% และไม่ให้ใช้ กฎ Rule 0f Origin ในความตกลง การค้าเสรีไทย-ชิลี RASFF (Rapid Alert System for Food and Feed) week 42 : 17-24 Sep 2011 ปลา Tra ขายดี ความต้องการล้น ก�าลังผลิต แนวโน้มราคาปลาทูน่าที่สูงขึ้นและ การขาดแคลนวัตถุดิบปลาทูน่าใน ตลาดโลก พาณิชย์ชงครม.ไฟเขียวน�าเข้าพืช 9 ชนิด ตามกรอบ

Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

Citation preview

Page 1: Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2

issue 38

18 Oct - 24 Oct 2011

www. tha i food.org

Thai Food Processors’ Association

Pineapple

Sweet Corn

Tuna

Seafood

Fruits&Vegetables

Food Ingredient&Ready-to-Eat

ชิลีเรียกร้อง RVC 50% และไม่ให้ใช้กฎ Rule 0f Origin ในความตกลง

การค้าเสรีไทย-ชิลี

RASFF (Rapid Alert System for Food and Feed) week 42 : 17-24

Sep 2011

ปลา Tra ขายดี ความต ้องการล ้นก�าลั งผลิต

แนวโน้มราคาปลาทูน่าที่สูงขึ้นและการขาดแคลนวัตถุดิบปลาทูน่าใน

ตลาดโลก

พาณิชย ์ชงครม.ไฟเขียวน�า เข ้าพืช 9 ชนิด ตามกรอบ

Page 2: Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3818 Oct- 24 Oct 2011

2 3

ContentsContents344 5 6 7 8 9 9

11 11 12 13 14 15

05

16

11

03 สถานการณด์้านมาตรฐานและความปลอดภยั อาหาร • RASFF (Rapid Alert System for Food and Feed) week 42 : 17-24 Sep 2011 • จีนต้ังศูนย์ประเมินความปลอดภัยอาหาร ณ กรุงปักกิ่ง • ไต้หวันบังคับใช้ค่า MRL ในอาหาร

สถานการณด์้านประมง • ปลา Tra ขายดี ความต้องการล้นก�าลังผลิต • อียูลงนามข้อตกลงร่วมกับสหรัฐฯ ในการต่อต้านการท�าประมงที่ผิดกฎหมาย (IUU)• แนวโน้มราคาปลาทูน่าที่สูงขึ้นและการขาดแคลนวัตถุดิบปลาทูน่าในตลาดโลก

สถานการณด์้านเกษตร• พาณิชย์ชงครม.ไฟเขียวน�าเข้าพืช 9 ชนิด ตามกรอบ • อุตฯ น�้าตาลรุกช่วยเกษตรกร • เร่งสรุปแผนช่วยเหลือน�้าท่วม “ธีระ”จี้ทุกหน่วยท�าคลอดมาตรการฟื้นฟูเกษตรกร/เผยได้รับผลกระทบนับล้านราย

สถานการณด์้านการค้า• กรมส่งเสริมการส่งออกหวั่นยอดปี 55 ลด เหตุเจอน�้าท่วมหนัก• สังคายนานิคมฯ • บริษัทขนของหนีน�้า แห่เช่าโกดังชั่วคราว ดันค่าบริการพุ่ง 40% • “กิตติรัตน์”เรียกหน่วยงาน-ผู้ประกอบการนิคมฯ ถกฟื้นความเชื่อมั่นนักลงทุน • UN เรียกร้องให้โลกจัดการปัญหาราคาอาหารแพง • ชิลีเรียกร้อง RVC 50% และไม่ให้ใช้กฎ Rule 0f Origin ในความตกลงการค้าเสรีไทย-ชิลี อตัราแลกเปลีย่น

08

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร

RASFF (Rapid Alert System for Food and Feed) week 42 : 17-24 Sep 2011

จากข้อมูลการแจ้งเตือน RASFF ใน week 42 พบสินค้าท่ีมีปัญหาจากไทย 1 รายการ คือ พบเชื้อจุลินทรีย์

Salmonella spp. ในสินค้า Fresh mint leaves. นอกจากน้ีพบปัญหาในสินค้าท่ีเกี่ยวข้องกับสมาชิกจากประเทศ

Morocco 1 รายการ คือ พบ Histamine ในสินค้า ปลาซาร์ดีนบรรจุกระป๋อง ตามรายละเอียดด้านล่าง

Page 3: Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3818 Oct- 24 Oct 2011

4 5

WEEKLY BRIEF

จีนต้ังศูนย์ประเมินความปลอดภัยอาหาร ณ กรุงปักก่ิง

เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2554

จีนเปิดศูนย์ประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยอาหาร

แห่งชาติ ณ กรุงปักกิ่ง โดยศูนย์ดังกล่าวเป็นองค์กรที่

ได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล มีวัตถุประสงค์ให้บริการ

สนับสนุนทางเทคโนโลยีในการประเมิน ติดตาม เตือน

ภัย สื่อสารด้านความเส่ียงทางความมั่นคงทางอาหารและ

มาตรฐานความปลอดภัยอาหาร ซึ่งศูนย์ดังกล่าวได้จัดตั้ง

หน่วยติดตามกว่า 300 แห่งทั่วจีน ซึ่งรวมถึงในซูเปอร์

มาร์เก็ตและตลาดสินค้าเกษตร

นาย Chen Zhu รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข กล่าว

ว่าการจัดตั้งศูนย์ฯ เป็นก้าวส�าคัญของจีนในการดูแลด้าน

ความปลอดภัยอาหาร และกระตุ้นให้ศูนย์มีบทบาทในการ

ช่วยทางการในการตัดสินใจเกี่ยวกับความ ปลอดภัยอาหาร

ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์

ตั้งแต่ปี 2553 จีนได้จัดตั้งระบบติดตามความเสี่ยง

ความปลอดภัยอาหารทั่วประเทศ คณะกรรมการแห่ง

ชาติที่ประกอบด้วยผู ้ เชี่ยวชาญเพื่อประเมินความเสี่ยง

ด้าน อาหารและคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานความ

ปลอดภัยอาหารแห่งชาติ

ที่มา : มกอช. (Xinhua) วันที่ 20 / 10 / 2554

ไต้หวันบังคับใช้ค่า MRL ในอาหาร

เม่ือวันที่ 26 กันยายน 2554 ไต้หวันประกาศ

การแก้ไขร่างมาตรฐานก�าหนดค่า MRL ในอาหาร

ครั้งสุดท้ายตามที่ได้เสนอแก้ไข ดังนี้

• เม่ือวันที่ 16 พฤษภาคม 2554 (G/SPS/N/

TPKM/226) ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก

http://members.wto.org/crnattachments/2011/

sps/TPKM/11_3078_00_e.pdf

• เม่ือวันที่ 18 พฤษภาคม 2554 (G/SPS/N/

TPKM/230) ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก

http://members.wto.org/crnattachments/2011/

sps/TPKM/11_3079_00_e.pdf

ให้มีผลบังคับใช้แล้วเม่ือวันที่ 20 กันยายน 2554

ท่ีมา : มกอช. (21/10/54)

สถานการณ์ด้านประมง

ปลา Tra ขายดี ความต้องการล้นก�าลังผลิต

จากข้อมูลของสมาคมผู้แปรรูป

และผู้ส่งออกอาหารทะเลเวียดนาม (VASEP) มีโรงงาน

แปรรูป ปลา Tra ในกลุ่มจังหวัดสามเหลี่ยมปากแม่น�้าโขง

กว่า 120 แห่งท่ีต้องให้ผลิตปลา Tra ให้ได้วันละ 5,000

ตันในไตรมาสท่ี 4 ของปี 2554 แต่สามารถผลิตได้ไม่ถึง

วันละ 4,000 ตันเท่านั้น การขาดแคลนปลา Tra เป็นผล

ให้ราคาพุ่งสูงขึ้นกิโลกรัมละ 26,500 ดองเมื่อปลายเดือกั

นยายน 2554 เพิ่มขึ้น 1,000 ในระยะเวลา 2 สัปดาห์

Luu Bach Thao ผู้อ�านวย

การของบริษัท Viet An Seafood JSC กล่าวว่าบริษัท

แปรรูปปลา Tra ที่ไม่มีฟาร์มปลาเป็นของตัวเองต้นสาเหตุ

ท�าให้ก�าลังการผลิตไม่พอต่อความต้อง การและผู้ค้าปลา

เป็นต้นเหตุเก็งราคาให้แพงขึ้น

อย่างไรก็ตามบริษัทท่ีมีฟาร์ม

ปลาเป็นของตัวเองก็ขาดแคลนปลา Tra ส�าหรับการแปรรูป

เช่นกัน นาย Minh รองประทานของ VASEP และผู้อ�านวย

การของบริษัท Hung Vuong Seafood JSC กล่าวว่า

บริษัทของตนไม่สามารถผลิตปลา Tra ให้ได้ 12,000

ตันภายใน 3 เดือนนี้เพื่อได้ตามเป้าก�าลังการผลิตของปี

2554 จึงต้องลดการส่งออกปลาก Tra จากเดิมเดือนละ

400 คอนเทนเนอร์เป็น 350 คอนเทนเนอร์

โดยสาเหตุการขาดแคลนปลา Tra เป ็นเพราะ

ขาดแคลนลูกปลาท่ีใช้เพาะพันธุ ์ ซึ่งเป็นผลจากการที่เท

ขายฟาร์มปลาเทขายปลาเพาะพันธุ ์เมื่อปี 2553 หลัง

เจ ้าของฟาร ์มได ้รับความเสียหายอย ่างหนักเนื่องจาก

ผลผลิตปลา Tra มีมากกว่าความต้องการบริโภค

ราคาลูกปลา Tra ณ วันที่ 30

กันยายน 2554 อยู่ท่ีกิโลกรัมละ 36,000 ดอง เพ่ิมขึ้น

จากช่วงต้นเดือนกันยายนที่ราคากิโลกรัมละ 29,000 ดอง

WASEP ระบุอุตสาหกรรมปลา Tra เวียดนามจะได้รับผลก

ระทบเล็กน้อยจากวิกฤติเศรษฐกิจโลก การขาดแคลนปลา

Tra จะส่งผลต่อการส่งออกในไตรมาสที่ 4 ของปี 2554

และครึ่งปีแรกของปี 2555

ทั้งนี้นอกเหนือจากเวียดนามจะ

ส่งออกปลา Tra ไปยังสหภาพยุโรปและสหรัฐฯ ยังขยาย

การส่งออกไปยังทวีปอเมริกาใต้อีกด้วย

ที่มา : มกอช. (Vietnam Net) วันที่ 17 / 10 / 2554

Page 4: Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3818 Oct- 24 Oct 2011

6 7

Vol. 2 Issue 2

66 7

อียูลงนามข้อตกลงร่วมกับสหรัฐฯ ในการต่อต้านการท�าประมงที่ผิดกฎหมาย (IUU)

เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2554 สหภาพยุโรปได้ลงนามใน

ข้อตกลงร่วมกับสหรัฐฯ ในการต่อต้านการท�าประมงที่ผิด

กฎหมาย (IUU) โดยผู้ลงนามฝ่ายสหภาพยุโรป ได้แก่นาง

Maria Damanaki กรรมาธิการยุโรปด้าน Maritime Af-

fairs and Fisheries และผู้ลงนามฝ่ายสหรัฐฯ ได้แก่ Dr.

Jane Lubchenco, National Oceanic and Atmo-

spheric Administration โดยทั้ง 2 ฝ่ายยินดีพร้อมที่จะ

ให้ความร่วมมือในการต่อต้านการท�าประมงที่ผิดกฎหมาย

อย่าง จริงจัง เพื่ออนุรักษ์การท�าประมงที่ยั่งยืน

การลงนามความร่วมมือของสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป

ในครั้งนี้ เป็นการร่วมมือด้านการจัดการประมงครั้งแรก

ระหว่างสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป โดยสหภาพยุโรปเป็นก

ลุ่มประเทศที่น�าเข้าสินค้าประมงมากที่สุดอันดับ 1 ของ

โลก รองลงมา อันดับที่ 2 คือ ญ่ีปุ่น และท่ี 3 คือ

สหรัฐฯ ซึ่งจากการร่วมมือของทั้งสองฝ่ายในครั้งนี้ จะส่ง

ผลป้องกันการท�าประมงแบบ IUU ได้เป็นมูลค่าถึง 23 พัน

ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดย ในส่วนของสหภาพยุโรป ได้ออก

กฎระเบียบ IUU และก�าลังอยู่ในช่วงระหว่างปรับโครงสร้าง

นโยบายการประมงร่วมใหม่ ขณะที่สหรัฐฯ ได้ออกกฎ

ระเบียบ High Seas Driftnet Fishing Moratorium

Protection Act. และปัจจุบันมีนโยบายท่ีจะระงับการ

ท�าประมงแบบท�าลายสต็อกปลา (overfishing) เพื่อรักษา

ไว้ซึ่งสต็อกปลาที่มากขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดมีการขาดแคลน

วัตถุดิบในอนาคต

ท่ีมา : ส�านักงานท่ีปรึกษาการเกษตรต่างประเทศ/สหภาพยุโรป

วันท่ี 19 / 10 / 2554

แนวโน ้มราคาปลาทูน ่าที่สู ง ข้ึนและการขาดแคลนวัตถุดิบปลาทูน่าในตลาดโลก

ปัจจุบัน ราคาปลาทูน่า

สด Skipjack ท่ีซื้อขายในตลาด มีราคาสูงขึ้นถึง 6,000

เหรียญสหรัฐ เนื่องจากประเทศในหมู ่เกาะ Western

and Central Pacific ประกาศระงับการจับปลาทูน่า

ด้วยอวน รวมถึงการระงับการท�าประมงช่ัวคราวในแถบ

Eastern Pacific ขณะเดียวกัน 8 ประเทศภาคีภายใต้

ข้อตกลงนาอูรู หรือ PNA ก็มีการเรียกร้องให้มีการลด

การจับปลาทูน่าในปี 2011 เพื่ออนุรักษ์สต๊อกปลาทูน่า

โดยการให้ลดชั่วโมงการจับปลาจาก 40,000 ชั่วโมงเป็น

28,469 ชั่วโมง ด้วยสาเหตุต่างๆเหล่านี้จึงท�าให้จ�านวน

วัตถุดิบปลาทูน่าลดลงและส่งผลให้ปลาทู น่ามีราคาสูง

ขึ้นอย่างเห็นได้ชัด

ท้ังนี้ PNA ได้ออกมากล่าว

ว่าเป็นความตั้งใจของ PNA ที่จะดึงราคาปลาทูน่าให้

สูงขึ้น เพื่อเป็นการสร้างขีดความแข่งขันที่ดีให้กับกลุ ่ม

PNA นั่นเอง

ที่มา : ส�านักงานที่ปรึกษาการเกษตรต่าวประเทศประจ�าสหภาพยุโรปวัน

ที่ 20 / 10 / 2554

Page 5: Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3818 Oct- 24 Oct 2011

8 98

สถานการณ์ด้านเกษตร

พาณิชย์ชงครม.ไฟเขียวน�าเข้าพืช 9 ชนิด ตามกรอบ

นายยรรยง พวงราช ปลัด

กระทรวงพาณิชย์เปิดเผยภายหลังประชุมคณะกรรมการ

จัดท�าแผนการลงทุนเกษตรแบบ มีสัญญา (คอนแทรค

ฟาร์มมิ่ง) กับประเทศเพื่อนบ้าน ภายใต้ความร่วมมือทาง

เศรษฐกิจอิระวดีเจ้าพระยา และแม่โขง (แอดเมคส์) ว่า ที่

ประชุมมีมติจะเสนอให้นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายก

รัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์พิจารณา

อนุมัติต่อ ก่อนน�าเสนอคณะรัฐมนตรีเห็นชอบการน�าเข้า

ชนิดพืชและปริมาณที่จะน�าเข้า ภายใต้แผนการลงทุน

คอนแทรคฟาร์มมิ่งจากประเทศเพื่อนบ้าน รวมถึงแนวทาง

การดูแลการน�าเข้า ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อเกษตรกร และ

อุตสาหกรรมของไทย การจัดตั้งคณะท�างานเพื่อด�าเนิน

การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงาน และการน�าเข้าไม้

ยูคาลิปตัสมาแปรรูปในประเทศ

โดยได้ก�าหนดพืชที่จะน�าเข้า

ภายใต้แผนดังกล่าว 9 ชนิด ได้แก่ ข้าวโพดเล้ียงสัตว์

จ�านวน 400,000 ตัน ถั่วเหลือง 100,000 ตัน ถั่วเขียว

ผิวมัน 12,000 ตัน ถั่วลิสง 6,500 ตัน งา 10,200 ตัน

ข้าวโพดหวาน 22,000 ตัน ลูกเดือย 50,000 ตัน ละหุ่ง

2,500 ตัน มันส�าปะหลัง (มันสดและมันเส้น) 355,000

ตัน ส่วนไม้ยูคาลิปตัสปัจจุบันหลายอุตสาหกรรมเกิดความ

ขาดแคลน เช่น เฟอร์นิเจอร์ ของเล่นเด็ก ฯลฯ จึงต้อง

มีการน�าเข้า

นายยรรยงกล่าวว่า ขณะนี้การน�าเข้าสินค้าเกษตร

ตามกรอบความช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้านมีหลาย หน่วย

งานดูแล ซึ่งในอนาคตอาจเป็นอุปสรรคและปัญหาของ

ไทยเองโดยเฉพาะภายหลังการเป็นประชาคม เศรษฐกิจ

อาเซียน (เออีซี) จึงต้องมีการตั้งคณะท�างานขึ้นมาดูแล

และก�าหนดปริมาณ ช่วงเวลา การน�าเข้าให้เหมาะสม ไม่

กระทบต่อช่วงเวลาเพาะปลูกของไทย จนท�าให้เกิดปัญหา

สินค้าล้นตลาด และราคาตกต�่า รวมถึงลดปัญหาการ

ลักลอบน�าเข้าหรือส่งออก ที่เกิดขึ้นบ่อยขึ้นในช่วงหลาย

ปีที่ผ่านมา

ส�าหรับการลงทุนภายใต้

คอนแทรคฟาร์มมิ่ง เป็นความช่วยเหลือที่ไทยมีต่อประเทศ

เพื่อนบ้าน โดยการอนุญาตให้นักลงทุนไทยเข้าไปลงทุน

เพาะปลูกสินค้าทั้ง 9 ชนิดในประเทศเพื่อนบ้าน และให้

น�าเข้ามาใช้ประโยชน์ในไทยได้ โดยผู้น�าเข้าจะได้จะได้

รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรน�าเข้าในอัตรา 0% เหมือน

การน�าเข้าสินค้าเกษตรภายใต้เขตการค้าเสรี(อาฟต้า) แต่

เพื่อป้องกันการลักลอบน�าเข้า หรือน�าเข้ามากเกินปริมาณ

ที่ก�าหนด จึงก�าหนดให้ผู ้น�าเข้าต้องมีหนังสือรับรองแหล่ง

ก�าเนิดสินค้า ใบรับรองสุขอนามัยพืช ต้องรายงานปริมาณ

การน�าเข้า การ ใช้ การจ�าหน่าย และสต็อกคงเหลือต่อ

กรมการค้าค่างประเทศ หรือส�านักงานพาณิชย์จังหวัด

ภายใน 10 วัน นับแต่วันน�าเข้า และต้องน�าเข้าเฉพาะ

ด่านที่ก�าหนดเท่านั้น

ท่ีมา : กรุงเทพธุรกิจ วันท่ี 19 / 10 / 2554

อุตฯ น�้าตาลรุกช่วยเกษตรกร

คุณ หญิงณัฐิกา วัธนเวคิน อังอุบลกุล กรรมการ

บริหาร บริษัท ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จ�ากัด เปิดเผยว่า

สถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในหลายจังหวัด คงต้องใช้

เวลาอีกระยะหนึ่งในการแก้ไขและฟื้นฟูความเสียหายท่ีเกิด

ขึ้น ทางกลุ่มอุตสาหกรรมน�้าตาลทราย จึงได้ให้ความช่วย

เหลือเกษตรกรชาวไร่อ้อยและประชาชนในพื้นที่ตั้งโรงงาน

น�้าตาลแต่ละแห่งมาอย่างต่อเนื่อง ส�าหรับความเสียหาย

ท่ีเกิดกับไร่อ ้อยนั้น ต้องมีการประเมินท่ีชัดเจนอีกครั้ง

เนื่องจากจะมีความเสียหายในระดับต่างๆ กัน บางส่วนก็

แค่ท�าให้ค่าความหวานลดลง บางส่วนก็เน่าเสีย บางส่วนท่ี

แช่น�้าไม่นานนัก อาจไม่ได้รับความเสียหาย อย่างไรก็ตาม

ด้วยสถานการณ์น�้าในปี 2554 นี้ท่ีมีมากกว่าทุกปี จึงเชื่อ

ว่าจะมีความเสียหายมากกว่าปีท่ีผ่านๆมา

จากหนังสือพิมพ์แนวหน้า ฉบับวันที่ 20 ตุลาคม 2554

เร่งสรุปแผนช่วยเหลือน�้าท่วม “ธีระ”จี้ทุกหน่วยท�าคลอดมาตรการฟื้นฟูเกษตรกร/เผยได้รับผลกระทบนับล้านราย

นายธีระ วงศ์สมุทร รมว.เกษตรและสหกรณ์ เปิด

เผยว่า ได้สั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งรัดในการ

จัดท�าแผนบูรณการการให้ความ ช่วยเหลือเกษตรกรผู ้

ประสบปัญหาอุทกภัย เพื่อส่งให้ส�านักงานคณะกรรมการ

พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รวบรวม

วิเคราะห์ จัดกลุ่ม และล�าดับขั้นตอนการด�าเนินการใน

ภาพรวมให้เป็นระบบและไม่เกิดความซ�้าซ้อน ก่อนน�า

เสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) น�าพิจารณาด�าเนินการ

ด้าน นายเชวงศักดิ์ เร่งไพบูลย์วงษ์ โฆษกกระทรวง

เกษตรฯ เปิดเผยว่า ในด้านพืชมีพ้ืนที่การเกษตรเสียหาย

รวม 65 จังหวัด เกษตรกร 1.02 ล้านราย พ้ืนที่ที่คาด

ว่าจะเสียหาย 10.3 ล้านไร่ ประมาณการมูลค่าความเสีย

หาย 22,000 ล้านบาท ซึ่งขณะนี้กรมส่งเสริมการเกษตร

ได้ด�าเนินการส�ารวจแล้ว 39 จังหวัด เกษตรกร 360,397

ราย พื้นท่ี 3,350,499 ไร่

Page 6: Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3818 Oct- 24 Oct 2011

10 1111

ส่วน การให้ความช่วยเหลือด้านประมง ตามที่กรม

ประมงได้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู ้ประสบอุทกภัย

กรมประมง ท่ีมีหน่วยปฏิบัติการในพื้นที่ประสบภัย 8

จังหวัด และได้ด�าเนินการช่วยเหลือผู ้ประสบอุทกภัยใน

พ้ืนที่อย่างต่อเนื่อง เช่น การขนย้ายประชาชนผู้ประสบภัย

การใช้เรือประมงตรวจพื้นที่ การแจกอาหาร ล�าเลียงผู้ป่วย

และการจับจระเข้ เป็นต้น ขณะที่การส�ารวจความเสีย

หายภาคประมงที่คาดว่าจะมีเกษตรกรประสบภัยจ�านวน

105,070 ราย พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น�้าคาดว่าจะเสียหาย

แบ่งเป็น บ่อปลา 158,741 ไร่ กุ้ง/ปู/หอย 19,921 ไร่

กระชัง/บ่อซีเมนต์ 140,743 ตารางเมตร

ส�าหรับ ด้านปศุสัตว์มีเกษตรกรได้รับผลกระทบ

จ�านวน 148,555 ราย จ�านวนสัตว์ที่ได้รับผลกระทบรวม

14,192,288 ตัว ซึ่งนอกจากการให้ความช่วยเหลือในการ

อพยพเคลื่อนย้ายสัตว์ให้สัตว์อยู่ในที่ ปลอดภัย เช่น บน

เส้นทางหลวงและบริเวณเนินดินพื้นที่สูงที่ไม่มีน�้าท่วมขัง

การให้ความสนับสนุนเสบียงสัตว์ จ�านวน 3,667.21 ตัน

ได้แก่ หญ้าแห้ง 2,350.24 ตัน หญ้าหมัก 4.15 ตัน

และหญ้าสด 1,312.82 ตัน อาหารสุนัข 3.161 ตัน การ

ให้บริการทางด้านสุขภาพสัตว์ และการเตรียมการพื้นที่

ส�ารองของหน่วยงานกรมปศุสัตว์เพื่อรองรับการอพยพสัตว์

และเปิดพื้นที่สถานีพัฒนาอาหารสัตว์ จ�านวน 29 แห่ง

ทั่วประเทศแล้ว

ที่มา : แนวหน้า วันที่ 21/10/2011

สถานการณ์ด้านการค้า

กรมส่งเสริมการส่งออกหวั่นยอดปี 55 ลด เหตุเจอน�้าท่วมหนัก

กรม ส่งเสริมการส ่งออกหวั่นเหตุน�้าท ่วมหนักส ่ง

ผลกระทบยอดส่งออกปีหน้า หลังท�าหลายอุตสาหกรรม

หยุดเดินเครื่องผลิต รมช.พาณิชย์ สั่งเร่งรวบรวมข้อมูล

ก่อนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความช่วยเหลือฟื ้นฟูภาค

อุตสาหกรรม

นาง นันทวัลย์ ศกุนตนาค อธิบดีกรมส่งเสริมการส่ง

ออก เปิดเผยว่า กรมเป็นห่วงการส่งออกสินค้าไทยในปี

2555 โดยเฉพาะไตรมาสแรก อาจได้รับผลกระทบจาก

เหตุการณ์น�้าท่วม ท�าให้การส่งออกขยายตัวลดลง เพราะ

เท่าท่ีได้รับรายงานผลกระทบจากภาคอุตสาหกรรมต่างๆ

ส่วนใหญ่ไม่สามารถเดินเครื่องผลิตสินค้าได้ มีปัญหาการ

ขาดแคลนวัตถุดิบ ไม่สามารถจัดส่งวัตถุดิบไปยังโรงงาน

ได้ แรงงานไม่สามารถเข้าไปท�างานได้ และไม่สามารถ

จัดส่งสินค้าตามค�าสั่งซื้อได้ตรงเวลา

ด้าน นายศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ รมช.พาณิชย์ กล่าว

ว่า ได้ส่ังการให้กรมส่งเสริมการส่งออก รวบรวมผลกระทบ

ของอุตสาหกรรมต่างๆ และสิ่งท่ีอุตสาหกรรมต้องการให้

ช่วยเหลือ จากนั้นจะรวบรวมปัญหาก่อนน�าเสนอต่อหน่วย

งานท่ีเกี่ยวข้องให้ความช่วยเหลือ ต่อไป เพื่อผลักดันให้

อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากน�้าท่วมฟื ้นตัวโดยเร็ว

ไม่เช่นนั้นการส่งออกไทยอาจจะได้รับผลกระทบแน่นอน.

ที่มา : ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 17 ต.ค. 2554

สังคายนานิคมฯ

ภาพความเสียหายของนิคมอุตสาหกรรม ไล่เรียงมา

ตั้งแต่นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร, เขตอุตสาหกรรมโรจ

นะ, นิคมฯไฮเทค, นิคมฯบางปะอิน และจ่อคิวมายังนิคม

อุตสาหกรรมนวนคร

ความ พยายามของผู้ประกอบการภายในนิคมฯ และ

หน่วยงานภาครัฐ พยายามป้องกันพ้ืนที่ภายในนิคมฯ เอา

ไว้ แต่สุดท้ายทนกระแสน�้าไม่ไหว หลังจากคันกั้นน�้าต่างๆ

พังครืน เท่ากับความสูญเสีย ของเครื่องจักร ชิ้นส่วน

และสินค้า ความพยายามของภาครัฐ ที่เข้าไปช่วยเหลือ

สุดความสามารถนั้น ทุกคนเข้าใจดี แม้กระทั่งบรรดานัก

ลงทุน

ส�าหรับ นักลงทุนรายใหม่ ที่ก�าลงสนใจลงทุน คงติด

เบรกเอาไว้ เพื่อรอดูว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนี้จะได้รับการแก้ไข

อย่างไรบ้าง เพื่อให้เกิดความมั่นใจ

ที่ ผ่านมาโรงงานอุตสาหกรรมที่อยู่ในนิคมฯ ได้รับสิทธิ

ประโยชน์พิเศษทางด้านการลงทุนอยู ่แล้ว ขณะเดียวกัน

นิคมฯ เหล่านั้น ได้มีระบบการจัดการ สิ่งอ�านวยความ

สะดวกให้แก่ผู้ประกอบการอย่างสมบูรณ์ โดยที่ผ่านมาไม่

เคยมีปัญหา โดยเฉพาะเรื่องอุทกภัย

Page 7: Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3818 Oct- 24 Oct 2011

12 1312 13

อย่าง ไรก็ตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นครั้งนี้ ย่อมเป็น

บทเรียนราคาแพงให้กับรัฐบาล หรือเอกชนที่ต้องบริหาร

จัดการ การเลือกท�าเลลงทุนอย่างไรให้ปลอดภัย

ต้อง ไม่ลืมว่า นิคมฯที่ได้รับผลกระทบจากน�้าท่วม ที่

ผ่านมายังเป็นเพียงส่วนเล็กๆ เนื่องจากยังมีอุตสาหกรรม

ที่อยู ่ด้านใต้ก่อนน�้าจะไหลลงสู่ทะเล คงต้องลุ้นถึงเฮือก

สุดท้าย โดยเฉพะพื้นที่ในจังหวัดสมุทรปราการ

เม่ือรวมกับนิคมอุตสามหกรรมในภาคตะวันออกอีก

หลายแห่งแล้ว พบว่า ระบบการจัดการเร่ืองการป้องกัน

อุทกภัยนั้น คงต้องทบทวนใหม่

ตัวอย่าง ภัยจากธรรมชาติ เช่น ที่ญี่ปุ ่น ซึ่งมีระบบ

การจัดการอย่างดี ยังมีปัญหา ดังนั้นนิคมฯในบ้านเรามี

แผนรองรับเพียงพอหรือยัง ที่จะสร้างความมั่นใจให้กับ

นักลงทุน นั่นคือโจทย์ใหญ่ที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต้องกลับ

ไปทบทวน.

จากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 18 ตุลาคม 2554

บริษัทขนของหนีน�้า แห่เช่าโกดังชั่วคราว ดันค่าบริการพุ่ง 40%

ความ ต้องการเช่าโกดังช่ัวคราวพุ่ง บริษัทต่างๆ เร่ง

หาที่จัดเก็บสินค้าและวัตถุดิบการผลิตในที่ปลอดน�้าท่วม

หลังนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่งจมน�้า ส่งผลให้ค่าเช่า

ขยับ 3040%

นาย ทรัพยากร แสนสุขทวีทรัพย์ หัวหน้าฝ่าย

บริการตัวแทนซื้อขายให ้ เช ่าอสังหาริมทรัพย ์ ในภาค

อุตสาหกรรม บริษัท โจนส์ แลง ลาซาลล์ (ประเทศไทย)

จ�ากัด เปิดเผยว่าขณะนี้บริษัทต่างๆ จ�านวนมาก ซึ่งมี

โรงงานหรือโกดังสินค้าในกรุงเทพฯและปริมณฑล ก�าลัง

ต้องการเช่าโกดังช่ัวคราวเพื่อจัดเก็บสินค้า วัตถุดิบที่ใช้

ในการผลิต ตลอดรวมจนถึงอุปกรณ์โรงงานท่ีเคลื่อนย้าย

ได้ ซึ่ง

ส่วน ใหญ่เป็นผู้ผลิตช้ินส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

ผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค และบริษัทบริการด้านลอจิสติ

กส์ ที่มีโรงงานหรือโกดังสินค้าในย่านที่ก�าลังได้รับผลกระ

ทบจากภาวะน�้าท่วมหรือ มีความเสี่ยงที่จะถูกน�้าท่วม อาทิ

อยุธยา ปทุมธานี และนนทบุรี

บริษัท เหล่านี้ต้องการสัญญาเช่าระยะสั้นท่ีมีความ

ยืดหยุ ่นเพื่อให้สามารถย้ายกลับ ไปยังโรงงานหรือโกดัง

สินค้าของตนเองได้ทันทีที่น�้าลด หรือย้ายไปยังโกดังแห่ง

อื่นได้ หากโกดังที่เช่า ใช้ช่ัวคราวเกิดเหตุน�้าท่วมขึ้นเช่น

กัน

“แม้ เจ้าของโกดังส่วนใหญ่เตรียมโกดังไว้ส�าหรับ

การให้เช่าระยะยาว แต่มีหลายรายให้เช่าระยะสั้นในช่วง

นี้เพราะสามารถเรียกค่าเช่าได้สูงกว่า ทั้งนี้ โดยทั่วไป

โกดังมีค่าเช่าอยู่ระหว่าง 80-170 บาทต่อตารางเมตรต่อ

เดือน ขึ้นอยู่กับคุณภาพและท�าเลท่ีตั้ง แต่ส�าหรับสัญญา

เช่าช่ัวคราว กอปรกับความต้องการท่ีมีมากข้ึนท�าให้ค่า

เช่าสูงกว่าปกติ 30%-40%” นายทรัพยากรกล่าว

จากหนังสือพิมพ์แนวหน้า ฉบับวันที่ 20 ตุลาคม 2554

“กิตติรัตน์”เรียกหน่วยงาน-ผู้ประกอบการนิคมฯ ถกฟื้นความเชื่อมั่นนักลงทุน

รองนายกฯสั่ง”ผู ้ว ่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง

ประเทศไทย” เรียกหน่วยงาน-ผู ้ประกอบการนิคมฯ 7

แห่ง ถกฟื้นความเชื่อมั่นนักลงทุน

เมื่อวันท่ี 24 ต.ค.54 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นาย

กิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจ

และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ พร้อมด้วย นาง

มณฑา ประณุทนรพาล ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรม

แห่งประเทศไทย หรือ”กนอ.” สมาชิกนิคมอุตสาหกรรม

และนายจรัมพร โชติกเสถียร กรรมการและผู ้จัดการ

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงหน่วยงานท่ี

เกี่ยวข้อง ได้เชิญผู ้ประกอบการอุตสาหกรรมของนิคม

อุตสาหกรรมท่ีได้รับความเสียหายจาก เหตุอุทกภัยและผู้

เกี่ยวข้อง เช่น นายนิพิฐ อรุณวงษ์ ณ อยุธยา กรรมการ

ผู้จัดการ บริษัท นวนคร น.ส.กอบกาญจน์ วัฒนวรา

งกูร ประธานเจ้าหน้าท่ีบริหารบริษัท โตชิบา ไทยแลนด์

ประชุมเพื่อหารือแนวทางกอบกู้และฟื้นฟูนิคมอุตสาหกรรม

เพื่อสร้างความมั่นใจและความเชื่อมั่นแก่นักลงทุนว่า นิคม

อุตสาหกรรมดังกล่าวจะสามารถประกอบกิจการได้ต่อไป

โดยเร็ว

ท้ังนี้มีนิคมอุตสาหกรรม 7 แห่ง มี 5 แห่ง

ใน จ.พระนครศรีอยุธยา ได้แก่ สหรัตนนคร โรจนะ

บางปะอิน ไฮเทค และเฟคตอรี่แลนด์ รวมถึงอีก 2 แห่ง

ท่ีปทุมธานี ได้แก่ นวนคร และบางกะดี ซึ่งได้รับความ

เสียหายจากการถูกน�้าท่วม ซึ่งก็มีมูลค่าทั้งสิ้นรวมแล้ว

หลายแสนล้านบาท

ที่มา : สยามรัฐ ฉบับวันที่ 24 ตุลาคม 2554

Page 8: Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3818 Oct- 24 Oct 2011

14 15

UN เรียกร้องให้โลกจัดการปัญหาราคาอาหารแพง

องค์การ สหประชาชาติ (UN) เรียกร้องให้ประชาคม

โลกจัดการปัญหาความมั่นคงทางอาหารโลกเนื่องจาก

รายงาน The State of Food Insecurity in the World

2011 ซึ่งจัดท�าโดย UN ระบุว่า ราคาอาหารที่สูงขึ้นอาจ

ด�าเนินต่อไปในอีก 10 ปีข้างหน้า

รายงานยังระบุว่าประเทศขนาดเล็กที่ต้องพึ่งพาการน�า

เข้า โดยเฉพาะในแอฟริกา มีแนวโน้มที่จะต้องเผชิญ

ปัญหาความยากจนและความไม่มั่นคงทางอาหาร และ

แม้ว่าปฏิญญา The Millennium Development Goals

มีเป้าหมายว่าจะด�าเนินการให้ส�าเร็จภายใน พ.ศ. 2558

ก็ตาม แต่ประชากรประมาณ 600 ล้านคนในประเทศ

ก�าลังพัฒนาอาจจะยังคงขาดแคลนอาหาร

ข้อเรียกร้องของ UN ต่อรัฐบาลประเทศต่างๆมีดังนี้

• ใช้นโยบายที่ส ่งเสริมการลงทุนและเพิ่มผลผล

ทางการเกษตรจากภาคเอกชนที่ โปร ่งใสและมีสภาพ

แวดล้อมที่ก�ากับดูแลได้

• ลดอาหารเหลือในประเทศที่พัฒนาแล้วโดยการ

ให้การศึกษาและนโยบาย

• ลดการสูญเสียคุณค่าทางอาหารในประเทศที่ก�าลัง

พัฒนาโดยกระตุ้นการลงทุนในห่วง โซ่แห่งคุณค่า โดย

เฉพาะหลังกระบวนการเก็บเกี่ยว

• จัดหาแหล่งชลประทานที่มีประสิทธิภาพ

• ปรับปรุงการบริหารจัดการที่ดิน

• วิจัยและพัฒนาเพื่อปรับปรุงเมล็ดพันธุ์

ราคาอาหารอาจผันผวนมากขึ้นใน 10 ปีข้างหน้า

เนื่องจากความต้องการอาหารเพิ่มมากข้ึน ประชากรเพิ่ม

การเติบโตของเชื้อเพลิงชีวภาพ และสภาพอากาศที่รุนแรง

ท่ีมา : มกอช. (AFN) วันท่ี 17 / 10 / 2554

ชิลีเรียกร้อง RVC 50% และไม่ให้ใช้กฎ Rule 0f Origin ในความตกลงการค้าเสรีไทย-ชิลี

ในการประชุมคณะท�างานย ่อยด ้านกฎว ่าด ้วยถิ่น

ก�าเนิดสินค้าภายใต้กรอบเจรจาจัดท�าความตกลงการ

ค้าเสรีไทย-ชิลี ครั้งท่ี 3 ไทยและชิลีได ้เห็นชอบใน

การก�าหนดเกณฑ์ Wholly Obtained of Produced

Goods แต่ศัพท์หรือค�าจ�ากัดความท่ีใช้ก�าหนดเกณฑ์นั้น

ยังมีความเห็นไม่ลงตัว เช่น ชิลีต้องการใช้ค�าว่า plant

goods แต่ประเทศไทยต้องการใช้ค�าว่า plant product

เป็นต้น นอกจากนี้ ชิลียังเสนอว่า ควรแต่ใช้เกณฑ์ของ

PSR เพียงอย่างเดียว ไม่จ�าเป็นต้องใช้กฎ Rule of Origin

ซึ่งประเทศไทยยอมตามน�้าไปก่อน แต่คาดว่าในขั้นตอน

การเจรจาจ�าเป็นต้องน�ากฎ Rule 0f Origin มาใช้อีกอยู่ดี

ส่วนเนื้อหาเกณฑ์ Wholly Obtained of Produced

Goods ท่ีไทยก�าหนดใช้ต้นแบบมาจากเกณฑ์ท่ีเคยใช้

ท�าการเจรจาการค้าเสรีกับประเทศอื่นๆ เป็นส่วนใหญ่

เพื่อคงไว้ซึ่งมาตรฐานที่ประเทศต่างๆ จะเรียกร้องเพิ่ม

เติมหรือลดทอนไม่ได้ อีกท้ังเนื้อหาบางตอนยังคลุมเครือ

ความเห็นทางฝ่ายเลขาฯ พบว่าเกณฑ์ไม ่ครอบคลุม

กระบวนการของสิ่งท่ีเกิดจากพืชและสัตว์ทั้งที่มีชีวิตและ

ไม่มีชีวิต รวมท้ังสิ่งท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ เช่น fungi จึง

อยากให้เพิ่มข้อท่ีว่าด้วย

- Micro-organisms and viruses from natural

habitats and culture in the territory of the Party.

เพื่อจัดสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น

ออกมาจากเกณฑ์พืชและสัตว์

ส่วนการพิจารณาเกณฑ์กฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดเฉพาะราย

สินค้า (PSR) ทางชิลีได้เสนอว่าควรที่จะใช้เฉพาะเกณฑ์

ว่าด้วยถิ่นก�าเนิดเฉพาะรายสินค้า โดยไม่จ�าเป็นต้องใช้

กฎ Rule of Origin พร้อมทั้งส่งเกณฑ์รายสินค้ามาเพ่ือ

ให้ไทยพิจารณา พบว่าชิลีขอให้มีเกณฑ์ RVC (50%) ซึ่ง

ประเทศไทยไม่เคยตกลงท�ากับประเทศใดมาก่อน จึงมี

ความเห็นว่ายังไม่ควรที่จะให้เกณฑ์นี้กับชิลีด ้วยเช่นกัน

เพราะอาจจะส่งผลกระทบต่อการเจรจากับประเทศอื่นๆ

ในภายหน้า ส่วนเกณฑ์อื่นๆ ทางกรมศุลกากรขอความ

ร่วมมือจากทั้งภาครัฐและเอกชนในการพิจารณารายสินค้า

เพื่อเสนอเป็นข้อเจรจากับชิลีต่อไป

ที่มา: การประชุมหารือ กฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้า ภายใต้การเจรจาจัด

ท�าความตกลงการค้าเสรีไทย-ชิลี

จัดโดย กรมศุลกากร วันพุธที่ 19 ตุลาคม 2554

Page 9: Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3818 Oct- 24 Oct 2011

16 17

อัตราแลกเปลี่ยน

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 10: Weekly Brief_18 Oct - 24 Oct 11_Issue 38

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3818 Oct- 24 Oct 2011

18 19

33.31 34.2931.69

61.60

53.5748.97

48.93 47.7142.04

32.3436.72

36.12

4.80 5.02 4.68

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

2551 2552 2553

THB

Year

YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK

THB / 1 USD THB /1 GBP THB / 1 EUR THB / 100 JPY THB/CNY

18

อัตราแลกเปลี่ยน

เสนอขอ้คดิเห็น/ขอ้เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......................................................

Executive Director

วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: [email protected]

Administrative Manager

ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Manager

สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail: [email protected]

Division-Fruit and Vegetable Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

วิภาพร สกุลครู E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

อัญชลี พรมมา E-mail: [email protected]

ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: [email protected]

Division-Fisheries Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

รัตนา ชูศรี E-mail: [email protected]

ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: [email protected]

IT Support Officer

ปวัณรัตน์ ใจกล้า E-mail: [email protected]

Data Management Office

ญดา ชินารักษ์ E-mail: [email protected]

Commercial Relation Executive

กัญญาภัค ชินขุนทด E-mail: [email protected]

Administrator

วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: [email protected]

ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: [email protected]

Accountant

วิมล ดีแท้ E-mail: [email protected]

TFPA TEAM