Transcript
Page 1: จดหมายข่าว สถาบันวิจัย ... · 2015-09-02 · รู้จัก “หมึกบลูริง” ตัวเล็ก แต่อันตรายสุดสุด!!

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๘ ประจ าเดือน สิงหาคม ๒๕๕๘

จดหมายข่าว สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้้าสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้้า

จุฬาลงกรณม์หาวิทยาลยั อาคารสถาบัน ๓ ชั้น ๙ ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๘๑๖๐-๓ โทรสาร ๐๒-๒๕๔๔๒๕๙ เว็ปไซต์ www.arri.chula.ac.th

กิจกรรมวิชาการและวิจัย

อธิการบดีมาตรวจติดตามโครงการพัฒนาคุณภาพงานของสถาบันฯ เมื่อวันจันทร์ที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๖.๐๐ น. สถาบันวิจัย

ทรัพยากรทางน้ า ได้รับเกียรติต้อนรับ ศ.ดร.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี พร้อมทีมงานผู้บริหารมหาวิทยาลัย ในโอกาสเดินทางมาตรวจเยี่ยมและติดตามความคืบหน้าโครงการพัฒนาคุณภาพงานของสถาบันฯ “โครงการเพิ่มจ านวนผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ชลทัศนสถาน” ซึ่งน าเสนอโดย นายเอนก โสภณ นักวิจัย/

หัวหน้าโครงการฯ ณ ห้องประชุม ๙๐๔ ชั้น ๙ อาคารสถาบัน ๓

ในการนี้ ท่านอธิการบดีและทีมงานผู้บริหาร ได้กล่าวชื่นชมต่อความตั้งใจใน

การพัฒนางานในด้านต่างๆ ของสถาบันฯ พ ร้ อ ม ซั ก ถ า ม ใ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ ใ ห้ข้อเสนอแนะในประเด็นที่ส าคัญต่างๆ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งทั้งต่อการด าเนินโครงการฯ และการบริหารงานของสถาบันฯ ต่อไป

กิจกรรมทั่วไป

สถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง ร่วมงานเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา มหาราชินี เมื่อวันพุธที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ สถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง

น าโดย ดร.สมภพ รุ่งสุภา หัวหน้าสถานีฯ ได้เข้าร่วม พิธีถวายเครื่องราชสักการะ (พานพุ่มดอกมะลิ) และจุดเทียนถวาย พระพรชัยมงคล ในงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี นาถ ในโ อ ก า ส ม ห า ม ง ค ล เ ฉ ลิ ม

พระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา ซึ่งอ าเภอเกาะสีชังได้จัดขึ้น ณ อาคารเอนกประสงค์ ศูนย์ราชการเทศบาลต าบลเกาะสีชัง โดยมีผู้แทนองค์กรและหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ชมรม กลุ่มบุคคล ตลอดถึง พ่อค้า ประชาชน บนเกาะสีชัง เข้าร่วมงานอย่างพร้อมเพรียง

นอกจากนี้ ยังได้เข้าร่วมกิจกรรมการปล่อยลูกพันธุ์สัตว์น้ า (ปลากะพงและกุ้ง) เพื่อฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล ณ บริเวณชายทะเลภายในพระจุฑาธุชราชฐานอีกด้วย

สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้้า ร่วมฉลอง “๑๒๓ ปี พระจุฑาธุชราชฐาน เกาะสีชัง”

เมื่อวันจันทร์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ า น าโดย รศ.ดร. วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกุล ผู้อ านวยการฯ ได้เข้าร่วมงานฉลองเนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประกาศการสร้างและพระราชทานนาม “พระจุฑาธุชราชฐาน” ครบรอบ ๑๒๓ ปี ซึ่งจัด

โดย พิพิธภัณฑ์พระจุฑาธุชราชฐาน เกาะสีชัง

ทั้งนี้ โดยมี นายอ า เภอเ ก า ะ สี ชั ง

ผู้อ านวยการส านักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้แทนเทศบาล และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องต่างๆ รวมไปถึงพี่น้องป ร ะ ช า ช น ช า ว เ ก า ะ สี ชั ง เข้าร่วมงานจ านวนมาก

ในการนี้ สถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง ได้จัดเตรียมเมนู อาหาร หอยเป๋าฮื้อน้ าแดง (โดยเชฟจากปารีฮัท) และ ปลากะพงทอดราดน้ าปลา เข้าร่วมงาน

พร้อมกันนั้นยังได้สนับสนุนลูกพันธุ์สัตว์น้ า ให้ผู้เข้าร่วมงานได้ร่ ว ม ป ล่ อ ย ล ง สู่ ท ะ เ ล เ พื่ อ

อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ ฟื้ น ฟูท รั พ ย า ก รทางทะเล ในงานนี้อีกด้วย

Page 2: จดหมายข่าว สถาบันวิจัย ... · 2015-09-02 · รู้จัก “หมึกบลูริง” ตัวเล็ก แต่อันตรายสุดสุด!!

รู้จัก “หมึกบลูริง” ตัวเล็ก แต่อันตรายสุดสุด!! โดย สมบัติ อินทร์คง

จากกรณีเมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ พบมีผู้ตกปลาหมึกตัวเล็กๆ สีสันสวยงาม แปลกตา ได้บริเวณหมู่เกาะอ่างทอง จ.สุราษฎร์ธานี ซึ่งนักวิชาการเชื่อว่าน่าจะเป็น “บลูริง” สายพันธุ์หมึกที่มีพิษร้ายแรงที่สุด

ในโลก เป็นอย่างไรมารู้จักกัน หมึกบลูริง หรือ หมึกสายวงน้ าเงิน

(Blue-ringed octopus) เ ป็ น ห มึ ก ใ น ส กุ ล Hapalochlaena ในอันดับหมึกยักษ์ จัดเป็นหมึกขนาดเล็ก มีจุดเด่นคือ สีสันตามล าตัวที่

เป็นจุดวงกลมคล้ายแหวนสีน้ าเงินหรือสีม่วงซึ่งสามารถเรืองแสงได้เมื่อถูกคุกคาม ตัดกับพื้นล าตัวสีขาวหรือเขียว แลดูสวยงามมาก

หมึกสายพันธุ์นี้มีพิษร้ายแรงมากผสมอยู่ในน้ าลาย โดยว่ากันว่าร้ายแรงกว่างูเห่าถึง ๒๐ เท่า ซึ่งผู้ที่ถูกกัดจะตายภายใน ๒-๓ นาที สามารถฆ่าคนได้ ๒๖ คนในคราวเดียว นับเป็นสัตว์น้ าที่มีพิษร้ายแรงมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก

ส าหรับขนาดของหมึกชนิดนี้ เมื่อโตเต็มที่ขนาดเท่าลูกกอล์ฟ อายุขัยราว ๑ ปี มีหนวด ๘ เส้น กลางวันมักหลบอยู่ตามโพรงหินหรือเปลือกหอย และออกหากินโดยเคลื่อนที่ไปตามพื้นทะเลหน้าดินในเวลากลางคืน

ความรู้ทั่วไปทางทะเล

เว๊ปไซต:์ www.arri.chula.ac.th อีเมล:์ [email protected] อาคารสถาบัน ๓ ชั้น ๙ ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๘๑๖๐-๓ โทรสาร ๐๒-๒๕๔๔๒๕๙

ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม: ติดต่อ

กองบรรณาธิการ จดหมายข่าวสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้้ากองบรรณาธิการ จดหมายข่าวสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้้า

ความเป็นพิษ อาการ และการรักษา พิษของหมึกบลูริ ง เป็นชนิด Tetrodotoxin

(TTX) เช่นเดียวกับที่พบในปลาปักเป้า โดยต้นก าเนิดของพิษเกิดจากผลผลิตของแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในต่อมน้ าลาย พิษดังกล่าวจะออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท

โดยจะเข้าไปขัดขวางการสั่งงานของสมองที่จะไปยังกล้ามเนื้อ คนที่ถูกพิษจะมีอาการคล้ายเป็นอัมพาต หายใจไม่ออกเนื่องจากกล้ามเนื้อกะบังลมและหน้าอกไม่ท างาน ท าให้ไม่สามารถน าอากาศเข้าสู่ปอด เป็นสาเหตุให้เสียชีวิต การปฐมพยาบาลต้องหาวิธีน าอากาศเข้าสู่ปอด เช่น เป่าปาก เป็นต้น จากนั้นต้องรีบน าส่งแพทย์โดยด่วน เพื่อใช้เครื่องช่วยหายใจ ถ้าการช่วยชีวิตเป็นผลผู้ป่วยจะฟื้นเป็นปกติภายใน ๒๔ ชั่วโมง

เกี่ ยวกับ เ รื่ อ งนี้ นายอุกฤต สตภูมินทร์ นักวิชาการประมงช านาญการพิเศษ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) ได้ให้ทัศนะอย่างน่าสนใจว่า “หมึกชนิดนี้สามารถพบได้แถวแนวปะการังทั้งอันดามันและอ่าวไทย ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะเมื่อก่อนคนฮิตเลี้ยงกัน ในบ้านเรายังไม่มีกรณีคนตาย แต่ทางที่ดีเห็นแล้วอย่าไปยุ่ง เพราะไม่มียารักษา”

แม้ว่าจะไม่ได้มีแหล่งก าเนิดในท้องทะเลบ้านเรา แต่ด้วยมหาสมุทรที่มีความต่อเนื่องถึงกันทั่วโลก หรืออาจเล็ดลอดมาด้วยวิธีใดก็ตาม ด้วยพิษที่ร้ายแรง ดังกล่าว เพื่อความปลอดภัย “การตระหนักรู้” และ “พึ่งระวังไว้” จะเป็นการดีที่สุด ที่มา: ผู้จัดการออนไลน์, Saveoursea.net, Google.co.th, Wikipedia.com, ฯลฯ

กิจกรรมวิชาการและวิจัย (ต่อจากหน้า ๑) ส าหรับการจัดท า

ต้นฉบับเอกสารดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนาเครื่องมือ กลไก การจัดการความหลาก

หลายทางชีวภาพและอนุวัตอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ

ทั้งนี้ ในการประชุมฯ มีผู้เชี่ยวชาญ คณาจารย์ นักวิจัย และนักวิชาการด้านปะการังจากองค์กร หน่ ว ย ง าน แล ะสถาบันการศึกษาที่ เกี่ยวข้องต่างๆ เข้าร่วมให้ข้อมูลและความคิดเห็นที่เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์อย่างพร้อมเพรียง จนท าให้การประชุมส าเร็จลุล่วงลงด้วยดี โดยมีผู้เข้าร่วมป ร ะ ชุ มป ร ะ ม าณ ๖๐ คน

นักวิจัยสถาบันฯ เข้าร่วมการประชุมเพื่อจัดท้าทะเบียนรายชื่อปะการังไทย เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๘ นายอานุภาพ พานิชผล

นักวิจัยของสถาบันฯ ได้รับเชิญเข้าร่วม “การประชุมระดมความคิดเห็น การส ารวจ รวบรวมข้อมูล และจัดท าต้นฉบับทะเบียนรายการชื่อสิ่งมีชีวิตในประเทศไทย (กลุ่มปะการัง)” ซึ่งจัดโดย มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ร่วมกับ กลุ่มวิจัย

ความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง ณ ห้องมรกต ชั้น ๓ โรงแรม ดิเอ็มเมอรัลด์ รัชดา กรุงเทพมหานคร

วัตถุประสงค์การประชุม เพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลชนิดพันธุปะการัง และกลุ่มปะการังอื่นๆ (Benthic Cnidaria) และข้อมูลสถานภาพการ

เปลี่ยนแปลงของชนิดพันธุปะการังของประเทศไทยอย่างเหมาะสม เพื่อการจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารวิชาการ ONEP / OEPP Biodiversity Series ทะเบียนรายการชื่อชนิดปะการังในประเทศไทย พร้อมทั้งสถานภาพของชนิดพันธุ์ปะการังเชิงพื้นที่ และชนิดพันธุ์ปะการังที่อยู่ในภาวะคุกคามหรือเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์


Recommended