2
ปีทฉบับทีประจาเดือน สิงหาคม ๒๕๕๘ จดหมายข่าว สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้า สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาคารสถาบัน ๓ ชั้น ๙ ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๘๑๖๐-โทรสาร ๐๒-๒๕๔๔๒๕๙ เว็ปไซต์ www.arri.chula.ac.th กิจกรรมวิชาการและวิจัย อธิการบดีมาตรวจติดตามโครงการพัฒนาคุณภาพงานของสถาบันฯ เมื่อวันจันทร์ที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๖.๐๐ น. สถาบันวิจัย ทรัพยากรทางน้ได้รับเกียรติต้อนรับ ศ.ดร.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี พร้อมทีมงานผู้บริหารมหาวิทยาลัย ในโอกาสเดินทางมาตรวจเยี่ยมและติดตาม ความคืบหน้า โครงการพัฒนาคุณภาพงานของสถาบันฯ โครงการเพิ่ม จานวนผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ชลทัศนสถานซึ่งนาเสนอโดย นายเอนก โสภณ นักวิจัย/ หัวหน้าโครงการฯ ณ ห้องประชุม ๐๔ ชั้น ๙ อาคารสถาบัน ๓ ในการนี้ ท่านอธิการบดี และทีมงานผู้บริหาร ได้กล่าวชื่นชม ต่อความตั้งใจใน การพัฒนางานในด้านต่างๆ ของสถาบันฯ พร้อมซักถามในรายละเอียดและให้ ข้อเสนอแนะในประเด็นที่สาคัญต่างๆ อันเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งทั้งต่อการดาเนินโครงการฯ และการบริหารงานของสถาบันฯ ต่อไป กิจกรรมทั่วไป สถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง ร่วมงานเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา มหาราชินี เมื่อวันพุธที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ สถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง นาโดย ดร.สมภพ รุ่งสุภา หัวหน้าสถานีฯ ได้เข้าร่วม พิธีถวาย เครื่องราชสักการะ (พานพุ่มดอกมะลิ) และจุดเทียนถวาย พระพรชัยมงคล ในงานเฉลิม พระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินี นาถ ใน โอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา ซึ่งอาเภอเกาะสีชังได้จัดขึ้น ณ อาคารเอนกประสงค์ ศูนย์ราชการเทศบาลตาบลเกาะสีชัง โดยมี ผู้แทนองค์กรและหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ชมรม กลุ่มบุคคล ตลอดถึง พ่อค้า ประชาชน บนเกาะสีชัง เข้า ร่วมงานอย่างพร้อมเพรียง นอกจากนี้ ยังได้เข้าร่วมกิจกรรมการปล่อยลูกพันธุสัตว์น้า (ปลากะพงและกุ้ง ) เพื่อฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล บริเวณชายทะเลภายในพระจุฑาธุชราชฐานอีกด้วย สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้า ร่วมฉลอง ๑๒๓ ปี พระจุฑาธุชราชฐาน เกาะสีชังเมื่อวันจันทร์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้นาโดย รศ.ดร. วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกุล ผู้อานวยการฯ ได้เข้า ร่วมงานฉลองเนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันทีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประกาศการสร้างและพระราชทานนาม พระจุฑาธุชราชฐานครบรอบ ๑๒๓ ปี ซึ่งจัด โดย พิพิธภัณฑ์ พระจุฑาธุชราช ฐาน เกาะสีชัง ทั้งนี้ โดย มี นายอาเภอ เ ก า ะ สี ชั ง ผู้อานวยการสานักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้แทนเทศบาล และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ รวมไปถึงพี่น้อง ประชาชนชาวเกาะสีชัง เข้าร่วมงานจานวนมาก ในการนีสถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง ได้จัดเตรียมเมนู อาหาร หอยเป๋าฮื้อน้าแดง (โดยเชฟจากปารีฮัท) และ ปลากะพงทอดราดน้าปลา เข้าร่วมงาน พร้อมกันนั้นยัง ได้สนับสนุนลูก พันธุ์สัตว์น้า ให้ ผู้เข้าร่วมงานได้ ร่วมปล่อยลง สู่ ท ะ เ ล เ พื่อ อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ ฟื้ น ฟู ทรัพยากร ทางทะเล ใน งานนี้อีกด้วย

จดหมายข่าว สถาบันวิจัย ... · 2015-09-02 · รู้จัก “หมึกบลูริง” ตัวเล็ก แต่อันตรายสุดสุด!!

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: จดหมายข่าว สถาบันวิจัย ... · 2015-09-02 · รู้จัก “หมึกบลูริง” ตัวเล็ก แต่อันตรายสุดสุด!!

ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๘ ประจ าเดือน สิงหาคม ๒๕๕๘

จดหมายข่าว สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้้าสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้้า

จุฬาลงกรณม์หาวิทยาลยั อาคารสถาบัน ๓ ชั้น ๙ ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๘๑๖๐-๓ โทรสาร ๐๒-๒๕๔๔๒๕๙ เว็ปไซต์ www.arri.chula.ac.th

กิจกรรมวิชาการและวิจัย

อธิการบดีมาตรวจติดตามโครงการพัฒนาคุณภาพงานของสถาบันฯ เมื่อวันจันทร์ที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๖.๐๐ น. สถาบันวิจัย

ทรัพยากรทางน้ า ได้รับเกียรติต้อนรับ ศ.ดร.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี พร้อมทีมงานผู้บริหารมหาวิทยาลัย ในโอกาสเดินทางมาตรวจเยี่ยมและติดตามความคืบหน้าโครงการพัฒนาคุณภาพงานของสถาบันฯ “โครงการเพิ่มจ านวนผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์ชลทัศนสถาน” ซึ่งน าเสนอโดย นายเอนก โสภณ นักวิจัย/

หัวหน้าโครงการฯ ณ ห้องประชุม ๙๐๔ ชั้น ๙ อาคารสถาบัน ๓

ในการนี้ ท่านอธิการบดีและทีมงานผู้บริหาร ได้กล่าวชื่นชมต่อความตั้งใจใน

การพัฒนางานในด้านต่างๆ ของสถาบันฯ พ ร้ อ ม ซั ก ถ า ม ใ น ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ ใ ห้ข้อเสนอแนะในประเด็นที่ส าคัญต่างๆ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งทั้งต่อการด าเนินโครงการฯ และการบริหารงานของสถาบันฯ ต่อไป

กิจกรรมทั่วไป

สถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง ร่วมงานเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา มหาราชินี เมื่อวันพุธที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ สถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง

น าโดย ดร.สมภพ รุ่งสุภา หัวหน้าสถานีฯ ได้เข้าร่วม พิธีถวายเครื่องราชสักการะ (พานพุ่มดอกมะลิ) และจุดเทียนถวาย พระพรชัยมงคล ในงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี นาถ ในโ อ ก า ส ม ห า ม ง ค ล เ ฉ ลิ ม

พระชนมพรรษา ๘๓ พรรษา ซึ่งอ าเภอเกาะสีชังได้จัดขึ้น ณ อาคารเอนกประสงค์ ศูนย์ราชการเทศบาลต าบลเกาะสีชัง โดยมีผู้แทนองค์กรและหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ชมรม กลุ่มบุคคล ตลอดถึง พ่อค้า ประชาชน บนเกาะสีชัง เข้าร่วมงานอย่างพร้อมเพรียง

นอกจากนี้ ยังได้เข้าร่วมกิจกรรมการปล่อยลูกพันธุ์สัตว์น้ า (ปลากะพงและกุ้ง) เพื่อฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล ณ บริเวณชายทะเลภายในพระจุฑาธุชราชฐานอีกด้วย

สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้้า ร่วมฉลอง “๑๒๓ ปี พระจุฑาธุชราชฐาน เกาะสีชัง”

เมื่อวันจันทร์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ า น าโดย รศ.ดร. วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกุล ผู้อ านวยการฯ ได้เข้าร่วมงานฉลองเนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประกาศการสร้างและพระราชทานนาม “พระจุฑาธุชราชฐาน” ครบรอบ ๑๒๓ ปี ซึ่งจัด

โดย พิพิธภัณฑ์พระจุฑาธุชราชฐาน เกาะสีชัง

ทั้งนี้ โดยมี นายอ า เภอเ ก า ะ สี ชั ง

ผู้อ านวยการส านักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้แทนเทศบาล และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องต่างๆ รวมไปถึงพี่น้องป ร ะ ช า ช น ช า ว เ ก า ะ สี ชั ง เข้าร่วมงานจ านวนมาก

ในการนี้ สถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง ได้จัดเตรียมเมนู อาหาร หอยเป๋าฮื้อน้ าแดง (โดยเชฟจากปารีฮัท) และ ปลากะพงทอดราดน้ าปลา เข้าร่วมงาน

พร้อมกันนั้นยังได้สนับสนุนลูกพันธุ์สัตว์น้ า ให้ผู้เข้าร่วมงานได้ร่ ว ม ป ล่ อ ย ล ง สู่ ท ะ เ ล เ พื่ อ

อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ ฟื้ น ฟูท รั พ ย า ก รทางทะเล ในงานนี้อีกด้วย

Page 2: จดหมายข่าว สถาบันวิจัย ... · 2015-09-02 · รู้จัก “หมึกบลูริง” ตัวเล็ก แต่อันตรายสุดสุด!!

รู้จัก “หมึกบลูริง” ตัวเล็ก แต่อันตรายสุดสุด!! โดย สมบัติ อินทร์คง

จากกรณีเมื่อวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ พบมีผู้ตกปลาหมึกตัวเล็กๆ สีสันสวยงาม แปลกตา ได้บริเวณหมู่เกาะอ่างทอง จ.สุราษฎร์ธานี ซึ่งนักวิชาการเชื่อว่าน่าจะเป็น “บลูริง” สายพันธุ์หมึกที่มีพิษร้ายแรงที่สุด

ในโลก เป็นอย่างไรมารู้จักกัน หมึกบลูริง หรือ หมึกสายวงน้ าเงิน

(Blue-ringed octopus) เ ป็ น ห มึ ก ใ น ส กุ ล Hapalochlaena ในอันดับหมึกยักษ์ จัดเป็นหมึกขนาดเล็ก มีจุดเด่นคือ สีสันตามล าตัวที่

เป็นจุดวงกลมคล้ายแหวนสีน้ าเงินหรือสีม่วงซึ่งสามารถเรืองแสงได้เมื่อถูกคุกคาม ตัดกับพื้นล าตัวสีขาวหรือเขียว แลดูสวยงามมาก

หมึกสายพันธุ์นี้มีพิษร้ายแรงมากผสมอยู่ในน้ าลาย โดยว่ากันว่าร้ายแรงกว่างูเห่าถึง ๒๐ เท่า ซึ่งผู้ที่ถูกกัดจะตายภายใน ๒-๓ นาที สามารถฆ่าคนได้ ๒๖ คนในคราวเดียว นับเป็นสัตว์น้ าที่มีพิษร้ายแรงมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก

ส าหรับขนาดของหมึกชนิดนี้ เมื่อโตเต็มที่ขนาดเท่าลูกกอล์ฟ อายุขัยราว ๑ ปี มีหนวด ๘ เส้น กลางวันมักหลบอยู่ตามโพรงหินหรือเปลือกหอย และออกหากินโดยเคลื่อนที่ไปตามพื้นทะเลหน้าดินในเวลากลางคืน

ความรู้ทั่วไปทางทะเล

เว๊ปไซต:์ www.arri.chula.ac.th อีเมล:์ [email protected] อาคารสถาบัน ๓ ชั้น ๙ ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๘๑๖๐-๓ โทรสาร ๐๒-๒๕๔๔๒๕๙

ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม: ติดต่อ

กองบรรณาธิการ จดหมายข่าวสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้้ากองบรรณาธิการ จดหมายข่าวสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้้า

ความเป็นพิษ อาการ และการรักษา พิษของหมึกบลูริ ง เป็นชนิด Tetrodotoxin

(TTX) เช่นเดียวกับที่พบในปลาปักเป้า โดยต้นก าเนิดของพิษเกิดจากผลผลิตของแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในต่อมน้ าลาย พิษดังกล่าวจะออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท

โดยจะเข้าไปขัดขวางการสั่งงานของสมองที่จะไปยังกล้ามเนื้อ คนที่ถูกพิษจะมีอาการคล้ายเป็นอัมพาต หายใจไม่ออกเนื่องจากกล้ามเนื้อกะบังลมและหน้าอกไม่ท างาน ท าให้ไม่สามารถน าอากาศเข้าสู่ปอด เป็นสาเหตุให้เสียชีวิต การปฐมพยาบาลต้องหาวิธีน าอากาศเข้าสู่ปอด เช่น เป่าปาก เป็นต้น จากนั้นต้องรีบน าส่งแพทย์โดยด่วน เพื่อใช้เครื่องช่วยหายใจ ถ้าการช่วยชีวิตเป็นผลผู้ป่วยจะฟื้นเป็นปกติภายใน ๒๔ ชั่วโมง

เกี่ ยวกับ เ รื่ อ งนี้ นายอุกฤต สตภูมินทร์ นักวิชาการประมงช านาญการพิเศษ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) ได้ให้ทัศนะอย่างน่าสนใจว่า “หมึกชนิดนี้สามารถพบได้แถวแนวปะการังทั้งอันดามันและอ่าวไทย ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะเมื่อก่อนคนฮิตเลี้ยงกัน ในบ้านเรายังไม่มีกรณีคนตาย แต่ทางที่ดีเห็นแล้วอย่าไปยุ่ง เพราะไม่มียารักษา”

แม้ว่าจะไม่ได้มีแหล่งก าเนิดในท้องทะเลบ้านเรา แต่ด้วยมหาสมุทรที่มีความต่อเนื่องถึงกันทั่วโลก หรืออาจเล็ดลอดมาด้วยวิธีใดก็ตาม ด้วยพิษที่ร้ายแรง ดังกล่าว เพื่อความปลอดภัย “การตระหนักรู้” และ “พึ่งระวังไว้” จะเป็นการดีที่สุด ที่มา: ผู้จัดการออนไลน์, Saveoursea.net, Google.co.th, Wikipedia.com, ฯลฯ

กิจกรรมวิชาการและวิจัย (ต่อจากหน้า ๑) ส าหรับการจัดท า

ต้นฉบับเอกสารดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนาเครื่องมือ กลไก การจัดการความหลาก

หลายทางชีวภาพและอนุวัตอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ

ทั้งนี้ ในการประชุมฯ มีผู้เชี่ยวชาญ คณาจารย์ นักวิจัย และนักวิชาการด้านปะการังจากองค์กร หน่ ว ย ง าน แล ะสถาบันการศึกษาที่ เกี่ยวข้องต่างๆ เข้าร่วมให้ข้อมูลและความคิดเห็นที่เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์อย่างพร้อมเพรียง จนท าให้การประชุมส าเร็จลุล่วงลงด้วยดี โดยมีผู้เข้าร่วมป ร ะ ชุ มป ร ะ ม าณ ๖๐ คน

นักวิจัยสถาบันฯ เข้าร่วมการประชุมเพื่อจัดท้าทะเบียนรายชื่อปะการังไทย เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๘ นายอานุภาพ พานิชผล

นักวิจัยของสถาบันฯ ได้รับเชิญเข้าร่วม “การประชุมระดมความคิดเห็น การส ารวจ รวบรวมข้อมูล และจัดท าต้นฉบับทะเบียนรายการชื่อสิ่งมีชีวิตในประเทศไทย (กลุ่มปะการัง)” ซึ่งจัดโดย มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ร่วมกับ กลุ่มวิจัย

ความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง ณ ห้องมรกต ชั้น ๓ โรงแรม ดิเอ็มเมอรัลด์ รัชดา กรุงเทพมหานคร

วัตถุประสงค์การประชุม เพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลชนิดพันธุปะการัง และกลุ่มปะการังอื่นๆ (Benthic Cnidaria) และข้อมูลสถานภาพการ

เปลี่ยนแปลงของชนิดพันธุปะการังของประเทศไทยอย่างเหมาะสม เพื่อการจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารวิชาการ ONEP / OEPP Biodiversity Series ทะเบียนรายการชื่อชนิดปะการังในประเทศไทย พร้อมทั้งสถานภาพของชนิดพันธุ์ปะการังเชิงพื้นที่ และชนิดพันธุ์ปะการังที่อยู่ในภาวะคุกคามหรือเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์