Transcript
Page 1: Smog แบ งได 2 ประเภทedltv.thai.net/courses/366/51scm4-kos080301.pdf · เขียนสมาการเคม ีแสดงปฏ ิกิริยาที่

ครูวรรณี สีสุขสาม

หนวยการเรียนรูที่ 3 ปฏิกิริยาเคมี

ครูวรรณี สีสุขสาม

Smog แบงได 2 ประเภท1. London หรือ classical smog2. Photochemical smog

ครูวรรณี สีสุขสาม

1. London smog หรือ classical smogเกิดจากแกสซัลเฟอรไดออกไซด และฝุนละอองที่ปลอยมาจากโรงงานอุตสาหกรรมและแหลงชุมชนที่ใชถานหินและน้ํามันเปนเชื้อเพลิง จะเกิดในฤดูหนาว และเกิดในตอนเชาตรูทําใหเกิดอาการแสบจมูกและแสบคอ

ครูวรรณี สีสุขสาม

2. Photochemical smog เกิดจากโอโซน ออกไซดของไนโตรเจน

ไฮโดรคารบอน คารบอนมอนอกไซด ทําปฏิกิริยากันอยางซับซอนทําใหเกิด

สาร PAN (peroxyacetyl nitrate) สารนี้ทําใหแสบตามักเกิดในฤดูรอนตอนเที่ยง

วันที่มีแดดจา

Page 2: Smog แบ งได 2 ประเภทedltv.thai.net/courses/366/51scm4-kos080301.pdf · เขียนสมาการเคม ีแสดงปฏ ิกิริยาที่

ครูวรรณี สีสุขสาม

ในวันที่อากาศปลอกโปรง SO3 และ NO2 ลอยสูงไปตามกระแสลมเมื่อไดรับความชื้นในอากาศจากเมฆและฝน

SO3 จะรวมกนเปนกรดกํามะถัน(H2SO4 )NO2 รวมกับละอองน้ําเปนกรดไนตริก

(HNO3 ) และกรดไนตรัส (HNO2 )

ครูวรรณี สีสุขสาม

SO3 + H2O H2SO4

ปฏิกิริยาการเกิดกรดกํามะถัน (H2 SO4 )

ครูวรรณี สีสุขสาม

2NO2+H2O HNO3 + HNO2

ปฏิกิริยาการเกิดกรดไนตริก ( HNO3 ) และกรดไนตรัส ( HNO2 )

ครูวรรณี สีสุขสาม

4Fe + 3O2 2Fe2O3

ปฏกิิรยิาการเกิดสนิมเหล็ก ( Fe2O3 )

Page 3: Smog แบ งได 2 ประเภทedltv.thai.net/courses/366/51scm4-kos080301.pdf · เขียนสมาการเคม ีแสดงปฏ ิกิริยาที่

ครูวรรณี สีสุขสาม

2NaHCO3Na2CO3 + CO2 + H2O

ความรอน

ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต

( NaHCO3 )

ครูวรรณี สีสุขสาม

2H2O2 2H2O + O2

ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอรออกไซด ( H2O2 )

ครูวรรณี สีสุขสาม

ปฏิกิริยาระหวางตะกั่ว(Pb)ทําหนาที่เปนขั้วบวก(+)และตะกั่วไดออกไซด(PbO2) ซึ่งทําหนาที่เปนขั้วลบกับกรดซัลฟวริก (H2SO4)

Pb+PbO2+2H2SO4 2PbSO4+ 2H2O

ปฏกิิรยิาในแบตเตอรีช่นิดตาง ๆ

ครูวรรณี สีสุขสาม

เปนแบตเตอรี่ที่มีขนาดเล็กมากมีสังกะสี(Zn) เปนขั้วบวก(+) และปรอทออกไซด(HgO) เปนขั้วลบ(-) ในสารผสมระหวางโพแทสเซียมไฮดรอกไซด(KOH) กับสังกะสีไฮดรอกไซด([Zn(OH)2])และน้ําZn + HgO ZnO + Hg

ปฏิกิริยาในแบตเตอรี่ปรอท

Page 4: Smog แบ งได 2 ประเภทedltv.thai.net/courses/366/51scm4-kos080301.pdf · เขียนสมาการเคม ีแสดงปฏ ิกิริยาที่

ครูวรรณี สีสุขสาม

CaCO3 CO3 + CaO

ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน ( CaCO3 )

ครูวรรณี สีสุขสาม

เปนปฏิกิริยาระหวางหินปูนหรือแคลเซียมคารบอเนตกับกรดกํามะถัน

หรือดินประสิวซึ่งมีในฝนกรด

ปฏิกิริยาการเกิดแคลเซียมซัลเฟต( CaSO4 )หรือแคลเซียมไนเตรต

([Ca(NO3)2 ]) และCO2

ครูวรรณี สีสุขสาม

CaCO3+ 2HNO3

Ca(NO3)2+ CO2+H2O

CaCO3+ H2SO4

CaSO4+ CO2+H2O

ครูวรรณี สีสุขสาม

ยกตัวอยางปฏกิิรยิาเคมีอื่น ๆ ที่นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจําวันพรอมทั้งอธิบาย และเขียนสมการแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมีดังกลาว

Page 5: Smog แบ งได 2 ประเภทedltv.thai.net/courses/366/51scm4-kos080301.pdf · เขียนสมาการเคม ีแสดงปฏ ิกิริยาที่

ครูวรรณี สีสุขสาม

เขียนสมาการเคมีแสดงปฏกิิรยิาที่เกิดขึน้Mg(s)+ 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2 (g)

ครูวรรณี สีสุขสาม

เขียนสมาการเคมีแสดงปฏกิิรยิาที่เกิดขึน้Zn(s)+ 2HCl(aq) ZnCl2(aq) + H2 (g)

ครูวรรณี สีสุขสาม

เขียนสมาการเคมีแสดงปฏกิิรยิาที่เกิดขึน้HCl(aq)+ NaOH(aq) NaCl(aq)+ H2O (l) + ความรอน

ครูวรรณี สีสุขสาม

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและ

การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

สาระการเรียนรู

Page 6: Smog แบ งได 2 ประเภทedltv.thai.net/courses/366/51scm4-kos080301.pdf · เขียนสมาการเคม ีแสดงปฏ ิกิริยาที่

ครูวรรณี สีสุขสาม

นักเรียนสามารถทดลอง อภิปราย และอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ปจจัยที่มีผลตอการเกิดปฏิกิริยาเคมีได

ผลการเรียนรูที่คาดหวงั

ครูวรรณี สีสุขสาม

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ครูวรรณี สีสุขสาม

สํารวจปฏิกิริยาเคมีที่พบเห็นทั่วไป และประเมินวาปฏกิิรยิาเหลานั้นเกิดเร็ว คอนขางเร็ว คอนขางชา หรือชามาก

ครูวรรณี สีสุขสาม

การเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วเชน การเผากระดาษ การระเบิด

ของดินปน ปฏิกิริยาเคมีระหวางแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก ปฏิกิริยาเคมีระหวางสารละลาย

โซเดียมไฮดรอกไซดกับแผนอะลูมิเนียม

Page 7: Smog แบ งได 2 ประเภทedltv.thai.net/courses/366/51scm4-kos080301.pdf · เขียนสมาการเคม ีแสดงปฏ ิกิริยาที่

ครูวรรณี สีสุขสาม

การเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นอยางชาๆ เชน การบูดของนม

การหมักแอลกอฮอลจากน้ําตาล การเกิดสนิมเหล็ก

ครูวรรณี สีสุขสาม

การวดัอัตราการเกิดปฏกิิรยิาเคมี

ครูวรรณี สีสุขสาม

อัตราเร็วของปฏิกิริยาเคมีวัดจาก ปริมาณของสารเริ่มตนที่ลดลง หรือปริมาณของสาร

ผลิตภัณฑที่เพิ่มขึ้นใน 1 หนวยเวลา

เรียกวา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูวรรณี สีสุขสาม

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ปริมาณของสารเริ่มตนที่ลดลง เวลาที่ใชในการเกิดปฏิกิริยา

=

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ปริมาณของผลิตภัณฑที่เกิดขึน้ เวลาที่ใชในการเกิดปฏิกิริยา

=

Page 8: Smog แบ งได 2 ประเภทedltv.thai.net/courses/366/51scm4-kos080301.pdf · เขียนสมาการเคม ีแสดงปฏ ิกิริยาที่

ครูวรรณี สีสุขสาม

การวัดปริมาณของผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นหรือสารตั้งตนที่ลดลงทําไดหลายวิธีขึ้นอยูกับลักษณะและสมบัติของสารเชน1.ชัง่หามวลของสารเมือ่สารเปนของแข็ง2. วัดปริมาตรของสารเมือ่สารเปนแกส

ครูวรรณี สีสุขสาม

3. วัดความเขมขนของสารเมือ่สารเปนสารละลาย

4. เวลาวัดเปนวินาที หรือ ชั่วโมง หรือ วันขึ้นอยูกบัปฏิกริิยาวาเกิดชาหรือเร็ว

ครูวรรณี สีสุขสาม

วัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาและเขียนสมการแสดงการเกิดปฏิกิริยาได

อัตราการเกิดปฏิกิริยาของลวดแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก

ครูวรรณี สีสุขสาม

Page 9: Smog แบ งได 2 ประเภทedltv.thai.net/courses/366/51scm4-kos080301.pdf · เขียนสมาการเคม ีแสดงปฏ ิกิริยาที่

ครูวรรณี สีสุขสาม

กจิกรรม 4.2เรื่อง อตัราการเกิดปฏิกิริยาของลวดแมกนีเซียมกบักรดไฮโดรคลอลกิจุดประสงคการทดลอง1. อธิบายวิธีการ และสามารถทําการทดลองเพือ่หาขอมลูของปฏิกิริยาระหวางโลหะบางชนิดกับกรดได

ครูวรรณี สีสุขสาม

2. เขียนกราฟและอธิบาความสัมพันธระหวางเวลากับปริมาตรของแกสไฮโครเจนที่เกิดขึน้ได3. คํานวณหาอัตราเฉลี่ยของการเกิดแกสในปฏิกิริยาได

ครูวรรณี สีสุขสาม ครูวรรณี สีสุขสาม

ตัวอยางผลการทดลอง

80170270

123

เวลาที่ใช(วินาที)ปริมาตรของH2(cm3)

Page 10: Smog แบ งได 2 ประเภทedltv.thai.net/courses/366/51scm4-kos080301.pdf · เขียนสมาการเคม ีแสดงปฏ ิกิริยาที่

ครูวรรณี สีสุขสาม

ตัวอยางผลการทดลอง

390545795

456

เวลาที่ใช(วินาที)ปริมาตรของH2(cm3)

ครูวรรณี สีสุขสาม

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อเริ่มตนจะเร็ว และจะชาลงเรื่อยๆตามเวลาที่ผาน แตอัตราการลดลงไมคงที่ทําใหไดเสนกราฟเปนรูปกราฟเอกซโพเนนเชียล (exponential)

ครูวรรณี สีสุขสาม

1. เขียนสมการเคมีระหวางโลหะแมกนีเซียม(Mg) กับกรดเกลือ(HCl)

2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อเกิดแกสH2 ได 2 cm3 เปนเทาใด

ใบงาน

ครูวรรณี สีสุขสาม

3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาในชวงที่เกิดแกส H2 ระหวางปริมาตรที่ 4 ถึง 5เปนเทาใด

4. อัตราการเกิดแกส H2 ทุก ๆ 1 cm3

เทากันหรือไม เพราะเหตุใด


Recommended