43
ภาษาต่างประเทศใน ภาษาไทย หน่วยที 1 การเปลี ยน แปลงของ ภาษา

หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา

Embed Size (px)

Citation preview

ภาษาต่างประเทศใน

ภาษาไทย

หน่วยท่ี 1 การเปล่ียนแปลงของภาษา

การใชค้วามรูท้างดา้นภาษาศาสตรม์าช่วยใน

การศึกษา

ความหลากหลายของภาษา (Language Variety)

• แบง่ตามเช้ือชาติของผูพ้ดูหรือเจ้าของภาษา (The race of Native Speakers)

• แบง่ตามรปูลกัษณะของภาษา (Language Structure)

• แบง่ตามตระกลูของภาษา (Language Families)

แบ่งตามเช้ือชาติของผูพ้ดูหรือเจา้ของภาษา

• การแบง่ตามวิธีน้ีถือเอาเป็นแบบอย่างท่ีแน่นอนไม่ได้ เน่ืองจากมนุษยมี์การแต่งงานหรือผสมกนัในเช้ือชาติ คนชาติหน่ึงสามารถใช้ภาษาของคนอีกชาติหน่ึงได้

ตวัอย่าง

ชาวสวิสพดูภาษาฝรัง่เศส ภาษาเยอรมนั และภาษาอิตาเลียน

ชาวเบลเย่ียมพดูภาษาดตัช ์ภาษาฝรัง่เศส และภาษาเยอรมนั

แบ่งตามรปูลกัษณะของภาษา

• การแบง่ตามวิธีน้ีอาศยัความส าคญัอยู่ท่ีลกัษณะของการประกอบค าและการวางต าแหน่งค าของประโยคเป็นเกณฑ ์ถ้าลกัษณะของภาษามีส่วนเหมือนกนัหรือคล้ายคลึงกนักส็ามารถรวมเข้าเป็นประเภทเดียวกนัได้

แบ่งตามตระกลูภาษา

ภาษามีวิภติัปัจจยั (Inflectional Language)

ภาษาค าติดต่อ (Agglutinative Language)

ภาษาค ามากพยางค ์(Polysyntatic Language)

ภาษาค าโดด (Isolating Language)

ตวัอย่าง

ภาษาบาลี สนัสกฤต กรีก ละติน อาหรบั ตระกลูอินโด-ยโูรเปียน

เป็นต้น

ธาต ุ(root) รากศพัทห์รือค าดัง้เดิมในภาษา

ปัจจยั (suffix) เป็นหน่วยค าท่ีประกอบหลงัค าศพัทเ์พ่ือปรงุแต่งค าศพัท ์เพ่ือบ่งบอกพจน์ (Number) ลิงค ์(Gender) บรุษุ (Person)

วิภตัติ (ending) เป็นค าลงท้ายท่ีท าให้รู้ว่าค านัน้ท าหน้าท่ีอะไรในประโยค และบอกรายละเอียดอ่ืนๆ ในประโยค รปูวิภตัติจะบอกพจน์ (Number) เพศ (และการก

ภาษามีวิภติัปัจจยั (Inflectional Language)

ธาต ุ(root) รากศพัทห์รือค าดัง้เดิมในภาษา

คมฺ ธาตุ แปลว่า ไป

นมฺ ธาตุ แปลว่า ไหว้

ภุชฺ ธาตุ แปลว่า กิน

ปัจจยั (suffix) เป็นหน่วยค าท่ีประกอบหลงัค าศพัทเ์พ่ือปรงุแต่งค าศพัท ์เพ่ือบง่บอกพจน์ (Number) ลิงค ์(Gender) บรุษุ (Person)

คมฺ + อน คมน การไปคมฺ + อ คจฺฉ ยอ่มไป, ไปอยู่

คมฺ + ต คต ไปแล้ว

คมฺ + ตฺวา คนฺตฺวา ไปแล้ว

วิภตัติ (ending)

คจฺฉ + ติ (วิภตัตกิริยา) คจฺฉติ แปลวา่ ท่าน (คนเดยีว) ไปอยู ่(จกัไป)

คต เป็นกริยากิตก์ ท่ีต้องแจกตามวิภตัตินาม เช่น

นโร คโต แปลวา่ คน (คนเดียว) ไปแล้ว

นารี คตา แปลว่า ผู้หญิง (คนเดียว) ไปแล้ว

• การน าค าเติม (Affix) ซ่ึงเป็นหน่วยค าไม่อิสระ มาต่อเข้ากบัค าตัง้ หรือค ามลู (Word base) เพ่ือแปลงความหมายหรือเปล่ียนชนิดของค า ท าให้เกิดเป็นค าต่างๆ ขึน้ใช้ในภาษามากขึน้

• ค าเติม (Affix) มี ๓ ประเภท ได้แก่

– ค าเติมหน้า หรือ อปุสรรค (Prefix)

– ค าเติมกลาง หรือ อาคม (Infix)

– ค าเติมหลงั หรือ ปัจจยั (Suffix)

ภาษาค าติดต่อ (Agglutinative Language)

ค าเติมหน้า หรือ อปุสรรค (Prefix)

kind unkind

like unlike

polite impolite

เกีด (เกิด) บงฺเกีด (บงัเกิด)ลาญ ผฺลาญ (ผลาญ)

ค าเติมกลาง หรือ อาคม (Infix)

เกีด กํเณีด (กําเนิด)

รํา รบํา (รบํา)

ค าเติมหลงั หรือ ปัจจยั (Suffix)

unkind (a.) unkindly (a. Adv.)

care (n. vi.) careful (a.)

carefully (Adv.)

carefullness (n.)

careless (a. ไม-่)

• การน าค าหลายค ามาต่อกนัให้ยาวมากเหมือนเป็นค าเดียวกนั

ภาษาค ามากพยางค ์(Polysyntatic Language)

• ค าเดิมเรียกว่า ค าตัง้ หรือค ามลู (word base)

• ค าแต่ละค าเป็นค าส าเรจ็รปูไม่ต้องเปล่ียนแปลงรปูค า

• ค าแต่ละค าไม่ต้องบ่งบอกหน้าท่ีของค า

• โครงสร้างของประโยค (syntax) ตามปกติจะขึน้ต้นด้วยประธานของประโยค ตามด้วยกริยาและกรรม

• เดิมเป็นค าพยางคเ์ดียว – ภาษาค าพยางคเ์ดียว (Monosylabic Language)

– ภาษาค าโดด (Isolating)

ภาษาค าโดด (Isolating Language)

• ค าท่ีอยู่ในประโยคทกุค าเป็นหน่วยค าอิสระ (boundless form) ซ่ึงไม่ผกูพนักบัค าอ่ืน แยกออกได้เป็นค าๆ

• น าค าธรรมดาท่ีใช้พดูกนัอยู่เป็นปกติประกอบเพ่ิมเติมลงไป เพ่ือบอกเพศ พจน์ กาล ตามความหมาย

• ชนิดของค าไม่แน่นอนตายตวัเพราะชนิดของค าขึน้อยู่กบัปริบท

• เสียงสงู-ต า่ก าหนดความหมาย

ภาษาค าโดด (Isolating Language)

ขอบข่ายของการศึกษาภาษาศาสตร์

ภาษาศาสตรว์รรณนาDescriptive linguistics

ภาษาศาสตรเ์ชิงประวติัHistorical linguistics

ภาษาศาสตรเ์ชิงเปรียบเทียบComparative linguistics

• เป็นการบรรยายหรือวิเคราะหภ์าษาในระดบัต่างๆ

• ข้อมลูท่ีใช้ศึกษาอยู่ในช่วงเวลาหน่ึง ในอดีตหรือปัจจบุนักไ็ด้

• ศึกษาเฉพาะการใช้ภาษาช่วงเวลาหน่ึงโดยไม่เปรียบเทียบกบัช่วงเวลาท่ีผา่นมาหรืออนาคต

ภาษาศาสตรว์รรณนาDescriptive linguistics

• การศึกษาภาษาโดยดลูกัษณะการพฒันาจากอดีตไปยงัอีกช่วงเวลาหน่ึง

• พิจารณาสาเหตแุละผลของการเปล่ียนแปลงนัน้

• ใช้การบรรยายภาษาในเชิงวรรณนาอย่างน้อย ๒ ช่วงเวลาขึน้ไป แล้วน ามาพิจารณาการเปล่ียนแปลงของภาษา

ภาษาศาสตรเ์ชิงประวติัHistorical linguistics

• การเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงการใช้ภาษาตัง้แต่ ๒ ภาษาขึน้ไป

• การเปรียบเทียบดคูวามเปล่ียนแปลงการใช้ภาษาของบคุคลต่างๆ ใน ๒ช่วงเวลา หรือมากกว่านัน้

ภาษาศาสตรเ์ชิงเปรียบเทียบComparative linguistics

Diachronic

Syncronic

การเปล่ียนแปลงของภาษา

สาเหตุการเปล่ียนแปลงภาษา

• การเปล่ียนแปลงภายใน (Internal Change) – เกิดจากการท าให้สะดวกในการใช้ภาษา

– เกิดจากตวัผูใ้ช้ภาษา• ออกเสียงบกพร่อง

• ใช้ภาษาตามใจตนเองท าให้ภาษาผิดแบบแผน

• มีค่านิยมบางประการเก่ียวกบัภาษา

• การเปลี่ยนแปลงภายนอก (External Change)

– การติดต่อกนัทางวฒันธรรม

– การติดต่อทางการเมือง

– การติดตอ่กนัทางการค้า

– การติดต่อกนัทางด้านศาสนา

– การศกึษา

การเปล่ียนแปลงด้านเสียง

การเปลี่ยนแปลงด้านคํา

การเปลี่ยนแปลงด้านไวยากรณ์

การเปล่ียนแปลงดา้นเสียง

การกลมกลืนเสียง (Assimilation)

การตดัเสียง (Deletion)

การเติมเสียง (Addition)

การสบัเสียง (Metathesis)

การเปล่ียนเสียง (Sound Change)

การผลกัเสียง (Dissimilation)

การกลมกลืนเสียง (Assimilation)

คือการท่ีเสียงหน่ึงเปล่ียนไปเหมือนหรือคล้ายคลึงกบัเสียงท่ีแวดล้อมโดยทัว่ไปเกิดขึน้ท่ีช่วงต่อระหว่างพยางค ์ซ่ึงการกลมกลืนเสียงจะช่วยให้สะดวกในการออกเสียง

การกลมกลืนเสียงตามเสียงหน้า (Progressive Assimilation)

คือหน่วยเสียงท่ีปรากฏอยู่ข้างหลงัเปล่ียนแปลงเสียงไปเหมือนหรือคล้ายคลึงกบัหน่วยเสียงท่ีมาข้างหน้า

สิบเอด็ สิบเบด็

อย่างไร ยงัไง

อย่างน้ี อย่างงี้

จกัษุ จกัขุ

การกลมกลืนเสียงตามเสียงหลงั (Regressive Assimilation)

คือหน่วยเสียงท่ีปรากฏอยู่ข้างหน้าเปล่ียนแปลงเสียงไปเหมือนหรือคล้ายคลึงกบัหน่วยเสียงท่ีตามมาข้างหลงั

เต้าเจีย้ว เจ้าเจีย้ว

อมาตย อ ามาตย์

อมฤต อ ามฤต

การกลมกลืนเสียงร่วมกนั (Reciprocal Assimilation)

คือการเปล่ียนแปลงเสียงทัง้หน่วยเสียงท่ีอยู่ข้างหน้าและหน่วยเสียงท่ีตามมาข้างหลงัต่างมีอิทธิพลร่วมกนัท่ีท าให้เสียงเปล่ียนแปลง

ทีเดียว เชียว

หรือไม่ ไหม

ฉันใด ไฉน

การตดัเสียง (Deletaion)

• การเปล่ียนแปลงเสียงท่ีหน่วยเสียงใดหน่วยเสียงหน่ึงหรือหลายหน่วยเสียงถกูตดัออกไปจากค าหรือพยางค ์มกัเกิดในกรณ๊ท่ีเป็นหน่วยเสียงในพยางคไ์ม่เน้น หรือไม่ลงน ้าหนัก หรือมีหน่วยเสียงซ า้กนั

อนัหน่ึง อน่ึง

ตวัขาบ ตะขาบ

มหาวิทยาลยั มหาลยั

หอพระไตรปิฎก หอไตร

การเติมเสียง (Addition)

การเปล่ียนแปลงเสียงโดยการเพ่ิมหน่วยเสียงหรือกลุ่มหน่วยเสียงเข้าไปในค าเพ่ือความสะดวกในการออกเสียง

เหย่ียว อีเหย่ียว

สกุใส อีสกุอีใส

เสื้อ เสื้อแสง

นกจาบ นกกระจาบ

การสบัเสียง (Metathesis)

การเปล่ียนแปลงเสียงท่ีเกิดขึน้โดยหน่วยเสียงในค าสบัเปล่ียนต าแหน่งกนั

ตะกรดุ กะตดุ

ตะกร้า กะต้า

ก าจดั จ ากดั

การเปล่ียนเสียง (Sound Change)

การเปล่ียนแปลงเสียงท่ีเกิดขึน้โดยหน่วยเสียงใดหน่วยเสียงหน่ึงในค าหรือพยางคถ์กูแทนท่ีด้วยหน่วยเสียงอ่ืนๆ

ข้าเศิก ข้าศึกโสง สองโนน นอนสีน สิน

การผลกัเสียง (Dissimilation)

การเปล่ียนเสียงท่ีเกิดขึน้โดยหน่วยเสียงท่ีอยู่ใกล้กนัเดิมมีลกัษณะเหมือนกนัหรือคล้ายคลึง แล้วหน่วยเสียงใดหน่วยเสียงหน่ึงเปล่ียนไปมีลกัษณะท่ีแตกต่างออกไป

เรื่อยๆ ระเรื่อยล่ิวล่ิว ละล่ิวจริงจริง จริงจงั

การเปล่ียนแปลงดา้นค า

การเปล่ียนแปลงในคลงัค า

การเปล่ียนแปลงรปูค า

การเปล่ียนแปลงในคลงัค า

• จ านวนในคลังค าลดลง

• จ านวนในคลังค าเพิ่มขึน้

การเปล่ียนแปลงรปูค า

• การเปล่ียนแปลงการเรียงล าดบัในการประกอบค า– กลุ้มกลดั กลดักลุ้ม

– ตัง้แต่ง แต่งตัง้

– อ่อนใจ ใจอ่อน

• การเปล่ียนแปลงหน้าท่ีและการประกอบค า– จด(กริยา) หมาย(นาม) จดหมาย (นาม)

– ชอบ (กริยา) กล (นาม) ชอบกล (คณุศพัท)์

การเปล่ียนแปลงดา้นไวยากรณ์

• เป็นการเปล่ียนแปลงต าแหน่งของค าในวลีหรือการเปล่ียนแปลงการเรียงค า หรืออาจมีหน่วยไวยากรณ์ใหม่เกิดขึน้หรือมีหน่วยไวยากรณ์เดิมลดลง

จบัได้ตวั จบัตวัได้

ยิงระดม ระดมยิง

ต ารวจ 3 นาย 3 ต ารวจ

การเปล่ียนแปลงดา้นความหมาย

• ความหมายกว้างออก

ไทยดัง้เดิม ไทยกรงุเทพฯ

ขาน “พดู,กล่าว” พดู, กล่าว

ตอบรบัช่ือ

รกัษา “ดแูล” ดแูล

เยียวยา

• ความหมายแคบเข้า

ไทยดัง้เดิม ไทยกรงุเทพฯ

บา้น “หมู่บา้น” เรือน 1 หลงั

ข่ี “ม้า, รถ, เรือ,แคร่” ม้า, รถจกัรยาน

• ความหมายย้ายท่ี

ไทยดัง้เดิม ไทยกรงุเทพฯ

ส าส่อน “มาจากท่ีต่างๆ” ยุ่งเก่ียวทางเพศกบัใคร

หลายๆ คนในระยะเวลา

เดียวกนั