9
แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 หนวยการเรียนรูที1 โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - 6 เรื่อง อนุภาคมูลฐานของอะตอมและสัญลักษณนิวเคลียร เวลา 2 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด อะตอมมีแบบจําลองไดหลายแบบ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงมาตลอดจนถึงปจจุบัน โดยภายใน อะตอมจะมีอนุภาคมูลฐาน คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน สัญลักษณนิวเคลียรเปน ความสัมพันธของเลขมวลกับเลขอะตอม 2. ตัวชี้วัด ว 3.1 ม.4-6/1 สืบคนขอมูลและอธิบายโครงสรางอะตอมและสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ ว 8.1 ม.4-6/1 - ม.4-6/12 3. ผลการเรียนรูอาเซียน - 4. จุดประสงคการเรียนรู 4.1 ดานความรู (K) 1) อธิบายสมบัติเฉพาะตัวของอนุภาคมูลฐานของอะตอมได 4.2 ดานทักษะ/กระบวนการ (P) 1) สามารถเขียนสัญลักษณนิวเคลียรได 4.3 คุณลักษณะ (A) 1) มีความใฝเรียนรู 2) มีความมุงมั่นในการทํางาน 3) มีจิตสาธารณะและทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค 5. สาระการเรียนรู 5.1 อนุภาคมูลฐานของอะตอมและสัญลักษณนิวเคลียร 1) เลขอะตอม เลขมวล และการเขียนสัญลักษณนิวเคลียร 2) ไอโซโทป ไอโซบาร และไอโซโทน 6. สมรรถนะสําคัญ 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร 6.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห - ทักษะการคิดสรางสรรค

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3

Embed Size (px)

Citation preview

แผนการจัดการเรียนรูที่ 3

หนวยการเรียนรูที่ 1 โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - 6

เรื่อง อนุภาคมูลฐานของอะตอมและสัญลักษณนิวเคลียร เวลา 2 ช่ัวโมง

1. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด

อะตอมมีแบบจําลองไดหลายแบบ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงมาตลอดจนถึงปจจุบัน โดยภายใน

อะตอมจะมีอนุภาคมูลฐาน คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน สัญลักษณนิวเคลียรเปน

ความสัมพันธของเลขมวลกับเลขอะตอม

2. ตัวช้ีวัด

ว 3.1 ม.4-6/1 สืบคนขอมูลและอธิบายโครงสรางอะตอมและสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ

ว 8.1 ม.4-6/1 - ม.4-6/12

3. ผลการเรียนรูอาเซียน -

4. จุดประสงคการเรียนรู

4.1 ดานความรู (K)

1) อธิบายสมบัติเฉพาะตัวของอนุภาคมูลฐานของอะตอมได

4.2 ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1) สามารถเขียนสัญลักษณนิวเคลียรได

4.3 คุณลักษณะ (A)

1) มีความใฝเรียนรู

2) มีความมุงมั่นในการทํางาน 3) มีจิตสาธารณะและทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค 5. สาระการเรียนรู

5.1 อนุภาคมูลฐานของอะตอมและสัญลักษณนิวเคลียร

1) เลขอะตอม เลขมวล และการเขียนสัญลักษณนิวเคลียร

2) ไอโซโทป ไอโซบาร และไอโซโทน

6. สมรรถนะสําคัญ

6.1 ความสามารถในการสื่อสาร

6.2 ความสามารถในการคดิ

- ทักษะการคิดวิเคราะห

- ทักษะการคิดสรางสรรค

6.3 ความสามารถในการแกปญหา

6.4 ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

- กระบวนการทํางานกลุม

7. คณุลักษณะอันพงึประสงค

7.1 มีวินัย

7.2 ใฝเรียนรู

7.3 มุงมั่นในการทํางาน

7.4 มีจิตสาธารณะ

8. คานิยม 12 ประการ

8.1 ใฝรู ใฝเรียน

8.2 มีระเบียบ เคารพกฎระเบียบ

8.3 มีสติ รูคิด รูทํา

8.4 รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

8.5 มีความเขมแข็งทั้งรางกายและจิตใจ

8.6 คํานึงถึงผลประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตน

9. ภาระงาน/ชิ้นงาน

9.1 ใบงานที่ 3.1 เรื่อง อนุภาคมูลฐานของอะตอมและสัญลักษณนิวเคลียร

9.2 ใบงานที่ 3.2 เรื่อง ไอโซโทป ไอโซบาร และไอโซโทน

9.3 ใบงาน เรื่อง การวิเคราะหหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่นํามาใชในกระบวนการเรียนรู

10. กิจกรรมการเรียนรู

ช่ัวโมงท่ี 1

1) แจงสาระการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวัง จุดประสงคการเรียนรู แนวปฏิบัติในการเรียน เกณฑ

การผานและวิธีการซอมเสริมเมื่อนักเรียนไมผานเกณฑ (มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี ; เพื่อใหนักเรียนรูแนวทาง

ในการเรียนการสอนของครู)

2) ใหนกัเรียนทําแบบฝกหัดกอนเรียน (พอประมาณกับความรูของนักเรียนท่ีมี, พอประมาณกับ

จํานวนนักเรียน) (คานิยม 12 ประการ , ใฝรูใฝเรียน , มีสติ รูคิด รูทํา , รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง)

3) ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 4 คน คละกันตามความสามารถ แตละคนมีหมายเลขประจําตัว

ตั้งแต 1 - 4 (พอประมาณกับระดับความสามารถของนักเรียน) (คานิยม 12 ประการ , มีระเบียบวินัย

เคารพกฎระเบียบ , มีความเขมแข็งท้ังรางกายและจิตใจ , คํานึงถึงผลประโยชนสวนรวมมากกวาสวน

ตน)

4) ครูใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาสัญลักษณของธาตุ ตอไปนี้

5) ครูใหนักเรียนแตละคนในกลุมพูดถึงอักษรที่ปรากฏในสัญลักษณของธาตุ โดยใหแตละคนใชเวลาใน

การพูดเทาๆ กัน (พอประมาณกับเวลาท่ีใช)

6) ครูใหนักเรียนในกลุมรวมกันสรุปสัญลักษณของธาตุ (พอประมาณกับความรูที่มี)

7) ครูใหนักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลการสรุปสัญลักษณของธาตุหนาชั้นเรียน (พอประมาณกับเวลาท่ี

ใช , มีเหตุผล โดยอาศัยการวิเคราะหรวมกันในกลุม)

8) ครูใหความรูเกี่ยวกับเลขอะตอม เลขมวล และการเขียนสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ (มีภูมิคุมกันใน

ตัวท่ีดี โดยครูใหความรูที่ถูกตองแกนักเรียน)

9) นักเรียนแตละกลุมศึกษาความรูเรื่อง เลขอะตอม เลขมวล และการเขียนสัญลักษณนิวเคลียร เพ่ิมเติม

จากหนังสือเรียน แลวประมวลความหมายของ เลขอะตอม เลขมวล และการเขียนสัญลักษณนิวเคลียร

ของธาตุ แลวเขียนลงในใบงานที่ 3.1 เรื่อง อนุภาคมูลฐานของอะตอมและสัญลักษณนิวเคลียร

10) ครูใหตัวแทนของแตละกลุมนําเสนอขอมูลที่ประมวลไดหนาชั้นเรียน ซึ่งควรไดขอมูลที่ประมวลได

ดังนี้

11) ครูใหนักเรียนจับคูกันสรุปเก่ียวกับการเขียนสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ เมื่อไดขอสรุปรวมกันแลว

นําขอมูลไปแลกเปลี่ยนความรูกับเพื่อนในกลุม (พอประมาณกับเวลาที่ใช , พอประมาณกับความรูเดิม

ที่มี , มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี โดยนักเรียนมีการแลกเปลี่ยนความรูกัน ) (คานิยม 12 ประการ , ใฝรู ใฝ

เรียน , มีสติ รูคิด รูทํา , มีระเบียบ เคารพกฎระเบียบ , รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง)

12) นักเรียนจับคูกันทําใบงานที่ 3.1 ที่ยังไมเสร็จสมบูรณอีกครั้ง

13) ครูชมเชยนักเรียนที่ตอบไดถูกตองและทํางานไดดี และชวยแกไขชิ้นงาน ใหกําลังใจแกนักเรียนที่ตอบ

ยังไมถูกตอง หรือชิ้นงานไมสมบูรณ (ภูมิคุมกันในตัวท่ีดี เพื่อสรางขวัญ กําลังใจแกนักเรียนใหเกิดความ

ภาคภูมิใจในการเรียนและเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียน)

ช่ัวโมงท่ี 2

1) ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 4 คน คละกันตามความสามารถ โดยแตละคนมีหมายเลข

ประจําตัว ตั้งแต 1 - 4 (พอประมาณ กับเวลาที่ใชและพอประมาณกับความสามารถของตนเอง)

2) ครูใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาขอมูลสัญลักษณของธาตุ ตอไปนี้ (ดังภาพ)

3) ครูใหนักเรียนแตละคนในกลุมพูดถึงตัวเลขบงชี้ที่เหมือนกันและแตกตางกันที่ปรากฏในสัญลักษณของ

ธาตุกลุมที่ 1 และกลุมที่ 2 ผลลบระหวางเลขมวลกับเลขอะตอมของธาตุ กลุมที่ 3 โดยใหแตละคนใช

เวลาในการพูดเทาๆ กัน (พอประมาณกับเวลาที่ใช)

4) ครูใหนักเรียนในกลุมรวมกันสรุปเรื่องที่เลามา

5) ครูใหความรูเกี่ยวกับความหมายของไอโซโทป ไอโซบาร และไอโซโทนของธาตุ (ภูมิคุมกันในตัวที่ดี

โดยครูถายทอดความรูท่ีถูกตองแกนักเรียน)

6) ครูใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาความรูเรื่อง ไอโซโทป ไอโซบาร และไอโซโทนจากหนังสือเรียน

แลวรวมกันหาขอเหมอืนและขอแตกตางระหวางธาตุในแตละกลุม แลวประมวลลักษณะของธาตุที่เปน

ไอโซโทป ไอโซบาร และไอโซโทนกัน แลวเขียนลงใน ใบงานที่ 3.2 เรื่อง ไอโซโทป ไอโซบาร และ

ไอโซโทน (คานิยม 12 ประการ , มีความใฝรูใฝเรียน , มีสติ รูคิด รูทํา)

7) ครูใหนักเรียนนําเสนอขอมูลที่ประมวลไดหนาชั้นเรียน ซึ่งควรไดขอมูลที่ประมวลได ดังนี้

8) ครูใหนักเรียนจับคูกันสรุปธาตุที่เปนไอโซโทป ไอโซบาร และไอโซโทนกัน เมื่อไดขอสรุปรวมกันแลว

ใหนําขอมูลไปแลกเปลี่ยนความรูกับเพื่อนในกลุม

9) ครูใหนักเรียนจับคูกันทําใบงานท่ี 3.2 ที่ยังไมเสร็จสมบูรณอีกครั้ง

10) ครูและนกัเรียนรวมกันสรุปความรูเรื่อง ไอโซโทป ไอโซบาร และไอโซโทน (ภูมิคุมกันในตัวท่ีดี โดย

นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายและสรุปความรูที่ถูกตองรวมกัน)

11. สื่อการเรียนรู/แหลงเรียนรู

11.1 หนังสือเรียน เคม ีเพ่ิมเติม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6

11.2 ใบงานที่ 3.1 เรื่อง อนุภาคมูลฐานของอะตอมและสัญลักษณนิวเคลียร

11.3 ใบงานที่ 3.2 เรื่อง ไอโซโทป ไอโซบาร และไอโซโทน

12. การวัดและประเมินผล

วิธีการวัด เครื่องมือที่ใชวัด เกณฑการผาน

12.1 สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรมดานคุณลักษณะ

ระดับคุณภาพพอใช - แบบประเมินสมรรถนะผูเรียน

12.2 ตรวจผลงานของกลุม - แบบบันทึกการตรวจผลงานของกลุม

12.3 นักเรียนทําใบงาน 3.1 - ใบงาน 3.1 ผานเกณฑรอยละ 60

12.4 นักเรียนทําใบงาน 3.2 - ใบงาน 3.2 ผานเกณฑรอยละ 60

13. การใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการจัดการเรียนรู

13.1 ผูสอนใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี ภูมิคุมกันในตัวที่ดี

กิจกรรม

การเรียนรู

- มีการกําหนดเนื้อหาสาระ

ตามตัวชี้วัดและครอบคลุม

- จัดกิจกรรมการเรียนรูโดย

กระบวนการกลุมเพ่ือให

เหมาะสมกับวัยของผูเรียน

ซึ่งอยูในระดับชั้น ม.4-6

- จัดกิจกรรมการเรียนรูโดย

การสืบคน การอภิปราย

และการนําเสนอ เพ่ือ

เสริมสรางการคดิวิเคราะห

และการเชื่อมโยงความคิดให

เหมาะสมกับผูเรียน

- จัดการเรียนรูเพ่ือเสริมสราง

คุณลักษณะอยูอยางพอเพียง

ใหกับผูเรียน

- จัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาการ

คิดวิเคราะหของผูเรียน

- กอนการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู ผูสอนวางแผนการ

จัดกิจกรรมการเรียนรู

ชัดเจนและเปนลําดับ

ขั้นตอน

- มีการตรวจสอบและ

ทบทวนเนื้อหาและ

กิจกรรมการเรียนรูกอน

การจัดกิจกรรม

-

เวลา

- ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู

โดยใชกระบวนการกลุม

เพ่ือใหนักเรียนสามารถทํา

กิจกรรมบรรลุวัตถุประสงค

ไดทันตามเวลา

- เพ่ือใหกิจกรรมการเรียนการ

สอนบรรลุตัวชี้วัดไดตามเวลา

ที่กําหนด

- มีการเผื่อเวลาในการทํา

กิจกรรมแตละขั้น เพื่อให

นักเรียนที่มีความสามารถ

ตางกันสามารถทํางานได

เสร็จทันตามเวลา

สื่อ - จัดเตรียมและใชสื่อในการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอน

เหมาะสมกับจํานวนกลุม

นักเรียน โดยใหมีจํานวน

มากกวาจํานวนนักเรียน

อยางนอย 1 ชุด

- เพ่ือใชเปนเครื่องมือในการจัด

กิจกรรมการเรียนรูใหบรรลุ

ตามตัวชี้วัดที่กําหนดไว

เพ่ือใหกระบวนการจัดการ

เรียนรูเกิดความสะดวก

รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

- มีสื่อการสอนเพียงพอและ

มีสํารองในกรณีที่

จําเปนตองใชเพิ่ม

- ใชสื่อที่มีอยางมีคุมคา

แหลงเรียนรู - กําหนดเนื้อหาสาระและ

กิจกรรมการเรียนรูเหมาะสม

กับแหลงเรียนรูในทองถิ่น

-

- เพ่ือใหกิจกรรมการเรียนการ

สอนสอดคลองกับปญหา

สิ่งแวดลอมและ

- มีการสํารวจทองถิ่นกอน

ที่จะนํามาจัดกิจกรรมการ

เรียนรู

ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี ภูมิคุมกันในตัวที่ดี

- เลือกใชแหลงเรียนรูใน

ทองถิ่นเหมาะสมกับผูเรียน

- ทรัพยากรธรรมชาติในทองถ่ิน

ทําใหสามารถเชื่อมโยงความรู

ที่ไดรับจากทองถิ่นของตนเอง

ไดอยางมีประสิทธิภาพ

-

เงื่อนไข

ความรู

- เทคนิคการสอน รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู

- การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง

- หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กับการจัดการเรียนรู

เงื่อนไข

คุณธรรม

- มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่สอน เขาสอนตรงเวลา ปฏิบัติหนาที่สอนเต็มเวลา

เตรียมการสอน และใบความรู/ใบงานประกอบการสอนลวงหนา

- มีความเมตตา ใหความเสมอภาค และยุติธรรมกับนักเรียนทุกคน

- มีความอดทน เสียสละ ใฝรู

13.2 ผูเรียนมีคุณลักษณะ “อยูอยางพอเพียง”

พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี มีภูมิคุมกันในตัวท่ีดี

- นักเรียนแตละกลุมแบงหนาที่ใน

กลุมเหมาะสมกับจํานวนสมาชิก

- นักเรียนสามารถบริหารจัดการ

เวลาในการทํากิจกรรมไดสําเร็จ

ลุลวงตามวัตถุประสงค

- นักเรียนสามารถอธิบายของ

ความหมาย เลขอะตอมไอโซบาร

และสามารถเขียนสัญลักษณ

นิวเคลียร

- นักเรียนมีการวางแผนการทํางาน

อยางรอบคอบดวยความสามัคคี

จนทําใหงานสําเร็จ

เงื่อนไขความรู

- ความรู ความเขาใจเก่ียวกับสมบัติเฉพาะตัวของอนุภาคมูลฐานของอะตอมได

- ความรู ความเขาใจในการเขียนสัญลักษณนิวเคลียรได

เงือนไขคุณธรรม

- มีความรับผิดชอบในหนาที่ไดรับมอบหมาย ทําชิ้นงานดวยความเรียบรอย ถูกตอง และเสร็จตามเวลา

- มีความสามัคคใีนหมูคณะ มีวินัยเปนผูนําและผูตามที่ดีขณะปฏิบัติงานรวมกัน

- รวมกิจกรรมการเรียนรู ดวยตามกระตือรือรน สนใจ ตั้งใจ และใฝเรียนรู

13.3 ผลลัพธ KPA 4 มิติ ที่เก่ียวของกับการอยูอยางพอเพียง พรอมตอการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ

ผลลัพธ สมดุลพรอมตอการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ

ดานวัตถ ุ ดานสังคม ดานสิ่งแวดลอม ดานวัฒนธรรม

ดาน

ความรู

- นักเรียนมีความรู

ความเขาใจเกี่ยวกับ

สมบัติเฉพาะตัวของ

อนุภาคมูลฐานของ

อะตอมไดและเขียน

สัญลักษณนิวเคลียร

ได

- นักเรียนมีความรู

เก่ียวกับการทํางาน

ระบบกลุม

- นักเรียนมีความรู

เก่ียวกับการวาง

แผนการทํางาน

รวมกับผูอ่ืน

- นักเรียนมีความรู

เก่ียวกับภูมิปญญา

ทองถิ่นเพ่ือ

แกปญหาและดูแล

สิ่งแวดลอม

ดานทักษะ - นักเรียนมี

ความสามารถในการ

เลือกใชวัสดุอุปกรณ

และแหลงเรียนรูใน

ทองถิ่นที่เหมาะสม

ในการทํากิจกรรม

- นักเรียนสามารถ

ทํางานรวมกับผูอ่ืน

ในรูปแบบ

กระบวนการกลุม

- นักเรียนมีทักษะใน

การสรางปฏิสัมพันธ

กับผูอ่ืน

- นักเรียนเลือก

แนวทางในการใช

ทรัพยากรธรรมชาติ

ในทองถิ่นไดอยาง

เหมาะสม คุมคาและ

ยั่งยืน

- นักเรียนมี

ความสามารถใน

การเลือกใชภูมิ

ปญญาเพ่ือ

แกปญหาและดูแล

ปญหาสิ่งแวดลอม

ในทองถิ่นได

ดาน

คานิยม

- นักเรียนเห็น

ความสําคัญของการ

ทํางานรวมกับผูอ่ืน

และการทํางานใน

ระบบกลุม

- นักเรียนมีเจตคติที่ดี

ตอวิชาเคมี

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู

ผลการจัดการเรียนรู

1) ความรู (K)…………………………………………………………………………………………….…………………..……

……………………………………………………………………………………………………………………..….……….……

…………………………………………………………………………………………………………………………….…...……

2) ทักษะ/กระบวนการ (P)…………………………………………………………………………………………………...

.………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………….………………………

3) คานิยม/คุณลักษณะ (A)…………………………………………………….…………………………….…………………

………..………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………..…………………………………

ปญหา/อุปสรรค

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……

ขอเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………...………………………………..………….

ความเห็นของหัวหนาสถานศึกษาหรือผูที่ไดรับมอบหมาย

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………

ลงชื่อ…………………......................................

(………………………………………………….)