41
โดย อัญชลี จตุรานน วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๗ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER. ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติ วิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ

ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

Embed Size (px)

DESCRIPTION

นำเสนอวิทยานิพนธ์ หัวข้อ ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ปฏิบัติธรรมชาวต่างชาติ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.buddhabucha.net/thesis

Citation preview

Page 1: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

โดย อัญชลี จตุรานน

วิทยานิพนธน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษา

ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๗

A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER.

ศึกษาความรู และความเขา ใจในการปฏิบัติ วิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔

ของผูปฏิบตัิธรรมชาวตางชาต ิ

Page 2: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

สารบัญ

บทท่ี ๑ - บทนํา

บทท่ี ๒ - วิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ในคัมภีรพระพุทธศาสนา

เถรวาท

บทท่ี ๓ - วิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ในแนวทางของวัดร่ําเปง

(ตโปทาราม)

บทท่ี ๔ - ผลการวิจัยความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน

ตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ

บทท่ี ๕ - สรปุ อภิปรายผลการวิจัย และขอเสนอแนะ

Page 3: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

บทที่ ๑

บทนํา

Page 4: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ปจจุบันมีสํานักวิปสสนากรรมฐานสําหรับ

ชาวไทยและชาวตางชาติเกิดขึ้นมากมาย

แตชาวตางขาติมีขอจํากัดทั้งทางดานภาษา

และความไมคุนเคยในวัฒนธรรมประเพณี แบบแผนในการใชชีวิตในแนวทางของ

พระพุทธศาสนา ทําใหชาวตางชาติอาจจะมีขอจํากัดที่จะทําความเขาใจในการ

ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔

ผูวิจัยจึงมีความตั้งใจที่จะทํางานวิจัยชิ้นนี้เพ่ือศึกษาถึงความรูและความเขาใจในการ

ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ เพ่ือ

เปนประโยชนในการรักษามาตรฐานและพัฒนาการอบรมการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน

ตามแนวสติปฏฐาน ๔ แกผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติใหเกิดความเขาใจที่ถูกตอง

@#$?!*&%$#@??

R

Page 5: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

วัตถุประสงค

เพ่ือศึกษาการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ในคัมภีร

พระพุทธศาสนาเถรวาท

เพ่ือศึกษาการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของ

สํานักปฏิบัติธรรมนานาชาติ วัดร่ําเปง (ตโปทาราม)

เพ่ือศึกษาความเขาใจในวิธีการปฏิบัติและประโยชนของการปฏิบัติ

วิป สสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผู ป ฏิบัติ ธรรม

ชาวตางชาติ สํานักปฏิบัติธรรมนานาชาติ วัดร่ําเปง (ตโปทาราม)

๑.

๒.

๓. R

Page 6: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ขอบเขตการวิจัย

ขอบเขตดานเนื้อหา - ครอบคลุมเร่ืองวิธีการปฏิบัติและประโยชนจากการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตาม

แนวสติปฏฐาน ๔ ในคัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท และในแนวทางของวัดรํ่าเปง (ตโปทาราม)

ขอบเขตดานเอกสาร - ขอมูลปฐมภูมิ (พระไตรปฎก, อรรถกถา) และขอมูลทุติยภูมิ (งานเขียนของ

นักวิชาการทางพระพุทธศาสนา และเอกสารของวัดรํ่าเปง (ตโปทาราม))

ขอบเขตดานประชากร - ผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติที่เขาอบรมวิปสสนากรรมฐานเปนเวลาอยางนอย ๑๐

วัน ณ สํานักปฏิบัติธรรมนานาชาติ วัดรํ่าเปง (ตโปทาราม)

ขอบเขตดานพ้ืนที่ - สํานักปฏิบัติธรรมนานาชาติ วัดรํ่าเปง (ตโปทาราม) อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

ขอบเขตดานระยะเวลา

- เก็บขอมูลดวยการสัมภาษณ เปนระยะเวลา ๓ เดือน ในชวงวันที่ ๑ ตุลาคม – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖

- เก็บขอมูลดวยการสังเกตแบบมีสวนรวม เปนระยะเวลา ๑๐ วัน ในชวงวันที่ ๒๘ ตุลาคม – ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖

Page 7: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

รูปแบบการวิจัย

การวิจัยเอกสาร ศึกษาวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ในคัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท และ

ในแนวทางของวัดรํ่าเปง (ตโปทาราม)

การวิจัยภาคสนาม ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔

ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ

Page 8: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

ประกอบดวยชุดคําถามเพ่ือวัดความรูใน ๔ ระดับแรก

คือความรูจํา ความเขาใจ (การแปลความ การตีความ

และการขยายความ) การปรับใช และการวิเคราะห

แบงชุดคําถามออกเปน ๒ ตอนคือ

ตอนที่ ๑ เปนชุดคําถามเพ่ือวัดความรูความเขาใจใน

วิธีการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔

ตอนที่ ๒ เปนชุดคําถามเพ่ือวัดความรูและความเขาใจ

ในประโยชนของการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนว

สติปฏฐาน ๔

แบบสัมภาษณ (Interview Schedule)

รายละเอียดคําถามแบบสัมภาษณภาษาไทยในภาคผนวก ช

และแบบสัมภาษณภาษาอังกฤษในภาคผนวก ซ

Page 9: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

ใ ช ก า ร สั ง เ ก ต แ บ บ มี ส ว น ร ว ม (Participant

Observation)

เ ป น ก า ร มี ส ว น ร ว ม แ บ บส มบู รณ ( Complete

Participant)

จัดสภาพแวดลอมสําหรับการเก็บรวบรวมขอมูลแบบ

เปนธรรมชาติ (Natural or Field Observation)

ใช รูปแบบการสังเกตแบบเปนทางการ (Formal

Observation)

ใ ช แ บ บ สั ง เ ก ต แ บ บ มี โ ค ร ง ส ร า ง ( Structured

Observation)

แบบสังเกต (Observation Schedule)

ผลการบันทึกจากการสังเกตแบบมีสวนรวมในภาคผนวก ฌ

Page 10: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ไดรับการตรวจความสอดคลองของเคร่ืองมือเก็บรวบรวมขอมูล

กับวัตถุประสงคการวิจัย (Index of Concordance, IOC) จาก

ผูเชี่ยวชาญ ๓ ทาน

พระมหาดวงจันทร คุตฺตสีโล, ดร., นธ.เอก, ปธ. ๕, พธ.บ.

(ศาสนา), M.A. (Buddhist Studies), Ph.D. (Buddhist Studies)

ผศ. ดร. วิโรจน อนิทนนท, ปธ.๗, พธ.บ. (ศาสนา), M.A.

(Philosophy), Ph.D. (Philosopy)

รศ. สนทิ สัตโยภาส, กศ.บ. (การศึกษาบัณฑิต), ศศ.ม. (การสอน

ภาษาไทย)

ไดคาความสอดคลองเฉลี่ย ๐.๘๗ จึงสรุปไดวาเคร่ืองมือเก็บ

รวบรวมขอมูลสําหรับงานวิจัยนี้มีความสอดคลองกับวัตถุประสงค

และมีความนาเชื่อถือในเกณฑสูง สามารถนําไปใชเก็บรวบรวม

ขอมูลสําหรับงานวิจัยได

การประเมินความนาเชื่อถือของเคร่ืองมือวิจัย

แบบประเมินความสอดคลองของเคร่ืองมือวิจัยในภาคผนวก ฏ

Page 11: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย

สรางเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล

วิเคราะหขอมูล สรุปผลการวิจัย เก็บรวบรวมขอมูลภาคสนาม

ศึกษาวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ใน

คัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาทและในแนวทางของ

วัดร่ําเปง (ตโปทาราม)

Page 12: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

การประเมินความรูและความเขาใจ

ขอมูลจากการสัมภาษณ

ยึดขอเท็จจริงจากคัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท

และเอกสารของวัดรํ่าเปง (ตโปทาราม) เพ่ือให

คะแนนแตละคําตอบจากการสัมภาษณ และ

คํานวณหาคาคะแนนเฉล่ีย

ขอมูลจากการสังเกตแบบมีสวนรวม

นํามาอภิปรายเพ่ิมเติมกับผลการวิจัยจากการ

สัมภาษณ เปรียบเทียบความสอดคลองของ

ขอมูลทั้ง ๒ สวน

Page 13: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ตัวอยางการประเมินความรูและความเขาใจ

คําตอบที่อยูนอกเหนือหรือขัดแยงกับกรอบแนวคิดนี้ หรือผูใหสัมภาษณไมสามารถใหคําตอบได จะถูกประเมิน

วาผูใหสัมภาษณไมมีความรูความเขาใจในคําถามนี้

คําตอบที่สามารถประเมินไดวาเปนคําตอบที่มีความรูความเขาใจในคําถามนี้ ตองอยูในกรอบแนวคิดที่วาการ

กําหนดจุดในการนั่งสมาธิคือ การกําหนดรูจุดตางๆของรางกาย ซึ่งจํานวนจุดที่จะตองกําหนดรูจะเพ่ิมขึ้น

ตามลําดับในระยะตางๆ

Jackie Woodall Male American Meditator

Ron Kim Female South Korean Meditator

+1 0 To acknowledge where I am, what am I doing.

(การกําหนดจุดในการน่ังสมาธิคือ การระลกึรูวาอยูท่ีไหน ทําอะไรอยู)

To draw focus (concentration) to specify

point of bodily awareness (การกําหนดจุดในการน่ังสมาธิคือ การดึงสมาธิและความจดจอไปยังจุดท่ีกําหนดบนรางกาย)

What is the meaning of acknowledging the points during the sitting meditation? (การกําหนดจดุในการนั่งสมาธิคืออะไร?)

เกณฑการประเมินความรูและความเขาใจในภาคผนวก ฑ ตัวอยางเอกสารการประเมินความรูและความเขาใจในภาคผนวก ฒ

Page 14: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

บทที่ ๒

วิปสสนากรรมฐาน ตามแนวสติปฏฐาน ๔

ในคัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท

Page 15: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ความหมายของวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔

คื อ หนทางปฏิบั ติ เ พ่ื อการชํ า ระจิ ต ให บริ สุ ทธิ์หนทางหนึ่ ง ใน

พระพุทธศาสนา เปนหนทางที่มุงเนนการเกิดปญญารูแจงเห็นสภาวะตางๆ

ตามความเปนจริง

(คัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท)

วิปสสนากรรมฐาน

หมายถึง ธรรมอันเปนที่ตั้งแหงสติ การต้ังสติกําหนดพิจารณาเห็นส่ิง

ท้ังหลายใหรูเห็นเทาทันตามความเปนจริง มี ๔ หมวดคือ กายานุปสสนา

สติปฏฐาน (การตามระลึกรูกาย) เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน (การตาม

ระลึกรูเวทนา) จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน (การตามระลึกรูจิต) และ ธัมมา

นุปสสนาสติปฏฐาน (การตามระลึกรูธรรม)

สติปฏฐาน

Page 16: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

วิธีปฏิบัติกายานุปสสนาสติปฏฐาน

คือ การกําหนดรูกองรูปวาเปนเพียงกองรูป ไมใชสัตว บุคคล ตัวตน และมีสภาพไมเที่ยง เปนทุกข

ไมใชตัวตน ไมสวยงาม มี ๖ หมวดยอย

(๑) หมวดอานาปานะ พิจารณาลมหายใจเขาออก

(๒) หมวดอิริยาบถ พิจารณาการยืน เดิน นั่ง นอน

(๓) หมวดสัมปชัญญะ พิจารณาอิริยาบถยอยตางๆ

(๔) หมวดปฏิกูลมนสิการ พิจารณาอวัยวะ และความสกปรกของรางกาย

(๕) หมวดมนสิการธาต ุพิจารณาธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน น้ํา ลม ไฟ ในรางกาย

(๖) หมวดนวสิวถิกะ พิจารณาซากศพทั้ง ๙ วาระ และนอมใสตนวาวันหนึ่งตนเองก็ตองเปนเชน

ซากศพนี ้

(คัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท)

กายานุปสสนาสติปฏฐาน

Page 17: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

คือ การกําหนดรูเวทนา คือความรูสึกตางๆ วาเปนเพียงเวทนา มีสภาพไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน

โดยจําแนกเปนความรูสึกสุข (สุขเวทนา) ความรูสึกทุกข (ทุกขเวทนา) และความรูสึกวางเฉย ไมทุกข

ไมสุข (อทุกขมสุขเวทนา)

(คัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท)

วิธีปฏิบัติเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน

เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน

Page 18: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

คือ การกําหนดรูจิตวาเปนอยางไร มีความโลภ โกรธ หลง หรือไม หดหู ฟุงซานหรือไม มีสภาวะอัน

ยิ่งใหญที่ขมกิเลสได (มหัคคตะ) หรือไม มีจิตอ่ืนยิ่งกวา (จิตที่ยังวนเวียนอยูในกามาวจร คือต้ังแตนรก

จนถึงสวรรค) หรือไมมีจิตอ่ืนยิ่งกวา (จิตที่วนเวียนอยูในชั้นรูปพรหมและอรูปพรหม) จิตมีสมาธิ

หรือไม จิตหลุดพน (จากกิเลสทั้งปวง) แลวหรือไม

(คัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท)

วิธีปฏิบัติจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน

จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน

Page 19: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

คือ การพิจารณานามธรรมตางๆที่เกิดขึ้นกับจิต มี ๕ หมวดยอย คือ

(๑) หมวดนิวรณ พิจารณาเคร่ืองก้ันจิตไมใหบรรลุความดีทั้ง ๕ ประการ คือกามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ

อุทธัจจกุกกุจจะ และวิจิกิจฉา

(๒) หมวดขันธ พิจารณากองขันธทั้ง ๕ ที่มีทั้งรูปธรรมและนามธรรมที่ประกอบกันเปนชีวิต ประกอบดวย

รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ

(๓) หมวดอายตนะ พิจารณาอายตนะภายในทั้ง และอายตนะภายนอกทั้ง รวมถึงสังโยชน (กิเลสเคร่ือง

รอยรัดใหติดอยูในกองทุกข ) ที่เกิดขึ้นจากการที่อายตนะกระทบกันนี้

(๔) หมวดโพชฌงค พิจารณาธรรมที่เปนองคแหงการตรัสรูทั้ง ๗ ประการ ประกอบดวย สติ ธัมมวิจยะ

วิริยะ ปติ ปสสัทธิ สมาธิ และอุเบกขา วามีในตนหรือไม พิจารณาเหตุแหงการเกิดและเจริญ

(๕) หมวดสัจจะ คือการพิจาณา ทุกข สมุทัย นิโรธ และมรรค

* ใหพิจารณาใหเห็นสภาวะตางๆตามความเปนจริง วาทุกสิ่งอาศัยกันเกิดขึ้น มีสภาพไมเท่ียง เปนทุกข และไมใช

ตัวตน ไมสวยงาม เพ่ือปลอยวางความยึดม่ันถือม่ันในรางกายและหลุดพนจากกองทุกขท้ังปวง *

(คัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท)

วิธีปฏิบัติธัมมานุปสสนาสติปฏฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน

Page 20: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ประโยชนในปจจุบัน คือประโยชนทางดานรางกายจากการฝกเจริญกายา

นุปสสนาสติปฏฐานและการเดินจงกรม ทําใหรางกายแข็งแรง มีความอดทนตอ

ความทุกขทางกายและทางใจมากขึ้น มีสมาธิที่เขมแข็ง

(คัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาท)

ประโยชนของการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔

ประโยชนในภายภาคหนา คือปญญาที่พัฒนาขึ้นเปนลําดับ อันเปนปญญาแหง

การรูแจงเห็นสภาวะตางๆตามที่เปนจริง สลายความยึดม่ันถือมั่นในตัวตน เพ่ือ

เปนเหตุปจจัยเก้ือหนุนใหผูปฏิบัติไดไปสูภพภูมิที่ดีขึ้นหากยังไมบรรลุมรรคผล

นิพพานในชาติปจจุบัน รวมถึงการบรรลุมรรคผลต้ังแตลําดับแรกคือโสดาปตติ

ผลและพัฒนาขึ้นตามลําดับ

ประโยชนสูงสุด ของการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ คือ

การเกิดปญญาเห็นพระไตรลักษณของทุกสรรพส่ิง ละความยึดมั่นถือมั่นใน

ตัวตน เขาถึงซึ่งมรรคผลนิพพาน อันเปนภาวะที่หลุดพนจากกองทุกขทั้งปวง

Page 21: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

บทที่ ๓

วิปสสนากรรมฐาน ตามแนวสติปฏฐาน ๔

ในแนวทางของวัดร่ําเปง (ตโปทาราม)

Page 22: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

วัดร่ําเปง (ตโปทาราม) เปนสํานักวิปสสนากรรมฐานประจําจังหวัดเชียงใหม แหงที่ ๒

วัดร่ําเปง (ตโปทาราม) อยูภายใตการดูแลของพระครูภาวนาวิรัช (สุพันธ อาจิณสีโล) เจาอาวาส

วัดร่ําเปง (ตโปทาราม) มีการอบรมการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ดวยวิธีการ

กําหนดพองหนอ ยุบหนอ ใหแกผูปฏิบัติธรรมชาวไทยและชาวตางประเทศอยางตอเนื่องกันตลอดป

ไมขาดสาย

วัดร่ําเปง (ตโปทาราม

Page 23: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

อธิบายหมวดตางๆในสติปฏฐาน ๔ โดยนํามาปรับเขากับหลักการปฏิบัติของ

หมวดตางๆ ตามแนวทางของวัดรํ่าเปง (ตโปทาราม) อันเปนการอธิบายความที่

รวมทั้งการอธิบายความหมายและอธิบายวิธีการปฏิบัติไวในคราวเดียวกัน เชน

กายานุปสสนาสติปฏฐาน ไดแกการใชสติกําหนดรูอาการที่ปรากฏทางกาย

หรือรูปขันธ เชน การเดินจงกรม ขวายางหนอ ซายยางหนอ และการกําหนด

ลมหายใจเขาออก รูอาการพองยุบของทอง เชน พองหนอ ยุบหนอ

ความหมายของวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔

(วัดร่าํเปง (ตโปทาราม))

อธิบายความหมายตามพุทธพจน

มีการอธิบายขยายความใน ๒ ลักษณะดังนี้คือ

“สติปฏฐาน ๔ คือการเอาสติมากําหนดท่ีกาย เวทนา จิต และธรรม”

อธิบายหมวดตางๆในสติปฏฐาน ๔ โดยยกพุทธพจนจากมหาสติปฏฐานสูตร

อธิบายความหมายพรอมวิธีปฏิบัติ

Page 24: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

เร่ิมจากการกราบสติปฏฐาน คือการกราบพระรัตนตรัย

ดวยการกําหนดรูอาการทางกายอยางละเอียด เปนการ

เตรียมรางกายและจิตใจใหพรอมกับการปฏิบัติอยางเต็ม

รูปแบบตอไป จากนั้นจึงเดินจงกรมและนั่งสมาธิสลับกัน

อยางตอเนื่องตลอดวัน เพ่ิมลําดับขั้นในการปฏิบัติเปน

รายบุคคลตามความเหมาะสม นอกจากนี้ก็มีการกําหนด

อิริยาบถยอยระหวางวัน คือการกําหนดอิริยาบถตางๆที่

รางกายเคล่ือนไหวในระหวางวันต้ังแต ต่ืนนอน ทํา

กิจกรรมตางๆระหวางวันจนถึงเขานอน โดยกําหนดรูการ

เคล่ือนไหวรางกาย การคู การเหยียด และการขยับสวน

ตางๆของรางกายนั่นเอง

* การกําหนดทุกๆอาการ ใหพิจารณารูชัดตามความเปนจริงวา มี

เพียงสภาวธรรมที่เกิดข้ึนแลวก็ดับไป ไมเทีย่งเปนทุกข ไมใชตัวตน *

วิธีปฏิบัติกายานุปสสนาสติปฏฐาน

(วัดร่าํเปง (ตโปทาราม))

กายานุปสสนาสติปฏฐาน

รายละเอียดวิธีการกราบสติปฏฐาน การเดินจงกรม การ

นั่งสมาธิ และการกําหนดอิริยาบถยอย ในหัวขอ ๓.๓.๑

Page 25: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

เมื่อมีเวทนา คือความรูสึกใดๆปรากฏชัดขึ้นมาใหหยุด

กําหนดอาการของอิริยาบถนั้นๆ ไมวาจะเปนการเดินหรือ

อาการพอง-ยุบ ขณะนั่งนั้นกอน และใหมากําหนดรูอยูที่

อาการของเวทนาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ทั้งทางกายและ

ทางใจ โดยกําหนดไปตามความรูสึกที่เกิดขึ้นจริงขณะนั้น

เชน เจ็บหนอ เมื่อยหนอ ทุกขใจหนอ เฉยๆหนอ เปนตน

โดยใหตามกําหนดไปเร่ือยๆ จนกระทั่งเห็นวาอาการของ

เวทนานั้นเบาลง จางลง ก็ใหกลับมากําหนดอยูที่อาการ

เดินหรือนั่งที่ปฏิบัติอยูในขณะนั้น

* การกําหนดทุกๆอาการ ใหพิจารณารูชัดตามความเปนจริงวา มี

เพียงสภาวธรรมที่เกิดข้ึนแลวก็ดับไป ไมเทีย่งเปนทุกข ไมใชตัวตน *

วิธีปฏิบัติเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน

(วัดร่าํเปง (ตโปทาราม)) เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน

เจบ็หนอๆๆ

เม่ือยหนอๆๆ

ทุกขหนอๆๆ

รายละเอียดวิธีการปฏิบัติเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน

ในหัวขอ ๓.๓.๓

Page 26: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

การตามกําหนดรูอาการตางๆที่ปรากฏทางจิต เชน

ในขณะที่กําลังกําหนดรูอิริยาบถตางๆอยูนั้น บางคร้ังจิต

อาจจะไมอยูกับอาการที่กําลังกําหนดน้ัน แตไปคิดถึง

เร่ืองราวตางๆ ทั้งในอดีตและอนาคตบาง เร่ืองดีบาง เร่ือง

ไมดีบาง คิดถึงบุคคลตางๆบาง หรือถูกความโลภ โกรธ

หลงเขาครอบงําบาง ใหตามกําหนดรูอาการตางๆที่เกิด

ขึ้นกับจิตในขณะนั้น เชน “คิดถึงหนอ” “คิดหนอ”

“โกรธหนอ” “อิจฉาหนอ” เปนตน จนกระทั่งเห็นวา

อาการนั้นๆของจิตลดนอยลง จางลง หรือไมใสใจแลว ให

กลับมากําหนดอยูที่อาการเดินหรืออาการพอง – ยุบ ของ

ทองขณะนั่งนั้น

* การกําหนดทุกๆอาการ ใหพิจารณารูชัดตามความเปนจริงวา มี

เพียงสภาวธรรมที่เกิดข้ึนแลวก็ดับไป ไมเทีย่งเปนทุกข ไมใชตัวตน *

วิธีปฏิบัติจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน

(วัดร่าํเปง (ตโปทาราม)) จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน

คิดหนอๆๆ

โกรธหนอๆๆ

อิจฉาหนอๆๆ

รายละเอียดวิธีการปฏิบัติจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน

ในหัวขอ ๓.๓.๕

Page 27: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

การตามกําหนดรูธรรม คือนิวรณทั้ง ๕ ประการที่

เกิดขึ้นในอารมณของผูปฏิบัติ อันประกอบดวยกาม

ฉันทะ (ความพอใจในกามคุณ) พยาบาท (ความคิดราย)

ถีนมิทธะ (ความหดหูและเซื่องซึม) อุทธัจจกุกกุจจะ

(ความฟุงซานและรอนใจ) และวิจิกิจฉา (ความลังเล

สงสัย) เมื่อนิวรณตัวใดเกิดขึ้นก็ใหตามกําหนดรูไปเร่ือยๆ

เชน “พอใจหนอ” “คิดรายหนอ” “หดหูหนอ” “ฟุงซาน

หนอ” “สงสัยหนอ” เปนตน จนอาการที่เกิดขึ้นดังกลาว

ขางตนเบาลง จางลง หรือไมใสใจแลวใหกลับมากําหนด

ที่อาการเดิน หรืออาการพอง – ยุบขณะนั่งนั้น * การกําหนดทุกๆอาการ ใหพิจารณารูชัดตามความเปนจริงวา มี

เพียงสภาวธรรมที่เกิดข้ึนแลวก็ดับไป ไมเทีย่งเปนทุกข ไมใชตัวตน *

วิธีปฏิบัติธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน

(วัดร่าํเปง (ตโปทาราม)) ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน

ชอบใจหนอๆๆ

ไมพอใจหนอๆๆ

สงสัยหนอๆๆ

ฟุงหนอๆๆ

งวงหนอๆๆ

รายละเอียดวิธีการปฏิบัติธัมมานุปสสนาสติปฏฐานในหัวขอ ๓.๓.๗

Page 28: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ประโยชนของการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔

(วัดร่าํเปง (ตโปทาราม))

ประโยชนในปจจุบัน คือประโยชนจากการเดินจงกรมที่มีตอรางกายและการเพ่ิมกําลังสมาธิ

ประโยชนจากการเจริญสติที่ทําใหสติมีกําลังมากขึ้น ผูปฏิบัติมีความสุขและมีความโนมเอียง

ไปในทางที่ดีขึ้นเร่ือยๆ

ประโยชนในภายภาคหนา คือการพัฒนาปญญาละความเห็นผิดในการเห็นรูปนามเปนสภาพ

เที่ยง สวยงาม เปนสุข และเปนตัวตน อันเปนการสะสมเหตุปจจัยในการไปสูภพภูมิที่ดีขึ้น

ประโยชนสูงสุด (สอนตามพุทธพจน) “ทางนี้เปนทางเอก เปนที่ไปของบุคคลเดียว ที่ไปแหง

เดียว เพ่ือความหมดจดพิเศษของสัตวทั้งหลาย เพ่ือกาวลวงความโศก ความรํ่าไรรําพัน เพ่ือ

บรรลุถึงเญยธรรมคืออริยมรรคที่ขจัดเสียซึ่งความทุกขและโทมนัส ใหถึงซึ่งพระนิพพาน” คือ

เมื่อผูปฏิบัติไดพัฒนาปญญาไปตามลําดับจนสามารถปลอยความยึดมั่นถือมั่นในรูปนามได

ทั้งหมด ก็จะบรรลุถึงซึ่งพระนิพพานอันเปนเปาหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนาในที่สุด

Page 29: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

• ชวงการอบรมกอนเขาพิธีรับพระกรรมฐาน

• การดูการสาธิตวิธีการปฏิบัติในชวงหลังพิธีรับพระกรรมฐาน

• การฟงการทบทวนความรูในการรวมกลุมปฏิบัติธรรมวันแรก

• การฟงพระวิปสสนาจารยอธิบายในชวงการสอบอารมณ

การเกิดความรูและความเขาใจของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ (วัดร่ําเปง (ตโปทาราม))

• การสอบถามขอสงสัยเพ่ือทบทวนความรูในชวงการรวมกลุมปฏิบัติในวันแรก

• การคิดพิจารณาในการรายงานผลการปฏิบัติและสอบถามขอสงสัยกับพระ

วิปสสนาจารยในการสอบอารมณ

• การเริ่มฝกปฏิบัติในชวงการสาธิตวิธีการปฏิบัติ

• การฝกปฏิบัติดวยตนเองทุกวัน

สุตมยปญญา

จินตามยปญญา

ภาวนามยปญญา

Page 30: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

บทที่ ๔

ผลการวิจัยความรูและความเขาใจในการปฏิบตั ิ

วิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔

ของผูปฏิบัตธิรรมชาวตางชาติ

Page 31: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ผลการวิจัยความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ

งานวิจัยน้ีใชหลักการประเมินความรูและความเขาใจดวยการ

ยึดขอเท็จจริงตามคัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาทและคําสอน

ของวัดรํ่าเปง (ตโปทาราม) เปนหลัก

นําขอมูลที่เก็บรวบรวมจากการสัมภาษณและการสังเกตมา

เทียบกับขอเท็จจริงในคัมภีรพระพุทธศาสนาเถรวาทและคํา

สอนของวัดรํ่าเปง (ตโปทาราม) ผูวิจัยไดประเมินคําตอบทุก

ขอของผูใหสัมภาษณทุกทานตามเกณฑการประเมินความรู

และความเขาใจในภาคผนวก ฑ

ใสคะแนนและคํานวณผลการวิจัยในตารางตามภาคผนวก

ไดผลการวิจัยความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนา

กรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ดังนี้

Page 32: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ผลการวิจัยความรูและความเขาใจในวิธีการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ

คะแนนเฉลี่ย

กลุมตัวอยาง

คําถามหลักๆเก่ียวกับวิธีการปฏิบัติวิปสสนา

กรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔

คําถามเก่ียวกับความหมายหรือคําจํากัดความ

74%

61%

4%

16%

19%

ระดับความรูความเขาใจ จํานวนกลุมตัวอยาง

ดีมาก

ดี

ปานกลาง

นอย

คําถามที่กลุมตัวอยางมี

ความรูและความเขาใจมาก

คําถามที่กลุมตัวอยางมี

ความรูและความเขาใจนอย

Page 33: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ผลการวิจัยความรูและความเขาใจในประโยชนของการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ

คะแนนเฉลี่ย

กลุมตัวอยาง

คําถามหลักๆเก่ียวกับประโยชนในปจจุบันและ

ประโยชนในภายภาคหนา

คําถามเก่ียวกับประโยชนสูงสุด

71%

54%

32%

14%

ระดับความรูความเขาใจ จํานวนกลุมตัวอยาง

ดีมาก

ปานกลาง

นอย

คําถามที่กลุมตัวอยางมี

ความรูและความเขาใจมาก

คําถามที่กลุมตัวอยางมี

ความรูและความเขาใจนอย

Page 34: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

บทที่ ๕

สรุป อภิปรายผลการวิจัย

และขอเสนอแนะ

Page 35: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

สรุปผลการวิจัย

ผลการวิจัยเรื่องความรูและความเขาใจในวิธีการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตาม

แนวสติปฏฐาน ๔ ไดคะแนนเฉล่ียของกลุมตัวอยางท้ังหมดคือรอยละ ๗๔ ของ

คะแนนเต็ม อยูในเกณฑมีความรูความเขาใจในระดับดี มีกลุมตัวอยางที่มีความรู

และความเขาใจในระดับดีมากจํานวนรอยละ ๖๑ ระดับดีจํานวนรอยละ ๔ ระดับ

ปานกลางจํานวนรอยละ ๑๖ และระดับนอยจํานวนรอยละ ๑๙

ผลการวิจัยเรื่องความรูและความเขาใจในประโยชนของการปฏิบัติ

วิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ไดคะแนนเฉล่ียของกลุมตัวอยาง

ทั้งหมดคือรอยละ ๗๑ ของคะแนนเต็ม อยูในเกณฑมีความรูความเขาใจใน

ระดับดี มีกลุมตัวอยางที่มีความรูและความเขาใจในระดับดีมากจํานวนรอยละ

๕๔ ระดับปานกลางจํานวนรอยละ ๓๒ และระดับนอยจํานวนรอยละ ๑๔

Page 36: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

พบวากลุมตัวอยางสวนมากมีความตั้งใจในการปฏิบัติธรรม และปฏิบัติไดถูกตองตามที่ไดรับการอบรมมา

สอดคลองกับผลการวิจัยจากการสัมภาษณที่มีคาคะแนนเฉล่ียของกลุมตัวอยางอยูในเกณฑดี

กลุมตัวอยางมีความรูและความเขาใจเก่ียวกับการใหนิยามความหมายของวิธีการนอย แตก็สามารถ

อธิบายวิธีการปฏิบัติไดถูกตอง ซึ่งมีประโยชนมากกวาการที่รูคํานิยามความหมายแตไมเขาใจวิธีปฏิบัติ

กลุมตัวอยางมีความรูและความเขาใจในประโยชนสูงสุดของการปฏิบัติในระดับนอย ซ่ึงผูวิจัยเห็นวา

ความรูและความเขาใจในประโยชนปจจุบันและประโยชนภายภาคหนาก็มีผลมากพอที่จะทําใหผูปฏิบัติ

มีแรงจูงใจและความต้ังใจท่ีจะฝกปฏิบัติตอไปอยางตอเนื่อง และศึกษาหาความรูและความเขาใจเก่ียวกับ

การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ มากขึ้นตอไปในอนาคต

อภิปรายผลการวิจัย

ผลการวจิัย

จากการสัมภาษณ

ผลบนัทึกจากการ

สังเกตแบบมีสวนรวม

Page 37: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

(๑) การใหโอวาทหลังพิธีรบัพระกรรมฐาน

(๒) ในระหวางการสอบอารมณ

(๓) การแจกเอกสารรายละเอียดหลังจบการฝกอบรม

ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลวิจัยไปใช

๑.) ความหมายของการกําหนด

ระยะการเดิน

๒.) ความหมายของการกําหนด

จุดในการน่ังสมาธิ

๓.) การกําหนดอิริยาบถยอยมี

วิธีการอยางไร

๔.) ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ย

เวทนา จิต และธรรม

๕.) ประโยชนสู งสุดของการ

ปฏิบัติ

วัดรํ่าเปง (ตโปทาราม) สามารถใหความรูแกผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติเพ่ิมเติมในชุดคําถามที่มีผลการวิจัย

สรุปวากลุมตัวอยางมีความรูความเขาใจอยูในเกณฑนอยดวยการใหความรูเพ่ิมเติมในหัวขอเหลานี้ใหแกผู

ปฏิบัติธรรมชาวตางชาติไดในหลายโอกาส เชน

Page 38: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

การเลือกวิธีการเก็บขอมูล - ผูวิจัยสามารถเลือกวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลไดมากกวา ๑ วิธี โดยอาจจะใช

ขอมูลจากการสัมภาษณหรือการสํารวจเปนหลักในการประเมินผลการวิจัย และใชขอมูลจากการสังเกตแบบ

มีสวนรวมเปนขอมูลเสริมในการอภิปรายผลการวิจัย

การเลือกกลุมตัวอยาง - ผูวิจัยตองคํานึงถึงชวงเวลาที่จะใชในการเก็บขอมูลวาชวงเวลานั้นๆมีจํานวนกลุม

ตัวอยางเพ่ือการเก็บรวบรวมขอมูลเปนจํานวนเพียงพอหรือไม และคํานึงถึงขอจํากัดตางๆที่อาจเกิดขึ้นใน

กระบวนการเก็บรวบรวมขอมูล

ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยตอไป

การดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล - หากผูทําวิจัยมีขอจํากัดในเร่ืองเวลา

และไมสามารถดําเนินการเก็บขอมูลดวยการสัมภาษณได ก็ควรเลือกใช

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการสํารวจ และเสนอแนะใหใชการเก็บ

รวบรวมขอมูลดวยการสังเกตแบบมีสวนรวมควบคูไปกับการเก็บขอมูล

ดวยวิธีหลักไมวาจะเปนการสัมภาษณหรือการสํารวจก็ตาม

Page 39: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ขอเสนอแนะทางเลือกหัวขอวิจัย

ศึกษาความพึงพอใจในการฝกอบรมปฏิบัติวิปสสนา

กรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรม

ชาวตางชาติ ณ วัดร่ําเปง (ตโปทาราม)

ศึกษาแรงจูงใจในการมาฝกอบรมปฏิบัติวิปสสนา

กรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรม

ชาวตางชาติ ณ วัดร่ําเปง (ตโปทาราม)

ศึกษาตัวแปรที่มีผลตอความรูและความเขาใจในการ

ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผู

ปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ

เปรียบเทยีบความรูและความเขาใจในการปฏิบัติ

วิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติ

ธรรมชาวตางชาติที่มีประสบการณในการปฏิบัติธรรม

และผูปฏบัิติธรรมชาวตางชาติที่ไมมีประสบการณใน

การปฏิบัติธรรม

ศึกษาเปรียบเทียบแนวทางการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน

ตามแนวสติปฏฐาน ๔ ในพระไตรปฎกกับคําสอนของวัด

ร่ําเปง (ตโปทาราม)

Page 40: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

กิตติกรรมประกาศ

• พระครูพิพิธสุตาทร, ดร. และ ผศ. ดร. เทพประวิณ จันทรแรง

• พระมหาดวงจันทร คุตสีโล, ดร. รศ.สนิท สัตโยภาส และ ดร.วิโรจน อินทนนท

• พระครูภาวนาวิรัช เจาอาวาสวัดร่ําเปง (ตโปทาราม)

• เพ่ือนรวมรุนพุทธศาสตรมหาบัณฑิตรุนที่ ๑๕

• เจาหนาที่บัณฑิตวิทยาลัยทุกทาน

• นายวัชระ และนาง กิซเซลา จตุรานน คุณสุมาลี จตุรานน

• พระนาวี อธิจิตโต (จตุรานน)

อานิสงสและประโยชนที่เกิดจากงานวิจัยนี้ ขอถวายเปนพุทธบูชา ธรรมบูชา และ

สังฆบูชา ขออุทิศผลบุญนี้แดบิดามารดาผูลวงลับ ครูอาจารยทุกทานและสรรพสัตว

ทั้งหลายในทุกภพภูมิ ขอใหทุกทานไดมีโอกาสปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน พัฒนาจิตใจ

ใหถึงเปาหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนาคือพระนิพพานโดยทั่วกัน

ขอกราบ

ขอบพระคุณ

Page 41: ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน

ศึกษาความรูและความเขาใจในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของผูปฏิบัติธรรมชาวตางชาติ A STUDY OF THE KNOWLEDGE AND THE UNDERSTANDING IN THE FOUR MAHASATIPATTHANA MEDITATION PRACTICE OF FOREIGN PRACTICIONER

โดย อัญชลี จตุรานน www.buddhabucha.net/thesis

ดาวนโหลดเอกสารท่ีเก่ียวของ

เอกสารงานวิจัยเต็มรูปแบบ http://www.buddhabucha.net/Thesis.pdf

ตารางบทสัมภาษณ

และคะแนนประเมิน http://www.buddhabucha.net/InterviewSheet.pdf

เอกสารสรุปยองานวิจัย http://www.buddhabucha.net/ThesisSummary.pdf

งานนําเสนอในรูปแบบ

พาวเวอรพอยท http://www.buddhabucha.net/Thesis.pptx

งานนําเสนอในรูปแบบวีดีโอ http://www.youtube.com/user/AnchaleeBuddhaBucha/videos