9
แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 หนวยการเรียนรูที2 พันธะเคมี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - 6 เรื่อง พันธะไอออนิก เวลา 4 ชั่วโมง 1. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด พันธะไอออนิก เปนพันธะเคมีที่เกิดจากการให และรับเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกันของ อะตอม แลวเปลี่ยนอนุภาคเปนไอออนบวก และไอออนลบ แลวจึงยึดเหนี่ยวกันดวยประจุไฟฟา ซึ่ง เกิดขึ้นระหวางอะตอมของโลหะกับอโลหะ 2. ตัวชี้วัด ว 3.1 ม.4-6/4 วิเคราะหและอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึก และในโมเลกุลของสาร ว 8.1 ม.4-6/1 - ม.4-6/12 3. ผลการเรียนรูอาเซียน - 4. จุดประสงคการเรียนรู 4.1 ดานความรู (K) 1) มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับพันธะไอออนิก 2) มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก 4.2 ดานทักษะ/กระบวนการ (P) 1) บอกความหมายของพันธะไอออนิกได 2) อธิบายหลักการเกิดพันธะไอออนิกได 3) เขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได 4) บอกสมบัติของสารประกอบไอออนิกได 4.3 คุณลักษณะ (A) 1) มีความใฝเรียนรู 2) มีความมุงมั่นในการทํางาน 3) มีจิตสาธารณะและทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค 5. สาระการเรียนรู 5.1 ความหมายของพันธะไอออนิก 5.2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 5.3 การเขียนสูตรโครงสรางของสารประกอบไอออนิก

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

แผนการจัดการเรียนรูที่ 6

หนวยการเรียนรูที่ 2 พันธะเคมี ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 - 6

เรื่อง พันธะไอออนิก เวลา 4 ช่ัวโมง

1. สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด

พันธะไอออนิก เปนพันธะเคมีที่เกิดจากการให และรับเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกันของ

อะตอม แลวเปลี่ยนอนุภาคเปนไอออนบวก และไอออนลบ แลวจึงยึดเหนี่ยวกันดวยประจุไฟฟา ซึ่ง

เกิดข้ึนระหวางอะตอมของโลหะกับอโลหะ

2. ตัวช้ีวัด

ว 3.1 ม.4-6/4 วิเคราะหและอธิบายการเกิดพันธะเคมใีนโครงผลึก และในโมเลกุลของสาร

ว 8.1 ม.4-6/1 - ม.4-6/12

3. ผลการเรียนรูอาเซียน -

4. จุดประสงคการเรียนรู

4.1 ดานความรู (K)

1) มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับพันธะไอออนิก

2) มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก

4.2 ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

1) บอกความหมายของพันธะไอออนิกได

2) อธิบายหลักการเกิดพันธะไอออนิกได

3) เขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได

4) บอกสมบัติของสารประกอบไอออนิกได

4.3 คุณลักษณะ (A)

1) มีความใฝเรียนรู

2) มีความมุงมั่นในการทํางาน 3) มีจิตสาธารณะและทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค 5. สาระการเรียนรู

5.1 ความหมายของพันธะไอออนิก

5.2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก

5.3 การเขียนสูตรโครงสรางของสารประกอบไอออนิก

Page 2: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

5.4 การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

5.5 อัตราสวนของไอออนในสารประกอบไออนิก

6. สมรรถนะสําคัญ

6.1 ความสามารถในการสื่อสาร

6.2 ความสามารถในการคดิ

- ทักษะการคิดวิเคราะห

- ทักษะการคิดสรางสรรค

6.3 ความสามารถในการแกปญหา

6.4 ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

- กระบวนการทํางานกลุม

7. คณุลักษณะอันพงึประสงค

7.1 มีวินัย

7.2 ใฝเรียนรู

7.3 มุงมั่นในการทํางาน

7.4 มีจิตสาธารณะ

8. คานิยม 12 ประการ

8.1 ใฝหาความรู

8.2 มีระเบียบ วินัย เคารพกฎระเบียบ

8.3 มีสติ รูคิด รูทํา

8.4 รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

8.5 มีความเขมแข็งทั้งรางกายและจิตใจ

8.6 คํานึงถึงผลประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตน

9. ภาระงาน/ชิ้นงาน

9.1 ใบงานที่ 3.1 เรื่อง พันธะไอออนิกและสมบัติ

9.2 ใบงานที่ 3.2 เรื่อง การเขียนสูตรโครงสรางของสารประกอบไอออนิก

9.3 ใบงานที่ 3.3 เรื่อง สูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

9.4 ใบงานที่ 3.4 เรื่อง อัตราสวนของไอออนในสารประกอบไอออนิก

Page 3: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

10. กิจกรรมการเรียนรู

ช่ัวโมงท่ี 1-2

1) แจงสาระการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวัง จุดประสงคการเรียนรู แนวปฏิบัติในการเรียน เกณฑการ

ผานและวิธีการซอมเสริมเมื่อนักเรียนไมผานเกณฑ (มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี ; เพื่อใหนักเรียนรูแนวทาง

ในการเรียนการสอนของครู)

2) ใหนักเรียนทําแบบฝกหัดกอนเรียน (พอประมาณกับความรูของนักเรียนท่ีมี, พอประมาณกับ

จํานวนนักเรียน) (คานิยม 12 ประการ , ความใฝเรียน หม่ันศึกษาเลาเรียน , ความมีสติ รูคิด)

3) ครูใหนักเรียนดูตัวอยางโครงสรางสารประกอบที่มีพันธะไอออนิก (ภูมิคุมกันในตัวที่ดี ทําให

นักเรียนไดเรียนรูจากตัวอยางจริง)

4) ครูใหนักเรียนรวมกันพิจารณาลักษณะของการเกิดพันธะ ในโครงสรางของสารประกอบไอออนิก

5) ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ลักษณะการเกิดพันธะไอออนิกเปนอยางไร ธาตุที่เขาสรางพันธะ

เปนธาตุประเภทใด เรียกชื่อสารท่ีไดอยางไร และมีสมบัติอะไรบาง (คานิยม 12 ประการ , ความใฝรู ใฝ

เรียน , ความมีสติ รูคิด รูทํา , ความมีระเบียบวินัย , รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง , มีความเขมแข็งท้ังรางกายและจิตใจ)

6) ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน โดยคละความสามารถ เกง ปานกลาง และออน ใหแตละคนมี

หมายเลขประจําตัว ไดแก หมายเลข 1 , 2 , 3 และ 4 ซึ่งเรียกกลุมนี้วา กลุมบาน (พอประมาณกับ

ระดับความสามารถของนักเรียน, พอประมาณกับระดับความรูพื้นฐานของนักเรียน) (คานิยม 12

ประการ , ความใฝรู ใฝเรียน , ความมีสติ รูคิด รูทํา , ความมีระเบียบวินัย เคารพกฎระเบียบ , รูจัก

ดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง , มีความเขมแข็งทั้งรางกายและจิตใจ , เห็นแก

ประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน )

7) ครูใหสมาชิกที่มเีลขประจําตัวหมายเลขเดียวกันของแตละกลุมมาทํางานรวมกัน และทํากิจกรรมใน

หัวขอเดียวกัน ซึ่งเรียกกลุมนี้วา กลุมผูเชี่ยวชาญ (การมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี โดยครูใชวิธีการคัดเลือกเด็ก

เปนกลุมโดยการจับฉลากหมายเลข เพื่อปองกันความขัดแยงและใหนักเรียนยอมรับในสิ่งท่ีตนเองได)

(คานิยม 12 ประการ , ความใฝรู ใฝเรียน , ความมีสติ รูคิด รูทํา , ความมีระเบียบวินัย เคารพ

กฎระเบียบ , รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกจิพอเพียง , มีความเขมแข็งท้ังรางกาย

และจิตใจ , เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน )

8) ครูใหตัวแทนกลุมมารับใบงานตามหมายเลขกลุม ดังนี้

- หมายเลข 1 ศึกษาเรื่อง พันธะไอออนิกและสมบัติของสารประกอบไอออนิกในหนังสือเรียน และ

รวมกันทําใบงานที่ 3.1 เรื่อง พันธะไอออนิกและสมบัติ

- หมายเลข 2 ศึกษาเรื่อง การเขียนสูตรโครงสรางของสารประกอบไอออนิกในหนังสือเรียน และ

รวมกันทําใบงานที่ 3.2 เรื่อง การเขียนสูตรโครงสรางของสารประกอบไอออนิก

Page 4: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

- หมายเลข 3 ศึกษาเรื่อง สูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก ในหนังสือเรียน และรวมกันทํา

ใบงานที่ 3.3 เรื่อง สูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

- หมายเลข 4 ศึกษาเรื่อง อัตราสวนของไอออนในสารประกอบไอออนิกในหนังสือเรียน และรวมกัน

ทําใบงานที่ 3.4 เรื่อง อัตราสวนของไอออนในสารประกอบไอออนิก

ช่ัวโมงท่ี 3-4

1) เมื่อกลุมผูเชี่ยวชาญศึกษาเรื่องที่ไดรับมอบหมายตามเวลาที่กําหนดแลว ใหสมาชิกแตละคนกลับเขา

กลุมบาน (พอประมาณกับเวลาท่ีใชและเนื้อหาที่ไดรับมอบหมายใหศึกษา) (คานิยม 12 ประการ ,

ความใฝรู ใฝเรียน , ความมีสติ รูคิด รูทํา , ความมีระเบียบวินัย เคารพกฎระเบียบ, มีความเขมแข็ง

ทั้งรางกายและจิตใจ)

2) สมาชิกแตละคนในกลุมบาน ถายทอดความรูที่ไดรับใหสมาชิกในกลุมฟงจนครบทุกเรื่อง

3) ครูใหนักเรียนจับคูกัน แลวใหแตละคูรวมกันสรุปสาระสําคัญของเรื่อง พันธะไอออนิก เมื่อไดขอสรุป

รวมกันแลว ใหแตละคูนําขอสรุปมาเปรียบเทียบกับเพ่ือนในกลุม เพ่ือแลกเปลี่ยนความรูกัน (ภูมิคุมกัน

ในตัวท่ีดี โดยครูใหนักเรียนไดจับคูรวมกันสรุปสาระสําคัญของเรื่อง มีการปรึกษาและถายทอดความรู

ซึ่งกนัแลกัน และมีการแลกเปลี่ยนความรูรวมกันกับเพื่อนในช้ันเรียน ) (คานิยม 12 ประการ , ความ

ใฝรู ใฝเรียน , ความมีสติ รูคิด รูทํา , ความมีระเบียบวินัย เคารพกฎระเบียบ, มีความเขมแข็งท้ัง

รางกายและจิตใจ)

4) ครูใหนักเรียนจับคูกัน แลวทําใบงานที่ 3.1- 3.4 ใหเสร็จเรียบรอย

5) ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยคําตอบในใบงาน

6) ครูชมเชยนักเรียนที่ตอบไดถูกตอง และทํางานไดดี พรอมกับปรับแกไขใบงาน และใหกําลังใจแก

นักเรียนที่ตอบไมถูกตอง หรือใบงานไมสมบูรณ (การมีภูมิคุมกันในตัวท่ีดี โดยการชมเชยนักเรียนจะทํา

ใหนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจและเกิดความกระตือรือรนในการเรียนมากข้ึน)

11. สื่อการเรียนรู/แหลงเรียนรู

11.1 หนังสือเรียน เคม ีเพ่ิมเติม 1 ชั้นมัธยมศกึษาปที่ 4-6

11.2 ใบงานที่ 3.1 เรื่อง พันธะไอออนิกและสมบัติ

11.3 ใบงานที่ 3.2 เรื่อง การเขียนสูตรโครงสรางของสารประกอบไอออนิก

11.4 ใบงานที่ 3.3 เรื่อง สูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

11.5 ใบงานที่ 3.4 เรื่อง อัตราสวนของไอออนในสารประกอบไอออนิก

Page 5: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

12. การวัดและประเมินผล

วิธีการวัด เครื่องมือที่ใชวัด เกณฑการผาน

12.1 สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรมดานคุณลักษณะ

ระดับคุณภาพพอใช - แบบประเมินสมรรถนะผูเรียน

12.2 ตรวจผลงานของกลุม - แบบบันทึกการตรวจผลงานของกลุม

12.3 นักเรียนทําใบงานที่ 3.1 - ใบงานที่ 3.1 ผานเกณฑรอยละ 60

12.4 นักเรียนทําใบงานที่ 3.2 - ใบงานที่ 3.2 ผานเกณฑรอยละ 60

12.5 นักเรียนทําใบงานที่ 3.3 - ใบงานที่ 3.3 ผานเกณฑรอยละ 60

12.6 นักเรียนทําใบงานที่ 3.4 - ใบงานที่ 3.4 ผานเกณฑรอยละ 60

13. การใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการจัดการเรียนรู

13.1 ผูสอนใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู

ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี ภูมิคุมกันในตัวที่ดี

กิจกรรม

การเรียนรู

- มีการกําหนดเนื้อหาสาระ

ตามตัวชี้วัดและครอบคลุม

- จัดกิจกรรมการเรียนรูโดย

กระบวนการกลุมเพ่ือให

เหมาะสมกับวัยของผูเรียน

ซึ่งอยูในระดับชั้น ม.4-6

- จัดกิจกรรมการเรียนรูโดย

การสืบคน การอภิปราย

และการนําเสนอ เพ่ือ

เสริมสรางการคดิวิเคราะห

และการเชื่อมโยงความคิดให

เหมาะสมกับผูเรียน

- จัดการเรียนรูเพ่ือเสริมสราง

คุณลักษณะอยูอยางพอเพียง

ใหกับผูเรียน

- จัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาการ

คิดวิเคราะหของผูเรียน

- กอนการจัดกิจกรรมการ

เรียนรู ผูสอนวางแผนการ

จัดกิจกรรมการเรียนรู

ชัดเจนและเปนลําดับ

ขั้นตอน

- มีการตรวจสอบและ

ทบทวนเนื้อหาและ

กิจกรรมการเรียนรูกอน

การจัดกิจกรรม

เวลา

- ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู

โดยใชกระบวนการกลุม

เพ่ือใหนักเรียนสามารถทํา

- เพ่ือใหกิจกรรมการเรียนการ

สอนบรรลุตัวชี้วัดไดตามเวลา

ที่กําหนด

- มีการเผื่อเวลาในการทํา

กิจกรรมแตละขั้น เพื่อให

นักเรียนที่มีความสามารถ

Page 6: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

ประเด็น พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี ภูมิคุมกันในตัวที่ดี

กิจกรรมบรรลุวัตถุประสงค

ไดทันตามเวลา

ตางกันสามารถทํางานได

เสร็จทันตามเวลา

สื่อ - จัดเตรียมและใชสื่อในการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอน

เหมาะสมกับจํานวนกลุม

นักเรียน โดยใหมีจํานวน

มากกวาจํานวนนักเรียน

อยางนอย 1 ชุด และใช

กระดาษรีไซเคิล

- เพ่ือใชเปนเครื่องมือในการจัด

กิจกรรมการเรียนรูใหบรรลุ

ตามตัวชี้วัดที่กําหนดไว

เพ่ือใหกระบวนการจัดการ

เรียนรูเกิดความสะดวก

รวดเร็ว ผูเรียนสามารถเรียนรู

ไดอยางมีประสิทธิภาพ

- มีสื่อการสอนเพียงพอและ

มีสํารองในกรณีที่

จําเปนตองใชเพิ่ม

- ใชสื่อที่มีอยางมีคุมคา

แหลงเรียนรู - กําหนดเนื้อหาสาระและ

กิจกรรมการเรียนรูเหมาะสม

กับแหลงเรียนรูในทองถิ่น

- เลือกใชแหลงเรียนรูใน

ทองถิ่นเหมาะสมกับผูเรียน

- มีการสํารวจทองถิ่นกอน

ที่จะนํามาจัดกิจกรรมการ

เรียนรู

เงื่อนไข

ความรู

- เทคนิคการสอน รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู

- สาระการเรียนรูตามตัวชี้วัดที่กําหนดไวในมาตรฐาน ว 3.1 ม.4-6/6

- การวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง

- หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับ

การจัดการเรียนรู

เงื่อนไข

คุณธรรม

- มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่สอน เขาสอนตรงเวลา ปฏิบัติหนาที่สอนเต็มเวลา

เตรียมการสอน และใบความรู/ใบงานประกอบการสอนลวงหนา

- มีความเมตตา ใหความเสมอภาค และยุติธรรมกับนักเรียนทุกคน

- มีความอดทน เสียสละ ใฝรู

Page 7: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

13.2 ผูเรียนมีคุณลักษณะ “อยูอยางพอเพียง”

พอประมาณ มีเหตุผลที่ดี มีภูมิคุมกันในตัวท่ีดี

- นักเรียนแตละกลุมแบงหนาที่ใน

กลุมเหมาะสมกับจํานวนสมาชิก

- นักเรียนสามารถบริหารจัดการ

เวลาในการทํากิจกรรมไดสําเร็จ

ลุลวงตามวัตถุประสงค

- นักเรียนสามารถอธิบายการเกิด

พันธะไอออนิกได

- นักเรียนสามารถเขียนสูตรและ

เรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได

- นักเรียนสามารถอธิบายสมบัติ

ของสารประกอบไอออนิกได

- นักเรียนมีการวางแผนการทํางาน

อยางรอบคอบดวยความสามัคคี

จนทําใหงานสําเร็จ

เงื่อนไขความรู

- ความรู ความเขาใจเก่ียวกับการเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

- ความรู ความเขาใจเก่ียวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก

- ความรู ความเขาใจเก่ียวกับการบริหารการจัดการภายในกลุม

เงือนไขคุณธรรม

- มีความรับผิดชอบในหนาที่ไดรับมอบหมาย ทําชิ้นงานดวยความเรียบรอย ถูกตอง และเสร็จตามเวลา

- มีความสามัคคใีนหมูคณะ มีวินัยเปนผูนําและผูตามที่ดีขณะปฏิบัติงานรวมกัน

- รวมกิจกรรมการเรียนรู ดวยตามกระตือรือรน สนใจ ตั้งใจ และใฝเรียนรู

Page 8: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

13.3 ผลลัพธ KPA 4 มิติ ที่เก่ียวของกับการอยูอยางพอเพียง พรอมตอการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ

ผลลัพธ สมดุลพรอมตอการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ

ดานวัตถ ุ ดานสังคม ดานสิ่งแวดลอม ดานวัฒนธรรม

ดาน

ความรู

- นักเรียนมีความรู

ความเขาใจการเขียน

สูตรและการเรียกชื่อ

ของสารประกอบไอ

ออนิก

- นักเรียนมีความรู

ความเขาใจเกี่ยวกับ

สมบัติของ

สารประกอบไอออ

นิก

- นักเรียนมีความรู

เก่ียวกับการทํางาน

ระบบกลุม

- นักเรียนมีความรู

เก่ียวกับการวาง

แผนการทํางาน

รวมกับผูอ่ืน

- นักเรียนมีความรู

เก่ียวกับภูมิปญญา

ทองถิ่นเพ่ือ

แกปญหาและดูแล

สิ่งแวดลอม

ดานทักษะ - นักเรียนมี

ความสามารถในการ

เขียนสูตรของ

สารประกอบไอ

ออนิกและสามารถ

เรียกชื่อได

- นักเรียนสามารถ

ทํางานรวมกับผูอ่ืน

ในรูปแบบ

กระบวนการกลุม

- นักเรียนมีทักษะใน

การสรางปฏิสัมพันธ

กับผูอ่ืน

- นักเรียนเลือก

แนวทางในการใช

ทรัพยากรธรรมชาติ

ในทองถิ่นไดอยาง

เหมาะสม คุมคาและ

ยั่งยืน

ดาน

คานิยม

- นักเรียนเกิดเจต

คติที่ดีตอวิชาเคมี

- นักเรียนเห็น

ความสําคัญของการ

ทํางานรวมกับผูอ่ืน

และการทํางานใน

ระบบกลุม

- นักเรียนเกิดความ

ตระหนักในการใช

ทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอมใน

ทองถิ่นอยางยั่งยืน

Page 9: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู

ผลการจัดการเรียนรู

1) ความรู (K)…………………………………………………………………………………………….…………………..……

……………………………………………………………………………………………………………………..….……….……

…………………………………………………………………………………………………………………………….…...……

2) ทักษะ/กระบวนการ (P)…………………………………………………………………………………………………...

.………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………….………………………

3) คานิยม/คุณลักษณะ (A)…………………………………………………….…………………………….…………………

………..………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………..…………………………………

ปญหา/อุปสรรค

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……

ขอเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………...………………………………..………….

ความเห็นของหัวหนาสถานศึกษาหรือผูที่ไดรับมอบหมาย

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………

ลงชื่อ…………………......................................

(………………………………………………….)