19
บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ อ.กรวรรณ สุวรรณสาร

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ

Embed Size (px)

Citation preview

บทที่ 9การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ

อ.กรวรรณ สุวรรณสาร

ชนิดของบาดแผล

1.แบ่งตามความสะอาดของแผล

• แผลสะอาด (clean wound)

• แผลกึ่งสะอาดกึ่งปนเป้ือน (clean-contaminated wound)

• แผลปนเป้ือน (contaminated wound)

• แผลติดเชื้อหรือแผลสกปรก (infected wound/dirty wound)

ชนิดของบาดแผล

2.แบ่งตามลักษณะการท าลายของผิวหนัง

• แผลปิด (closed wound); แผลฟกช้้า (contusion/bruise) แผลกระทบกระเทือน (concussion) แผลแตก (rupture) แผลจากการผ่าตัด (surgical incision)

• แผลเปิด (opened wound); แผลถลอก (abrasion wound) แผลฉีกขาด (laceration wound) แผลตัด (incision/ cut wound) แผลทะลุทะลวง (penetration wound) แผลที่มีเนื้อเยื่อขาดหรือหลุดออกจากร่างกาย (avulsion wound) แผลถูกระเบิด (explosive wound)

ชนิดของบาดแผล

3.แบ่งตามสาเหตุของการเกิดบาดแผล

• แผลเกิดโดยเจตนา (intention wound)

• แผลเกิดโดยไม่เจตนา (unintentional wound)

4.ตามระยะเวลาที่เกิดแผล

• แผลสด

• แผลเก่า

• แผลเรื้อรัง

5.แผลประเภทอื่น ๆ

การหายของแผล (wound healing)

ที่มา (Craven&Hirnle, 2009, p. 1000)

ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล

• อายุ ¤ภาวะโภชนาการ • สภาวะของโรค ¤ ยา • บุหรี่ ¤ ความเครียด• ความอ้วน ¤ ระบบการไหลเวียนโลหิต • การติดเชื้อ ¤ ลักษณะของแผล • การเคลื่อนไหว ¤ สิ่งแปลกปลอมภายในแผล • การผ่าตัด ¤ เทคนิคการเย็บแผล/ ท้าแผล • อุณหภูมิของแผล ¤ น้้ายาที่ใส่แผล • รังสีรักษา

การดูแลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ

1.การพักผ่อนร่างกายและอวัยวะที่มีบาดแผล

2.การท าความสะอาดบาดแผล

3.การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตมายังบาดแผล

4.การยกบริเวณที่มีบาดแผลไว้สูง

5.การส่งเสริมให้ได้รับสารอาหาร

6.การลดความเจ็บปวดจากแผล

7.การส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคล

การท าแผล (dressing)

หลักการท าแผล

• ล้างแผลให้สะอาด

• ท้าแผลที่สะอาดกว่าก่อน

• ก้าจัดเนื้อตายหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากแผล

• ระบายของเหลวที่ตกค้าง

• อย่าให้แผลกระทบกระเทือน

• ห้ามเลือดก่อนปิดแผล

วัตถุประสงค์ของการท าแผล

1. ให้สภาวะที่ดีเหมาะแก่การงอกของเนื้อเยื่อ

2. ดูดซึมสิ่งขับหลั่ง

3. จ้ากัดการเคลื่อนไหวของแผลให้อยู่นิ่ง

4. ให้ความชุ่มช้ืนกับพ้ืนผิวของแผล

5. ป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติดและดึงรั้งเนื้อเยื่อที่งอกใหม่

6. ป้องกันแผลหรือเนื้อเยื่อที่เกิดใหม่จากสิ่งกระทบกระเทือน

7. ป้องกันแผลปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์

8. การห้ามเลือด

9. ผู้ป่วยสุขสบาย

น ายาที่ใช้ส าหรับท าแผล

• 0.9% normal saline •70% Alcohol

• 10% Providone-iodine solution

• 3% Hydrogenperoxide • Tincture benzoin

• 2.5% Tincture iodine • Mercurochrome

• Zinc paste • Benzene, Acetone

• Dakin’s solution/ hyperchlorite solution

อุปกรณ์ที่ใช้ในการท าแผล

อุปกรณ์ท าความสะอาดแผล; ชุดท้าแผลปราศจากเชื้อ (sterile dressing set) ,สารละลาย/ น้้ายา (solution)

อุปกรณ์ที่ใช้ในการท าแผล

gauze Y-gauzeVaseline gauze

transparent film hydrocolloidวัสดุส าหรับปิดแผล

อุปกรณ์ที่ใช้ในการท าแผล

transpore micropore leucopore

อุปกรณ์ที่ใช้ในการท าแผล

Suture scissors

probe

Metzenbaum

curette

ชนิดของการท าแผล

• การท าแผลชนิดแห้ง

(dry dressing)

• การท าแผลชนิดเปียก

(wet dressing)

• การท าแผลที่มีท่อระบาย ท่อระบาย (drain)

• การท าแผลที่ต้องใช้แรงกด (pressure dressing)

• การชะล้างแผล

(wound irrigation)ที่มา (Taylor, et al., 2008, p. 1216)

ที่มา (Taylor, et al., 2008, p. 1212)

วิธีการตัดไหม (stitch off)

การตัดไหม (ภาพซ้าย) การดึงลวดเย็บแผล (ภาพขวา)ที่มา (Taylor, et al., 2008, p. 1219)

1.ตรวจสอบค้าสั่งการรักษาของแพทย์

2. ก่อนและหลังการตัดไหมทุกครั้ง เช็ดด้วยแอลกอฮอล์ 70%

3. ไม่ดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนัง

4. ตัดไหมส่วนที่ชิดผิวหนัง ใต้ปมที่ผูกไว้ ดึงไหมออกให้

5.ขอบแผลแยกให้หยุด และปิดด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้งขอบแผล

6. หลังตัดไหมปิดทับด้วยผ้าก๊อซบาง ๆ และอย่าให้แผลสกปรกหรือถูกน้้า

7. แนะน้าผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลแผล หากผิดปกติให้มาพบแพทย์ก่อนวันนัด

การใช้ผ้าพันแผล

สิ่งที่ควรค านึงถึง

1. สภาพผิวหนัง

2. บริเวณที่พันผ้าต้องสะอาด

3. ไม่พันแน่นหรือหลวมเกินไป

4. พันจากส่วนปลายขึ้นไปข้างบน และพันจากส่วนเล็กไปหาส่วนใหญ่

5. ตรวจสอบแผนการรักษา

6. ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของอวยัวะที่จะพันผ้า

การใช้ผ้าพันแผล

การพันเกลียว

การพันเป็นรูปเลขแปด

จบการน าเสนอบทที่ 9นักศึกษาสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารประกอบการสอน และ

หนังสือตามที่ปรากฏรายชื่ออยู่ในบรรณานุกรมท้ายบทที่ 9