32
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ

บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

โดย..ครูปนิชัยา นาคจ ารญู

Page 2: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

โดย..ครูปนิชัยา นาคจ ารญู

Page 3: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

เป็นปากใบของพชืทัว่ไปโดยมเีซลลค์มุอยูใ่นระดบัเดยีวกบัเซลลเ์อพเิดอรม์สิ เจริญอยูใ่นที่ ๆ มีน าอุดมสมบรูณพ์อสมควร (mesophyte)

Page 4: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

อยู่ลึกเขา้ไปในเนื อใบ เซลลค์มุอยูล่กึกวา่ชั น เซลลเ์อพิเดอรม์สิ พบในพืชทีอ่ยูใ่นที่แหง้แลง้ (xerophyte) เช่น พืชทะเลทราย และพชืปา่ชายเลน (halophyte)

Page 5: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

เป็นปากใบทีม่เีซลลค์มุอยูส่งูกว่าระดบัเอพิเดอร์มสิทัว่ไป ช่วยใหน้ าระเหยออกจากปากใบไดเ้รว็ขึ น พบในพืชทีเ่จรญิอยูใ่น ที่มีน ามากหรอืชื นแฉะ(hydrophyte)

Page 6: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

พืชใบเลี ยงเดีย่วบางชนดิ เช่น หญ้า ข้าวโพด เอพิเดอรม์สิมเีซลลข์นาดใหญ่ และผนงัเซลลบ์าง เรียกวา่ บัลลิฟอรม์เซลล ์(bulliform cell)

ช่วยท าใหใ้บมว้นงอไดเ้มือ่พชืขาดน าชว่ยลดการคายน าของพชืใหน้อ้ยลง

Page 7: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ
Page 8: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

บางชนิดมเีอพเิดอรม์สิหนามากกวา่ 1 ชั น เรียกวา่ multiple epidermis พบในพืชทีแ่หง้แลง้ แถวทีอ่ยูถ่ดัเขา้ไปเรยีกวา่ ไฮโพเดอรม์สิ (hypodermis)

Page 9: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

โดย..ครูปนิชัยา นาคจ ารญู

Page 10: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

เป็นการคายน าทีก่ าจดัไอน าออกมาทางปากใบ เป็นทางทีม่กีารคายน ามากทีส่ดุ

Page 11: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

เป็นการคายน าทีก่ าจดัไอน าออกมาทางผวิใบที่ม ีcuticle ฉาบอยูข่า้งนอก น าจึงแพรอ่อกทางนี ไดย้าก พืช จึงคายน าออกทางนี ไดน้อ้ย

Page 12: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

เป็นการคายน าทีก่ าจดัไอน าออกมาทาง lenticel ซึ่งเป็นรอยแตกตามล าต้นการคายน าประเภทนี เกดิขึ นนอ้ยมาก

Page 13: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ
Page 14: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

เป็นการคายน าในรปูหยดน าเลก็ ๆ ทางรเูปิดเล็ก ๆ ตามปลายเสน้ใบทีข่อบใบ เรียกวา่ โฮดาโธด (hydathode)

ซึ่งเกดิขึ นเมือ่อากาศมคีวามชื นมากๆอุณหภมูิต่ าและลมสงบ

Page 15: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

แสงสวา่ง ถ้าความเขม้ขน้ของแสงสว่างมากจะชว่ยใหก้ารคายน ามอีัตราสูงขึ น ความชื น ถ้าหากความชื นในบรรยากาศมนีอ้ย การคายน าเกดิขึ นไดม้าก ลม ช่วยพัดพาไอน าทีร่ะเหยออกมาจากใบ น าในดนิ ถ้ามนี ามากกเ็หมาะสมกบัการคายน า ความกดดนัของบรรยากาศ ถ้าความกดดนัของบรรยากาศต่ า ไอน าแพรอ่อกไปจากใบไดง้า่ย

Page 16: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ
Page 17: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

โดย..ครูปนิชัยา นาคจ ารญู

Page 18: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

พืชทีไ่มม่ทีอ่ล าเลยีง เช่น มอส เซลลท์ุกเซลลไ์ดร้ับน าอยา่งท่ัวถงึโดยการแพร่จากเซลลห์นึ่งไปยงัอีกเซลลห์นึง่

Page 19: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

พืชทีม่ขีนาดใหญจ่ะใชว้ธิกีารเชน่เดยีวกบัมอสไมไ่ด ้จ าเป็นตอ้งมทีอ่ล าเลยีง จากรากขึ นไปเลี ยงเซลลท์ี่อยูป่ลายยอด

Page 20: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

น าเป็นสว่นประกอบทีส่ าคญัภายในเซลลพ์ชื น าชว่ยใหเ้ซลลพ์ชืเตง่ ท าใหเ้ซลลม์รีปูร่างคงตวั น าเปน็ตวัท าละลาย เช่น ละลายแรธ่าตตุ่างๆ น าเปน็ตวัร่วมในปฏกิริยิาเคมีในเซลล ์น าท าหนา้ทีค่วบคมุอณุหภมูขิองเซลล์ และล าตน้พชื

Page 21: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

รากพชืโดยทัว่ไป จะมีส่วนเรยีกวา่ ขนราก เพื่อเพิ่มพื นทีส่มัผสักบัน า น าในดนิกจ็ะแพรผ่า่นเยือ่หุม้เซลลเ์ขา้สูเ่ซลลท์ีผ่วิของราก ขนรากดดูน าโดยกระบวนการ ออสโมซิส ปัจจัยส าคญัคอื ความแตกตา่งของความเขม้ขน้ของสารละลายในดินกบัในราก

Page 22: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ
Page 23: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

วิถีอโพพลาส (apoplasmic pathway) เป็นการเคลื่อนทีข่องน าทีผ่่านชอ่งระหว่างผนงัเซลล์ ในชั นคอรเ์ทกซแ์ละผา่นเซลลท์ีไ่ม่มชีวีิต คือเทรคดี และเวสเซล

Page 24: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

เป็นระบบท่ีผา่นไซโทพลาซมึของเซลลซ์ึง่เชือ่มตอ่กนัดว้ยทอ่เล็ก ๆ เรียกวา่ พลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata)

เมื่อน าเคลือ่นที่มาถงึเอนโดเดอร์มสิทีม่แีคสพาเรยีน สตรพิ ( ซูเบอร์รนิ )กั นอยู ่น าจงึตอ้งผ่านทางไซโทพลาซมึ (symplast) จึงจะเขา้ไปในไซเลมได ้

Page 25: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ
Page 26: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ
Page 27: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ
Page 28: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

แรงดนัราก(Root pressure) โดยน าในทอ่ไซเลม็มคีวามเขม้ขน้สงูกว่าน าในดนิ จึงเกดิกระบวนการออสโมซิสของน าในดนิสู่ราก เป็นที่มาของแรงดนัในทอ่ไซเลม็จึงดนัใหน้ าเขา้ไปในท่อไซเลม็ได้

Page 29: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

โดยน าในทอ่ไซเลม็มแีรงดงึดดูระหวา่งโมเลกลุของน ากบัผนงัดา้นขา้งของหลอดแกว้นั น เรียกว่า แรงแอดฮชีนั (Adhesion)

และมแีรงดึงดดูระหวา่งโมเลกลุของน าดว้ยกนัเอง เรียกวา่ แรงโคฮชีนั (Cohesion)

Page 30: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ
Page 31: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ

เกิดจากการทีใ่บคายน าออกไปเรือ่ยๆท าใหเ้ซลลข์องใบขาดน าไป จึงเกดิแรงดงึน าท าใหน้ าเคลือ่นทีต่อ่เนือ่ง

Page 32: บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำและลำเลียงน้ำ