การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 3

Preview:

DESCRIPTION

การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 3. ( Knowledge Management : KM ). การจัดการความรู้. ( Knowledge Management : KM ). 1. ประวัติความเป็นมาของ KM สชป. 3. 2. ทำไมต้องมี KM. 3. KM คืออะไร ความรู้มีกี่ประเภท. 4. เป้าหมาย KM มี 4 ประการ. 5. กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน. - PowerPoint PPT Presentation

Citation preview

การจดัการความรู้สำานัก

ชลประทานท่ี3

( Knowledge Management :

KM )

การจดัการความรู้(Knowledge Management : KM)1. ประวติัความเป็นมาของ

KM สชป.32. ทำาไมต้องม ี KM3. KM คืออะไร ความรูม้ก่ีีประเภท4. เป้าหมาย KM ม ี4 ประการ5. กระบวนการ KM ม ี7 ขัน้ตอน

6. การดำาเนินงาน KM สชป.3 ท่ีผ่านมา7. ผลงานเด่น KM สชป.3 ปี 25538. ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข–9. แผนการดำาเนินงาน KM ปี 2554

1. ประวติัความเปน็ มาของ KMกรมฯ อนุมติัแผนการจดัการความรูเ้พื่อ

สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร ์เมื่อวนัที่ 7 เมษายน 2552

สพบ. แจง้แนวทางวธิกีารสง่เสรมิให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรยีนรู ้ตามหนังสอืท่ี 8672 ลงวนัท่ี 25 พฤษภาคม 2552

สชป.3 แต่งต้ัง คณะทำางานจดัการความรูข้อง สชป.3 และคณะทำางานยอ่ย เมื่อวนัท่ี 23 มถินุายน 2552 (ปีงบประมาณ 2552)

สชป.3 ปรบัปรุง คณะทำางานจดัการความรูใ้หม ่เมื่อวนัท่ี 20 ตลุาคม 2552 (ปีงบประมาณ 2553)

2. ทำาไมต้อง มี KMพระราชกฤษฎีกา วา่ด้วยหลักเกณฑ์และ

วธิกีารบรหิารกิจการบา้นเมอืงท่ีดี พ.ศ.2546 หมวด 3

มาตรา 11 สว่นราชการ มหีน้าท่ีพฒันาความรูใ้นสว่นราชการเพื่อให้มลีักษณะเป็นองค์การแห่งการเรยีนรูอ้ยา่งสมำ่าเสมอ ฯ

เหตผุลของมาตรา 11- เพื่อผลักดันแนวคิด ธรรมาภิ

บาล (Good Governance)- เพื่อประโยชน์ในการปฏิบติั

ราชการ ของสว่นราชการให้สอดคล้องกับการบรหิารราชการ และเพื่อให้เกิดผลสมัฤทธิ ์ตามมาตรานี้ จงึเป็นท่ีมาของ PMQA 7 หมวด

2. ทำาไมต้องมีKM (ต่อ)

3. KM คืออะไรKM คือ การรวบรวมองค์ความรู้ท่ีมอียู่

ในสว่นราชการ ซึง่กระจดักระจายอยูใ่นตัวบุคคลหรอืเอกสารมาพฒันาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทกุคนในองค์การสามารถเขา้ถึงความรูแ้ละพฒันาตนเองให้เป็นผู้รู ้รวมทั้งปฏิบติังานได้อยา่งมปีระสทิธภิาพสง่ผลให้องค์กรมีความสามารถในเชงิแขง่ขนัสงูสดุ

ประเภทของ ความรู้ความรู ้ม ี2 ประเภท

ประเภทท่ี 1 ความรูท่ี้ฝังอยูใ่นคน (Tacit Knowledge)

ประเภทท่ี 2 ความรูช้ดัแจง้ (Explicit Knowledge)

4. เป้าหมายของ KM มี4 ประการ1. บรรลเุป้าหมายของงาน

2. บรรลเุป้าหมายของการพฒันาคน3. บรรลเุป้าหมายของการพฒันาองค์กร

ไปเป็นองค์กรเรยีนรู้4. บรรลคุวามเป็นชุมชน เป็นหมูค่ณะ

ความเอ้ืออาทรระหวา่งกัน ในท่ีทำางาน

5. กระบวนการ KM มี7 ขัน้ตอน1. การบง่ชีค้วามรู้

2. การสรา้งและแสวงหาความรู้3. การจดัความรูใ้ห้เป็นระบบ4. การประมวล และกลัน่กรองความรู้5. การเขา้ถึงความรู้6. การแบง่ปันแลกเปลี่ยนเรยีนรู้7. การเรยีนรู้

กรมชลประทานจดัการความรูอ้ยา่งไร

แนวทางจดัการความรู้ กรมชลประทาน 10 ประการ

1 . สรา้งวฒันธรรมใหม่2. สรา้งวสิยัทัศน์รว่ม3. สรา้งและใชค้วามรูใ้น

การทำางานและสรา้งบรรยากาศแห่งการเรยีนรู้

4. เรยีนลัด5. สรา้งการ

เปล่ียนแปลงด้วยยุทธศาสตรเ์ชงิบวก

6. จดัพื้นท่ีหรอืเวที

7. พฒันาคน8. ระบบให้คณุ

ให้รางวลั9. หาเพื่อนรว่ม

ทาง10. จดัทำา ขุม“

ความรู”้

6. การดำาเนินงาน KM ของสชป.3 ท่ีผ่านมา

กรมฯ โดย KM ทีม จะกำาหนดกรอบแนวทางการจดัการความรูใ้ห้แก่หน่วยงานต่างๆไปดำาเนินการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตรก์รมฯ

ปี 2552 - กรมฯ ให้เลือกองค์ความรูท่ี้

จำาเป็นต่อการผลักดันยุทธศาสตร ์3 ด้าน คือ ด้านพฒันาแหล่งนำ้า, ด้านบรหิารจดัการนำ้า และด้านป้องกันและบรรเทาภัยจากนำ้า

- สชป.3 เลือกจดัทำาแผนจดัการความรู ้สชป.3 ด้านบรหิารจดัการนำ้า มอีงค์ความรู้ท่ีจำาเป็น คือ ปัจจยัความสำาเรจ็ในการบรหิารจดัการนำ้าชลประทานโดยชุมชนมสีว่นรว่ม เสนอ

- ปฎิบติัตามกระบวนการ 7 ขัน้ตอน- แนวทางจดัการความรู ้10 ประการ - กรมชลประทานใชตั้วชีว้ดั คือ กรอบ

การประเมนิผลงานจากความรูแ้ละกิจกรรมด้านต่างๆ 8 เรื่อง

กรอบการประเมนิผลงานจากความรูแ้ละกิจกรรมด้านต่างๆ 8 เรื่อง1. เอกสารคู่มอื

กระบวนการปฏิบติังานหรอื มาตรฐานท่ีหน่วยงานจดัทำาขึน้

2. เอกสาร/บทคัดยอ่ทางวชิาการ 3. นวตักรรม

4. บทความวชิาการจากบุคลากรภายใน/นอก5. วดีิทัศน์ สื่อประสมต่างๆ

6. ระเบยีบ คำาสัง่ แนวทางปฏิบติัต่างๆ7. การสรุปบทเรยีน

8. การจดักิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยีนรู้

6. การดำาเนินงาน KM ของสชป.3 ท่ีผ่านมา (ต่อ)ปี 2552 สชป.3 ดำาเนินการจดัการความรู ้ตามกรอบการประเมนิผลงานจากความรูแ้ละกิจกรรมด้านต่างๆ ได้รวมทั้งสิน้ 16 เรื่อง ปี 2553 ท่ีผ่านมา สชป.3 เลือกจดัทำาแผนจดัการความรู ้ ด้านบรหิารจดัการนำ้า มีองค์ความรูท่ี้จำาเป็น คือ ปัจจยัความสำาเรจ็ในการบรหิารจดัการนำ้าชลประทานโดยชุมชนมีสว่นรว่ม ต่อยอดจากปี 2552 เน้นการเพิม่ความรูใ้ห้เจา้หน้าท่ี ด้านการมสีว่นรว่มในการบรหิารจดัการนำ้า (คสช.) ดำาเนินการจดัการความรู ้ตามกรอบการประเมนิผลงานจากความรูแ้ละกิจกรรมด้านต่างๆ ได้รวมทั้งสิน้ 345 เรื่อง ดังนี้

6. การดำาเนินงาน KM ของสชป.3 ท่ีผ่านมา (ต่อ)

3. นวตักรรม 3 เรื่อง

5. วดิีทัศน์ สื่อประสมต่างๆ 32 เรื่อง6. ระเบยีบ คำาสัง่ แนวทางปฏิบติัต่างๆ 53 เรื่อง7. การสรุปบทเรยีน 24 เรื่อง8. การจดักิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยีนรู ้ 14 เรื่อง

4. บทความวชิาการจากบุคลากรภายใน/นอก 22 เรื่อง

2. เอกสาร/บทคัดยอ่ทางวชิาการ 11 เรื่อง

1.เอกสารคู่มอื กระบวนการปฏิบติังานหรอืมาตรฐานท่ีหน่วยงานจดัทำาขึน้ 121 เรื่อง

7. ผลงานเด่น KM สชป.3 ปี 25537.1 นวตักรรม

ม ี 3 นวตักรรม ซึง้ได้นำาเสนอในท่ีประชุมผู้บรหิารกรมฯ ได้แก่

การรายงานผลการเบกิจา่ยออนไลท์

เครื่องเจยีระไนจานดิสเบรกแบบประชดิล้อ

การบรหิารจดัการชุมชนโดยกลุ่มผู้ใชน้ำ้า

มสีว่นรว่ม (C95)

7.2 การจดักิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยีนรู้การฝึกอบรมเป็นวทิยากรกระบวนการเบื้องต้นโดยวธิี

การมสีว่นรว่ม 3 รุน่ (คสช.)

รุน่ท่ี 1

รุน่ท่ี 2

รุน่ท่ี 3

7.3 Website คลังความรู้ววิฒันาการของเวบ็ไซต์

8. ปัญหา- อุปสรรค และแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค–

1) เจา้หน้าท่ี ยงัไมม่คีวามรูด้้านการจดัการความรูท่ี้แท้จรงิ

2) เจา้หน้าท่ีให้ความสำาคัญกับ KM น้อย ยงัขาดความสนใจ

3) ขาดแรงจูงใจ อ้างงานมมีาก ไมม่ีผลตอบแทน

4) ขาดการมอบหมายงานและติดตามอยา่งจรงิจงั

5) ไมม่ลีกูค้าสนใจสิง่ท่ีเสนอ ขาดการนำาความรูไ้ปปฏิบติั ไมม่กีารอ้างอิงความรู้

8. ปัญหา- อุปสรรค และ แนวทางแก้ไข (ต่อ)แนวทางแก้ไข

1) ผู้บรหิารของหน่วยงานต้องมสีว่นรว่มและให้ความสำาคัญมากขึน้

2) จดัประชุมสมัมนาให้ความรูกั้บเจา้หน้าท่ีมากขึน้

3) สรา้งต้นแบบการเรยีนรู ้ ยอ่ยลงไปถึงเจา้หน้าท่ีทกุระดับ

4) ระบุผลตอบแทน(รางวลั,เงิน,ศึกษาดงูาน,ยกยอ่ง)

5) ทกุหน่วยงานมผีู้รบัผิดชอบติดตามงานตามแผน

6) ประชาสมัพนัธใ์ห้มากขึน้ และมกีารสื่อสารแสดงถึงการนำาความรูไ้ปใชป้ฏิบติัให้มากขึน้

9. แนวทางการดำาเนินงาน KM สชป.3 ปี 25549.1 ปรบัปรุงคณะทำางานใหม่

9.2 สนับสนุนให้มทีีม KM ของหน่วยงานและให้มกีารปฏิบติัขยายผลเพิม่ขึน้

9.3 การเสรมิสรา้งความรูใ้ห้ทีม KM และเจา้หน้าท่ีทกุสายงาน(เน้น คสช. และวทิยากรกระบวนการ)

9.4 ปรบัปรุง Website ให้น่าสนใจยิง่ขึน้ (เน้นสิง่ท่ีสำานักอ่ืนไมม่ ี เราทำาได้ และนำาไปใชไ้ด้จรงิ)

9.5 สรา้งทีมวจิยัและความรูเ้รื่องการวจิยัให้หน่วยงาน

9. แนวทางการดำาเนินงาน KM สชป.3 ปี 25549.6 สรา้งชุมชนนักปฏิบติั (COP : Community of Practice) เน้นการทำาประมาณการ, การทำา Website, การสง่นำ้า

9.7 ดำาเนินการตามแนวทางของปี 2553 ต่อเนื่อง

9.8 Social network ใช ้Facebook เป็นเครื่องมอืในการดำาเนินการ 9.9 HeadLine บนเวบ็ไซต์หลัก

Social network

HeadLine

http://irrigation.rid.go.th/rid3/2010/v2/news.php : เวบ็ไซต์ สำานักชลประทานท่ี 3

แหล่งศึกษาอ้างอิงเพิม่เติม

http://kmcenter.rid.go.th/kmc03 : เวบ็ไซต์ คลังความรู ้สชป.3

แหล่งศึกษาอ้างอิงเพิม่เติม

http://kmcenter.rid.go.th/center : เวบ็ไซต์ คลังความรูก้ลาง

แหล่งศึกษาอ้างอิงเพิม่เติม

http://www.facebook.com/#!/profile.php?id=100001665154097 : Face Book สชป.3http://www.facebook.com/#!/profile.php?id=100001665154097 : Face Book สชป.3

แหล่งศึกษาอ้างอิงเพิม่เติม

จบการนำาเสนอ

ขอบคณุครบั

Recommended