๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]

Preview:

DESCRIPTION

คำประพันธ์

Citation preview

ลักษณะค ำประพันธ ์

แผนผังโคลงสี่สุภาพ

ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ

เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พ่ีเอย เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า สองเขือพ่ีหลับใหล ลืมตื่น ฤๅพ่ี สองพ่ีคิดเองอ้า อย่าไดถ้ามเผอื

ลิลิตพระลอ

ค าสร้อย

ค าสร้อย

ตัวอย่างโคลงสี่สุภาพ

ค าสร้อย

ค าสร้อย

ฉันทลักษณ์

โคลง คือ ค ำประพันธ์ซึ่งมีวิธีเรียงร้อยถ้อยค ำเข้ำคณะ มีก ำหนดเอกโทและสัมผัส โคลงมีลักษณะบังคับ ๖ อย่ำง ได้แก่ - คณะ - พยำงค์ - สัมผัส - ค ำเอก ค ำโท - ค ำเป็น ค ำตำย - ค ำสร้อย

ฉันทลักษณ์

ค ำ “สุภาพ” ในโคลงนั้น อำจำรย์ก ำชัย ทองหล่อ ได้อธิบำยไว้ว่ำ มีควำมหมำยเป็น ๒ อย่ำง คือ ๑. หมำยถึงค ำที่ไม่มีเครื่องหมำยวรรณยุกต์เอกโท (คือ ค ำธรรมดำที่ไม่ก ำหนดเอกโทจะมี หรือไม่มีก็ได้) ๒. หมำยถึงกำรบังคับคณะและสัมผัสอย่ำงเรียบ ๆ ไม่โลดโผน ลักษณะบังคับของโคลง มีดังนี้

ฉันทลักษณ์

๑. คณะ คือข้อก ำหนดเกี่ยวกับรูปแบบของค ำประพันธ์แต่ละชนิด ว่ำจะต้องประกอบด้วย ส่วนย่อย ๆ อะไรบ้ำง ค ำที่เป็นลักษณะบังคับข้อนี้ส ำคัญมำก ค ำประพันธ์ทุกชนิดจะต้องมีคณะ ถ้ำไม่มีก็ไม่เป็นค ำประพันธ์ คณะที่เป็นสิ่งที่ช่วยก ำหนดรูปแบบของค ำประพันธ์แต่ละชนิดให้เป็นระเบียบเพื่อใช้เป็นหลักในกำรแต่งต่อไป

ฉันทลักษณ์

๒. พยางค์ คือเสียงที่เปล่งออกมำครั้งหนึ่ง ๆ บำงทีก็มีควำมหมำย เช่น เมือง ไทย นี้ ดี บำงทีก็ไม่มีควำมหมำย แต่เป็นส่วนหนึ่งของค ำ เช่น ภิ ใน ค า อภินิหาร ยุ ในค า ยุวชน กระ ในค า กระถาง เนื่องจำกค ำไทยเรำแต่เดิมมีพยำงค์เดียวโดยมำก ฉะนั้นในกำรแต่งค ำประพันธ์เรำถือว่ำพยำงค์ก็คือค ำนั่นเอง ในค ำประพันธ์แต่ละชนิดมีกำรก ำหนดพยำงค์ (ค ำ) ไว้แน่นอน ว่ำวรรคหนึ่งมีกี่พยำงค์ (ค ำ)

ฉันทลักษณ์

๓. สัมผัส คือลักษณะที่บังคับให้ใช้ค าคล้องจองกัน สัมผัส เป็นลักษณะที่ส ำคัญที่สุดในค ำประพันธ์ของไทย ค ำประพันธ์ทุกชนิดจ ำเป็นต้องมีสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ

ฉันทลักษณ์

๔ . ค า เอก ค า โท หมำยถึ งพย ำ งค์ ที่ บั ง คั บด้ ว ย รูปวรรณยุกต์เอก และรูปวรรณยุกต์โท ส ำหรับใช้กับค ำประพันธ์ประเภทโคลงเท่ำนั้น มีข้อก ำหนดดังนี ้ ค าเอก ได้แก ่ พยำงค์ที่มีไม้เอกบังคับทั้งหมด เช่น จ่า ปี ่ขี่ ส่อ น่า คี่ และพยำงค์ที่เป็นค ำตำยทั้งหมดจะมีเสียงวรรณยุกต์ใดก็ได้ เช่น กาก บอก มาก โชค คิด รัก

ฉันทลักษณ์

ค าตาย สะกดด้วยแม่ กก กบ กด กก ก ข ค ฆ คร ปาก เลข สามัคคี เมฆ สมัคร กบ บ ป ฟ ภ จบ บาป กราฟ ยีราฟ ลาภ กด ด ต ช ฐ ถ ท ธ ฑ ฒ ส ศ ษ ซ จ มด ชาติ ราช รัฐ รถ บาท อาวุธ ครุฑ วัฒนะ โอกาส อากาศ เศษ อนาถ ปัจจัย สุวัจน์

ฉันทลักษณ์

ค าเอกโทษ คือค ำที่ไม่เคยใช้ไม้เอกแต่เอำมำแปลงใช้โดยเปลี่ยนวรรณยุกต์ เป็นเอกเพื่อให้ได้เสียงตำมบังคับ เช่น เสี้ยม เปลี่ยนเป็น เซี่ยม, สร้าง เปลี่ยนเป็น ซ่าง ค ำเช่นนี้ อนุโลมให้เป็นค ำเอกได ้ ค าโท ได้แก่พยำงค์ที่มีไม้โทบังคับทั้งหมด เช่น ถ้า ป้า น้า น้อย ป้อม ยิ้ม

ฉันทลักษณ ์

ค าโทโทษ คือค ำที่ไม่เคยใช้ไม้โท แต่เอำแปลงใช้โดยเปลี่ยนวรรณยุกต์เป็นโท เพื่อได้เสียงโทตำมบังคับ เช่น เล่น เปลี่ยนเป็น เหล้น, ช่วย เปลี่ยนเป็น ฉ้วย ค ำเช่นนี้อนุโลมให้เป็นค ำโทได ้

ฉันทลักษณ ์

๕. ค าเป็น ค าตาย ค าเป็น ได้แก่พยำงค์ที่ผสมด้วยสระเสียงยำวในมำตรำแม่ ก กำ เช่น มำ ขี่ ถือ เมีย กับพยำงค์ที่ผสมด้วยสระ อ ำ ไอ ใอ เอำ เช่น ท ำ ไป ไม่ เขำ และพยำงค์ที่สะกดด้วยมำตรำแม่ กง กน กม เกย เกอว เช่น สั่ง ถ่ำน ล้ม ตำย เร็ว อิ อุ เอะ แอะ โอะ อึ เออะ เอำะ อะ อี อู เอ แอ โอ อือ เออ ออ อำ เอีย เอือ อัว

ฉันทลักษณ ์

อิ อุ เอะ แอะ โอะ อึ เออะ เอำะ อะ อี อู เอ แอ โอ อือ เออ ออ อำ เอีย เอือ อัว

ค ำเป็น ค ำตำย ๑. แม่ ก กา เสียงยาว นี่ คือ ตูด เกย์ เคย โดน แต่ ว่า ชอบ อี อือ อ ู เอ เออ โอ แอ อา ออ เมีย เบื่อ ผัว เอีย เอือ อวั ๒. มาตาราเสียงตัวสะกด นมยวง กน กม เกย เกอว กง สญัญาณ กาฬ มาร ชม สวย ลาว มอง

๑. แม่ก กา เสียงสัน้ ๒. มาตาราเสียงตัวสะกด กบด กก สกุ เลข สามคัคี เมฆ สมคัร กบ พบ บาป ลาภ ภพ กด ด ต ช ซ ส ษ ศ ท ธ ฑ ธ ฒ จ ถ ฐ ฎ ฏ

ฉันทลักษณ ์

๕. ค าเป็น ค าตาย ค าตาย ได้แก่พยำงค์ที่ผสมด้วยสระเสียงสั้น ในมำตรำแม่ ก กำ เช่น จะ ติ และพยำงค์ที่สะกดด้วยมำตรำแม่ กก กด กบ เช่น ปัก นาค คิด มือ เก็บ สาป ค ำตำยนี้ใช้แทนค ำเอกในโคลงได้

ฉันทลักษณ ์

๖. ค าสร้อย คือค ำที่ใช้เติมลงท้ำยวรรค ท้ำยบำท หรือท้ำยบท เพื่อควำมไพเรำะหรือเพื่อให้ครบจ ำนวนค ำตำมลักษณะบังคับ บำงแห่งก็ใช้เป็นค ำถำม หรือใช้ย้ ำควำม ค ำสร้อยนี้ใช้เฉพำะในโคลงและร่ำย และมักจะเป็นค ำเป็น เช่น แลนา พี่เอย ฤๅพี่ ฤๅพ่อ แม่แล น้องเฮย หนึ่งรา

ฉันทลักษณ ์

กฎ :

๑. คณะ มีดังนี้ - โคลงส่ีสุภำพบทหนึ่งมี ๔ บำท - บำทหนึ่งมี ๒ วรรค คือวรรคหน้ำกับวรรคหลัง - วรรคหน้ำของทุกบำทมีวรรคละ ๕ ค ำ - วรรคหลังของบำทที่ ๑, ๒ และ ๓ มวีรรคละ ๒ ค ำ ส่วนของบำทที่ ๔ ม ี๔ ค ำ - รวมโคลงสี่สุภำพ บทหนึ่งมี ๓๐ ค ำ

ฉันทลักษณ ์

กฎ :

๒. สัมผัส มดีังนี้ ค ำที่ ๗ ของบำทที่ ๑ สัมผัสกับค ำที่ ๕ ของบำทที่ ๒ และ ๓ ค ำที่ ๗ ของบำทที่ ๒ สัมผัสกับค ำที่ ๕ ของบำทที่ ๔ ถ้ำจะให้โคลงที่แต่งไพเรำะยิ่งขึ้น ควรมีสัมผัสใน และสัมผัสอักษรระหว่ำงวรรคด้วย กล่ำวคือ ควรให้ค ำสุดท้ำยของวรรคหน้ำ สัมผัสอักษรกับค ำหน้ำของวรรคหลัง จำกตัวอย่ำงในโคลงได้แก่ค ำ “อ้าง” กับ “อัน” “ใหล” กับ “ลืม”

ฉันทลักษณ ์

กฎ :

๓. ค าเอกค าโทและค าเป็นค าตาย มีดังนี้ ๑. บังคับค ำเอก ๗ แห่ง และค ำโท ๔ แห่ง ตำมต ำแหน่งที่เขียนไว้ในแผนผังภูม ิ ๒. ต ำแหน่งค ำเอกและโท ในบำทที่ ๑ อำจสลับที่กันได้ คือ น ำค ำเอกไปไว้ในค ำที่ ๕ และน ำค ำโทมำไว้ในค ำที่ ๔

ฉันทลักษณ ์

กฎ :

๓. ค าเอกค าโทและค าเป็นค าตาย มีดังนี้ ๓. ค ำที ่๗ ของบำทที่ ๑ และค ำที่ ๕ ของบำทที่ ๒ และ ๓ ห้ำมใช้ค ำที่มีรูปวรรณยุกต์ ๔. ห้ำมใช้ค ำตำยที่ผันด้วยวรรณยุกต์โท ในต ำแหน่งโท

ฉันทลักษณ ์

กฎ :

๓. ค าเอกค าโทและค าเป็นค าตาย มีดังนี้ ๕. ค ำสุดท้ำยของบท ห้ำมใช้ค ำตำย และค ำที่มีรูปวรรณยุกต์ และเสียงที่นิยมกันว่ำไพเรำะ คือเสียงจัตวำไม่มีรูป หรือจะใช้เสียงสำมัญก็ได้เพรำะเป็นค ำจบ จะต้องอ่ำนเอื้อนเสียงยำว

เสียงลอืเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย

เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า

สองเขือพ่ีหลับใหล ลืมต่ืน ฤๅพ่ี

สองพ่ีคิดเองอ้า อยา่ได้ถามเผือ

(ลลิติพระลอ)

Recommended