3
R&D Newsletter 17 ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลำคม - ธันวำคม 2556 วำรสำรเพื่อกำรวิจัยและพัฒนำ องค์กำรเภสัชกรรม หตุเกิดจากที่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) หรือ AEC ซึ่งก�าลังจะรวมตัวจริงจังในปี พ.ศ. 2558 หรืออีกประมาณ 2 ปีข้างหน้า ผู ้น�าทางอุตสาหกรรม รวมถึง แวดวงต่าง ๆ ก็มีความเคลื่อนไหวปรับตัวเพื่อตั้งรับต่าง ๆ นานา แล้ววงการทางสุขภาพ รวมทั้งทางเภสัชศาสตร์ พร้อมแล้วหรือ ยังกับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ มาเตรียมตัวต้อนรับ AEC ด้วย เนื้อหาภาษาอังกฤษดี ๆ ที่อยากจะแนะน�าให้เป็นแนวทางส�าหรับ บุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะเภสัชกร ในที่นี้จะแนะน�า 2 ทักษะส�าคัญที่เภสัชกรต้องเข้าไปมีบทบาทกับผู้ที่มารับบริการ ทางสุขภาพ นั่นก็คือ การสอบถามอาการและการจ่ายยา การสอบถามอาการ หากจะต้องสื่อสารกับผู้ป่วยในร้านยา เพื่อหาข้อมูล ความเจ็บป่วย ประวัติการแพ้ และข้อมูลการใช้ยาทั่วไปในผู้ป่วย มีแนวทางการซักประวัติได้ดังนีเริ่มต้นบทสนทนาด้วยประโยคค�าถามต่อไปนี้ ซึ่งเป็น การถามในท�านองว่า มีอะไรให้ช่วยไหม มีปัญหาอะไรครับ/คะ “May I help you?” “How can I help you?” “What seems to be the problem?” “What can I do for you today?” หากจะถามอาการเบื้องต้น อาจถามค�าถามกว้าง ๆ ให้ผู้ป่วยได้อธิบาย เช่น “Tell me about your problem” หรือ ต้อนรับ AEC... ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์ ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ กลุ่มวิจัยเภสัชเคมีวิเคราะห์ “Can you give more details on the symptom?” เมื่ออยากรู้ว่าผู้ป่วยเริ่มมีอาการมานานเท่าไร สามารถ กล่าวได้ว่า “How long have you been ชื่ออาการ?” สามารถ เติมอาการของโรคตรง “ชื่ออาการ” เช่น ill, sick, having sore throat เป็นต้น หรือจะถามว่ามีอาการตั้งแต่เมื่อไร อาจพูดได้ว่า “When did you get sick?” เป็นต้น ส่วนประโยคที่ว่า “Have you ever had ชื่ออาการ?” เป็นการตั้งค�าถามในท�านองว่า เคยมีอาการ “ชื่ออาการ” มาก่อนหรือไม่ ตัวอย่างเช่น “Have you ever had this symptom before?” เป็นต้น หากจะสอบถามผู้ป่วยถึงยาที่ใช้อยู ่ในขณะนี้ สามารถ ถามได้ว่า “Have you taken any medicines recently?” (ช่วงนีคุณได้รับยาอะไรอยู่หรือไม่) “Do you take any medicine regularly?” (คุณได้กิน ยาอะไรเป็นประจ�าหรือไม่) หรือหากต้องการถามในท�านองว่าได้ใช้ยาเพื่อบรรเทา อาการมาก่อนหรือไม่ ตัวอย่างประโยค เช่น “Are you taking any medications?” (คุณก�าลังรับประทานยาอะไรอยู่หรือไม่) ที่ส�าคัญและไม่ควรลืม ก่อนจะจ่ายยาให้กับผู้ป่วย ต้องสอบถามถึงประวัติการแพ้ยา ว่าคุณมีอาการแพ้ยาอะไรหรือไม่ โดยพูดว่า “Are you allergic to any medication?” แล้วมีอาการ แพ้อย่างไร สามารถพูดได้ว่า “What reaction do you have?”

ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์ ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์

Citation preview

Page 1: ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์

R&D Newsletter

17

ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลำคม - ธันวำคม 2556

วำรสำรเพื่อกำรวิจัยและพัฒนำ องค์กำรเภสัชกรรม

เหตุเกิดจากที่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic

Community) หรือ AEC ซึ่งก�าลังจะรวมตัวจริงจังในปี พ.ศ.

2558 หรอือกีประมาณ 2 ปีข้างหน้า ผูน้�าทางอตุสาหกรรม รวมถงึ

แวดวงต่าง ๆ ก็มีความเคลื่อนไหวปรับตัวเพื่อตั้งรับต่าง ๆ นานา

แล้ววงการทางสุขภาพ รวมทั้งทางเภสัชศาสตร์ พร้อมแล้วหรือ

ยังกับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ มาเตรียมตัวต้อนรับ AEC ด้วย

เนือ้หาภาษาองักฤษด ีๆ ทีอ่ยากจะแนะน�าให้เป็นแนวทางส�าหรับ

บุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะเภสัชกร ในที่นี้จะแนะน�า 2

ทักษะส�าคัญที่เภสัชกรต้องเข้าไปมีบทบาทกับผู้ที่มารับบริการ

ทางสุขภาพ นั่นก็คือ การสอบถามอาการและการจ่ายยา

การสอบถามอาการหากจะต้องสื่อสารกับผู้ป่วยในร้านยา เพื่อหาข้อมูล

ความเจ็บป่วย ประวัติการแพ้ และข้อมูลการใช้ยาทั่วไปในผู้ป่วย

มีแนวทางการซักประวัติได้ดังนี้

เร่ิมต้นบทสนทนาด้วยประโยคค�าถามต่อไปน้ี ซึ่งเป็น

การถามในท�านองว่า มีอะไรให้ช่วยไหม มีปัญหาอะไรครับ/คะ

“May I help you?”

“How can I help you?”

“What seems to be the problem?”

“What can I do for you today?”

หากจะถามอาการเบื้องต้น อาจถามค�าถามกว้าง ๆ

ให้ผู้ป่วยได้อธิบาย เช่น “Tell me about your problem” หรือ

ต้อนรับ AEC...ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์

ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์กลุ่มวิจัยเภสัชเคมีวิเคราะห์

“Can you give more details on the symptom?”

เมื่ออยากรู้ว่าผู้ป่วยเริ่มมีอาการมานานเท่าไร สามารถ

กล่าวได้ว่า “How long have you been ชื่ออาการ?” สามารถ

เติมอาการของโรคตรง “ชื่ออาการ” เช่น ill, sick, having sore

throat เป็นต้น หรือจะถามว่ามีอาการตั้งแต่เมื่อไร อาจพูดได้ว่า

“When did you get sick?” เป็นต้น

ส่วนประโยคท่ีว่า “Have you ever had ชื่ออาการ?”

เป็นการต้ังค�าถามในท�านองว่า เคยมีอาการ “ชื่ออาการ”

มาก่อนหรอืไม่ ตวัอย่างเช่น “Have you ever had this symptom

before?” เป็นต้น

หากจะสอบถามผู้ป่วยถึงยาที่ใช้อยู่ในขณะนี้ สามารถ

ถามได้ว่า

“Have you taken any medicines recently?” (ช่วงนี้

คุณได้รับยาอะไรอยู่หรือไม่)

“Do you take any medicine regularly?” (คุณได้กิน

ยาอะไรเป็นประจ�าหรือไม่)

หรือหากต้องการถามในท�านองว่าได้ใช้ยาเพื่อบรรเทา

อาการมาก่อนหรือไม่ ตัวอย่างประโยค เช่น “Are you taking

any medications?” (คุณก�าลังรับประทานยาอะไรอยู่หรือไม่)

ที่ส�าคัญและไม่ควรลืม ก่อนจะจ่ายยาให้กับผู ้ป่วย

ต้องสอบถามถงึประวตักิารแพ้ยา ว่าคณุมอีาการแพ้ยาอะไรหรอืไม่

โดยพูดว่า “Are you allergic to any medication?” แล้วมีอาการ

แพ้อย่างไร สามารถพูดได้ว่า “What reaction do you have?”

Page 2: ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์

R&D Newsletter

18

วำรสำรเพื่อกำรวิจัยและพัฒนำ องค์กำรเภสัชกรรม

ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลำคม - ธันวำคม 2556

ค�ำถำมอื่นๆ ที่ควรรู้ ได้แก่

“Has anyone in your family had the same symptom?”

(มีใครในครอบครัวของคุณที่มีอาการเดียวกันนี้หรือไม่)

“Do you smoke/drink?” (คณุสบูบหุรี/่ดืม่เหล้าหรอืไม่)

“Are you pregnant?” (คุณก�าลังตั้งครรภ์หรือไม่)

“Have you had any operations?” (คุณเคยได้รับการ

ผ่าตัดมาก่อนหรือไม่)

จบบทสนทนาด้วยประโยคง่าย ๆ อย่างการขอบคุณ

เช่น

“Thank you, please come again next time.”

(ขอบคุณครับ/ค่ะ โอกาสหน้าเชิญใหม่นะครับ/คะ),

“Thank you. Do you have any questions?”

(ขอบคุณครับ/ค่ะ มีค�าถามอะไรหรือไม่ครับ/คะ)

การจ่ายยาเมื่อผู ้ป ่วยมารับยากับเภสัชกรในโรงพยาบาลหรือ

ร้านยา สามารถสือ่สารกบัผูป่้วยในรปูแบบประโยคทีว่่า “I will give

you ชนิดของยา called ชื่อยา”หรือ “This is ชนิดของยา. It has

ชื่อยา” แล้วตามด้วยวิธีการใช้เป็นภาษาอังกฤษ เช่น “Take

it จ�านวนของยา ความถ่ีต่อวัน เวลา for จ�านวนวัน day (s)”

ค�าที่แสดงความถี่ที่พบบ่อย เช่น once daily/a day (วันละครั้ง),

twice daily/a day (วันละ 2 ครั้ง), three times daily/a day

(วันละ 3 คร้ัง), every 4-6 hours (ทุก 4 ถึง 6 ชั่วโมง) เป็นต้น

ส่วนเวลาใช้ยาที่พบบ่อย ได้แก่ before meals (ก่อนอาหาร),

with meals (พร้อมอาหาร), after meals (หลังอาหาร),

at bedt ime (ก ่อนนอน) เป ็นต ้น ทั้ งนี้ประโยคสนทนา

อาจเปลี่ยนแปลงไปตามรูปแบบของยาด้วย

ตัวอย่ำง

“I will give you a medicine called paracetamol.

Take it (this medication) 1 to 2 tablets every 4 to 6 hours

as needed for pain.” (ผมจะจ่ายยา paracetamol ให้นะครับ

รับประทานยานี้ 1-2 เม็ด ทุก 4-6 ชั่วโมง เมื่อมีอาการปวด)

“Take it 2 tablespoons twice a day.” (รับประทาน

ยา 2 ช้อนโต๊ะ วันละ 2 ครั้ง)

“Put 2-3 drops in the right eye 3 times daily.”

(หยอด 2-3 หยดที่ตาข้างขวา วันละ 3 ครั้ง)

“Apply externally 2 times a day.” (ทาภายนอก

วันละ 2 ครั้ง)

“Take two puffs 3 times a day.” (พ่น 2 พัฟ วันละ

3 ครั้ง)

“Inject subcutaneously two times a day, 10 units

before breakfast and 7 units before dinner.” (ฉีดใต้ผิวหนัง

วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า 10 ยูนิต ก่อนอาหารเย็น 7 ยูนิต)

“Put it under your tongue” (อมไว้ใต้ลิ้น)

นอกจากนี้ เภสัชกรอาจจ�าเป็นต้องให้ค�าแนะน�าในการ

เก็บรักษายา

ตัวอย่ำงค�ำแนะน�ำที่พบบ่อย ได้แก่

“Keep out of the reach of children.” (เกบ็ให้พ้นมอืเดก็)

“Store it at room temperature and away from heat,

sunlight and moisture.” (ควรเก็บยาในอุณหภูมิห้อง และ

หลีกเลี่ยงความร้อน แสงแดด และความชื้น)

หากเป็นยาท่ีต้องเก็บในตู้เย็น แต่ห้ามแช่แข็ง เช่น

ยาเหน็บทวารหนัก สามารถแนะน�าได้ว่า “Keep it in the

refrigerator. Do not use the freezer.” (เก็บยาไว้ในตู้เย็น ห้าม

แช่แข็ง)

ข ้อควรระวังส�าคัญที่จะเพิ่มความปลอดภัยและ

ประสิทธิภาพในการใช้ยาแก่ผู้ป่วย เช่น

หากจ่ายยาที่อาจท�าให้ง่วงนอน ต้องแนะน�าว่า “This

medication might make you feel asleep. Do not drive or

operate heavy machinery while taking this medication.”

(ยานี้อาจท�าให้ง ่วงนอน ห้ามขับรถหรือคุมเครื่องจักรขณะ

รับประทานยานี้)

หากเป็นยากลุ่มปฏิชีวนะท่ีต้องรับประทานยาทุกวัน

จนหมด อาจพูดได้ว่า “Keep taking antibiotics until finish”

(โปรดรับประทานยาปฏิชีวนะจนยาหมด)

หากเป็นยาที่สามารถเกิดอันตรกิริยากับยาลดกรด

เช่น ยาเม็ดเคลือบเอนเทอริก (enteric-coated tablet) สามารถ

แนะน�าได้ว่า “Do not take antacids while taking this

medication.”

Page 3: ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์

R&D Newsletter

19

ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลำคม - ธันวำคม 2556

วำรสำรเพื่อกำรวิจัยและพัฒนำ องค์กำรเภสัชกรรม

ตัวอย่างบทสนทนามาลองดูตัวอย่าง โดยให้ A คือเภสัชกร และ B คือผู้รับบริการ

A: Good morning. May I help you? A: สวัสดียามเช้าค่ะ มีอะไรให้ช่วยไหมคะ

B: Yes, I have a terrible headache. B: ดิฉันมีอาการปวดค่ะ

A: Can you please describe the pain to me? A: ช่วยอธิบายอาการปวดให้ฟังหน่อยค่ะ

B: It is a pounding pain, and feels like it will split my head. B: มันปวดเค้นมาก รู้สึกเหมือนหัวจะแยกออกจากกันเลยค่ะ

A: How long have you had the pain? A: ปวดมานานเท่าไรแล้วคะ

B: It started about 30 minutes ago. B: เมื่อประมาณ 30 นาทีที่แล้วค่ะ

A: Do you have these headaches often? A: ปวดอย่างนี้บ่อยไหมคะ

B: I don’t get headaches very often. B: ไม่ค่อยปวดบ่อยค่ะ

A: It sounds like it is probably a stress headache. Here,

take this medicine. It’s an analgesic called paracetamol. It

should help relieve the pain.

A: ลักษณะนี้เหมือนอาการปวดหัวจากความเครียด จึงจ่ายยานี้

นะคะ เป็นยาแก้ปวด ชื่อว่า paracetamol จะช่วยบรรเทาอาการ

ปวดได้ค่ะ

B: How often should I take this medication? B: ดิฉันต้องกินยานี้บ่อยแค่ไหนคะ

A: You should take one tablet every 4 hours as needed if

the pain continues. Do you have any more questions?

A: รับประทานยานี้ 1 เม็ด ทุก 4 ชั่วโมง จนกว่าจะหายปวดค่ะ

มีค�าถามอะไรอีกไหมคะ

B: No, thank you! B: ไม่ค่ะ ขอบคุณค่ะ

เอกสารอ้างอิง1. Thamolwan Lamai. 2553. Pharmacy English. โรงพิมพ์นพรัตน์.

2. http://www.skcc.ac.th/elearning/ge0103/?p=111