50
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา 23201 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่น บทนำ การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนีเป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ แล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติม เพื่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเอง วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้เรียน รักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็นการทาความรู้จัก สังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธานแห่งชาติและความ เข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคม มนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหา คาตอบด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่ หลงเชื่อคาพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่ง ที่ต้องทาเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการ ต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจาก หลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอ ไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน) 2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ 4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง 5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง

เล่มที่ 6 ประเพณี

  • Upload
    -

  • View
    77

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201

ส านักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่น

บทน ำ การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ แล้วน าข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติมเพ่ือสะดวกในการน าไปศึกษาได้ด้วยตนเอง วัตถุประสงค์เพ่ือสร้างความตระหนักให้ผู้เรียน รักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็นการท าความรู้จักสังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธานแห่งชาติและความเข้าใจวัฒนธรรมประจ าชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหาค าตอบด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ท าไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่หลงเชื่อค าพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องท าเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตส านึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นน าเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจนเพ่ือให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 1. การก าหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน) 2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ 4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพ่ือค้นหาข้อเท็จจริง 5. น าเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความล าเอียง

Page 2: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ขั้นตอนที่ 1

กำรก ำหนดหัวเรือ่ง การก าหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไหนให้ชัดเจนในหนังสือเล่มนี้ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้ 1. ประเพณีในท้องถิ่น 2. วัฒนธรรมในท้องถิ่น 3. ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น 4. ประเพณีท่ีส าคัญในท้องถิ่น 5. ประเพณีส าคัญบ้านโนนเจริญ 6. การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย 7. การอนุรักษ์ประเพณีไทย 8. ประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่น เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 8 ประเพณีวัฒนธรรมในท้องถิ่นโดยให้เหตุผลว่า เป็นชื่อที่สั้นครอบคลุมเนื้อหาเป็นการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นทั้ง 11 หมู่บ้าน ที่ไหน หมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลต าบลโนนเจริญ ทั้ง 11หมู่บ้านดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ

หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ

หมู่ที่ 5 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 6 บ้านหนองแวง

หมู่ที่ 7 บ้านถนน หมู่ที่ 8 บ้านสายโท 9 ซอย 3

หมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่ หมู่ที่ 10 บ้านสามขาพัฒนา

หมู่ที่ 11 บ้านสันติสุข

ช่วงเวลำใด ประมาณปี พ.ศ. 2517-2554

Page 3: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ขั้นตอนที่ 2 กำรรวบรวมข้อมูล

หลักฐำนที่เป็นลำยลักษณ์อักษร

1. หนังสือการสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์

ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1

2. รายงานการสรุปผลการจัดกิจกรรมสืบสานงานประเพณีลอยกระทงปี พ.ศ. 2554

หลักฐำนที่ไม่เป็นลำยลักษณ์อักษร 1. นายสมศักดิ์ สุมาลี นายกเทศมนตรีเทศบาลต าบลโนนเจริญ

2. นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว รองนายกเทศมลตรีเทศบาลต าบลโนนเจริญ

3. นายประกาย ศรีเหมือน ก านันต าบลโนนเจริญ

4. นายอนุสิทธิ์ กัญหา หมู่ที่ 1

5. นายสนับ ศิลปโสภา หมู่ที่ 3

6. นายบุญธรรม อ่อนหางหว้า หมู่ที ่4

7. นางประไพ รักตลาด หมู่ที่ 5

8. นายประเสริฐ จันทสนิท หมู่ที่ 6

9. นายวรวัฒน ์หกประโคน หมู่ที่ 7

10. นายดาว อินทร์งาม หมู่ที่ 8

11. นายนงค์ จ านงประโคน หมู่ที่ 9

12. นายสมจิตร ธรรมนาม หมู่ที่ 10

13. นายยงศิลป์ ศรีหาโคตร หมู่ที่ 11

14. นายสมเกียรติ สวงรัมย์ ผู้อ านวยการโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม

15. คณะครูโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม

Page 4: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ขั้นตอนที่ 3

ประเมินคุณค่ำของหลักฐำน จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์ นายสมศักดิ์ สุมาลี

นายกเทศมลตรีเทศบาลต าบลโนนเจริญ นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว รองนายกเทศมลตรี

เทศบาลต าบลโนนเจริญ นายประกาย ศรีเหมือน ก านันต าบลโนนเจริญ นายอนุสิทธิ์ กัญหา

หมู่ที่ 1 นายสนับ ศิลปโสภา หมู่ที่ 3 นายบุญธรรม อ่อนหางหว้า หมู่ที่ 4 นางประไพ

รักตลาด หมู่ที่ 5 นายประเสริฐ จันทสนิท หมู่ที่ 6 นายวรวัฒน์ หกประโคน หมู่ที่ 7

นายดาว อินทร์งาม หมู่ที่ 8 นายนงค์ จ านงประโคน หมู่ที่ 9 นายสมจิตร ธรรมนาม หมู่ที ่10

นายยงศิลป์ ศรีหาโคตร หมู่ที่ 11 นายสมเกียรติ สวงรัมย์ ผู้อ านวยการโรงเรียนโนนเจริญ

พิทยาคมและคณะครูโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม สรุปได้ว่า ชาวโนนเจริญพร้อมใจกันเลือก

กิจกรรมลอยกระทงมาอนุรักษ์ไว้เป็นประเพณีประจ าต าบลโนนเจริญเจริญเพ่ือสร้างเสริม

ความสามัคคีเป็นช่วงเวลาที่เหมาะแก่การจัดกิจกรรมรื่นเริง เพราะเป็นช่วงเก็บเกี่ยวผลผลิต

ทางการเกษตร

จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร หนังสือการสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญ

โดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กลุ่มท่ี 1 และรายงานการสรุปผลการจัดกิจกรรมสืบ

สานงานประเพณีลอยกระทง ประจ าปี 2554 สรุปได้ว่า ประชาชนให้ความร่วมในการจัด

กิจกรรมแม้มีปัญหาอุปสรรคบางแต่ผู้น าหมู่บ้านและประชาชนก็จะช่วยเหลือ เสนอแนะ

รวมถึงการร่วมบริจาคเงินและสิ่งของเพ่ือให้การจัดกิจกรรมบรรลุวัตถุประสงค์และเป็นไป

ตามประเพณีดั้งเดิม

Page 5: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ขั้นตอนที่ 4

วิเครำะห์และสังเครำะห์ข้อมูล

ภาคอีสานเป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณี แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นแต่ละจังหวัด ศิลปวัฒนธรรมเหล่านีเ้ป็นตัวบ่งบอกถึงความเชื่อ ค่านิยม ศาสนาและรูปแบบการด าเนินชีวิต ตลอดจนอาชีพของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ ได้เป็นอย่างดี

แต่ชาวโนนเจริญพร้อมใจกันเลือกกิจกรรมลอยกระทงมาอนุรักษ์ไว้เป็นประเพณีประจ าต าบล

โนนเจริญเจริญ เพ่ือสร้างเสริมความสามัคคีและเป็นช่วงเวลาที่เหมาะแก่การจัดกิจกรรมรื่นเริง

เพราะเป็นช่วงเก็บเก่ียวผลผลิตทางการเกษตร

Page 6: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ขั้นตอนที่ 5

กำรตีควำมหลักฐำน

จากการศึกษาประวัติความเป็นมางานประเพณีลอยกระทงโดยการสัมภาษณ์

และการสังเกตการณ์พบว่า ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีชาวอีสานเหนือมีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมประเพณี ส่วนหนึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการเป็นศูนย์รวมของประชากรหลากหลายเชื้อชาติและมีการติดต่อสังสรรค์กับประชาชนในประเทศใกล้เคียง จนกอ่ให้เกิด การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมขึน้ ส่วนประชาชนชาวอีสานตอนล่างมีการติดต่อกับประชาชนชาวกัมพูชาไดร้ับเอาวัฒนธรรมของกัมพูชามาประยุกต์ใช้ เห็นได้ชัดทั้งวัฒนธรรมทางด้าน การด ารงชีวิตและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา ซึ่งเราสามารถสังเกตรูปแบบวัฒนธรรม ที่ดีงามของชาวอีสานผ่านทางประเพณีต่าง ๆ ที่ชาวอีสานจัดขึ้นซึ่งสามารถถ่ายทอดวัฒนธรรมอีสานได้เป็นอย่างดี ศิลปวัฒนธรรมชาวบ้านโนนเจริญได้น าเอาวัฒนธรรมไทยและกัมพูชามาผสมผสานกัน

เป็นวัฒธรรมใหม่ที่ลงตัว เป็นวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มีลักษณะเฉพาะของชาวบ้านโนนเจริญที่แท้จริง

Page 7: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

องค์ควำมรู้ที่ได้จำกกำรศึกษำท้องถิ่นของเรำ

โดยใช้วิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ .................................................................................

ภาคอีสานเป็นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณี แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นแต่ละจังหวัด ศิลปวัฒนธรรมเหล่านีเ้ป็นตัวบ่งบอกถึงความเชื่อ ค่านิยม ศาสนาและรูปแบบการด าเนินชีวิตตลอดจนอาชีพของคนในท้องถิ่นนั้นๆได้เป็นอย่างดี สาเหตุที่ภาคอีสานมีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมประเพณี ส่วนหนึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการเป็นศูนย์รวมของประชากรหลากหลายเชื้อชาติและมีการติดต่อสังสรรค์กับประชาชน ในประเทศใกล้เคียงจนก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมขึน้ เช่น ประชาชนแถบจังหวัดเลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อุบลราชธานี อ านาจเจริญที่มีพรมแดนติดต่อกับประเทศลาว ประชาชนของทั้งสองประเทศมีการเดินทางไปมาหากันท าให้เกิดการถ่ายทอดและแลก เปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมและประเพณีระหว่างกัน ซึ่งเราจะพบว่าชาวไทยอีสานและชาวลาว แถบลุ่มแม่น้ าโขงมีศิลปวัฒนธรรมประเพณีท่ีคล้าย ๆ กัน และรูปแบบการด าเนินชีวิตก็มี ความคล้ายคลึงกันด้วยรวมทั้งชาวเวียดนามที่อพยพเข้ามาในช่วงสงครามเวียดนาม ก็ได้น าเอาศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามเข้ามาด้วย ถึงแม้ปัจจุบันชาวเวียดนามเหล่านี้จะได้ปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมของท้องถิ่นอีสาน (เพ่ือให้การด ารงชีวิตเป็นไปอย่างราบรื่น) ชาวเวียดนามที่เป็นวัยรุ่นในปัจจุบันได้รับการศึกษาที่ดีเหมือนกับชาวไทยทุกประการ จนแทบแยกไม่ออกว่าเป็นคนไทยอีสานหรือคนเวียดนามกันแน่ ส่วนใหญ่ก็จะเห่อวัฒนธรรมตะวันตก (เหมือนเด็กวัยรุ่นของไทย) จนลืมวัฒนธรรมอันดีงามของตัวเองแต่ก็ยังมีชาวเวียดนามบางกลุ่มส่วนใหญ่เป็นคนสูงอายุยังคงยึดมั่นกับวัฒนธรรมของตนเองอยู่อย่างมั่นคงท่านสามรถศึกษารูปแบบการด าเนินชีวิตแบบเวียดนามได้ตามชุมชนชาวเวียดนามในจังหวัดที่กล่าวมาแล้ว ส่วนประชาชนชาวอานตอนล่างจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ นครราชสีมา มีการติดต่อกับประชาชนชาวกัมพูชาไดร้ับเอาวัฒนธรรมของกัมพูชามาประยุกต์ใช้ซึ่งส่วนใหญ่แล้ววัฒนธรรมประเพณีของคนทั้งสองเชื้อชาติก็มีความคล้ายคลึงกันอยู่แล้ว จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าภาคอีสานเป็นภูมิภาคท่ีมี

Page 8: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและวัฒนธรรมต่าง ๆ ก็มีความแตกต่างกันตามแต่ละท้องถิ่นและแตกต่างจากภูมิภาคอ่ืน ๆ ของไทยอย่าง เห็นได้ชัดทั้งวัฒนธรรมทางด้านการด ารงชีวิต และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนาซึ่งเราสามารถสังเกตรูปแบบวัฒนธรรมที่ดีงามของชาวอีสานผ่านทางประเพณีต่าง ๆ ที่ชาวอีสานจัดขึ้น ซึ่งสามารถถ่ายทอดวัฒนธรรมอีสานได้ เป็นอย่างดี

ชุมชนแต่ละชุมชนย่อมมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง เป็นวิถีการด ารงชีวิต ความเชื่อ การปกครอง ขนบธรรมเนียมประเพณี ของตนเอง บ้านโนนเจริญก็เช่นเดียวกันเป็นชุมชนที่มีขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีเด่นชัด มีการจัดเป็นประจ าทุกปี นั่นคือ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีปิยะมหาราชสร้างสามัคคี ประเพณีตามฮีตสิบสองคลองสิบสี่ มีศิลปวัฒนธรรม ที่หลากหลาย การแสดงพ้ืนบ้าน ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้แสดงถึงศักยภาพของชาวโนนเจริญทุกฝ่าย ที่ได้ร่วมกันสร้างสรรค์ รณรงค์จนกลายเป็นประเพณีของหมู่บ้านดังจะกล่าวต่อไป

ช่ือภาพ : ประเพณีเดือนเก้าข้าวประดับดินของชาวบ้านโนนเจรญิ

ภาพโดย : นางสาวสุภาพร สายวนั

Page 9: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ประเพณีลอยกระทง ชาวโนนเจริญได้จัดขึ้นจัดต่อเนื่องสืบต่อกันมาตามความเชื่อท่ีต้องการขอขมาและบูชาแม่คงคาที่ท าให้พระแม่คงคาสกปรกตามความเชื่อในศาสนาพุทธและแสดงความระลึกถึงพระคุณของพระแม่คงคาที่ให้ชาวบ้านมีน้ ากินน้ าใช้กันจนถึงปัจจุบัน บ้านโนนเจริญเริมมี การจัดประเพณีลอยกระทงประมาณ ปี พ.ศ. 2518 โดยชาวบ้านและผู้น าหมู่บ้านโนนเจริญและต าบลเขาดินเหนือ (ต าบลโนนเจริญเดิม) โดยมีนายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว เป็นผู้น าใน การจัดครั้งแรกที่สระน้ า นพค. (หมู่ท่ี 2) สถานที่จัดงานคับแคบเลยย้ายไปจัดข้างหนองสิม (หมู่ท่ี 3) ต่อมาบ้านโนนเจริญยกฐานะเป็น อบต. คณะผู้บริหาร ผู้น ารวมทั้งความไม่สะดวก จึงย้ายสถานที่จัดงานอีกครั้งโดยย้ายไปทีล่านเอนกประสงค์อยู่ทางด้านทิศตะวันออกของหนองบ้านโนนเจริญ (หนองน้ าหลวงปู่ฌาน) ชาวบ้านทุกครัวเรือนจะมีส่วนร่วมในกิจกรรมวันลอยกระทงระดมสมองร่วมบริจาคอาหารสิ่งของและเงินเพ่ือจัดกิจกรรมร่วมกัน กิจกรรมที่จัดขึ้นมีหลากหลายให้ท าร่วมกัน เช่น การฝึกซ้อมขบวนนางร า ท าให้มีเสียงเครื่องไฟ เสียงดนตรี เสียงกลองยาว ดังกระหึ่มไปทั้งต าบล การประดิษฐ์กระทงใหญ่ประกอบขบวนแห่จากวัสดุธรรมชาติที่สวยงาม การซ้อมกลองยาวเพ่ือเข้าประกวดการละเล่นกลองยาว การฝึกซ้อม มวยทะเล เป็นต้น

Page 10: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ก ำหนดกำรจัดกิจกรรมสืบสำนงำนประเพณีลอยกระทง ปีพ.ศ. 2554 วันที่ 9 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2554 (ภำคกลำงวัน) 1. พิธีเซ่นไหว้หลวงปู่ฌาน

ชื่อภาพ : พิธีเซ่นไหว้หลวงปู่ฌาน

Page 11: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

2. การแข่งขันกีฬา เช่น มวยทะเล แข่งเรือและฟุตบอล 5 คน

ชื่อภาพ : กีฬาพ้ืนบ้าน “มวยทะเล”

Page 12: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพ : กีฬาพ้ืนบ้าน “แข่งเรือ”

Page 13: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพ : กีฬาพ้ืนบ้าน “ฟุตบอล 5 คน”

Page 14: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

วันที่ 9 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2554 (ภำคกลำงคืน) 1. การแสดงพ้ืนบ้านของภูมิปัญญาท้องถิ่น

การแสดงจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาพบน : หมอล ากลอน ภาพล่าง : กัมตรึม

Page 15: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

2. การแสดงของเยาวชนและการออกร้านจ าหน่ายสินค้าและเกมการกุศล

ภาพบน : การแสดงบนเวที

ภาพล่าง : การออกร้านจ าหน่ายสินค้าและเกมการกุศล

Page 16: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

วันที่ 10 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2554 ภำคกลำงวัน 10.00 น. กระทงทุกหมู่บ้านไปรวมกันที่สนามโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ 10.30 น. ตั้งขบวนที่สนามโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ สาวงามผู้เข้า ประกวดนางนพมาศทุกหมู่บ้านรายงานตัวที่กองอ านวยการ 11.00 น. พิธีเปิด 11.30 น. เคลื่อนขบวน 1๖.00 น. สาวงามทุกหมู่บ้านแนะน าตัวบนเวที 17.00 น. สาวงามทุกหมู่บ้านแยกย้ายไปพักผ่อนตามอัธยาศัยเพ่ือเตรียมตัว ขึ้นประกวดในรอบกลางคืนต่อไป ภำคกลำงคืน 18.30 น. สาวงามทุกหมู่บ้านรายงานตัว 19.00 น. สาวงามผู้เข้าประกวดทุกหมู่บ้านขึ้นนั่งกระทง 19.30 น. ประธานและแขกผู้มีเกียรติร่วมลอยกระทง 20.00 น. งามเตรียมตัวเข้าประกวด/ชมการแสดงวงดนตรีสากล/ดนตรี พ้ืนบ้านโปงลางจากโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม 20.30 น. ประธานในพิธีกล่าวให้แนวคิด เชิญผู้มีเกียรติ บุคคลส าคัญพบปะ ประชาชนชาวโนนเจริญสลับกับการแสดงของโรงเรียนโนนเจริญ พิทยาคมและการประกวดนางนพมาศ 21.30 น. ประกาศผลการแข่งขันกิจกรรมทุกประเภท มอบรางวัล -ขบวนแห่ -กลองยาว -กระทงใหญ่ -กีฬาเรือยาว/มวยทะเล -นางร า -กีฬาฟุตบอล 5 คน 22.00 น. ประกาศผลการการประกวดนางนพมาศ พิธีมอบรางวัล

Page 17: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ประมวลภำพสืบสำนประเพณีลอยกระทงปี พ.ศ. 2554

ชื่อภาพ : นายสายบัว เพ็ญศรี สจ. จังหวัดบุรีรัมย์ ประธานในพิธี

Page 18: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพ : ขบวนแรกโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม

Page 19: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพบน : นางนพมาศหมู่ท่ี 1 บ้านโนนเจริญ

ชื่อภาพล่าง : นางนพมาศหมู่ที่ 9 บ้านโคกใหญ่

Page 20: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพบน : นางนพมาศหมู่ท่ี 3 บ้านโนนเจริญ

ชื่อภาพล่าง : นางนพมาศหมู่ที่ 10 บ้านสามขาพัฒนา

Page 21: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพบน : นางนพมาศหมู่ท่ี 5 บ้านโนนเจริญ ”

ชื่อภาพล่าง : นางนพมาศหมู่ที่ 8 บ้านนิคม 9 ซอย 3

นางนพมาศหมู่ท่ี 5 บา้นโนนเจริญ ”

Page 22: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 22

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพบน : นางนพมาศหมู่ท่ี 6 บ้านหนองแวง

ชื่อภาพล่าง : นางนพมาศหมู่ที่ 8 บ้านโนนเจริญ

Page 23: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 23

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพบน : ขบวนแห่หมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ

ชื่อภาพล่าง : ขบวนแห่หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ

Page 24: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 24

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพบน : ขบวนแห่ความคิดสร้างสรรค์นักเรียนโนนเจริญพิทยาคม ”

ชื่อภาพล่าง : ขบวนแห่ของเยาวชนเสื้อเขียว “เยาวชนลดเหล้า”

Page 25: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 25

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพบน : ขบวนฟ้อนร าก าหนดอย่างต่ า 45 คนข้ึนไป

ชื่อภาพล่าง : ขบวนฟ้อนร าก าหนดอย่างต่ า 45 คนข้ึนไป

Page 26: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 26

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพบน : ขบวนฟ้อนร าก าหนดอย่างต่ า 45 คนข้ึนไป

ชื่อภาพล่าง : ขบวนฟ้อนร าก าหนดอย่างต่ า 45 คนข้ึนไป

Page 27: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 27

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพบน : ขบวนแห่ความคิดสร้างสรรค์ของภูมิปัญญาชาวบ้าน

ชื่อภาพล่าง: ขบวนแห่ความคิดสร้างสรรค์ของภูมิปัญญาชาวบ้าน

Page 28: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 28

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพ: ขบวนแห่ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กเล็ก

Page 29: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 29

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพ : ขบวนแห่ความคิดสร้างสรรค์ของผู้สูงวัย

Page 30: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 30

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพ : ขบวนแห่ความคิดสร้างสรรค์ของภูมิปัญญาชาวบ้าน

Page 31: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 31

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพ : ประชาชนให้ความร่วมมือและให้ความสนใจมาก

Page 32: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 32

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

การจัดงานประเพณีลอยกระทงในหมู่บ้านทุกปี ส่งผลให้เกิดผลดีต่อชุมชนหลายด้าน เป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว มีนักท่องเทีย่วทั้งในหมู่บ้านและต่างจังหวัด ชาวต่างประเทศ ที่เป็นเขยของหมู่บ้าน ลูกหลานที่ไปท างานต่างจังหวัดได้กลับบ้านมาเยี่ยมเยือนบิดามารดา น าเงินมาใช้จ่าย เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในต าบล ประเพณีปิยะมหำรำชสร้ำงสำมัคคี ชาวโนนเจริญเริ่มจัดขึ้นครั้งแรก เมื่อ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2520 โดยชาวบ้านและผู้น าหมู่บ้าน คือ นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว เป็นผู้ใหญ่บ้าน โดยจัดขึ้นที่บริเวณสนามกีฬาโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญจนถึงปัจจุบัน การจัดกิจกรรมวันปิยมหาราชเป็นประเพณีจัดติดต่อกันมานานหน่วยงานราชการ เอกชน องค์กรต่าง ๆ ร่วมจัดขึ้นและถือเป็นศักดิ์ศรีของหน่วยงานนั้น ๆ ที่จะประดิษฐ์พวงมาลาที่สวยงาม มาร่วมงานกันในวันดังกล่าว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระพระมหากรุณาธิคุณโดยการทรงงานเพ่ือประชาชนชาวไทย ท าให้ประชาชนอยู่อย่างสงบสุข ชาวบ้านโนนเจริญ

และชาวไทยจึงแสดงความจงรักภักดีตลอดมา

ชื่อภาพ : นายประเสริฐ ทองเต็มและนายพนม คิมรัมย์

ภาพโดย : นายนิติ คิมรัมย์

Page 33: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 33

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ช่ือภาพ : ประมวลภาพวันปิยมหาราช

ภาพโดย : นางนิธนันท์ เครือค า

Page 34: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 34

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

การจัดกิจกรรมวันปิยะมหาราช ปี พ.ศ. 2554 มีผู้เข้าร่วมพิธีน้อยลงเนื่อง อบต. เขาดินเหนือขอแยกตัวไปจัดเองที่ ต าบลเขาดินเหนือพวงมาลามีปริมาณลงบ้างแต่ก็มีหน่วยงานในเทศบาลต าบลโนนเจริญเพ่ิมมากข้ึนจึงท าให้ปริมาณพวงไม่บางตาลงเท่าใดนัก ความยิ่งใหญ่อลังการยังมีครบถ้วน กิจกรรมยังคงเดิมดังนี้

ภาคกลางวัน 08.00 น. ประชาชนพร้อมกันที่สนามโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ 09.00 น. ประธานในกล่าวเปิดงาน (ในแต่ละปีจะเชิญประธานไม่เหมือนกัน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นนักการเมือง เช่น ส.ส. ส.จ. อบจ. เป็นต้น 09.00 น. พิธีถวายพวงมาลาและค าสัตปฎิฎาน 10.00 น. การแข่งขันกีฬาสามัคคี

ภาคกลางคืน 19.00 น. ประชาชนพร้อมกันทีส่นามโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ 19.30 น. ร่วมรับประทานอาหารโต๊ะจีน (บางปีจะให้ประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน หน่วยงานราชการประกอบอาหารมาร่วมรับประทานกันสร้าง ความสามัคคีรูปแบบหนึ่ง ปัจจุบันเพื่อความสะดวกสบายจึง จัดรูปแบบโต๊ะจีนส่วนการแสดงใช้ดนตรีพ้ืนบ้านโปงลางจาก โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม แต่ปัจจุบันได้จ้างนักดนตรีอาชีพ มาท าการแสดง) 20.30 น. ประธานในพิธีกล่าวให้แนวคิด เชิญผู้มีเกียรติ บุคคลส าคัญพบปะ ประชาชนชาวโนนเจริญ 21.30 น. ประกาศผลการแข่งขันกิจกรรมทุกประเภท มอบรางวัล

Page 35: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 35

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ประมวลภำพงำนประเพณปีิยะมหำรำชสร้ำงสำมัคคี ปี พ.ศ. 2554

ชื่อภาพ : บรรยากาศโดยทั่วไปในงาน

Page 36: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 36

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ชื่อภาพ : บรรยากาศโดยทั่วไปในงาน

Page 37: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 37

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

คณะหมอล ำ บ้านโนนเจริญเคยมีคณะหมอล าประเภทล าเพลิน ชื่อคณะ “ขวัญใจโนนเจริญ” รวมตัวกันราวปี พ.ศ. 2517 มีนายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว ขณะนั้นด ารงต าแหน่งเป็นผู้ใหญ่บ้านเป็นหัวหน้าคณะ ท่านและครอบครัวย้ายมาจากจังหวัดร้อยเอ็ดเป็นถ่ินก าเนิดของหมอล าเพลินอยู่แล้วและถูกปลูกฝังมาตั้งแต่เป็นเด็ก ท่านได้ชักชวนชาวบ้านที่สนใจในการแสดงหมอล ามาร่วมซอ้มและแสดงร่วมกันส่วนใหญ่เป็นชาวโนนเจริญ แรก ๆ รวมตัวกันเล่นหมอล า เพ่ือความสนุกสนาน เพ่ือการผ่อนคลายหลังจากท าการเกษตร โดยมีนายประเสริฐและนางวันรี เป็นพระเอกนางเอกของคณะ

หลังจากท่ีเล่นจากแรกในหมู่บ้านก็เป็นที่นิยมทันทีขยายวงกว้างเรื่องที่เล่นชื่อว่าชาลาวัลไกรทอง เรื่องที่ 2 เรื่อง สุทนมโนรา รับงานทุกวันช่วงเทศกาล ท่านจึงพัฒนาวงให้สนุกสนานยิ่งขึ้น ทั้งกลอนล า การแต่งกายของพระเอกนางเอก ตัวตลก และชาวคณะให้มีคุณภาพ จึงท าให้ในขณะนั้นหมอล าคณะขวัญใจโนนเจริญมีความโด่งดังพอสมควร และได้มีการแสดงหลายจังหวัดทั่วภาคอีสาน หมอล าเพลินคณะขวัญใจโนนเจริญได้แสดงมาเรื่อยๆ จนถึงปี พ.ศ.2521 ก็ยุบวงลงเนื่องจากคุณพ่อประมุข ศักดิ์ศรีท้าว มีงานเข้ามาอย่างมาก

ช่ือภาพ : การฝึกซ้อมหมอล าขวัญใจโนนเจริญ

ภาพโดย : นายประมุข ศักดิ์ศรีทา้ว

Page 38: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 38

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ต่อมานายไว วงศ์อามาตย์ นายวุฒิกรณ์ เข็มทอง ร่วมกันก่อตั้งคณะหมอล าคณะขวัญใจโนนเจริญแต่เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ขวัญใจเพชรชายแดน โดยมีนายวุฒิกรณ์ เข็มทอง นางสาวบัวลา การรินทร์ เป็นคู่พระคู่นาง แต่ไม่นานก็ยุบวงลง ด้วยเหตุผลภาระงานแต่ละคนมากขึ้น ลูกวงแต่งงาน เป็นต้น มหรสพสมโภชงานต่าง ๆ ในหมูก็่มีค่านิยมท่ีเปลี่ยนไปเช่น นิยมดูภาพยนตร์โต้รุ่งมากข้ึน ด้วยเหตุผลของเจ้าภาพที่มีงบประมาณน้อย บางงานชอบ มวย ลิเก แล้วแต่เจ้าภาพผู้จัดงาน และสื่อที่ทันสมัยเข้ามามีบทบาทมากขึ้น เช่น โทรทัศน์ ซีดี ท าให้ประชาชนมีวิธีผ่อนคลายความเครียดไดห้ลากหลายวิธี ความส าคัญของการละเล่น หมอล าเลยลดน้อยไปตามกาลเวลา

เมื่อมีคนจากหลายจังหวัดมาอยู่รวมกัน ด้วยประเพณี ความเชื่อ ภาษา ที่แตกต่างกัน

อาจก่อปัญหาความขัดแย้ง ผู้น าชุมชนจึงหากลยุทธ์ในการสร้างความรัก ความสามัคคี โดยใช้ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข

ช่ือภาพ : นายวุฒิกรณ์ เข็มทอง พระเอกคณะหมอล าขวัญใจเพชรชายแดน

ภาพโดย : นางสาวเนตรนภา มูลมณ ี

Page 39: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 39

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

ข้อมูลนำงนพมำศ ปี พ.ศ. 2554

เทศบำลต ำบลโนนเจรญิ

นางนพมาศชื่อ นางสาววิภาพร พาชื่นใจ

ชื่อเล่น วิ อายุ 19 ปี

สัดส่วน 34/27/36 น้ าหนัก 55 กิโลกรัม ส่วนสูง 165 ซม.

ที่อยู่บ้านเลขที่ 91 หมู่ที่ 1 ต าบลโนนเจริญ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

การศึกษา ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยรามค าแหง

ความสามารถพิเศษ ด้านภาษาอังกฤษและงานศิลปะ (วาดภาพ)

งานอดิเรก อ่าหนังสือ ดูทีวี

คติประจ าใจ ไม่มีค าแพ้ หากเราไม่ยอมแพ้

สิ่งที่ชอบ ชอบที่จะหาความรู้

เหตุผล เพราะความรู้จะท าให้เราสามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างสมบูรณ์แบบ

สิ่งที่ไม่ชอบ ความกลัว

เหตุผล เพราะจะให้ไม่สามารถต่อสู้กับอุปสรรคต่าง ๆ ได้

นำงนพมำศ หมู่ที่ 1

Page 40: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 40

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

นำงนพมำศชื่อ นางสาวจุฑาทิพย์ ศรีเหมือน

ชื่อเล่น ฟ้า อำย ุ19 ปี

สัดส่วน 34/28/36 น้ ำหนัก 50 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร

ที่อยู่ บ้ำนเลขที่ 81 หมู่ที่ 2 ต าบลโนนเจริญ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

กำรศึกษำ ปริญญาตรีปีที่ 1 มหาวิทยาลัยบูรพา

ควำมสำมำรถพิเศษ ร า, ร้องเพลง

งำนอดิเรก ฟังเพลง

คติประจ ำใจ อดีตไม่ส าคัญ ปัจจุบันต้องท าให้ดีที่สุด

สิ่งท่ีชอบ ความเสมอภาค

เหตุผล เพราะทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกัน

สิ่งท่ีไม่ชอบ การเอาเปรียบคนอ่ืน

เหตุผล เพราะไม่มีความเป็นธรรม

นำงนพมำศ หมู่ที่ 2

Page 41: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 41

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

นำงนพมำศชื่อ นางสาวกิตติยา สมพร้อม

ชื่อเล่น แหม่ม อายุ 21 ปี

สัดส่วน 34/28/36 น้ าหนัก 49 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร

ที่อยู่ บ้านเลขท่ี 41 หมู่ที่ 3 ต าบลโนนเจริญ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

กำรศึกษำ ปริญญาตรีปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์

ควำมสำมำรถพิเศษ ร้องเพลงภาษาอังกฤษ

งำนอดิเรก อ่านหนังสือ ท างานบ้านและท าสวน

คติประจ ำใจ ท าวันนี้ให้ดีที่สุด

สิ่งท่ีชอบ ธรรมชาติ

เหตุผล เป็นสิ่งสวยงาม

สิ่งท่ีไม่ชอบ ความไม่เที่ยงตรง

นำงนพมำศ หมู่ที่ 3

Page 42: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 42

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

นำงนพมำศชื่อ นางสาวสุพิชฌาย์ วงศ์อามาตย์

ชื่อเล่น แอ๋ว อายุ 20 ปี

สัดส่วน 32/26/37 น้ าหนัก 46 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร

ที่อยู่ บ้านเลขท่ี 14 หมู่ที่ 4 ต าบลโนนเจริญ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

กำรศึกษำ ปริญญาตรีปีที่ 2 คณะวิทยาการจัดการ สาขาการเงินฯ

มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทร์เกษม

ควำมสำมำรถพิเศษ พูดภาษาอังกฤษ, ร าไทย

งำนอดิเรก อ่านหนังสือ, ร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัยฯ

คติประจ ำใจ ท าวันนี้ให้ดีที่สุด

สิ่งท่ีชอบ ชอบหาความรู้เพิ่มเติม

เหตุผล เปรียบเสมือนอินฟินิตี้ที่ไม่มีค าว่าสิ้นสุด

สิ่งท่ีไม่ชอบ การมีโรคภัย

เหตุผล เพราะการไม่มีโรคคือลาภอันประเสริฐ

นำงนพมำศ หมู่ที่ 4

Page 43: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 43

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

นำงนพมำศชื่อ นางสาวทัศนีวรรณ สิมาจารย์

ชื่อเล่น กระแต อายุ 19 ปี

สัดส่วน 33/24/34 น้ าหนัก 46 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร

ที่อยู่บ้ำนเลขที่ 128 หมู่ที่ 5 ต าบลโนนเจริญ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

กำรศึกษำ ปริญญาตรีปีที่ 2 สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์

ควำมสำมำรถพิเศษ พูดภาษาอังกฤษ

งำนอดิเรก อ่านหนังสือ,ฟังเพลง

คติประจ ำใจ วันนี้จะไม่มีค่า ถ้าไม่ใช่ที่มาของวันพรุ่งนี้

สิ่งท่ีชอบ ความยุติธรรม

เหตุผล เพราะสังคมต้องการความยุติธรรม

สิ่งท่ีไม่ชอบ ไม่ชอบเห็นคนท าชั่ว

เหตุผล เพราะสังคมต้องการคนดีอยู่มาก

นำงนพมำศ หมู่ที่ 5

Page 44: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 44

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

นำงนพมำศชื่อ นางสาวพิมวิพา ทายประโคน

ชื่อเล่น พิมพ์ อำย ุ20 ปี

สัดส่วน 33/24/34 น้ าหนัก 43 กิโลกรัม ส่วนสูง 163 เซนติเมตร

ที่อยู่บ้ำนเลขที่ 49 หมู่ที่ 6 ต าบลโนนเจริญ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

กำรศึกษำ ก าลังศึกษาปริญญาตรีปีที่ 2 สาขาภาษาอังกฤษ

มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์

ควำมสำมำรถพิเศษ ร าไทย, เล่นกีฬา

งำนอดิเรก ปลูกต้นไม้, สะสมสติเกอร์นักฟุตบอล

คติประจ ำใจ ความส าเร็จไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ

สิ่งท่ีชอบ การพูดไพเราะ เหตุผล เพราะจะท าให้คนฟังรู้สึกดี

สิ่งท่ีไม่ชอบ การคดโกง

เหตุผล เพราะจะท าให้ชาติหล่มจม

นำงนพมำศ หมู่ที่ 6

Page 45: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 45

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

นำงนพมำศชื่อ นางสาวปริชญา พลอาสา

ชื่อเล่น ใบเฟิร์น อำย ุ20 ปี

สัดส่วน 35/25/36 น้ าหนัก 51 กิโลกรัม ส่วนสูง 165 เซนติเมตร

ที่อยู่บ้ำนเลขที่ 135/1 หมู่ที่ 7 ต าบลโนนเจริญ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

กำรศึกษำ ก าลังศึกษาปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาสาธารณสุขชุมชน

มหาวิทยาราชภัฎบุรีรัมย์

ควำมสำมำรถพิเศษ ผู้น าเต้นแอโรบิค

งำนอดิเรก อ่านหนังสือ เต้นแอโรบิค

คติประจ ำใจ ท าวันนี้ให้ดีที่สุด

ส่ิงท่ีชอบ ความยุติธรรม

เหตุผล ทุกคนมีความเท่าเทียมและสิทธิเสรีภาพเท่ากัน

สิ่งท่ีไม่ชอบ การใช้ความรุนแรงกับผู้หญิงและเด็ก

เหตุผล เพราะเพศหญิงเป็นเพศเดียวกันกับแม่ควรเคารพ

นำงนพมำศ หมู่ที่ 7

นำงนพมำศ หมู่ที่ 7

Page 46: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 46

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

นำงนพมำศชื่อ นางสาวนภาพร อินทร์งาม

ชื่อเล่น ตาล อายุ 16 ปี

สัดส่วน 31/27/38 น้ าหนัก 53 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร

ที่อยู่บ้ำนเลขที่ 110 หมู่ที่ 8 ต าบลโนนเจริญ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

กำรศึกษำ ก าลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

ควำมสำมำรถพิเศษ เล่นกีฬา

งำนอดิเรก เล่นกีฬา

คติประจ ำใจ รักไม่ยุ่ง มุ่งแต่เรียน

สิ่งท่ีชอบ เล่นกีฬา

เหตุผล เพราะจะท าให้เราร่างกายแข็งแรง

สิ่งท่ีไม่ชอบ การหลอกลวง

เหตุผล เพราะเป็นสิ่งไม่ดี

นำงนพมำศ หมู่ที่ 8

Page 47: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 47

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

นำงนพมำศชื่อ นางสาวนภารินทร์ คงเอ็น

ชื่อเล่น นวน อำยุ 19 ปี

สัดส่วน 34/26/36 น้ าหนัก 47 กิโลกรัม ส่วนสูง 167 เซนติเมตร

ที่อยู่บ้ำนเลขที่ 192 หมู่ที่ 9 ต าบลโนนเจรญิ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

กำรศึกษำ ก าลังศึกษาระดับ ปวส. สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยี

หมู่บ้านครู เขตหนองแขม

ควำมสำมำรถพิเศษ ร้องเพลง

งำนอดิเรก เล่นคอมพิวเตอร์ ท างานบ้าน

คติประจ ำใจ เกิดเป็นไก่ต้องชน เกิดเป็นคนต้องสู้ สิ่งท่ีชอบ ดูแลสุขภาพ

เหตุผล เพราะจะได้มีสุขภาพจิต สุขภาพกายที่ดี

สิ่งท่ีไม่ชอบ คนผิดค าพูด

เหตุผล เพราะค าพูดเขาจะเชื่อไม่ได้

นำงนพมำศ หมู่ที่ 9

Page 48: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 48

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

นำงนพมำศชื่อ นาวสาวนิตยาภรณ์ สืบเพ็ง

ชื่อเล่น ส้ม อำยุ 20 ปี

สัดส่วน 32/26/32 น้ ำหนัก 42 กิโลกรัม ส่วนสูง 160 เซนติเมตร

ที่อยู่บ้ำนเลขที่ 190 หมู่ที่ 10 ต าบลโนนเจริญ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

กำรศึกษำ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามค าแหง ปัจจุบันท างานที่ธนาคารธนชาติ

ควำมสำมำรถพิเศษ เป็นผู้ช่วยพยาบาล

งำนอดิเรก งานบ้าน

คติประจ ำใจ ท าวันนี้ให้ดีที่สุด

สิ่งท่ีชอบ ชอบแต่งตัว

เหตุผล เพราะชอบความสวย

สิ่งท่ีไม่ชอบ คนโกงบ้านโกงเมือง

เหตุผล เพราะท าให้บ้านเมืองไม่เจริญ

นำงนพมำศ หมู่ที่ 9

Page 49: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 49

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

นำงนพมำศชื่อ นางสาวบงกช สุวรรณฑา

ชื่อเล่น โบว์ อำย ุ20 ปี

สัดส่วน 34/27/35

น้ ำหนัก 46 กิโลกรัม ส่วนสูง 152 เซนติเมตร

ที่อยู่บ้ำนเลขที่ 51/1 หมู่ที่ 11 ต าบลโนนเจริญ อ าเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์

กำรศึกษำ ปริญญาตรี

ควำมสำมำรถพิเศษ ร้องเพลง

งำนอดิเรก อ่านหนังสือ

คติประจ ำใจ ฝันให้ไกล ไปให้ถึง

สิ่งท่ีชอบ ดอกไม้

เหตุผล เพราะสวย มีชีวิตชีวา

สิ่งท่ีไม่ชอบ ตะขาบ

เหตุผล เพราะมันดูน่าเกลียด

นำงนพมำศ หมู่ที่ 11

Page 50: เล่มที่ 6 ประเพณี

หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 50

ส านักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)

บรรณำนุกรม

ยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่น กลุ่มท่ี 1. (2552). กำรสร้ำงบ้ำนแปงเมืองบ้ำนโนนเจริญ

บุรีรัมย์ : อัดส าเนา.

องค์การบริหารส่วนต าบล. (2554). รำยงำนกำรสรุปผลกำรจัดกิจกรรมสืบสำนงำนประเพณี

ลอยกระทงประจ ำปี 2554 บุรีรัมย์ : อัดส าเนา.