1
้ามันมะพร้าว กับ การลดน้าหนัก ้ามันมะพร้าว (coconut oil) คือน ้ามันที ่ได้จากการสกัดแยกน ้ามันจากเนื ้อผลของต้นมะพร้าว (Cocos nucifera L.) ซึ ่งเป็นพืชในตระกูลปาล์ม (Arecaceae หรือ Palmae) ผลิตภัณฑ์น ้ามันมะพร้าวที ่จาหน่ายในท้องตลาดและได้รับความสนใจ ในขณะนี คือ virgin coconut oil ซึ ่งหมายถึงน ้ามันมะพร้าวที ่ใช้วิธีการสกัดแยกจากเนื ้อมะพร้าวโดยไม่ผ่านกระบวนการที ่ใช้ ความร้อนสูงและไม่ผ่านกระบวนการแปรรูปทางเคมี วิธีที ่ใช้ในการเตรียม virgin coconut oil เช่น วิธีบีบเย็น เป็นต้น องค์ประกอบหลักของน ้ามันมะพร้าวเป็นกรดไขมันอิ่มตัว (มากกว่า 90% จากปริมาณกรดไขมันทั้งหมด ) แต่กรด ไขมันอิ่มตัวส่วนใหญ่ที ่พบในน ้ามันมะพร้าวนั ้นเป็น กรดไขมันที ่มีขนาดโมเลกุลปานกลาง (medium chain fatty acid) เช่น กรดลอริก (lauric acid) ซึ ่งเมื ่อรับประทานและถูกดูดซึมเข้าสู ่ร่างกาย แล้ว จะถูกเผาผลาญได้ดี จึงถูกสะสมในเนื ้อเยื ่อไขมัน (adipose tissue) ได้น้อยกว่ากรดไขมันที ่มีขนาดโมเลกุลยาว (long chain fatty acid) เช่น กรดไลโนเลอิก (linoleic acid) ซึ ่ง เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวที ่พบมากในน ้ามันถั่วเหลือง เป็นต้น (1, 2) จากคุณสมบัติดังกล่าวของน ้ามันมะพร้าว ส่งผลให้น ้ามันมะพร้าวได้รับความสนใจจากผู้บริโภค ในการรับประทาน เพื ่อช่วยลดความอ้วน จากรายงานการศึกษาทางคลินิก (randomised, double-blind, clinical trial) ในประเทศบราซิล (3) ทา การทดสอบเปรียบเทียบผลระหว่างกลุ่มที ่รับประทานน ้ามันมะพร้าวและกลุ่มที ่รับประทานน ้ามันถั่ว เหลืองในผู ้หญิงที ่มีภาวะ อ้วนลงพุง (abdominal obesity) มีอายุระหว่าง 20-40 ปี (กลุ่มละ 20 คน) รับประทาน 30 มล.ต่อวัน เป็นเวลา 12 สัปดาห์ ระหว่างการทดสอบ ผู้ทดสอบทุกคนจะได้รับอาหารพลังงานต ่า (hypocaloric diet) และออกกาลังกาย 4 วัน/สัปดาห์ หลัง สิ ้นสุดการทดลองพบว่า ้ามันมะพร้าวไม่ทาให้น ้าหนักตัว และ body mass index (BMI) เปลี ่ยนแปลงเมื ่อเทียบกับก่อนเริ่ม การทดลอง เมื ่อดูผลการเปลี ่ยนแปลง ของระดับไขมันในเลือด พบว่า กลุ่มที ่ได้รับน ้ามันมะพร้าว ไม่มีการเปลี ่ยน แปลงของ ระดับคลอเลสเตอรอลรวมและ ไขมันตัวร้าย (LDL) แต่มีระดับไขมันตัวดี (HDL) เพิ่มขึ ้นร้อยละ 7.03 ในขณะที ่กลุ่มที ่ได้รับ ้ามันถั่วเหลือง มีระดับคลอเลสเตอรอลรวมและไขมันตัวร้าย (LDL) เพิ่มขึ ้นร้อยละ 10.45 และ 23.48 ตามลาดับ และมีระดับ ไขมันตัวดี (HDL) ลดลงร้อยละ 12.62 เมื ่อเทียบกับก่อนเริ่มการทดลอง อย่างไรก็ตามระดับไตรกลีเซอไรด์ของทั้งสองกลุ่มไม่ เปลี ่ยนแปลง แม้การศึกษานี ้จะแสดงให้เห็นว่าน ้ามันมะพร้าวไม่ได้มีผลต่อการลดลงของน ้าหนักตัวของกลุ่มทดลอง และไม่ทาให้ ระดับไขมันที ่สัมพันธ์กับการเกิ ดโรคหัวใจและหลอดเลือด (คลอเลสเตอรอลรวม ไขมันตัวร้าย (LDL) และไตรกลีเซอไรด์ ) เพิ่มขึ ้น อีกทั้งยังช่วยเพิ่มระดับไขมัน ตัวดี (HDL) ที ่ช่วยลดอัตราการเกิดโรคดังกล่าวด้วย อย่างไรก็ตามการศึกษานี ้ทาการ ทดสอบใน กลุ่มคนจานวน น้อย และระยะเวลาที ่ทดลองก็เป็นเพียงช่วงสั้นๆ (12 สัปดาห์ ) นอกจากนั้น การได้รับอาหาร พลังงานต ่าและการออกกาลังกายสม ่าเสมอ (4 วัน/สัปดาห์ ) ก็นับเป็นป จจัยร่วมสาคัญที ่อาจส่งเสริมให้ผลการทดลองเป็นไป ในทางที ่ดี จึงควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื ่อดูผลของน ้ามันมะพร้าวต่อการลดน ้าหนักและ การสะสมของระดับไขมันดังกล่าว ใน ระยะยาว ดังนั้นจากข้อมูลที ่มีในขณะนี ้จึงยังไม่เพียงพอที ่จะสรุปได้ว่าน ้ามันมะพร้าวมีผลต่อการลดน ้าหนัก หรือจะส่งผลดีต่อ ระดับไขมันที ่สัมพันธ์กับการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด และหากจะให้แนะนาถึงหนทางที ่ดีและปลอดภัยที ่สุดในขณะนี สาหรับผู้ที ่ต้องการลดน ้าหนักก็คงจะหนีไม่พ้นการควบคุมอาหารและออกกาลังกายอย่างสม ่าเสมอ โดย ภญ.ธนิกา ปฐมวิชัยวัฒน์ ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิยาลัยมหิดล เอกสารอ้างอิง 1. Marten B, Pfeuffer M, Schrezenmeir Jr. Medium-chain triglycerides. International Dairy Journal. 2006;16(11):1374-82. 2. สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ . มะพร้าว. วารสารพืชปลูกพื ้นเมืองไทย. 2548 กรกฎาคม;1(3). 3. Assuncao ML, Ferreira HS, dos Santos AF, Cabral CR, Jr., Florencio TM. Effects of dietary coconut oil on the biochemical and anthropometric profiles of women presenting abdominal obesity. Lipids. 2009 Jul;44(7):593- 601.

น้ำมันมะพร้าว กับ การลดน้ำหนัก.pdf

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: น้ำมันมะพร้าว กับ การลดน้ำหนัก.pdf

น ามนมะพราว กบ การลดน าหนก น ามนมะพราว (coconut oil) คอน ามนทไดจากการสกดแยกน ามนจากเนอผลของตนมะพราว (Cocos nucifera L.)

ซงเปนพชในตระกลปาลม (Arecaceae หรอ Palmae) ผลตภณฑน ามนมะพราวทจ าหนายในทองตลาดและไดรบความสนใจในขณะน คอ virgin coconut oil ซงหมายถงน ามนมะพราวทใชวธการสกดแยกจากเนอมะพราวโดยไมผานกระบวนการทใชความรอนสงและไมผานกระบวนการแปรรปทางเคม วธทใชในการเตรยม virgin coconut oil เชน วธบบเยน เปนตน

องคประกอบหลกของน ามนมะพราวเปนกรดไขมนอมตว (มากกวา 90% จากปรมาณกรดไขมนทงหมด ) แตกรดไขมนอมตวสวนใหญทพบในน ามนมะพราวนนเปน กรดไขมนทมขนาดโมเลกลปานกลาง (medium chain fatty acid) เชน กรดลอรก (lauric acid) ซงเมอรบประทานและถกดดซมเขาสรางกาย แลว จะถกเผาผลาญไดด จงถกสะสมในเนอเยอไขมน (adipose tissue) ไดนอยกวากรดไขมนทมขนาดโมเลกลยาว (long chain fatty acid) เชน กรดไลโนเลอก (linoleic acid) ซงเปนกรดไขมนไมอมตวทพบมากในน ามนถวเหลอง เปนตน (1, 2)

จากคณสมบตดงกลาวของน ามนมะพราว สงผลใหน ามนมะพราวไดรบความสนใจจากผบรโภค ในการรบประทานเพอชวยลดความอวน จากรายงานการศกษาทางคลนก (randomised, double-blind, clinical trial) ในประเทศบราซล (3) ท าการทดสอบเปรยบเทยบผลระหวางกลมทรบประทานน ามนมะพราวและกลมทรบประทานน ามนถว เหลองในผหญงทมภาวะอวนลงพง (abdominal obesity) มอายระหวาง 20-40 ป (กลมละ 20 คน) รบประทาน 30 มล.ตอวน เปนเวลา 12 สปดาห ระหวางการทดสอบ ผทดสอบทกคนจะไดรบอาหารพลงงานต า (hypocaloric diet) และออกก าลงกาย 4 วน/สปดาห หลงสนสดการทดลองพบวา น ามนมะพราวไมท าใหน าหนกตว และ body mass index (BMI) เปลยนแปลงเมอเทยบกบกอนเรมการทดลอง เมอดผลการเปลยนแปลง ของระดบไขมนในเลอด พบวา กลมทไดรบน ามนมะพราว ไมมการเปลยน แปลงของระดบคลอเลสเตอรอลรวมและ ไขมนตวราย (LDL) แตมระดบไขมนตวด (HDL) เพมขนรอยละ 7.03 ในขณะทกลมทไดรบน ามนถวเหลอง มระดบคลอเลสเตอรอลรวมและไขมนตวราย (LDL) เพมขนรอยละ 10.45 และ 23.48 ตามล าดบ และมระดบไขมนตวด (HDL) ลดลงรอยละ 12.62 เมอเทยบกบกอนเรมการทดลอง อยางไรกตามระดบไตรกลเซอไรดของทงสองกลมไมเปลยนแปลง

แมการศกษานจะแสดงใหเหนวาน ามนมะพราวไมไดมผลตอการลดลงของน าหนกตวของกลมทดลอง และไมท าใหระดบไขมนทสมพนธกบการเก ดโรคหวใจและหลอดเลอด (คลอเลสเตอรอลรวม ไขมนตวราย (LDL) และไตรกลเซอไรด ) เพมขน อกทงยงชวยเพมระดบไขมน ตวด (HDL) ทชวยลดอตราการเกดโรคดงกลาวดวย อยางไรกตามการศกษานท าการทดสอบใน กลมคนจ านวน นอย และระยะเวลาททดลองกเปนเพยงชวงสนๆ (12 สปดาห ) นอกจากนน การไดรบอาหารพลงงานต าและการออกก าลงกายสม าเสมอ (4 วน/สปดาห) กนบเปนปจจยรวมส าคญท อาจสงเสรมใหผลการทดลองเปนไปในทางทด จงควรมการศกษาเพมเตมเพอดผลของน ามนมะพราวตอการลดน าหนกและ การสะสมของระดบไขมนดงกลาว ในระยะยาว ดงนนจากขอมลทมในขณะนจงยงไมเพยงพอทจะสรปไดวาน ามนมะพราวมผลตอการลดน าหนก หรอจะสงผลดตอระดบไขมนทสมพนธกบการเกดโรคหวใจและหลอดเลอด และหากจะใหแนะน าถงหนทางทดและปลอดภยทสดในขณะนส าหรบผทตองการลดน าหนกกคงจะหนไมพนการควบคมอาหารและออกก าลงกายอยางสม าเสมอ โดย ภญ.ธนกา ปฐมวชยวฒน ภาควชาเภสชพฤกษศาสตร คณะเภสชศาสตร มหาวยาลยมหดล เอกสารอางอง 1. Marten B, Pfeuffer M, Schrezenmeir Jr. Medium-chain triglycerides. International Dairy Journal.

2006;16(11):1374-82. 2. ส านกงานพฒนาวทยาศาสตรและเทคโนโลยแหงชาต. มะพราว. วารสารพชปลกพนเมองไทย. 2548 กรกฎาคม;1(3). 3. Assuncao ML, Ferreira HS, dos Santos AF, Cabral CR, Jr., Florencio TM. Effects of dietary coconut oil on the

biochemical and anthropometric profiles of women presenting abdominal obesity. Lipids. 2009 Jul;44(7):593-601.