92
บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝอําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี กฤตยชญ ชํานาญชาง วิชาการคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร .. 2556

1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี

กฤตยชญ ชํานาญชาง

วิชาการคนควาอิสระนีเ้ปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร พ.ศ. 2556

Page 2: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ
Page 3: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่อง บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาบทบาทผูนําชุมชนกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง และเพื่อศึกษาปญหาอุปสรรค แนวทางแกไขในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ทําการศึกษาเฉพาะชุมชนชายฝงทะเลในเขตอําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี จํานวน 5 ชุมชน ไดแก บานบางสระเกา บานบางกะไชย บานเกาะแมว บานเกาะเปริด บานหนองชิ่ม เปนการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุมเปาหมายเปนแบบเฉพาะเจาะจง และเครื่องมือที่ใชในการศึกษาคือ แบบสอบถามแบบมีโครงสราง สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากผลการศึกษา พบวา ผูนําชุมชนมีบทบาทตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ในดานการสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝงมากที่สุด รองลงมา คือ ดานสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดานการจัดกิจกรรมใหกับชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดานการปลูกจิตสํานึกในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดานการประสานการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกเขามาในชุมชน และดานการสรางการมีสวนรวมกับบุคคลากรภายนอกชุมชน ตามลําดับ โดยบทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง พบวา ในภาพรวมผูนําชุมชนมีบทบาทตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ย 3.65 เมื่อพิจารณาในรายละเอียด โดยจําแนกเปนประเด็นพบวา ดานการสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการ

อนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง มีคาเฉลี่ยมากที่สุด ( x = 3.79) รองลงมา คือ ดานสงเสริม

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.75) ดานการจัดกิจกรรมใหกับ

หัวขอวิชาการคนควาอิสระ : บทบาทผูนําชุมชนตอการจดัการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี

ชื่อผูเขียน : นายกฤตยชญ ชํานาญชาง ชื่อปริญญา : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) ปการศึกษา : 2555

Page 4: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

(4)

ชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.72) ดานการปลูกจิตสํานึกในการจัดการ

ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.66) ดานการประสานการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอก

เขามาในชุมชน ( x = 3.61) และดานการสรางการมีสวนรวมกับบุคลากรภายนอกชุมชน ( x = 3.40) ขอเสนอแนะที่เสริมสรางบทบาทผูนําชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

คือ ควรมีการนําความรูนั้นมาถายทอดใหกับคนในชุมชน ดวยวิธีการที่เหมาะสม อาทิ การจัดเวทีชาวบาน การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู ผูนําชุมชนควรพัฒนาตนเองใหเปนผูนําแหงการเปลี่ยนแปลง มิใชเพียงแตมุงสรางการรณรงค ปลุกจิตสํานึก แตควรสรางกิจกรรมขับเคลื่อนเชิงงานพัฒนา เพื่อใหชุมชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อันจะนํามาสูการลดปญหาดานทรัพยากรทางทะเลและชายฝง และผูนําชุมชนควรมีการขยายการเรียนรู พัฒนาจากระดับกลุม และเชื่อมโยงเปนเครือขายการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง พรอมทั้งควรมีการวางเปาหมายการพัฒนาชุมชนใหชัดเจน ในการมุงไปสูการยกระดับชุมชนใหเปนศูนยการเรียนรูการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

Page 5: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

ABSTRACT

Title of Research Paper : Community Leaders’ Roles towards Marine and Coastal Resource Management in Laem Sing District, Chanthaburi Province Author : Krittayot Chumnanchang Degree : Master of Science (Environmental Management) Year : 2012

____________________________________________________________________________

The major purposes of this study were 1) to study community leaders’ roles towards marine and coastal resource management 2) to study problems and difficulties as well as solutions of marine and coastal resource management. The areas of 5 coastal communities: Ban Bang Sa Kow, Ban Bang Ka Chai, Ban Koh Maew, Ban Koh Plerd and Ban Nong Chim were studied in this research. The population was selected by purposive sampling. The statistics employed for

research analysis were frequency, percentage, mean ( x ), and standard deviation (S.D). The results were revealed as follows: the community leaders showed their marine and coastal resource management roles in creating people’s participation and conservation of marine and coastal resources, promoting knowledge of marine and coastal resource management, raising awareness of marine and coastal resource management, organizing activities related to marine and coastal resource management, coordinating and being supported by public and private organizations as well as creating the participation network of people outside the communities respectively. The overall results of this study identified that the community leaders showed their roles in marine and coastal resource management at the high level of 3.65. When each aspect was analyzed, the results were shown as follows: the aspect of creating people’s participation and

conservation of marine and coastal resources showing x = 3.79, the aspect of promoting marine

and coastal resource knowledge showing x = 3.75, the aspect of organizing marine and coastal

resource management activities showing x = 3.72, the aspect of raising awareness of marine and

Page 6: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

(6)

coastal resource management showing x = 3.66, the aspect of coordinating and being supported

by public and private organizations showing x = 3.61, and the aspect of creating the participation

network of people outside the community showing x = 3.40. The recommendations for promoting the community leaders’ roles towards marine and coastal resource management were also suggested in this study. The appropriate knowledge transferring approaches of local people’s reflection forum and knowledge exchange forum should be created. The community leaders need to improve their leadership skills and to become the leaders of change. Instead of only creating conservation campaigns and raising awareness of marine and coastal resource management, they should show their movement of developmental projects and activities in order to bring changes in local people’s behaviors and reduce the problems of marine and coastal resource management. The community leaders should extend the learning ways in every level of people ranging from small groups to the network of marine and coastal resource management. The community leaders also should obviously set development goals and organize the marine and coastal resource management learning center in the communities.

Page 7: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

กิตติกรรมประกาศ

หัวขอวิชาการคนควาอิสระ เร่ือง บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ

ชายฝง อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี ฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยความอนุเคราะหจากบุคคลหลายทาน ดังนั้น ผูศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

ขอขอบคุณคณาจารยทุกทานที่ไดประสิทธิประสาทนวิชาความรู ทําใหผูศึกษามีองคความรูเพิ่มมากขึ้น สามารถนําไปประยุกตใชและเกิดประโยชนตอสวนรวมสืบตอไป

ขอขอบคุณเหลาผูนําชุมชนทั้ง 5 ชุมชน ไดแก บานบางสระเกา บานบางกะไชย บานเกาะแมว บานเกาะเปริด บานหนองชิ่ม ของอําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี ที่เปนผูใหขอมูลที่เปนประโยชนตอการศึกษาในครั้งนี้ และไดรับความรวมมืออยางอบอุนใจจากพี่นองชายฝงทะเล อําเภอแหลมสิงห จนกระทั่งการศึกษาครั้งนี้ประสบความสําเร็จในที่สุด

ขอขอบคุณศูนยอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝงที่ 1 ที่ใหโอกาสการศึกษาตอในระดับปริญญาโทในครั้งนี้ดวย

ทายที่สุด การศึกษาในครั้งนี้มีขอบกพรองหรือขอผิดพลาดประการใด ผูศึกษาขอนอมรับไวเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาการศึกษาในโอกาสตอไป และหวังวาการศึกษาในครั้งนี้จะเปนประโยชนตอแผนดินสยาม อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สืบตอไป

นายกฤตยชญ ชํานาญชาง เมษายน 2556

Page 8: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

สารบัญ

หนา บทคัดยอ (3) ABSTRACT (5) กิตติกรรมประกาศ (7) สารบัญ (8) สารบัญตาราง (10) บทท่ี 1 บทนํา 1 1.1 ที่มาและแนวคิดในการศกึษา 1 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 3 1.3 พื้นที่ทําการศึกษา 3 1.4 นิยามศัพท 3 1.5 ผลที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษา 4 1.6 กรอบแนวคิดในการศึกษา 5 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวของ 6

2.1 ขอมูลทั่วไปของอําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี 6 2.2 แนวคดิในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 9 2.3 แนวคดิผูนําชุมชน 25 2.4 แนวคดิการมีสวนรวมของชุมชน 36 2.5 งานวิจยัทีเ่กี่ยวของ 41

บทท่ี 3 วิธีการศึกษา 47 3.1 การศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ 47 3.2 ประชากรและกลุมตวัอยาง 48 3.3 เครื่องมือที่ใชในการเกบ็รวบรวมขอมูล 48 3.4 ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ 48

Page 9: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

(9)

3.5 การเก็บรวบรวมขอมูล 49 3.6 การวิเคราะหขอมูล 49 3.7 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 50

บทท่ี 4 ผลการศึกษา 51 4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 52 4.2 ระดับบทบาทของผูนําชุมชน 54 4.3 ขอคิดเห็นเพิ่มเติม และขอเสนอแนะ 63 บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 65 5.1 สรุปผล 65 5.2 อภิปรายผล 66 5.3 ขอเสนอแนะจากการศึกษา 71 5.4 ขอเสนอสําหรับการศึกษาครั้งตอไป 72 บรรณานุกรม 73 ภาคผนวก 77 แบบสอบถาม 78 ประวัติผูเขียน 83

Page 10: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

(10)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา 4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 52

4.2 ระดับบทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 54 4.3 สรุปคาเฉลี่ยบทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 62 4.4 ขอเสนอแนะเพิ่มเติมของกลุมตัวอยาง ในการจดัการทรัพยากรทางทะเล 63 และชายฝง

Page 11: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ท่ีมาและแนวคิดในการศึกษา

การที่ประเทศไทยมีความยาวชายฝง 2,800 กิโลเมตร และมีพื้นที่ใชประโยชนทางทะเลถึง 350,000 ตารางกิโลเมตร (ถนอม เจริญลาภ, 2550: 5) สามารถแบงออกเปน 2 ฝง คือชายฝงทะเล อาวไทยยาว 1,660 กิโลเมตร และชายฝงดานอันดามันยาว 954 กิโลเมตร ทําใหประชากรไทยมี การใชประโยชนจากทะเลหลายประเภททั้งในระดับพื้นบานและในระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ ผลประโยชนของชาติทางทะเลของไทยจึงมีมูลคาโดยรวมไมต่ํากวา 7.50 ลานบาท โดยที่มูลคานี้เกิดจากการใชทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ในรูปแบบของกิจกรรมตาง ๆ ทั้งสิ้น ทรัพยากรทางทะเลจึงมีความสําคัญในฐานะที่เปนปจจัยพื้นฐานของการประกอบอาชีพดานตาง ๆ อยางไรก็ตาม ทรัพยากรทางทะเลของประเทศไทยแมจะมีความหลากหลายแตก็มีขอจํากัดของการใช เพราะทรัพยากรบางชนิดไมสามารถสรางขึ้นมาทดแทนใหมไดทันที แตตองใชระยะเวลาในการฟนฟู บางชนิดก็ใชแลวหมดไป ประกอบกับกิจกรรมตาง ๆ ในทะเลและชายฝงที่มีจํานวนเพิ่มขึ้นทําใหมีการใชทรัพยากรทางทะเลอยางตอเนื่อง ความสามารถในการรองรับตามธรรมชาติเสื่อมถอยลง จนเปนเหตุใหเกิดปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรและสิ่งแวดลอมทางทะเล นอกจากปญหาที่เกิดกับทรัพยากรและสิ่งแวดลอมโดยตรงแลวยังจะมีปญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการซึ่งเปนปญหาสําคัญที่จําเปนตองใชหลักการประสานงานระหวางหนวยงานเขาดวยกัน รวมทั้งความสนใจและ ใสใจของผูเกี่ยวของทุกคนในการที่จะปฏิบัติหนาที่การงานของตน โดยคํานึงถึงผลประโยชนสวนรวมเปนหลัก นอกจากนี้ยังจําเปนตองมีขอมูลที่เปนองคความรูเบื้องตนและขอมูลสถานการณที่เปนปจจุบันในดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของดวย

ความสําคัญของชายฝงทะเลนั้น ชายฝงทะเลมีความสําคัญ เนื่องจากเปนแหลงที่อุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคามากมายตอระบบเศรษฐกิจ สังคม และนิเวศวิทยา อาทิ ปาชายเลน ชายหาด ปะการัง หญาทะเล สัตวทะเล และทรัพยากรประมงอื่น ๆ ปจจุบันพื้นที่ชายฝง

Page 12: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

2

ทะเลที่ครอบคลุม 24 จังหวัดของประเทศไทยไดถูกนําไปใชประโยชนที่ดินในรูปแบบตาง ๆ กัน เชน ใชเปนพื้นที่ เกษตรกรรม พื้นที่ปาไมและปาชายเลน พื้นที่อยูอาศัย พื้นที่วางเปลา และ พื้นที่อ่ืน ๆ ที่ไมไดจําแนกหมวดหมูไว ลักษณะการใชที่ดินเหลานี้ เปนดัชนีหนึ่งที่แสดงใหเห็นถึงพื้นฐานผลิตทางดานเศรษฐกิจของพื้นที่ชายฝงทะเล ตัวอยางเชน พื้นที่ไดใชประโยชนเพื่อการเกษตรกรรมมากจะสงผลใหการเกษตรกรรม คือ กิจกรรมเศรษฐกิจที่สําคัญ

ความเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจอยางรวดเร็วในชวงทศวรรษที่ผานมา ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการใชทรัพยากรชายฝงทะเลและเกิดการขยายตัวดานโครงสรางพื้นฐาน อาทิ โครงการถมทะเลเพื่อพัฒนาพื้นที่เปนแหลงอุตสาหกรรมขนาดใหญ การพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลเปนแหลงทองเที่ยว การแปรสภาพปาชายเลนมาเปนนากุงหรือนาเกลือ การสรางบานพักอาศัย การสรางทาเทียบเรือตาง ๆ ซ่ึงลวนแตทําใหสงผลกระทบตอระบบนิเวศตามธรรมชาติและสิ่งแวดลอมบริเวณชายฝง กลาวคือ สงผลใหคุณภาพน้ําชายฝงทะเลเสื่อมโทรมลง ทรัพยากรสัตวน้ําเริ่มมีปริมาณลดลงเนื่องจากการทําประมงผิดวิธี สภาพปาชายเลนเสื่อมโทรมหรือถูกทําลายโดยผูบุกรุก ปะการัง ถูกทําลาย เปนตน

นอกจากนี้โครงการพัฒนาหรือการขยายตัวดานโครงสรางพื้นฐานดังกลาว อาจทําใหสูญเสียดุลยภาพตามธรรมชาติของชายฝงดวยอิทธิพลของกระแสน้ํา คล่ืน ลม ที่เปลี่ยนแปลงในแตละฤดูกาล กลาวคือ สงผลใหพื้นที่ชายฝงทะเลบางบริเวณถูกกัดเซาะซึ่งอาจเปนพื้นที่ชายหาด แหลงทองเที่ยว หรือสถานที่ที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร แตในทางตรงขามบางพื้นที่อาจเกิดการตกตะกอนดินทราย ทับถม กอใหเกิดการตื้นเขินหรือมีพื้นที่งอกออกมา ทําใหเปนอันตรายตอการเดินเรือ และรัฐตองเสียงบประมาณหรือคาใชจายจํานวนมากในแตละปในการขุดลอกบํารุง รักษารองน้ํา การกอสรางปองกันและฟนฟูที่ชายฝงทะเลที่ถูกกัดเซาะ ตลอดจนแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ซ่ึงเปนการทําลายเศรษฐกิจของสังคมโดยสวนรวม

นอกจากการขยายตัวทางดานเศรษฐกิจ และการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานแลวนั้น อีกปจจัยที่สงผลกระทบตอทรัพยากรชายฝงทะเล คือ มนุษย ที่ใชทรัพยากรจากชายฝงทะเลมายาวนานหลายช่ัวอายุคน แตส่ิงหนึ่งที่ขาด คือ การจัดการทรัพยากรชายฝงทะเลใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมถึงการขาดจิตสํานึกดานการอนุรักษทรัพยากรชายฝงทะเลอยางตอเนื่อง สงผลกระทบมายังยุคปจจุบันนี้ที่เกิดสภาวะเสื่อมโทรมของทรัพยากรชายฝงทะเล อีกทั้งที่ผานมาการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงนั้นภาครัฐอยางเดียวคงจัดการไมทั่วถึง ดังนั้น ตองใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดการดวยจึงจะเกิดความยั่งยืน หากการจัดการเกิดจากผูที่ใชประโยชนเอง อาจสงผลทําใหเกิดความเปนรูปธรรมในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงไดเปนอยางดี และผูนําชุมชนควรมีบทบาทใน

Page 13: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

3

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง เพื่อเปนแบบอยางในการดําเนินงานดวยการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝงสืบตอไปในอนาคต

จากเหตุผลที่กลาวมาขางตน ผูศึกษาไดเกิดความสนใจที่จะทําการศึกษาเรื่องบทบาทผูนําชุมชนตอการจัดทรัพยากรทางทะเลและชายฝง และปญหาอุปสรรค ตลอดจนแนวทางในการเสริมบทบาทผูนําชุมชนใหมีความบทบาทมากขึ้นในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง และเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชนทองถ่ินสืบตอไป

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาบทบาทผูนําชุมชนกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 2. เพื่อศึกษาปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไขในการจัดการทรัพยากรทางทะเล

และชายฝง

1.3 พื้นที่ทําการศึกษา

ผูศึกษาทําการศึกษาเฉพาะชุมชนชายฝงทะเลในเขตอําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี จํานวน 5 ชุมชน ไดแก บานบางสระเกา บานบางกะไชย บานเกาะแมว บานเกาะเปริด บานหนองชิ่ม

1.4 นิยามศัพท

ชายฝงทะเล หมายถึง แถบแผนดินนับจากแนวชายทะเลขึ้นไปบนบกจนถึงบริเวณที่มีลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงอยางเดนชัด จึงมีความกวางกําหนดไมไดแนนอน

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพตอส่ิงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและใหประโยชนตอมนุษย ทั้งในการจัดหา การเก็บรักษา การซอมแซม การใชอยางประหยัด รวมทั้งการสงวนเพื่อใหทรัพยากรธรรมชาตินั้นสามารถใหผลไดอยางยาวนาน

Page 14: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

4

การฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การทําใหทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมกลับคืนสูสภาพเดิม รวมถึงการปองกันมิใหเกิดการทําลายและใหมีการบํารุงรักษาการควบคุมการใชประโยชน และการบริหารจัดการที่เหมาะสมตอการดํารงอยูของทรัพยากร

การใชประโยชนอยางยั่งยืน หมายถึง การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชในรูปแบบที่จะตองไมกอใหเกิดความลดนอยถอยลงซึ่งทรัพยากรธรรมชาติและภาวะสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย

การมีสวนรวมของชุมชน หมายถึง กระบวนการใหประชาชนเขามามีสวนเกี่ยวของในการดําเนินงานพัฒนา ทั้งรวมคิด รวมทํา รวมตัดสินใจ รวมรับผิดชอบ เพื่อแกปญหาเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

ผูนําชุมชน หมายถึง บุคคลที่ไดรับมอบหมาย ซ่ึงอาจโดยการเลือกตั้งหรือแตงตั้งและเปนที่ยอมรับของสมาชิกใหมีอิทธิพลและบทบาทเหนือกลุม สามารถที่จะจูงใจ ชักนํา หรือช้ีนําใหสมาชิกของกลุมรวมพลังเพื่อปฏิบัติภารกิจตาง ๆ ของกลุมใหสําเร็จ

1.5 ผลท่ีคาดวาจะไดรับจากการศึกษา

1. ไดทราบถึงบทบาทผูนําชุมชนกับการจดัการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 2. ไดทราบถึงปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไขในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ

ชายฝง

Page 15: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

5

1.6 กรอบแนวคดิในการศึกษา

ผูนําชุมชน - ผูนําไมเปนทางการ - ผูนําเปนทางการ

ปจจัยภายใน

ปจจัยภายนอก

- ความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง - ลักษณะการประกอบอาชีพและวิถีชีวิตของคนในชุมชน - การมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง - การปลูกจิตสํานึกในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

- กิจกรรมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง - การสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของ - การมีสวนรวมของบุคคลภายนอกชุมชน

Page 16: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาในครั้งนี้ผูศึกษาไดดําเนินการศึกษาเรื่อง บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี เพื่อศึกษาถึงบทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง และศึกษาปญหา อุปสรรค และแนวทางในการเสริมสรางบทบาทผูนําในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอยางยั่งยืนสืบตอไป ดังนั้นเพื่อใหเปนไปตามกรอบแนวคิดในการศึกษาในครั้งนี้ จึงไดทําการรวบรวมและแยกประเภทของแนวคิด ทฤษฎี และงานศึกษาที่เกี่ยวของได ดังนี้

1. ขอมูลทั่วไปของอําเภอแหลมสิงห จังหวัดจนัทบุรี 2. แนวคดิในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 3. แนวคดิผูนําชุมชน 4. แนวคดิการมีสวนรวมของชุมชน 5. งานวิจยัที่เกีย่วของ

2.1 ขอมูลท่ัวไปของอําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุร ี

1. ท่ีตั้งและอาณาเขต อําเภอแหลมสิงหตั้งอยูทางทิศใตของจังหวัดจันทบุรี มีเนื้อที่ 198 ตร.กม. มีอาณาเขตติดตอ

กับเขตการปกครองขางเคียงดังตอไปนี้ ทิศเหนือ ติดตอกับอําเภอทาใหมและอําเภอเมืองจนัทบุรี ทิศตะวนัออก ติดตอกับอําเภอขลุง ทิศใต ติดตอกับอําเภอขลุงและอาวไทย ทิศตะวนัตก ติดตอกับอาวไทย

Page 17: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

7

2. การปกครองสวนภูมิภาค อําเภอแหลมสิงหแบงพื้นที่การปกครองออกเปน 7 ตําบล 65 หมูบาน ไดแก

1. ปากน้ําแหลมสิงห (Pak Nam Laem Sing) 16 หมูบาน

2. เกาะเปรดิ (Ko Proet) 7 หมูบาน

3. หนองชิ่ม (Nong Chim) 10 หมูบาน

4. พล้ิว (Phlio) 12 หมูบาน

5. คลองน้ําเค็ม (Khlong Nam Khem) 6 หมูบาน

6. บางสระเกา (Bang Sa Kao) 5 หมูบาน

7. บางกะไชย (Bang Kachai) 9 หมูบาน

3. การปกครองสวนทองถิ่น ทองที่อําเภอแหลมสิงหประกอบดวยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 6 แหง ไดแก 1) เทศบาล

ตําบลปากน้ําแหลมสิงห ครอบคลุมพื้นที่ตําบลปากน้ําแหลมสิงหทั้งตําบล 2) เทศบาลตําบลพลิ้ว ครอบคลุมพื้นที่ตําบลพลิ้วและตําบลคลองน้ําเค็มทั้งตําบล 3) องคการบริหารสวนตําบลเกาะเปริด ครอบคลุมพื้นที่ตําบลเกาะเปริดทั้งตําบล 4) องคการบริหารสวนตําบลหนองชิ่ม ครอบคลุมพื้นที่ตําบลหนองชิ่มทั้งตําบล 5) องคการบริหารสวนตําบลบางสระเกา ครอบคลุมพื้นที่ตําบลบางสระเกาทั้งตําบล และ 6) องคการบริหารสวนตําบลบางกะไชย ครอบคลุมพื้นที่ตําบลบางกะไชยทั้งตําบล

4. สถานที่ทองเท่ียว 4.1 ชายหาดแหลมสิงห 4.2 คุกขี้ไก สรางเมื่อ พ.ศ. 2436 (ร.ศ. 112) อยูบริเวณแหลมสิงห กอนถึงทาเทียบเรือ 1.00

กิโลเมตร เมื่อฝร่ังเศสไดเขายึดจันทบุรีในกรณีพิพาทกันดวยเรื่องดินแดนฝงซายแมน้ําโขง ระหวางนั้นฝรั่งเศสไดยกกองทหารเขาสูเมืองจันทบุรีประมาณ 600 คน แยกกันอยูสองแหง แหงแรกตั้งอยูที่เมืองจันทบุรีบริเวณที่เปนคายทหารในปจจุบัน อีกแหงตั้งอยูที่ปากน้ําแหลมสิงห ฝร่ังเศสไดสรางคุกขี้ไกเพื่อใชกักขังคนไทยที่ตอตานฝร่ังเศส มีลักษณะเปนหอสี่เหล่ียม หลังคาโปรง เลากันวาเปนคุกที่ทรมานมาก เพราะชั้นบนใชเปนที่เล้ียงไก ซ่ึงจะถายมูลราดศีรษะนักโทษที่ถูกคุมขัง

Page 18: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

8

4.3 อุทยานแหงชาติน้ําตกพลิว้ ตั้งอยูในเขตเขาสระบาป อําเภอแหลมสิงห ระยะทาง 17.0 กิโลเมตรจากตัวเมือง

มีเนื้อที่ทั้งหมด 84,063 ไร สภาพโดยทั่วไปเปนปาดิบชื้น มี 3 ช้ัน จากทางขึ้นไป 200 เมตร มีอลงกรณเจดียทางขวามือ เปนเจดียศิลาแลง รัชกาลที่ 5 โปรดเกลาฯ ใหพระยาจันทบุรีเปนแมกองสรางเมื่อ พ.ศ. 2419 นอกจากนี้แลวบริเวณใกล ๆ กัน ยังมีปรามิดอีกแหงหนึ่ง ช่ือ "ปรามิดพระนางเรือลม" หรือ "สถูปพระนางเรือลม" เปนที่บรรจุพระอังคารของสมเด็จพระนางเจาสุนันทากุมารีรัตน (พระนางเรือลม) ซ่ึงเคยเสด็จประพาสน้ําตกพลิ้วเมื่อ พ.ศ. 2417 และท่ีอุทยานแหงชาตินี้ยังมีสัตวปาอาศัยอยูอีกมากมาย

4.4 โอเอซีส ซีเวิลด ฟารมเลี้ยงปลาโลมาและสถานที่จัดแสดงปลาโลมาที่มีช่ือเสียงของอําเภอแหลมสิงห

และเริ่มมีช่ือเสียงเปนที่รูจักจากคนทั่วประเทศ

5. สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพหลักของประชาชนในอําเภอแหลมสิงหสวนใหญประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม

คือ การทํานา การทําสวน และเพาะเลี้ยงสัตวน้ําแนวชายฝง สวนการประกอบอาชีพดานประมง คือ การเลี้ยงกุง เล้ียงปลา สวนการประกอบอาชีพดานอุตสาหกรรม คือ การทําเสื่อกก และผลิตภัณฑจากเสื่อกก สวนอาชีพรอง คือ การปลูกถ่ัว ปลูกขาวโพด และพืชผักตาง ๆ

6. สภาพทางสังคม สภาพทางสังคมของประชาชนในเขตอําเภอแหลมสิงหนั้น มีความสัมพันธกับแบบเครือญาติ การอยูอาศัยอยางพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน มีความเปนเครือญาติสูง และมีความหวงแหนในทรัพยากรธรรมชาติที่ตนเองตองใชในการประกอบอาชีพสูง ทําใหบุคคลภายนอกเขาถึงไดยาก

7. สภาพของทรัพยากรธรรมชาติ อําเภอแหลมสิงหมีพื้นที่ที่ติดทั้งทะเลและภูเขา มีพื้นที่ที่ใชประโยชนจากชายฝงทะเลได โดยเปนที่ประกอบอาชีพประมงชายฝงของประชาชนในพื้นที่ และพื้นที่ที่เปนปาชายเลนซึ่งเปนพื้นที่อนุรักษหวงแหนของประชาชนในอําเภอแหลมสิงห และนอกจากนี้ยังมีพื้นที่ที่ติดกับอุทยานแหงชาติน้ําตกพลิ้ว เปนสถานที่ทองเที่ยวสําคัญอีกแหงหนึ่งที่มีประชาชนโดยทั่วไปเขามาเที่ยวกันมากมาย เปนแหลงสรางรายไดใหแกประชาชนอําเภอแหลมสิงหไดเปนอยางดี

Page 19: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

9

2.2 แนวคิดในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2.2.1 ความหมายของชายฝงทะเล ชายฝงทะเล (Coast) คือ แถบแผนดินนับจากแนวชายทะเลขึ้นไปบนบกจนถึงบริเวณที่มี

ลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงอยางเดนชัด จึงมีความกวางกําหนดไมไดแนนอน ชายฝงทะเลของประเทศไทยมีความยาวทั้งสิ้น 2,614 กิโลเมตร แบงออกเปนชายฝงทะเลดานอาวไทย 1,660 กิโลเมตร ชายฝงดานทะเลอันดามัน 954 กิโลเมตร และครอบคลุมพื้นที่ 24 จังหวัด เมื่อพิจารณาสภาพภูมิศาสตรหรือลักษณะการกําเนิดของชายฝงทะเล สามารถแบงไดเปน 5 ประเภท คือ

2.2.1.1 ชายฝงทะเลยุบจม (Submerged Shoreline) เกิดจากการที่เปลือกโลกบริเวณริมฝงทะเลยุบจมลง หรือการที่น้ําทะเลยกระดับขึ้น

ทําใหบริเวณที่เคยโผลพนระดับน้ําทะเลกลับจมอยูใตผิวน้ํา ปรากฏเปนหนาผาชันไมคอยมีที่ราบชายฝง แนวชายฝงเวาแหวงมาก หากภูมิประเทศเดิมเปนภูเขาและเมื่อเกิดการยุบจมขึ้นแลว มักกอใหเกิดเกาะตาง ๆ บริเวณชายฝง เชน ชายฝงทะเลบริเวณภาคใตฝงตะวันตกหรือฝงทะเล

2.2.1.2 ชายฝงทะเลยกตัว (Emerged Shoreline) เกิดจากการที่เปลือกโลกยกตัวข้ึนหรือการที่น้ําทะเลลดระดับลง ทําใหบริเวณที่เคย

จมอยูใตระดับน้ําทะเลกลับโผลพนผิวน้ําขึ้นมา หากแผนดินเดิมที่เคยจมอยูใตระดับน้ําทะเลเปนบริเวณที่มีตะกอน กรวด ทราย ตกทับถมกันมาเปนเวลานานแลว จะทําใหเกิดที่ราบชายฝงที่มีบริเวณกวาง แนวชายฝงเรียบตรงไมเวาแหวงมาก เชน ชายฝงทะเลภาคใตฝงตะวันออกหรือฝงอาวไทยตั้งแตจังหวัดชุมพร ถึงจังหวัดนราธิวาส ชายฝงทะเลยกตัวบางแหงมีฝงชันเปนภูเขา เนื่องจากภูมิประเทศเดิมที่อยูใตทะเลมีความลาดชันมาก เชน ชายฝงทะเลภาคตะวันออก อําเภอสัตหีบ และอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เปนตน

2.2.1.3 ชายฝงทะเลคงระดับ (Neutral Shoreline) หมายถึงชายฝงทะเลที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ระหวางระดับน้ําทะเล และบริเวณ

ชายฝงของทวีป แตยังคงมีการทับถมของตะกอนตาง ๆ เกิดขึ้น ลักษณะชายฝงทะเลประเภทนี้ ไดแก ชายฝงดินตะกอนรูปพัด ชายฝงดินดอนสามเหลี่ยม ชายฝงภูเขาไฟ ชายฝงแนวหินปะการัง ชายฝงหินปะการังแนวขวาง ชายฝงปะการังรูปวงแหวน

2.2.1.4 ชายฝงทะเลรอยเลื่อน (Fault Shoreline) เกิดจากการเลื่อนตัวของเปลือกโลกตามบริเวณชายฝง ถารอยเล่ือนมีแนวเลื่อนลงไป

ทางทะเลจะทําใหระดับของทะเลลึกลงไปหรือถารอยเลื่อนลึกลงไปทางพื้นดินจะทําใหน้ําทะเลไหลเขามาในบริเวณพื้นดิน

Page 20: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

10

2.2.1.5 ชายฝงทะเลแบบผสม (Compounded Shoreline) เปนชายฝงทะเลที่เกิดจากหลาย ๆ ลักษณะที่กลาวมาแลวปะปนกัน ชายฝงทะเล

ประเภทตาง ๆ ดังกลาวจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทั้งในรูปแบบของการกัดเซาะและการทับถม โดยมีตัวการที่สําคัญ คือ คล่ืน ลม และกระแสน้ํา ทําใหเกิดเปนลักษณะภูมิประเทศชายฝงที่แตกตางกันออกไป เชน ลักษณะเปนชายหาด (Beach Shore) ซ่ึงอาจปรากฏเปนหาดหิน หาดโคลน หาดทราย นอกจากนี้อาจมีลักษณะเปนสันทรายหรือสันหาด (Berm) สันดอน (Bar) ทะเลสาบน้ําเค็ม (Lagoon) หนาผาสูงชันริมทะเล (Sea Cliff) เวาทะเล (Sea Notch) ถํ้าทะเล (Marine Cave) สะพานหินธรรมชาติ (Natural Bridge) ชะวากทะเล (Estuary) และเกาะตาง ๆ เปนตน

2.2.2 ลักษณะภูมิประเทศชายฝงทะเล จากรายงานสรุปโครงการศึกษาสํารวจออกแบบเพื่อแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล

อาวไทยตอนบน (กรมเจาทา กระทรวงคมนาคม, 2539: 118 – 119) ประเภทของชายฝงทะเลจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทั้งในรูปแบบของการกัดเซาะ และการทับถม โดยมีตัวการที่สําคัญ คือ คล่ืน ลม และกระแสน้ํา ทําใหเกิดเปนลักษณะภูมิประเทศชายฝงที่แตกตางกันออกไป ดังนี้คือ

2.2.2.1 ภูมิประเทศที่เกิดจากการตกตะกอนทับถม มักจะเกิดขึ้นในบริเวณชายฝงทะเลที่มีน้ําตื้น ลักษณะชายฝงราบเรียบและลาดเทลง

ไปสูกนทะเล ทําใหความเร็วของคลื่นและกระแสน้ําลดลงเมื่อเคลื่อนตัวเขาสูฝง การกระทําจึงเปนในรูปแบบของการตกตะกอนทับถมเกิดเปนภูมิประเทศลักษณะตาง ๆ เชน สันทราย และทะเลสาบที่มีน้ําไหลเขาออกได เปนตน

2.2.2.2 ภูมิประเทศที่เกิดจากการกัดเซาะ มักจะเกิดขึ้นในบริเวณชายฝงทะเลน้ําลึก ลักษณะชายฝงลาดชันลงสูทองทะเล ทําให

การกัดเซาะของคลื่น และกระแสน้ําเปนไปอยางรุนแรง เกิดเปนภูมิประเทศลักษณะตาง ๆ เชน หนาผาชันริมทะเล (Sea Cliff) เวาทะเล (Sea Notch) ถํ้าทะเล (Marine Cave) เกาะทะลุ (Sea Arch) สะพานหินธรรมชาติ (Natural Bridge) และวากทะเล (Estuary) เปนตน

2.2.2.3 ลักษณะชายฝงทะเลที่เกิดจากการกัดเซาะ และทับถมของคลื่น ลม และกระแสน้ํา

1) หาด (Beach Shore) คือ พื้นที่ระหวางขอบฝงกับแนวน้ําลงเต็มที่มีลักษณะเปนแถบยาวไปตามริมฝง เกิดขึ้นเนื่องจากการกระทําของคลื่น และกระแสน้ําในทะเลหรือทะเลสาบ หรือแมน้ํา หาดโดยทั่วไปจะประกอบดวย 2 สวน คือ

Page 21: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

11

(1) หาดสวนหนา (Fore Shore) หมายถึง บริเวณหาดที่นับจากแนวน้ําลงต่ําสุดไปจนถึงยอดของสันทราย (Berm) ซ่ึงเปนแนวแบงเขตหาดสวนหนาและหาดสวนหลัง หาดสวนนี้จะเปนบริเวณที่อยูใตน้ําเกือบตลอดเวลา คือ เมื่อน้ําขึ้นน้ําจะทวม (2) หาดสวนหลัง (Back Shore) หมายถึง บริเวณหาดที่นับจากยอดสันทรายไปจรดขอบฝง พื้นที่สวนนี้ปกติจะแหง ยกเวนในขณะที่มีมรสุม คล่ืนจะสามารถซัดขึ้นไปถึงได

เนื่องจากหาดแตละแหงจะมีวัตถุที่มาตกทับถมแตกตางไป จึงเรียกชื่อหาดตามประเภทของวัตถุที่พบบนหาดนั้น ๆ คือ หาดหิน หรือหาดโคลน เปนหาดที่ประกอบดวยหินหรือกรวดขนาดใหญเกิดจากการทับถมของเศษหิน ซ่ึงถูกคลื่นซัดขัดสีกันและกันจนแบนเรียบและมน หาดทรายมักพบอยูในพื้นที่ซ่ึงมีหินเปลือกโลกเปนหินทรายหรือหินแกรนิต โดยเฉพาะอยางยิ่งหินแกรนิต เมื่อสลายตัวจะใหทรายเม็ดกลมมนมีสีขาวทําใหเกิดหาดทรายที่สวยงาม และหาดโคลน มักพบอยูตามบริเวณใกลปากแมน้ําสายใหญ ๆ ที่มีโคลนตะกอนจากแมน้ําพัดพามาเปนจํานวนมาก มีลักษณะเปนลานปริ่มน้ํา เวลาน้ําขึ้นน้ําจะทวมมิดลานนั้น และเวลาน้ําลงลานจะโผลพนผิวน้ําขึ้นมา

2) สันทรายหรือสันหาด (Berm) เปนสันทรายขนาดเล็กมีลักษณะคลายที่ราบเปนชั้นที่อยูสูงกวาระดับน้ํา และเปลี่ยนแปลงได เกิดจากดินหรือทรายที่พังลงจากของฝงหรือเปนทรายที่ถูกคลื่นและนําพาไปกองรวมบนหาดเปนแนวยาวขนานไปกับชายฝง เมื่อเกิดขึ้นรวมกันหลาย ๆ แนวบนหาดจะทําใหบริเวณดานในของหาดมีลักษณะเปนสันสูงขึ้น มักเปนที่สูงพนจากระดับคลื่นซัดทวมถึงในยามปกติ

3) สันดอน (Bar) หมายถึง พืดสันทรายหรือตะกอนอื่น ๆ ที่กระแสน้ําพัดพามาตกทับถมสะสมไวมากจนเกิดเปนสันหรือพืดยื่นขวางหรือปดปากน้ําทางเขาทาเรือและปากอาว ซ่ึงอาจจะเปนสิ่งกีดขวางตอการเดินเรือได สันดอนอาจแบงออกเปนประเภทตาง ๆ ตามรูปราง และสถานที่เกิด คือ สันดอนที่เกิดจากตะกอนทับถมบริเวณกนอาว หรือปากอาว หรือเปนแนวยาวใกลปากอาว

4) ทะเลสาบน้ําเค็ม (Lagoon) เกิดขึ้นทั้งในทะเลและบริเวณชายฝงทะเล 5) หนาผาสูงชันริมทะเล (Sea Cliff) หมายถึง หนาผาสูงชันที่อยูริมฝงทะเล

และหันออกไปทางทะเล มักเกิดขึ้นในบริเวณชายฝงทะเลยุบจมที่มีภูมิประเทศเปนภูเขาติดทะเล หรือเปนชายฝงที่ช้ันหินวางตัวในแนวเอียงเท หรือในแนวตั้ง คล่ืนจะกัดเซาะฝงทําใหเกิดเปนหนาผาริมทะเล

Page 22: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

12

6) เวาทะเล (Sea Notch) หมายถึง รอยเวาที่มีลักษณะเปนแนวยาวเกิดขึ้นบริเวณฐานของหนาผาชันริมทะเล ตอนที่อยูในแนวระดับน้ําขึ้นน้ําลง เกิดจากการกัดเซาะของคลื่นและการชะละลายของหินปูนเปนหลักฐานแสดงถึงระดับน้ําทะเลในอดีต

7) โพรงหินชายฝง (Grotto) หรือถํ้าทะเล (Sea Cave, Marine Cave) หมายถึง ถํ้าที่เกิดขึ้นตามบริเวณชายฝงทะเล ซ่ึงอาจเปนชายฝงของผืนแผนดินใหญ หรือชายฝงของเกาะตาง ๆ ก็ได ถํ้าชนิดนี้เกิดจากการกัดเซาะของคลื่นที่หินผาชายฝง ทําใหเปนชองหรือเปนโพรงลึกเขาไปในชวงแรกอาจเปนเพียงชองหรือโพรงขนาดเล็ก (Grotto) แตเมื่อเวลาผานพนไปนาน ๆ ก็กลายเปนชองหรือโพรงขนาดใหญมากขึ้น (Cave) ถาหากเปนบริเวณหินปูนจะทําใหเกิดเปนถํ้าขนาดใหญไดงายขึ้น เนื่องจากมีการกระทําของน้ําฝนและน้ําใตดินเขามาเกี่ยวของดวย ปากถ้ําทะเลมักอยูตรงบริเวณที่มีน้ําขึ้นน้ําลงสูงสุดและต่ําสุด เพราะเปนชวยที่คล่ืนสามารถกัดเซาะหินชายฝงได แตในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลอันเนื่องมาจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลก หรือเหตุอ่ืนใดก็ตามอาจทําใหบริเวณปากถ้ําอยูสูง หรือต่ํากวาระดับน้ําทะเลในปจจุบันได

8) ถํ้าลอด (Sea Arch) หมายถึง โพรงหรือถํ้าที่เปดทะลุอออกทะเลทั้งสองดาน ถํ้าลอดที่มีช่ือเสียงเปนแหลงทองเที่ยวของไทย คือ ถํ้าลอดที่เกาะทะลุในอาวพังงา และเขาชองกระจก จังหวัดประจวบคีรีขันธ

9) สะพานหินธรรมชาติ (Natural Bridge) เปนโพรงหินชายฝงที่ทะลุออกทางทะเลทั้งสองดานคลายคลึงกับถํ้าลอดที่เกิดขึ้นบนเกาะ แตสะพานหินธรรมชาติจะเกิดบริเวณหัวแหลม ซ่ึงมีการกัดเซาะทั้งสองดานพรอมกันจนโพรงนั้นทะเลถึงกัน โดยหินสวนที่เหลืออยูเหนือโพรงจะมีลักษณะคลายสะพาน ตัวอยางของสะพานหินธรรมชาติที่มีความสวยงามมากแหงหนึ่ง คือ ที่เกาะไขในอุทยานแหงชาติทางทะเล หมูเกาะตะรุเตา จังหวัดสตูล และเกาะทะลุปากน้ําชุมพร

10) เกาะหินโดง หรือเกาะหินชะลูด (Stack) หมายถึง เกาะโขดหินขนาดเล็กที่แยกออกจากผืนแผนดินใหญ หรือเกาะที่อยูใกลเคียง เกิดจากแหลมหินที่ยื่นออกไปในทะเลและถูกคลื่นเซาะทั้ง 2 ขางจนสวนปลายแหลมที่ตัดออกเปนเกาะลักษณะเหมือนปลองเรือเรียงราย ตัวอยางเกาะหินโดงที่รูจักกันดี คือ เขาตะปู ในอุทยานแหงชาติพังงา

11) ชะวากทะเล (Estuary) คือ บริเวณสวนลางของปากแมน้ําที่มีความกวางมากกวาปกติจนมีลักษณะคลายอาว เปนบริเวณที่มีการผสมกันระหวางน้ําจืดกับน้ําทะเล เนื่องจากอิทธิพลของน้ําทะเล ชะวากทะเลเปนลักษณะหนึ่งที่แสดงใหเห็นวาเปนชายฝงทะเลยุบจมตัวอยางชะวากทะเลของไทย คือ บริเวณปากแมน้ํากระบุรี จังหวัดระยอง ปากแมน้ําเวฬุ จังหวัดจันทบุรี

Page 23: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

13

และปากแมน้ําชุมพร ซ่ึงมีลักษณะของชะวากทะเลที่เดนชัด คือ ปากน้ํากวางและสอบแหลมเปนรูปกรวยเกิดจากพื้นที่บริเวณปากแมน้ํายุบตัวลง

12) เกาะ (Island) หมายถึง สวนของแผนดินที่มีน้ําลอมรอบโดยตลอดและมีขนาดเล็กกวาแผนดินที่เปนทวีป อาจเกิดขึ้นจากการเกาะซัดของคลื่น และกระแสน้ําจนทําใหแผนดินบางสวนถูกตัดขาดออกจากแผนดินใหญ เกิดจากการกระทําของภูเขาไฟในทะเล เกิดจากการดันของเปลือกโลกใหสูงพื้นน้ํา หรือเกิดจากการกอตัวของปะการัง ถาจําแนกตามสถานที่ตั้งแลวเกาะจะแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ

(1) เกาะริมทวีป (Continental Island) เปนเกาะที่ตั้งอยูตามชายฝงทะเล หรือไมไกลจากแผนดินมากนัก เกาะริมทวีปสวนใหญจะมีลักษณะทางธรณีวิทยาคลายคลึงกับแผนดินใหญที่อยูใกลเคียง เนื่องจากเดิมเคยเปนแผนดินเดียวกัน ตอมาภายหลังจึงถูกตัดขาดแยกออกไปเพราะการเคลื่อนไหวของเปลือกโลกหรือการกัดเซาะของคลื่นและกระแสน้ํา เชน เกาะภูเก็ตและเกาะภูเขาหินปูนในอาวพังงา ซ่ึงมีหลักฐานทางธรณีวิทยาบงชี้วาในอดีตเคยเปนผืนแผนดินเดียวกับจังหวัดพังงา แตตอมาถูกน้ําทะเลตัดขาดออกไป เกาะในประเทศไทยทั้งหมดจัดอยูในประเภทนี้ทั้งสิ้น

(2) เกาะกลางมหาสมุทร (Oceanic Island) เปนเกาะที่ตั้งหางจากทวีปมาก ๆ และโดยทั่วไปจะอยูมหาสมุทร เกาะประเภทนี้จะถือกําเนิดตามลําพังไมเกี่ยวของสัมพันธกับผืนแผนดินใหญ ไดแก (2.1) เกาะภูเขาไฟ (Volcanic Island) เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟใตพื้นทะเลหรือทองมหาสมุทร (2.2) เกาะปะการัง (Coral Island) เปนเกาะที่เกิดจากเทือกปะการังที่อยูหางฝงทะเล ซ่ึงอาจมีเนินทรายมากองทับถมอยูตามที่ราบตอนบนสันปะการัง ทําใหเทือกปะการังยาว และกวางมากขึ้น แตมีความสูงไมมากนัก ตอมา เมื่อแผนดินเกิดการยกตัวสูงขึ้น จึงทําใหเทือกปะการังที่มีความสูงมากพอสมควร ภายหลังอาจมีตัวกระทําตามธรรมชาติตาง ๆ ที่ทําใหเกิดพืชพรรณงอกงามขึ้นบนเกาะนั้นได เชน ไดรับเมล็ดพืชตาง ๆ ที่พวกนกนํามาทิ้งไวหรือลอยน้ํามา เปนตน

2.2.3 ความสําคัญของชายฝงทะเล ชายฝงทะเลมีความสําคัญ เนื่องจากเปนแหลงที่อุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติที่มี

คุณคามากมายตอระบบเศรษฐกิจ สังคม และนิเวศวิทยา อาทิ ปาชายเลน ชายหาด ปะการังหญา

Page 24: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

14

ทะเล สัตวทะเล และทรัพยากรประมงอื่น ๆ ปจจุบันพื้นที่ชายฝงทะเลที่ครอบคลุม 24 จังหวัดของประเทศไทยไดถูกนําไปใชประโยชนที่ดินในรูปแบบตาง ๆ กัน เชน ใชเปนพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไมและปาชายเลนพื้นที่อยูอาศัย พื้นที่วางเปลาและพื้นที่ อ่ืน ๆ ที่ไมไดจําแนกหมวดหมูไวลักษณะการใชที่ดินเหลานี้ เปนดัชนีหนึ่งที่แสดงใหเห็นถึงพื้นฐานผลิตทางดานเศรษฐกิจของพื้นที่ชายฝงทะเล ตัวอยางเชน พื้นที่ไดใชประโยชนเพื่อการเกษตรกรรมมากจะสงผลใหการเกษตรกรรม คือ กิจกรรมเศรษฐกิจที่สําคัญ

การใชที่ดินของพื้นที่ชายฝงทะเล มีลักษณะคลายพื้นที่บนบก กลาวคือ มีการเปลี่ยนแปลงไปตามแนวโนมของการพัฒนาพื้นที่ ตัวอยางเชน พื้นที่ชายฝงทะเลที่เปนแหลงทองเที่ยวหรือมีแนวโนมของการพัฒนาพื้นที่ตัวอยาง เชน พื้นที่ชายฝงทะเลที่เปนแหลงทองเที่ยวหรือมีแนวโนมที่จะพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว มักจะมีการขยายตัวของชุมชนสูงและมีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคสงผลใหการใชที่ดินเปลี่ยนจากเดิมเปนพื้นที่ชุมชน ที่อยูอาศัยหรือพื้นที่พาณิชยกรรม นอกจากนี้แนวโนมของการเปลี่ยนแปลงที่ดินอื่น ๆ ไดแก การพัฒนาเศรษฐกิจ เชน การสรางคอนโดมิเนียม บังกะโล บานพักตากอากาศ ตลอดจนการพัฒนากระบวนการขนสงทางน้ํา เชน การสรางทาเรือน้ําลึก ทาเรือประมง เปนตน

การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินอันเนื่องมาจากการพัฒนาตาง ๆ ดังกลาว จะสงผลใหเกิดการบุกรุก และหากมีการใชประโยชนที่ดินผิดประเภท อาจสงผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมของพื้นที่ชายฝงอยางมากมายและตอเนื่องได

2.2.4 ปญหาที่เกิดกับชายฝงทะเลของประเทศไทย การเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจอยางรวดเร็วในชวงทศวรรษที่ผานมา ทําใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงการใชที่ดินชายฝงทะเลและเกิดการขยายตัวดานโครงสรางพื้นฐาน อาทิ โครงการถมทะเลเพื่อพัฒนาพื้นที่เปนแหลงอุตสาหกรรมขนาดใหญ การพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลเปนแหลงทองเที่ยว การแปรสภาพปาชายเลนมาเปนนากุงหรือนาเกลือ การสรางบานพักอาศัย การสรางทาเทียบเรือตาง ๆ ซ่ึงลวนแตทําใหสงผลกระทบตอระบบนิเวศตามธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมบริเวณชายฝง กลาวคือ สงผลใหคุณภาพน้ําชายฝงทะเลเสื่อมโทรมลง ทรัพยากรสัตวน้ําเริ่มมีปริมาณลดลงเนื่องจากการทําประมงผิดวิธี สภาพปาชายเลนเสื่อมโทรมหรือถูกทําลายโดยผูบุกรุก ปะการังถูกทําลาย เปนตน

นอกจากนี้โครงการพัฒนาหรือการขยายตัวดานโครงสรางพื้นฐานดังกลาว อาจทําใหสูญเสียดุลยภาพตามธรรมชาติของชายฝงดวยอิทธิพลของกระแสน้ํา คล่ืน ลม ที่เปลี่ยนแปลงใน

Page 25: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

15

แตละฤดูกาล กลาวคือ สงผลใหพื้นที่ชายฝงทะเลบางบริเวณถูกกัดเซาะ ซ่ึงอาจเปนพื้นที่ชายหาด แหลงทองเที่ยว หรือสถานที่ที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร แตในทางตรงขามบางพื้นที่อาจเกิดการตกตะกอนดินทรายทับถม กอใหเกิดการตื้นเขินหรือมีพื้นที่งอกออกมา ทําใหเปนอันตรายตอการเดินเรือ และรัฐตองเสียงบประมาณหรือคาใชจายจํานวนมากในแตละปในการขุดลอกบํารุงรักษารองน้ํา การกอสรางปองกันและฟนฟูที่ชายฝงทะเลที่ถูกกัดเซาะ ตลอดจนแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ซ่ึงเปนการทําลายเศรษฐกิจของสังคมโดยสวนรวม

ปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเลไดปรากฏอยางเดนชัดในบริเวณอาวไทยตอนบนครอบคลุมพื้นที่เปนระยะทางประมาณ 400 กิโลเมตร ตั้งแตจังหวัดเพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง โดยมีระยะการกัดเซาะชายฝงเขามาประมาณ 100 เมตร จากการสํารวจและตรวจสอบขอเท็จจริงในพื้นที่ชายฝงทะเลบริเวณจังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยความรวมมือระหวางเจาหนาที่กรมอุทกศาสตรและเจาหนาที่กรมเจาทาระหวางวันที่ 20 – 22 ตุลาคม พ.ศ. 2541 ที่ผานมานี้ พบวา พื้นที่ชายฝงทะเลจังหวัดเพชรบุรี บริเวณหาดชะอํา หาดเจาสําราญ แหลมผักเบี้ย และพื้นที่ชายทะเลหัวหินบริเวณหาดทรายใหญ และพระราชวังไกลกังวลไดประสบปญหาการกัดเซาะอยางรุนแรง โดยเฉพาะบริเวณแหลมผักเบี้ยมีสภาพของปาชายเลนเสื่อมโทรมลงมาก สวนบริเวณพระราชนิเวศนมฤคทายวันมีความแตกตางไปจากเดิม คือ ขณะนี้มีการตกตะกอนทรายทับถมจนปรากฏเปนพื้นที่งอกออกมาตลอดแนวชายฝงดานหนาของพระราชนิเวศนฯ มิไดถูกกัดเซาะดังที่เคยปรากฏ ดังนั้น ขอมูลการเปลี่ยนแปลงของสภาพชายฝงเหลานี้จึงมีความสําคัญและจําเปนตองทําการสํารวจ/ตรวจสอบ/ศึกษา/วิเคราะห/วิจัย ถึงสาเหตุตาง ๆ อยางตอเนื่องทั้งดานสมุทรศาสตร และดานวศิวกรรมชายฝง เพื่อกําหนดมาตรการแกไขหรือบรรเทาปญหาที่เกิดขึ้นอยางเรงดวน (ฐิติมา เจริญ-ฐิติรัตน และมนตรี ชูวงษ, 2545: 225 – 227)

2.2.5 สถานการณทรัพยากรชายฝงของไทย 2.2.5.1 พื้นที่ชายฝงทะเล อัมพันธ พินธุกนก และคณะ (2541: 129) ไดกลาวถึง พื้นที่ชายฝงทะเลหลายแหงใน

ประเทศไทยเกิดการพังทลายอยางรุนแรงและตอเนื่อง สาเหตุเกิดจากปจจัยหลายประการ เชน ปรากฏการณธรรมชาติ อิทธิพลของลมมรสุม หรือสภาวะที่โลกรอนที่ทําใหระดับทะเลสูงขึ้น และการทําลายพื้นที่ชายฝงจากการกระทําของมนุษย ไดแก การกอสรางสิ่งรุกลํ้าบนชายหาด การกอสรางสิ่งรุกลํ้าลงไปในทะเล การถมทะเล การขัดขวางตะกอนมิใหลงแมน้ําไดตามธรรมชาติ

Page 26: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

16

อันเปนผลมาจากการสรางเขื่อน การสรางฝาย เปนตน นอกจากนี้ ยังมีการบุกรุกปาชายเลนเพื่อทํานากุง และปญหาคราบน้ํามันร่ัวไหลเขาไปในบริเวณพื้นที่ชายฝง

1) แนวโนมของปญหา ปญหาการรุกลํ้าพื้นที่ชายหากเปนเรื่องที่นาเปนหวง เพราะสงผลกระทบ

อยางรุนแรงตอทรัพยากรชายฝง ดังกรณีชายหาดพัทยาซึ่งมีการใชประโยชนพื้นที่จนเกินขีดจํากัด จึงเกิดปญหาการปลูกสิ่งกอสรางโดยเฉพาะที่พักตากอากาศ รานคา และแหลงบันเทิงรุกลํ้าพื้นที่ชายหาดสงผลใหทรัพยากรชายฝงของพัทยาเสื่อมโทรมจากการทิ้งสิ่งปฏิกูลลงทะเล และเกิดปญหาการกัดเซาะชายฝง

ปญหาการกัดเซาะชายฝงยังคงเกิดขึ้นและมีแนวโนมที่จะรุนแรงขึ้นในหลายพื้นที่ เชน พื้นที่ชายฝงตั้งแตจังหวัดประจวบคีรีขันธจนถึงชายหาดหัวหินในบริเวณพระราชวังไกลกังวล และทางตอนใตของหาดชะอําบริเวณพระราชนิเวศนมฤคทายวันถึงหาดเจาสําราญ เกิดการกัดเซาะชายฝงรุนแรง ซ่ึงเปนผลมาจากผูประกอบกิจการโรงแรมริมชายหาดหลายแหงไดถมที่ริมทะเลออกไปเพื่อขยายพื้นที่ หรือในกรณีการกัดเซาะชายหาดจังหวัดนครศรีธรรมราชทําใหระยะทางระหวางถนนกับทะเลลดลง โดยมีสาเหตุมาจากการสรางเขื่อนกั้นน้ําเพื่อประโยชนในการทํานากุง ซ่ึงเปลี่ยนแปลงสมดุลในการหมุนเวียนของกระแสน้ําและกรณีการกัดเซาะชายฝงในเขตพระราชฐานชั้นใน ของพระตําหนักทักษิณราชนิเวศน จังหวัดนราธิวาส เนื่องจากเกิดคลื่นลมในทะเลรุนแรงที่สุดนับตั้งแตการกอสรางพระตําหนัก โดยเปนคลื่นลมในทะเลที่มีคาบการเกิดประมาณ 30 ป ในปลายป พ.ศ. 2542 ที่ผานมา สงผลทําใหเกิดความเสียหายกับเขตพระราชฐานช้ันใน บริเวณเขื่อนกันคลื่นบันไดเรียงหิน ซ่ึงเปนทางเสด็จฯ ลงชายหาด รวมทั้งบริเวณหนาสุสานเฟองฟา ซ่ึงถูกคลื่นซัดตนมะมวงโคนลมเกือบตลอดแนว และกัดเซาะทรายหาด โดยระยะที่ถูกกัดเซาะหางจากเสนทางเสด็จฯ ในเขตพระราชฐานชั้นในประมาณ 8.00 เมตร สวนปญหาการกัดเซาะชายฝงที่รุนแรงและนาเปนหวงที่สุดในขณะนี้ คือ กรณีของชายหาดบางขุนเทียน (ประมุข แกวเนียม, 2529: 89)

ยังมีปญหาการรั่วไหลของน้ํามันลงสูทะเล โดยในชวงเดือนกรกฎาคม ป พ.ศ. 2542 พบวา ปญหาคราบน้ํามันและเม็ดน้ํามันขนาดใหญปนเปอนตามชายฝงทะเลจังหวัดระยอง บริเวณแหลมแมพิมพ อาวไข และหาดแมรําพึง เขตอําเภอเมืองระยอง ซ่ึงคาดวาอาจเกิดจากเรือบรรทุกน้ํามันลักลอบลางถังน้ํามันทิ้งกลางทะเล หรือเกิดจากระบบการขนถายน้ํามันไมดี หรือมีสาเหตุจากรานอาหารและโรงแรมชายฝงทะเลปลอยน้ําเสียออกมาโดยไมผานการกรองไขมัน

Page 27: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

17

จากที่กลาวมาสรุปไดวา ปญหาพื้นที่ชายฝงและชายหาดที่รุนแรงปรากฏให เห็นในหลาย ๆบริเวณ โดยเฉพาะบริ เวณแหลงทองเที่ยว ซ่ึงมีการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติที่ไมถูกตอง มีการรุกลํ้าพื้นที่สาธารณะ การกอสรางสิ่งรุกลํ้าบริเวณชายหาด การกอสรางสิ่งรุกลํ้าลงไปในทะเล การถมทะเล ทําใหเกิดการกัดเซาะและการพังทลายของชายฝง การขยายตัวของการทองเที่ยวโดยขาดการจัดการดูแลดานสิ่งแวดลอม ซ่ึงสงผลกระทบตอคุณภาพส่ิงแวดลอมชายฝง

2.2.5.2 ปาชายเลน 1) สถานการณปญหาในชวงป พ.ศ. 2504 – 2539 พื้นที่ปาชายเลนของ

ประเทศไทยลดลงอยางรวดเร็ว จาก 2,299,375 ไร ในป พ.ศ. 2504 ลดลงเหลือเพียง 1,047,390 ไร ในป พ.ศ. 2539 หรือคิดเปนอัตราการลดลงเฉลี่ยรอยละ 2.80 ตอป หรือ 35,770 ไรตอป เนื่องจากการบุกรุกและเปลี่ยนแปลงสภาพปาชายเลนเพื่อใชประโยชนในดานอื่น อยางไรก็ตาม อัตราการลดลงของพื้นที่ปาชายเลนในชวงเวลา 5 ปที่ผานมา ไดลดนอยลงเปนอยางมากเมื่อเทียบกับชวงเวลากอนหนานั้น กลาวคือ พื้นที่ปาชายเลนมีแนวโนมลดลงในทุกภาคและทุกจังหวัด

2) แนวโนมของปญหาการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินในปาชายเลนมีหลายลักษณะตาง ๆ กัน ไดแก การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําโดยเฉพาะการทํานากุง สัมปทานทําไมในปาชายเลน การถมทะเล การทําเหมือนแร การทํานาเกลือ การขยายตัวของชุมชน การเกษตรกรรม การสรางถนนและสงสงไฟฟา การอุตสาหกรรมและโรงไฟฟา การสรางทาเทียบเรือ และการขุดลอกรองน้ํา

อยางไรก็ตาม หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของมีนโยบายและมาตรการควบคุมการใชประโยชนที่ดิน เพื่อมิใหมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาชายเลนธรรมชาติไปสูการใชประโยชนในกิจกรรมอื่น ๆ รวมทั้งมีโครงการปลูกปาชายเลนเกิดขึ้น จึงสงผลใหอัตราการทําลายปาชายเลนลดนอยลง สามารถสรุปไดวา สาเหตุสําคัญที่สงผลทําใหพื้นที่ปาชายเลนลดลงและเสื่อมโทรมอยางมาก ไดแก นโยบายของรัฐ การเพาะเลี้ยงกุง สัมปทานทําไมปาชายเลน การถมทะเลเพื่อรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมและการทองเที่ยว และการทําเหมืองแร

3) นโยบายของรัฐ จากอดีตจนถึงปจจุบัน คณะรัฐมนตรีไดมีมติที่เกี่ยวของกับปาชายเลนรวม

ทั้งสิ้น 29 ฉบับ โดยไดกําหนดหลักเกณฑและมาตรการในการจัดการปาชายเลนทั้งในภาพรวมและเฉพาะเรื่อง ซ่ึงมติคณะรัฐมนตรีหลายฉบับมีแนวทางปฏิบัติที่ไมสอดคลองกัน ทําใหยากในการปฏิบัติงานของหนวยงานที่รับผิดขอบและหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมทั้งทําใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานไมสามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ กฎหมายและระเบียบขอบังคับเกี่ยวกับ

Page 28: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

18

การใชประโยชนพื้นที่ปาชายเลนยังไมรัดกุมเพียงพอ และบทลงโทษยังไมรุนแรงเทาที่ควร สงผลทําใหมีผูละเลยไมปฏิบัติตาม โดยเฉพาะการใหสัมปทานมักจะละเลยจนทําใหปาชายเลนสวนใหญที่ผานการทําไมอยูในสภาพเสื่อมโทรมและมักจะกลายเปนสาเหตุอางในการบุกรุกปาชายเลนหรือขอใชประโยชนเพื่อกิจกรรมอยางอื่นตอไป ซ่ึงเปนสาเหตุที่ทําใหพื้นที่ปาชายเลนของประเทศไทยถูกบุกรุกและถือครองเพื่อนําไปใชประโยชนในกิจกรรมอื่น ๆ อยูเสมอ

(1) การถมทะเลเพื่อรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมและการทองเที่ยว ในชวงเวลา 2 – 3 ปที่ผานมามีโครงการถมทะเลหลายโครงการซึ่งสงผลกระทบตอระบบนิเวศปาชายเลน และระบบนิเวศชายฝงทะเล เชน โครงการถมทะเลระยะที่ 2 ของการนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด โครงการถมทะเลบางปู โครงการถมทะเลพัทยา โครงการถมทะเลแหลมฉบังระยะที่ 2 และโครงการถมทะเลบางขุนเทียน เปนตน

(2) การทําเหมืองแร การรวบรวมรายละเอียดขอมูลประทานบัตรเหมืองแรในพื้นที่ปาชายเลน ที่ส้ินอายุในระหวางเดือนเมษายน พ.ศ. 2540 ถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2547 ตามอํานาจการใหประทานบัตร พ.ร.บ. แร พ.ศ. 2510 จากกรมทรัพยากรธรณี พบวา มีพื้นที่ประทานบัตรเหมืองแรในพื้นที่ปาชายเลนจํานวน 25 แปลง คิดเปนพื้นที่ 6,460 ไร ซ่ึงถึงแมจะมีจํานวนไมมากนัก แตในปจจุบันพบวาการทําเหมืองแรในปาชายเลนไดมีสวนทําลายสภาพปา และลดความอุดมสมบูรณของปาชายเลนจนยากที่จะฟนฟูใหมีสภาพดังเดิมในระยะเวลาอันสั้น ทั้งนี้ เนื่องจากการทําเหมืองแรจําเปนตองขุดใหลึกจนถึงสายแร ดิน ตะกอน กรวด และทรายที่ถูกพลิกขึ้นมาทับถมทําใหปาชายเลนไมสามารถฟนตัวไดดังเดิม

อยางไรก็ตาม การยกเลิกการประทานบัตรเหมืองแรในพื้นที่ปาชายเลนยังคงหาทิศทางและขอสรุปไมได โดยมีกระแสการเรียกรองจากเจาของประทานบัตรเหมืองแรในพื้นที่ปาชายเลนที่ยังคงเหลืออายุสัมปทานหลายรายใหเปดสัมปทานเหมืองแรในพื้นที่ปาชายเลนตอไป

การใชประโยชนในพื้นที่ปาชายเลนทั้งในดานการเพาะเลี้ยงกุง สัมปทานทําไมปาชายเลน การถมทะเล การทําเหมืองแร รวมท้ังความไมชัดเจนของนโยบายรัฐ สงผลใหพื้นที่ปาชายเลนของประเทศเสื่อมโทรมและลดลงอยางมาก อยางไรก็ตามหนวยงานของรัฐและองคกรเอกชนไดดําเนินการอนุรักษทรัพยากรปาชายเลนมาโดยตลอด แตพื้นที่ปาชายเลนก็ยังคงลดลงอยางตอเนื่อง ดังนั้น การวางแผนการจัดการและการดําเนินการเพื่อการจัดการและอนุรักษปาชายเลน จําเปนที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่องเพื่อใหบรรลุตอไป

Page 29: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

19

2.2.5.3 ปะการัง แนวปะการังในอาวไทยสวนใหญพบตามเกาะตาง ๆ และบริเวณชายฝงบางแหง

โดยเริ่มพบแนวปะการังไดตั้งแตบริเวณหมูเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี ในบริเวณอาวไทยตอนบนถัดลงมาแนวปะการังพัฒนาไดดีขึ้นทั้งทางดานอาวไทยฝงตะวันออก และอาวไทยฝงตะวันตก โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณเกาะเตา จังหวัดสุราษฎรธานี มีแนวปะการังกอตัวถึงระดับน้ําลึกประมาณ 15.0 เมตร สภาพของปะการังโดยทั่วไป มีทั้งที่เปนสภาพที่สมบูรณ แตก็มีบางแหงที่มีสภาพเสื่อมโทรมจนถึงเสื่อมโทรมมาก

ในอาวไทยมีพื้นที่แนวปะการังประมาณ 74.9 ตารางกิโลเมตร โดยอาวไทยฝงตะวันออก มีแนวปะการังกระจายอยูตามรอบเกาะขนาดตาง ๆ รวมประมาณ 100 เกาะ ตั้งแตจังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี ถึงจังหวัดตราด มีพื้นที่แนวปะการังรวมกันประมาณ 27.7 ตารางกิโลเมตร เกาะกระดาน จังหวัดตราด เปนเกาะที่มีพื้นที่แนวปะการังมากที่สุด 4.97 ตารางกิโลเมตร และมีมากเปนอันดับสามในอาวไทย สวนจังหวัดจันทบุรีมีแนวปะการังอยูนอยที่สุด มีพื้นที่เพียงประมาณ 0.720 ตารางกิโลเมตร เทานั้น สวนอาวไทยทางดานฝงตะวันตกมักจะพบแนวปะการังอยูบริเวณรอบเกาะ ประมาณ 150 เกาะ ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ ชุมพร และสุราษฎรธานี มีพื้นที่แนวปะการังรวมกันประมาณ 38.4 ตารางกิโลเมตร เกาะสมุยเปนเกาะที่มีพื้นที่แนวปะการังมากที่สุด เกาะพะงันเปนเกาะที่มีแนวปะการังรองลงมา

กรมประมงไดรายงานวา ปะการังในอาวไทยที่อยูในสภาพสมบูรณดีมาก มีประมาณรอยละ 16.4 สวนที่มีสภาพสมบูรณดีมีรอยละ 29.0 สภาพสมบูรณปานกลางมีรอยละ 30.8 สภาพเสื่อมโทรมมีรอยละ 10.9 และสภาพเสื่อมโทรมมากมีรอยละ 12.9 โดยทางฝงตะวันออกของอาวไทยแนวปะการังอยูในสภาพสมบูรณปานกลางถึงสมบูรณดีมาก และสวนใหญอยูในสภาพสมบูรณปานกลาง จังหวัดจันทบุรีเปนบริเวณเดียวที่ไมมีแนวปะการังสภาพสมบูรณดีถึงสมบูรณดีมาก สําหรับทางอาวไทยฝงตะวันตกสวนใหญสภาพแนวปะการังอยูสภาพสมบูรณปานกลางถึงสมบูรณดีมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในจังหวัดประจวบคีรีขันธ สภาพแนวปะการังอยูในสภาพสมบูรณดีถึงสมบูรณดีมาก สวนในจังหวัดสุราษฎรธานีแนวปะการังสวนใหญมีสภาพสมบูรณปานกลางถึงสมบูรณดี

ทางฝงอันดามันมีพื้นที่แนวปะการังรวมประมาณ 78 ตารางกิโลเมตร แนวปะการังที่มีขนาดคอนขางใหญพบไดที่หมูเกาะสุรินทร และหมูเกาะอาดังราวี แนวปะการังที่ยังคงอยูในสภาพดีมักพบอยูตามเกาะขนาดเล็ก เชน เกาะตอรินลา เกาะคางคาว เกาะยูง เกาะบุเหลาโบต เกาะกระดาน เกาะแบวะ เกาะบูราด เกาะกาดา และเกาะบูตัง เปนตน สวนบริเวณที่แนวปะการังมีสภาพเสื่อม

Page 30: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

20

โทรมมากมักพบอยูในพื้นที่ที่อยูใกลแผนดินใหญ หรือตามชายฝงแผนดินใหญ เชน เกาะแรด เกาะตะลิบง แหลมหัวกรังนอย และแหลมหัวกรังใหญ เปนตน

ในทุกจังหวัดที่มีสวนของแนวปะการัง สวนใหญอยูในสภาพสมบูรณปานกลาง จังหวัดที่มีสวนของแนวปะการังที่มีแนวโนมไปทางสภาพสมบูรณดีมากที่สุด จังหวัดสตูล และจังหวัดที่มีสวนของแนวปะการังที่มีแนวโนมไปทางเสื่อมโทรมมากที่สุด คือ จังหวัดพังงา และภูเก็ต

แนวปะการังทางฝงทะเลอันดามันอยูในสภาพสมบูรณดีมาก คิดเปนรอยละ 4.10สภาพสมบูรณดี รอยละ 13.4 สภาพสมบูรณปานกลาง รอยละ 33.7 สภาพเสื่อมโทรม รอยละ 26.9 และสภาพเสื่อมโทรมมาก รอยละ 21.9

แนวโนมของปญหาในบริเวณชายฝงภาคตะวันออกของอาวไทยแนวปะการังหลายบริเวณไดรับผลกระทบจากการทองเที่ยว เชน บริเวณเกาะกุฎี จังหวัดระยอง เกาะหมาก และเกาะกระดาน จังหวัดตราด ซ่ึงเปนบริเวณที่มีนักทองเที่ยวชมแนวปะการังเพิ่มมากขึ้น แนวปะการังเริ่มมีสภาพเสื่อมโทรมลงอยางเห็นไดชัด สวนทางดานฝงตะวันตกแนวปะการังเสื่อมโทรมลงเพราะไดรับผลกระทบจากพายุ ยกเวนแนวปะการังหลายบริเวณของจังหวัดสุราษฎรธานี เชน บริเวณเกาะเตา เกาะสมุย และเกาะพะงัน ซ่ึงมีแนวโนมเสื่อมโทรมลงเนื่องจากการพัฒนาแนวปะการังใหเปนแหลงทองเที่ยว และผลกระทบจากการประมง

ปจจัยที่มีผลตอสภาพแนวปะการังในอาวไทย ในสวนที่เกิดจากปจจัยทางธรรมชาติ ไดแก พายุ ทั้งพายุโซนรอนและพายุไตฝุน โดยเฉพาะในบริเวณอาวไทยตอนกลาง ตั้งแตบริเวณชายฝงจังหวัดประจวบคีรีขันธ ชุมพร จนถึงสุราษฎรธานี ประกอบกับสภาพแวดลอมของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปทําใหเกิดปรากฏการณเอลนิโญ และมีแนวโนมที่จะเกิดพายุในอาวไทยบอยข้ึน จนเกิดปรากฏการณปะการังฟอกขาว ทั้งสองสาเหตุนี้เปนปจจัยที่มีผลใหแนวปะการังเสื่อมโทรมลงไดมาก นอกจากนี้ตะกอนที่พัดพาจากแมน้ําก็มีผลทําใหแนวปะการังที่อยูใกลปากแมน้ําอยูในสภาพที่เสื่อมโทรมโดยธรรมชาติอยูแลว สวนกิจกรรมของมนุษยที่มีผลกระทบตอแนวปะการังที่สําคัญในปจจุบัน คือ การทองเที่ยวชมปะการังที่ผิดวิธี การประมงโดยใชเครื่องมือประมงบางชนิดทั้งที่ถูกตองตามกฎหมายและผิดกฎหมาย การพัฒนาชายฝงสืบเนื่องจากการทองเที่ยว การพัฒนาเปนแหลงอุตสาหกรรม และการขยายตัวของชุมชนในหลายพื้นที่ เชน เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะชาง เกาะกระดาน ซ่ึงเปนบริเวณที่แนวปะการังอยูในระดับน้ําตื้น มีการขุดรองน้ําผานแนวปะการังเขาไปยังแหลงชุมชนและที่พักตากอากาศเพื่อใหเรือเขาออก ทั้งนี้มีแนวโนมที่จะดําเนินการเชนนี้มากขึ้น

Page 31: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

21

ทางฝงอันดามันผลจากกิจกรรมการทองเที่ยวเห็นไดชัดในเรื่องผลกระทบจากสมอเรือ โดยเฉพาะที่บริเวณหมูเกาะสิมิลัน ซ่ึงหลายจุดมีปะการังประเภทกิ่งซึ่งมีความเปราะบางเปนพวกที่เดนในพื้นที่ จึงมักพบรองรอยความเสียหายจากสมอเรือหลายแหงที่หมูเกาะสิมิลัน นอกจากนี้ในบริเวณแนวปะการังน้ําตื้นหลายแหง เชน เกาะสุรินทร เกาะสิมิลัน เกาะเฮ เกาะพีพี ไดรับความเสียหายจากการถูกนักทองเที่ยวยืนเหยียบย่ําเมื่อลงดําน้ํา

ผลจากตะกอนเห็นเดนชัดตามเกาะที่มีปาชายเลนขนาดใหญ เชน เกาะตะลิบง กลุมเกาะยาว กลุมเกาะในอาวพังงา และกลุมเกาะที่อยูทางฝงตะวันออกของเกาะภูเก็ต เปนตน นอกจากนี้ ยังมีปญหาผลกระทบของตะกอนจากกิจกรรมการทําเหมืองแรในทะเลในอดีต โดยพื้นที่ซ่ึงคาดวาไดรับความเสียหายมากจากตะกอนที่เกิดจากการขุดแรในทะเล คือ บริเวณแหลมหัวกรังนอย และแหลมหัวกรังใหญ เนื่องจากทั้งสองจุดนี้อยูใกลแหลงสัมปทานเหมืองแรในทะเลบริเวณบานน้ําเค็ม จังหวัดพังงา ผลกระทบจากการทําประมงที่ผิดวิธี เชนจากการระเบิดปลา ซ่ึงเห็นไดชัดที่เกาะไหง และเกาะกระดาน แตเนื่องจากทั้งสองแหงนี้มีปะการังโขด (Parties Luteal) ที่เปนหัวขนาดใหญเปนชนิดที่เดน จึงไมเกิดความเสียหายเปนพื้นที่กวางมากนัก และสังเกตพบวาการระเบิดปลานาจะเกิดขึ้นมากในบริเวณที่เปนแนวโขดหินใตน้ํา ซึ่งมีปะการังขึ้นอยูเปนหยอม เนื่องจากในหลายพื้นที่พบเศษหินและซากปะการังแตกกระจายอยูตามพื้นทรายขางลาง (สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม, 2540: 269 – 275)

นอกจากนี้ ยังมีปญหาเรื่องเศษอวนปกคลุมปะการัง เศษอวนเหลานี้อาจเกิดจากการที่ชาวประมงซอมอวนและตัดอวนทิ้งกลางทะเล ซ่ึงมีโอกาสลอยและถูกพัดพาไปตกคางในแนวปะการัง หรืออวนที่ชาวประมงดักปลาในแนวปะการังโดยตรง ซ่ึงเมื่ออวนขาดเสียหายก็ถูกปลอยทิ้งไวจนคลุมปะการัง บางแหงมีการวางลอบดักปลาบนแนวปะการัง ทําใหปะการังแตกหักเสียหาย และในบริเวณโซนพื้นราบโดยทั่วไปมักเสียหายจากการที่ชาวบานเดินเหยียบย่ําและพลิกปะการังเพื่อหาสัตวน้ํา โดยเฉพาะพวกปลาหมึกยักษและหอยบางชนิด

จากแนวคิดสถานการณขางตน แนวปะการังมีแนวโนมที่จะเสื่อมโทรมลงจากหลายสาเหตุ โดยเฉพาะจากกิจกรรมทางทะเลทั้งดานการทองเที่ยว เหมืองแร และการประมง การทําลายปะการังโดยเรือทองเที่ยวหรือโดยเรือประมง ปญหามลพิษ ปญหาขยะตามหมูเกาะตาง ๆ และส่ิงแวดลอมชายทะเลที่มีแนวโนมเสื่อมโทรมลงเนื่องจากน้ําเสีย ขยะ และของเสียตาง ๆ ปญหาเหลานี้จําเปนตองแกไขอยางรีบดวนและเปนระบบเพื่อใหการใชประโยชนทรัพยากรปะการังมีความยั่งยืน

Page 32: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

22

2.2.5.4 หญาทะเล 1) สถานการณปญหา

(1) อาวไทยฝงตะวันออกไดแก จังหวัดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด มีแหลงหญาทะเลที่ปากแมน้ําประแสรเร่ือยไปจนถึงอาวมะขามปอม จังหวัดระยอง และที่อาวคุงกระเบน จังหวัดจันทบุรี ซ่ึงเปนแหลงหญาทะเลขนาดใหญที่สุดของอาวไทยฝงตะวันออกและเปนแหลงอาหารของพะยูน ในอดีตพบพะยูนเขามากินหญาทะเลทั้งที่จังหวัดจันทบุรี และระยองเปนประจํา แตปจจุบันนาน ๆ จึงจะมีชาวบานพบพะยูนติดอวนหรือตายเกยหาดบริเวณชายทะเลแถบนี้

(2) อาวไทยฝงตะวันตก หญาทะเลเริ่มพบที่จังหวัดเพชรบุรีเพียง 1 ชนิด ในบริเวณที่เปนปาชายเลน สวนที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ และชุมพรพบหญาทะเลเพียงประปราย บริเวณจังหวัดสุราษฎรธานี โดยเฉพาะที่เกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะมัดหลัง เปนแหลงหญาทะเลขนาดใหญที่คอนขางอุดมสมบูรณ พบหญาทะเลจํานวน 7 ชนิด ที่อาวปตตานี มีแหลงหญาทะเลขนาดใหญอีกแหงหนึ่ง พบหญาทะเล 4 ชนิด สวนที่จังหวัดอื่น ๆ ไดแก จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง และนราธิวาส แหลงหญาทะเลมีขนาดเล็กกระจายเปนหยอม ๆ ไมหนาแนน

(3) ภาคใตฝงอันดามัน แหลงหญาทะเลฝงทะเลอันดามันมีความอุดมสมบูรณและมีความหลากหลายของชนิดพันธุมากกวาฝงทะเลอาวไทย จังหวัดตรังเปนแหลงหญาทะเลที่ใหญที่สุดของประเทศไทย โดยเฉพาะบริเวณหาดเจาไหม และเกาะตะลิบง ครอบคลุมพื้นที่กวา 12 ตารางกิโลเมตร เปนแหลงที่มีหญาทะเลอุดมสมบูรณมากมีจํานวนถึง 11 ชนิด ขึ้นอยูตั้งแตบริเวณน้ําตื้นแนวปาชายเลนเรื่อยไปจนถึงบริเวณที่หางจากฝงประมาณ 2 กิโลเมตร หญาทะเลบริเวณนี้พบทั้งที่ขึ้นชนิดเดียวโดด ๆ และขึ้นปะปนกันอยูหลายชนิด โดยขึ้นเปนหยอม ๆ กระจัดกระจายในบริเวณกวาง บางแหงขึ้นเปนแนวหนาแนน บริเวณหาดเจาไหมและเกาะตะลิบง พบพะยูนเขามากินหญาทะเลเปนประจํา และพบรอยแหวงของหญาทะเลที่ถูกพะยูนกินกระจัดกระจายอยูทั่วไป

แหลงหญาทะเลที่จังหวัดอื่น ตั้งแตระนอง พังงา กระบี่ และภูเก็ต มีความอุดมสมบูรณอยูในระดับดี มีความหลากหลายของชนิดพันธุในแตละจังหวัดระหวาง 8 – 11 ชนิด สวนที่จังหวัดสตูลมีหญาทะเลขึ้นอยูกระจัดกระจายเปนหยอม ๆ พบเพียง 5 ชนิด

2) แนวโนมของปญหา เนื่องจากทางชายฝงอาวไทยตอนบนมีการพัฒนาอุตสาหกรรมหลาย

ประเภท และการทํานากุงกระจายอยูทั่วทุกจังหวัด ทําใหสภาพชายฝงเสื่อมโทรมแหลงหญาทะเล

Page 33: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

23

หลายแหงถูกทําลาย หากไมควบคุมดูแลอาจสูญเสียแหลงหญาทะเลไปได โดยเฉพาะที่อาวคุงกระเบนซึ่งมีการระบายน้ําทิ้งจากนากุงที่มีอยูอยางหนาแนนในบริเวณใกลเคียง

อาวไทยฝงตะวันตก โดยเฉพาะที่เกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะมัดหลัง ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎรธานี ปจจุบันไดรับผลกระทบจากการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว หญาทะเลในบริเวณอาวปตตานีไดรับผลกระทบจากการทําการประมงดวยอวนรุน และอวนลาก และน้ําทิ้งจากการทํานากุง

สวนทางอันดามัน พบวา แหลงหญาทะเลในหลายพื้นที่ถูกทําลายและมีสภาพเสื่อมโทรม สาเหตุจากการทําการประมงอวนรุน อวนลาก และอวนทับตลิ่ง และน้ําทิ้งจากการทํานากุง รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝง

นอกจากนี้ ยังมีการดําเนินการของกลุมองคกรเอกชน เชน สมาคมหยาดฝน มูลนิธิคุมครองสัตวปาและพรรณพืชแหงประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ ชมรมอนุรักษส่ิงแวดลอมภูเก็ต และอีกหลาย ๆ องคกร เปนตน ซ่ึงเปนตัวอยางที่ดีที่แสดงใหเห็นถึงความรวมมือของชาวบาน รัฐ องคกรเอกชน ในการรวมมือกันอนุรักษแหลงหญาทะเล ทําใหพื้นที่ชายฝงทะเลหลายที่มีสัตวน้ําอุดมสมบูรณ

การอนุรักษแหลงหญาทะเลหลายบริเวณในพื้นที่ภาคใต เกิดจากการรวมมือกันอยางเขมแข็งขององคกรเอกชนและชุมชนทองถ่ิน เชน ที่จังหวัดตรัง และภูเก็ต ดังนั้น รัฐบาลทั้งสวนกลางและสวนทองถ่ินจึงมีความสําคัญอยางยิ่งในดานการสนับสนุนใหความชวยเหลือใหองคกรเหลานี้เขมแข็งมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะดานการถายทอดเทคโนโลยี การสนับสนุนในดานกฎระเบียบและงบประมาณ

สรุปไดวา ความเสื่อมโทรมของหญาทะเลก็เกิดจากการพัฒนาพื้นที่ชายฝง การทําเหมืองแร การทําการประมงโดยใชอวนลากและอวนรุน น้ําเสียจากการเพาะเลี้ยงชายฝง และจากกิจกรรมตาง ๆ ที่รองรับการทองเที่ยว ตลอดจนความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอมชายฝงซึ่งสงผลใหความอุดมสมบูรณของหญาทะเลลดลง

2.2.5.5 คุณภาพน้ําทะเลชายฝง กรมควบคุมมลพิษ ไดดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําทะเลชายฝง

ในป พ.ศ. 2542 จํานวน 2 คร้ัง คร้ังละ 218 สถานี 23 จังหวัดติดชายฝงทะเล ทั้งในชวงฤดูแลงและฤดูฝนที่ระยะ 100 และระยะ 500 เมตร จากชายฝง พบวา ปญหาคุณภาพน้ําทะเลชายฝงของพื้นที่ชายฝงทะเลฝงอาวไทยและฝงอันดามันในปจจุบันยังคงเปนปญหาในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งในบริเวณที่เปนแหลงชุมชน แหลงอุตสาหกรรม แหลงเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง และแหลงทองเที่ยว อยางไรก็ตาม คุณภาพน้ําทะเลชายฝงบริเวณอาวไทยและฝงทะเลอันดามัน มีแนวโนมที่ดีขึ้นกวาปที่

Page 34: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

24

ผาน ๆ มา มีเพียงบางพื้นที่บางแหงเทานั้นที่จะตองใหความสนใจและเพิ่มการติดตามตรวจสอบใหมากขึ้น อาทิ บริเวณพื้นที่แหลมศอก จังหวัดตราด บริเวณอาวไทยตอนใน โดยเฉพาะบริเวณปากแมน้ําเจาพระยา ปากแมน้ําบางปะกง ปากคลองบานแหลม – ปากคลองบางตะบูน จังหวัดเพชรบุรี อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี หาดบานปากบารา บานทุงร้ิน จังหวัดสตูล และหาดปาตอง จังหวัดภูเก็ต ที่มีคุณภาพน้ําทะเลไมเปนไปตามคามาตรฐานคุณภาพน้ําทะเลชายฝง โดยเฉพาะการปนเปอนของแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด มากกวา 1,000 หนวย (เอ็ม.พี.เอ็น. ตอ 100 มิลลิลิตร) ปริมาณออกซิเจนละลายที่มีคานอยกวา 4.00 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณธาตุอาหารสูงเกินมาตรฐานในบริเวณพื้นที่ดังกลาว ซ่ึงอาจเปนสาเหตุกอใหเกิดปรากฏการณน้ําทะเลเปลี่ยนสี หรือที่รูจักกันในช่ือวาปรากฏการณขี้ปลาวาฬได (กรมควบคุมมลพิษ, 2540: 255)

1) บริเวณชายฝงทะเลดานตะวันออกของอาวไทย ครอบคลุม 4 จังหวัด คือ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด คุณภาพน้ําทั่วไปอยูในเกณฑดี ดัชนีคุณภาพน้ําทั่วไปต่ํากวามาตรฐานฯ ยกเวนแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด และฟคอลโคลิฟอรมมีคาสูงกวามาตรฐานฯ ในบริเวณแหลงทองเที่ยวและแหลงชุมชน บริเวณหาดบางแสน แหลมศอก ปากแมน้ําพังราด ปากแมน้ําระยอง และปากแมน้ําบางปะกง

2) บริเวณชายฝงทะเลอาวไทยรูปตัว ก ครอบคลุม 4 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม คุณภาพน้ําทั่วไปอยูในเกณฑดี ดัชนีคุณภาพน้ําทั่วไปต่ํากวามาตรฐาน ยกเวนแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด และฟคอลโคลิฟอรมมีคาสูงกวามาตรฐานฯ ในบริเวณปากแมน้ําตาง ๆ เชน ปากแมน้ําเจาพระยา ปากแมน้ําแมกลอง ปากแมน้ําบางปะ

3) บริเวณชายฝงทะเลดานตะวันตกของอาวไทย ครอบคลุม 9 จังหวัด คือ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปตตานี และนราธิวาส คุณภาพน้ําทั่วไปอยูในเกณฑดี คาแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด และฟคอลโคลิฟอรมมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานฯ เชน ปากคลองบางตะบูน ปากคลองบานแหลม กลางหาดสมบูรณ อําเภอบางสะพาน ปากแมน้ําตาป – พุมดวง ปากแมน้ําปากพะนัง และปากแมน้ําปตตานี เปนตน ปริมาณสารอาหาร เชน ไนเตรต – ไนโตรเจน แอมโมเนีย – ไนโตรเจน และฟอสเฟต – ฟอสฟอรัส ตรวจพบคาต่ําและไมเกินมาตรฐานฯ ปริมาณโลหะหนัก (ปรอท แคดเมียม โครเมียม โครเมียมเฮกซาวาเลนต ตะกั่ว ทองแดง สังกะสี และสารหนู) สวนใหญไมเกินคามาตรฐานฯ ยกเวนบริเวณกลางหาดสมบูรณ อําเภอบางสะพาน มีปริมาณตะกั่วและสังกะสี ในชวงฤดูแลงเกินคามาตรฐานฯ แตในชวงตนฤดูฝนมีปริมาณตะกั่วเกินคามาตรฐานอยางเดียว และบริเวณหาดทรายรีตอนกลางและอาวคอ อําเภอสวี มีปริมาณแคดเมียมเกินมาตรฐานในชวงตนฤดูฝน

Page 35: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

25

4) บริเวณชายฝงทะเลอันดามัน ครอบคลุม 5 จังหวัด คือ ระนอง พังงา กระบี่ ตรัง และสตูล คุณภาพน้ําทั่วไปอยูในเกณฑดี คาแบคทีเรียโคลิฟอรมทั้งหมด และฟคอลโคลิฟอรมมีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน ยกเวนบริเวณแหลงทองเที่ยวและแหลงชุมชนที่มีคาเกิน มาตรฐานฯ เชน บานทุงร้ิน จังหวัดสตูล หาดสําราญ และหาดปากเมง จังหวัดตรัง เปนตน

สรุปไดวา ปญหาคุณภาพน้ําทะเลชายฝงที่รุนแรงมักเกิดขึ้นในพื้นที่ที่เปนแหลงชุมชน แหลงเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง แหลงอุตสาหกรรม ซ่ึงจําเปนจะตองมีการแกไข และฟนฟูโดยดําเนินรวมกันหลายฝายทั้งภาครัฐในสวนกลาง สวนทองถ่ิน เอกชน และประชาชน

อยางไรก็ตาม การกําหนดมาตรการหรือแนวทางแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับชายฝงทะเล จําเปนตองอาศัยบุคลากรที่มีประสบการณ ความรู ความเขาใจและความรวมมือจากหนวยงานที่เกี่ยวของหลายฝายทั้งภาครัฐและเอกชนในการศึกษาวิเคราะหปญหาผลกระทบส่ิงแวดลอมเหลานี้อยางจริงจัง เพื่อกําหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการระดับชาติ อันจะสงผลทําใหเกิดการพัฒนาแบบยั่งยืนสําหรับประเทศไทยสืบตอไป

2.3 แนวคิดผูนําชุมชน

ภาวะโลกในปจจุบัน อยูในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลามีความเปนพลวัตร องคกรตาง ๆ ตองมีการปรับตัวเองใหทันตอสถานการณการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นทั้งในอนาคตและปจจุบัน เพื่อทําใหองคกรของตนเองสามารถดํารงอยูไดกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น ผูนําเปนบุคคลที่มีความสําคัญในองคกร เปนผูที่มีอิทธิพลตอสมาชิก เปนศูนยกลางและศูนยรวมพลังของสมาชิก ความสําเร็จของกลุม และขององคกร ถาผูนําในองคกรมีความสามารถในการบริหารงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล สามารถนําพาองคกรไปสูเปาประสงคขององคกรได ทั้งนี้ ผูนําและภาวะผูนําเปนองคประกอบที่สําคัญขององคกรทุกองคกร ในเมื่อผูนําและภาวะความเปนผูนํามีความสําคัญตอองคกรมาก จึงไดมีนักวิชาการหลายทานที่เสนอแนวคิดผูนําและภาวะผูนําไวหลายประเด็น เชน ความหมายของผูนําและภาวะผูนํา ประเภทของผูนํา คุณลักษณะของผูนํา โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

Page 36: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

26

ความหมายของผูนําและภาวะผูนํา กิติ ตยัคคานนท (2529: 29) กลาวถึง ผูนํา คือ ผูที่มีศิลปะที่สามารถมีอิทธิพลเหนือคนอื่น

และนําบุคคลเหลานั้นไปโดยเขาใหความไววางใจและเชื่อใจอยางเต็มที่ พรอมทั้งใหความเคารพนับถือ ใหความรวมมือ และมีความมั่นใจในตัวผูนําอยางจริงจัง

สมพันธ เตชะอธิก และคณะ (2537: 25) กลาวถึง ผูนํา คือ บุคคลซึ่งเปนที่ยอมรับในแงของการคิดดีกับปฏิบัติจริงตามสิ่งที่พูดอันจะกอใหเกิดความเชื่อถือแกชาวบานทั้งในชุมชน ภายนอกชุมชน เจาหนาที่ และหนวยงานของราชการองคกรพัฒนาเอกชนและสถาบันการศึกษา

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ (2543: 127) กลาวถึง ผูนํา วาเปน ผูที่มีความรู ผูที่ใชเหตุผลสามารถประยุกตใชความรูนั้นไดอยางชาญฉลาด ใชความรูไดถูกที่ ถูกคน ถูกเวลา สามารถวิเคราะหอดีต เขาใจปจจุบันและคาดการณอนาคตได รวมทั้งเปนผูที่มีอุดมการณในการดําเนินชีวิตปรารถนาอุทิศตัวเพื่อการเผยแพรแนวความคิดและถายทอดสัจจะทางปญญาที่เปนประโยชนแกสังคมดวยวิธีการตาง ๆ และเปนบุคคลสําคัญที่เปนตัวแทนในการเปลี่ยนแปลงประเทศ หรือสามารถชวยเหลือบานเมืองได

Paige (1977 อางถึงใน สัญญา ศิวิโรจน, 2541: 16) กลาวถึง คําวา ผูนํา (Elite) มาจากคํากริยาในภาษาฝรั่งเศสวา Elire ซ่ึงหมายความวา เลือก ดังนั้น ชนชั้นนํา ก็คือ พวกที่ไดรับการเลือกแลว หรือพิเศษกวาผูอ่ืน อันที่จริงในภาษาฝรั่งเศสคําๆ นี้ หมายถึง กลุมคนที่มีคุณคาทางวัฒนธรรม หรือศีลธรรมสูงสง แตในภาษาอังกฤษใชคําวา Leader หมายถึง บุคคลที่มีสถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองคอนขางสูง โดยมักมีสมมติฐานที่ซอนอยูวาคือ กลุมคนที่สามารถใชอํานาจกดบังคับเพื่อพิทักษผลประโยชนของตนเอง

Pfiffner and Pressthus (1965 อางถึงใน จิระศักดิ์ เจริญสุข, 2539: 12 – 13) ไดใหความ หมายของผูนําในเชิงปฏิบัติเอาไววา ผูนําเปนผูที่บริหารงานของกลุม โดยทําหนาที่ที่เกี่ยวกับการอํานวยการ จูงใจ ริเร่ิม ประนีประนอม และการประสานงาน สวนในดานพฤติกรรมของผูนํานั้น จะเนนที่ความสําคัญของภาระหนาที่ของผูนํา ที่เกี่ยวกับการวินิจฉัยส่ังการ และพฤติกรรมของผูนําที่ดําเนินไปไดโดยการอาศัยอํานาจหนาที่ และอํานาจบารมีเปนเครื่องมือทั้งที่เปนไปในลักษณะของพิธีการ (Formal) และที่ไมเปนพิธีการ (Informal) ที่เปนเชนนี้ก็เพื่อที่จะกอใหเกิดพลังรวมของกลุม เพื่อมุงใหการดําเนินงาน ไดบรรลุตามวัตถุประสงคที่ไดกําหนดเอาไว

จากความหมายดังกลาวอาจสรุปไดอีกวา ผูนํา (Leader) คือ ผูที่มีบุคลิกลักษณะ คุณสมบัติเดนกวาผูอ่ืนในกลุม และมีอิทธิพลมากกวาบุคคลอื่น ๆ ในหนวยงาน ทั้งสามารถสรางความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลใหเกิดขึ้นแกหนวยงานนั้น ๆ ได ดังนั้น ผูนํา จึงหมายถึงบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งรับบทบาทเปนผูบริหารประสานผลประโยชนในกลุมเสมือนเปนสัญลักษณของกลุม

Page 37: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

27

ซ่ึงมีอิทธิพลและอํานาจสามารถบังคับบัญชาบุคคลในกลุมใหปฏิบัติงานจนบรรลุผลตามเปาหมายที่กําหนดไวได

การเปนผูนําในการบริหารงานองคกรนั้น ผูนําแตละคนจะตองมีภาวะผูนําหรือความเปนผูนํา (Leadership) ที่เปนคุณลักษณะสวนตัวเฉพาะของผูนําที่แสดงออกซึ่งพฤติกรรม ความสามารถในการบริหารงาน เพื่อมุงสูความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของหนวยงาน

คําวา ภาวะผูนํา (Leadership) ไดมีนักวิชาการใหความหมายไวมากมายดวยกัน ไดแก กิติ ตยัคคานนท (2532: 13) ภาวะผูนํา คือ ศิลปะหรือความสามารถของบุคคลหนึ่งที่จะจูง

ใจหรือใชอิทธิพลตอบุคคลอื่นในสถานการณตาง ๆ เพื่อปฏิบัติการและอํานวยการโดยใชกระบวนการสื่อความหมายใหรวมมือกับตน ดําเนินการจนกระทั่งบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนดไว

Milton (1981 อางถึงใน สัญญา ศิวิโรจน, 2541: 20) มีความเห็นวา ภาวะผูนํา คือ การที่ผูนําใชอิทธิพลในความสัมพันธที่มีตอผูใตบังคับบัญชาในสถานการณตางๆ เพื่อใหบุคคลแตละคนหรือกลุมใชความพยายามทํากิจกรรมตาง ๆ ใหบรรลุเปาหมายตามสถานการณที่กําหนด Napier (1973 อางถึงใน จิระศักดิ์ เจริญสุข, 2539: 43) กลาววา ภาวะผูนํานั้นมีอยู 4 ประการ

1) Leadership as Trait หมายถึง ภาวะผูนําเปนลักษณะทางพันธุกรรมเปนสิ่งที่ติดตัวมาแตกําเนิด

2) Leadership as Position หมายถึง ภาวะผูนําเกิดขึ้นได เนื่องจากตําแหนงหนาที่การงาน การทํางานในตําแหนงใดยอมมีลักษณะภาวะผูนําอันเนื่องมาจากการดํารงตําแหนงนั้นตามมา

3) Leadership as Situation หมายถึง ภาวะผูนําที่ไดมาเนื่องจากสถานการณ ทําใหเกิดขึ้นและบางสถานการณก็ตองการคนที่มีคุณสมบัติแบบหนึ่ง หากผูใดมีคุณสมบัติเชนนั้นก็พรอมที่จะกลายเปนผูนําได

4) Leadership as Function Role of Members หมายถึง พฤติกรรมของสมาชิกในกลุม ทําใหเกิดความตองการและวัตถุประสงคที่จะทําใหความตองการผูนําแบบนั้น ๆ ขึ้นมา ดังนั้น การที่จะมีผูนําแบบใดก็ขึ้นอยูกับพฤติกรรมของกลุมเปนไปแบบใด

กลาวโดยสรุป ภาวะผูนํา (Leadership) คือ ศิลปะหรือความสามารถของบุคคลหนึ่งที่จะจูงใจหรือใชอิทธิพลตอบุคคลอื่น ผูรวมงาน หรือผูใตบังคับบัญชา ในสถานการณตาง ๆ เพื่อปฏิบัติการและอํานวยการ โดยใชกระบวนการสื่อความหมายหรือการติดตอกันและกัน ใหรวมใจกับตนดําเนินการจนกระทั่งบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนดไว

Page 38: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

28

ประเภทของผูนํา การศึกษาพิจารณาประเภทของผูนํา (Types of Leaderships) นับวาเปนเรื่องที่มีความลําบาก

ยุงยากอยูไมนอย เพราะประเภทของผูนํายอมแตกตางกันไป แลวแตเวลา สถานการณ และสถานที่ ดังนั้น จึงมีนักวิชาการใหความเห็นในเรื่องการศึกษาพิจารณาเกี่ยวกับประเภทของผูนําในทางที่แตกตางกัน เชน นักจิตวิทยาสังคมใหความเห็นวา ลักษณะของผูนํายอมขึ้นอยูกับลักษณะโครงสรางของสังคม เพราะลักษณะของสังคมที่แตกตางกันจะเปนเครื่องกําหนดลักษณะที่แตกตางกันของประเภทของผูนําดวย สวนนักสังคมวิทยาเห็นวาลักษณะของผูนําจะเปนแบบใดยอมขึ้นอยูกับสถานการณ (Situation) ของสังคมหรือองคการแตละแหง เพราะผูนํา ก็คือ บุคคลธรรมดาที่จะตองปรับปรุงตนเองใหเขากับสภาวะและสถานการณแวดลอมอยูเสมอ ตัวอยางที่เห็นไดเดนชัดในความแตกตางของลักษณะผูนํา คือ ผูนําในทางทหารยอมมีแบบลักษณะแตกตางไปจากผูนําในทางวิชาการ หรือผูนําในทางการคา การบริหารธุรกิจยอมแตกตางไปจากผูนําในทางบริหารรัฐกิจ เปนตน ดังนั้น การจําแนกคุณลักษณะและประเภทของผูนําและผูบริหารองคการ (Type of Leaders and Administrators) จึงมีอยูดวยกันหลายรูปแบบหลายประเภทแตกตางกันออกไปตามปรัชญา ความเชื่อ และความคิดเห็นของแตละบุคคล

การศึกษาแบบของผูนํา (Style of Leaderships) จะเปนการชวยช้ีใหเห็นพฤติกรรมของผูนําและลักษณะการดําเนินงานขององคกรไดเปนอยางดี สําหรับแบบของผูนํานี้ไดมีการแยกการศึกษาพิจารณาเปนหลายแบบหลายอยางสุดแตจะพิจารณาวาแบบของผูนําในลักษณะใด เชน พิจารณาเกี่ยวกับการใชอํานาจของผูนํา สถานการณ สภาวะแวดลอม การปฏิบัติงานหรือลักษณะของสังคม เปนตน ดังนั้น เพื่อใหทานไดแนวคิดในเชิงรูปธรรม จึงขอนําเสนอรูปแบบของการเปนผูนําตามแนวความคิดของนักการศึกษาที่มีปรัชญาตางๆ กัน โดยสังเขป ดังนี้

John C. F (1977 อางถึงใน กิติ ตยัคคานนท, 2532: 39) ไดศึกษาพฤติกรรมของหัวหนางานที่แสดงออก ทําใหเขาแบงผูนําตามลักษณะของพฤติกรรมออกไดเปน 3 ประเภท คือ

1. ผูนําที่มุงแตงานเปนสําคัญ มีลักษณะพฤติกรรมแสดงออกเปนแบบเผด็จการ 2. ผูนําที่ตระหนักถึงผลงานและความพอใจของทุกฝาย เปนหัวหนางานที่มีพฤติกรรมแบบ

ประชาธิปไตย 3. ผูนําที่ถือวาประสิทธิภาพของการทํางานสูงขึ้นไดเนื่องจากสินน้ําใจ ผูนําประเภทนี้ถือวา

สินน้ําใจหรือส่ิงตอบแทนเปนสิ่งสําคัญที่กระตุนใหการทํางานมีประสิทธิภาพสูง จึงใชวิธียั่วยุใหคนทํางานโดยการใหสินน้ําใจ คาตอบแทน หรือสินจางรางวัล เชน บอกวา “ถาคุณทํางานชิ้นนี้สําเร็จปนี้ผมจะให 2 ขั้น”

Page 39: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

29

Lippitt (1981 อางถึงใน กิติ ตยัคคานนท, 2532: 39) แบงประเภทผูนําตามลักษณะของการบริหารงานเปน 3 ประเภท ไดแก

1. ผูนําแบบอัตตาธิปไตย (Authoritarian) หรือ (Autocratic Leader) เปนผูนําแบบเผด็จการ ซ่ึงมีลักษณะดังนี้

1.1 ใชอํานาจตลอดเวลา 1.2 ยึดถือตัวเองเปนสําคัญ รูขอเท็จจริงแตผูเดียว ฉะนั้นทุก ๆ อยางจะออกจาก

ตัวเอง เชน การตัดสินใจแกปญหาหรือการวินิจฉัยส่ังการ ซ่ึงมักจะเปนไปหรือเปล่ียนแปลงไปตามอารมณ และมุงประโยชนสวนตนมากกวาคนอื่นหรือสวนรวม

1.3 นโยบาย วัตถุประสงค เปาหมาย เปาประสงค การจัดระบบงาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน ฯลฯ ส่ังลงมาจากเบื้องบน

1.4 ขอเสนอแนะตาง ๆ ที่ไดรับมาจากใครหรือที่ใดก็ตาม จะตองผานหลายขั้นตอน ผูนําประเภทนี้จะคิดแลวคิดอีกวาจะวินิจฉัยส่ังการได ทําใหงานลาชาคั่งคาง

1.5 “ผูชวย” ตามความรูสึกของผูนําประเภทนี้เขาจะหมายถึงผูใตบังคับบัญชา จึงไมมีการแบงงานใหผูชวย ผูชวยทํางานของหัวหนางานใหสําเร็จ ไมใชทํางานของตนเองใหสําเร็จ เนื่องจากมีแตงานของหัวหนาไมมีงานของผูชวย

1.6 การตั้งกรรมการเปนวิธีการกระจายความรับผิดชอบไปใหผูอ่ืน ไมใชเพื่อฟงความคิดเห็น ประธานเกือบเปนผูพูดเสียคนเดียวเกือบตลอดการประชุม หรือไมก็เปดโอกาสใหผูอ่ืนไดแสดงความคิดเห็น แลวประธานก็สรุปเสียเองตามความคิดเห็นของตนเอง เสร็จแลวก็ถือวานั่นเปนมติของที่ประชุม ทั้ง ๆ ที่การประชุมนั้นเกือบจะเรียกวาเปนการประชุมของประธานคนเดียว เพราะประธาน “พูดเองเออเอง” ตลอดเวลา เมื่อเปนเชนนี้บอยเขา ๆ คนอื่นในที่ประชุมไมมีใครอยากพูด และเรื่องบางเรื่องผานการประชุมแลวจะหายไปเฉย ๆ เนื่องจากประธานไมใหความสนใจ

2. ผูนําแบบเสรี (Laissez – faire Leader) เปนผูนําแบบไมเอาไหน ปลอยตามเรื่องตามราว ไมใชอํานาจบังคับบัญชาควบคุมผูใตบังคับบัญชา ปราศจากความรับผิดชอบ คอยแตลงนาม ผานเรื่องใหพนตัวไปเทานั้น ผูนําประเภทนี้จะมีลักษณะดังตอไปนี้

2.1 ไมมีการกําหนดวัตถุประสงคการทํางานที่แนนอน ถาเห็นวาไมขัดตอระเบียบยอมใหเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคไปไดตามความคิดเห็นของผูใตบังคับบัญชาหรือตามความตองการของผูบังคับบัญชาไดงาย ๆ

Page 40: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

30

2.2 ทํางานโดยปลอยอะไรตออะไรไปตามเรื่อง ไมคํานึงถึงหลักการ เหตุผล กฎเกณฑ กฎระเบียบ เปนตน จึงมักไมใครจะยุงกับใคร ผูใตบังคับบัญชาคนใดจะทําอะไรอยางไรก็ได

2.3 ไมมีความคิดริเร่ิมสรางสรรค 2.4 ไมมีการประเมินผลงาน ขาดการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติงาน

3. ผูนําแบบประชาธิปไตย (Democratic Leader) เปนแบบที่ดีที่สุด ใจกวาง รับฟงความคิดเห็นผูอ่ืน ยึดถือความคิดเห็นของกลุมเหนือความคิดเห็นของตน มีลักษณะการบริหาร ดังนี้

3.1 เปดโอกาสใหผูใตบังคับบัญชาไดใชความคิด มีความคิดสรางสรรค แสดงความคิดเห็น และเลือกวิธีปฏิบัติงานของตนเอง

3.2 จัดสรรแบงงานและมอบหมายหนาที่การงานใหผูใตบังคับบัญชารับผิดชอบ ดําเนินการตามความเหมาะสมของแตละคนแตละหนาที่

3.3 ใหคําแนะนําแกผูรวมงาน และรับฟงความคิดเห็นกับคําปรึกษาหารือจากผูใตบังคับบัญชา ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเชิงสรางสรรค เกิดสัมพันธภาพอันดีระหวางผูนํากับผูรวมงาน เกิดความรวมมือประสานงานอยางมีประสิทธิภาพ

สวน Max Weber (1982 อางถึงใน กิติ ตยัคคานนท, 2532: 40) ไดแบงผูนําตามแหลงของอํานาจที่ไดมาเปน 3 ประเภท คือ

1. ผูนําตามกฎหมาย (Legal Leaders) เปนผูนําที่มีตําแหนงเปนหัวหนาโดยกฎหมายจึงมีอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบตามที่กฎหมายระบุไวใหเปนผูบริหารองคการ เชน ตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดี ประธานบริษัท ผูจัดการฝายตางๆ ผูบริหารระดับตน โดยกฎหมายจะกําหนดคุณลักษณะของแตละตําแหนงไววาจะตองเปนเชนนั้นเชนนี้ ผูใดจะสามารถมาอยูในตําแหนงนั้นตําแหนงนี้ไดอยางไร ผูใดมีคุณสมบัติครบถวนตามที่กฎหมายหรือกฎระเบียบกําหนดก็จะมาครองตําแหนงนั้นได

2. ผูนําที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว (Charismatic Leaders) เปนผูนําที่ไดอํานาจมาดวยบารมีของตนเองจากความรูความสามารถและประสบการณตรง เปนผูที่มีคุณสมบัติพิเศษ มีทาทางบุคลิกลักษณะหรือความสามารถพิเศษเฉพาะตัว ซ่ึงไปไดทั้งในทางดีหรือทางเลว เชน เมื่อเปนนักเลงอันธพาล ก็จะไดรับการยอมรับในหมูนักเลงใหเปนหัวหนาแกง หัวหนากก เมื่อเปนนักกีฬาก็ไดรับการยกยองวาเปนหัวหนาทีม จึงนับเปนผูที่มีลักษณะของผูนําดีเดนดานการกีฬา เปนตน

3. ผูนําที่เปนสัญลักษณ (Symbolic Leaders) เปนผูนําเฉพาะอยูในตําแหนงที่เปนที่เคารพยกยองตามประเพณีนิยม เชน ตําแหนงผูเปนประมุขของประเทศ เปนที่ยึดเหนี่ยวศูนยรวมจิตใจปวงชนทั้งชาติ

Page 41: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

31

แนวคิดของแม็ก เวเบอร เปนตนแบบของการแบงประเภทของผูนํา คือ ผูนําที่เปนหัวหนาหนวยงานตามกฎหมายนั้นมีหลายประเด็น การมีอํานาจตามกฎหมายชวยใหบุคคลมีความเปนผูนําอยูทางหนึ่งแลว ถายิ่งมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัวดวย เชน ความสามารถ ความรู สติปญญา การมีมนุษยสัมพันธที่ดี ความยุติธรรม ความเสมอตนเสมอปลาย ความคิดริเร่ิม ส่ิงเหลานี้ก็จะชวยเสริมอํานาจตามกฎหมายใหศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ลําพังการดํารงตําแหนงอยางเดียว มิไดหมายความวาผูรวมงานจะยอมรับศรัทธาและปฏิบัติตามเสมอไป การมีคุณลักษณะพิเศษเฉพาะตัวจึงมีความสําคัญตอผูนําและการบริหารงานเปนอยางมาก

กลาวโดยสรุป เมื่อพิจารณาจากสภาพความเปนจริงในการปฏิบัติงานจะเห็นไดวา ผูนําหรือผูบริหารองคกรมีพฤติกรรมการบริหารหนวยงาน หรือองคกรอยู 4 รูปแบบคือ (กิติ ตยัคคานนท, 2532: 41)

1. แบบเสรีนิยม (Laissez Faire) ผูบริหารหรือผูนําแบบนี้ ยอมปลอยใหผูใตบังคับบัญชามีอิสระอยางเต็มที่ สามารถทํางานไดตามใจชอบ ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจะไดสิทธิในการตัดสินใจดําเนินการไดเองโดยไมตองรอรับคําอนุญาตจากผูบังคับบัญชา

2. แบบเกื้อกูลหรือแบบใชพระคุณ (Charismatic) ผูบริหารหรือผูนําแบบนี้ จะมีพฤติกรรมไปในทางออนโยน มีความเห็นอกเห็นใจผูใตบังคับบัญชา เปนผูมีความรู ความสามารถ พยายามนํา เอาหลักมนุษยสัมพันธและหลักธรรมมาใชในการปกครองบังคับบัญชา ปฏิบัติตอผูใตบังคับบัญชาอยางพอปกครองลูก วัตถุประสงคเพื่อคุมครองและชี้แนวทางใหผูตาม ไดปฏิบัติอยางถูกตองตามแบบแผน และวิธีปฏิบัติงานที่ดี เพื่อใหงานที่ไดรับมอบหมายบรรลุความสําเร็จตามเปาหมาย

3. แบบเผด็จการ (Autocratic) ผูบริหารหรือผูนําแบบนี้ มีลักษณะที่เชื่อมั่นในตนเองมากที่สุด ชอบใชอํานาจบังคับบัญชาและชอบออกคําสั่ง ไมคอยจะรับฟงความคิดเห็นของคนอื่น การวินิจฉัยส่ังการมักจะเปนไปตามอารมณ การตัดสินใจในปญหาตาง ๆ ผูกขาดอยูที่หัวหนาคนเดียว การปฏิบัติตอผูใตบังคับบัญชาเปนไปในลักษณะกดขี่ ไมใหโอกาสผูใตบังคับบัญชาแสดงความคิดเห็น ความคิดของผูบริหารตองถูกที่สุด

4. แบบประชาธิปไตย (Democratic) ผูบริหารหรือผูนําแบบนี้ จะมีลักษณะตรงขามกับแบบเผด็จการ คือ เปนพวกที่ถืออํานาจกลุมเปนใหญกวาตนเอง พยายามใหผูใตบังคับบัญชาทุกคน ทุกฝายมีสวนรวมในการแกปญหา ทุกคนควรจะมีสวนรูเห็นและรับผิดชอบรวมกันในองคการ

อยางไรก็ดี การจําแนกประเภทของผูนํานี้ นาจะแยกออกพิจารณาเปนประเภทใหญ 2 ประเภท คือ

Page 42: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

32

1. ผูนําประเภทเชิงลบ (Negative Leadership) หมายถึง ผูนําที่ใชวิธีการบริหารไปในทางที่ผูใตบังคับบัญชาหรือผูรวมงานเกิดความเกรงกลัว จําตองปฏิบัติตามที่ผูนําปรารถนา โดยอาศัยอํานาจหนาที่เปนเครื่องมือ ผูนําประเภทนี้มีลักษณะเปนเผด็จการหรือรวบอํานาจมากที่สุด

2. ผูนําประเภทเชิงบวก (Positive Leadership) หมายถึง ผูนําที่ใชวิธีการในการบริหารไปในทางที่ใหผูใตบังคับบัญชารวมแสดงความคิดเห็น และนอมนําใหผูใตบังคับบัญชาเห็นชอบในเหตุผลของการที่จะปฏิบัติงาน หรือกลาวอีกนัยหนึ่งผูนําประเภทนี้มีลักษณะเปนประชาธิปไตย ใหเสรีภาพแกผูใตบังคับบัญชาในการแสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงานมากกวาประเภทแรก การใชอํานาจเปนไปในลักษณะที่มุงจะกอใหเกิดความเลื่อมใสและศรัทธาในการปฏิบัติงาน โดยอาศัยอํานาจบารมี (Power) เปนเครื่องมือยิ่งกวาการใชอํานาจหนาที่ (Authority)

การบริหารองคกรของรัฐและเอกชนในปจจุบันและอนาคต ผูนําและผูบริหารแบบประชาธิปไตยเปนแบบที่เหมาะสมที่สุด เนื่องจากทรัพยากรบุคคลในปจจุบันนั้น ประกอบไปดวยผูไดรับการศึกษาสูง มีความรูความสามารถโดยเฉลี่ยสูงกวาในอดีตที่ผานมา และนับวันจะมีศักยภาพเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ผูนําจึงควรยอมรับนับถือผูรวมงาน รับฟงความคิดเห็นของทุกคน มีการแบงงานทําอยางเปนระบบ มอบอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบระหวางกัน ตลอดจนใชวิธีการแหงปญญา เพื่อการวางแผนการดําเนินงาน การประเมินผลงานและการแกปญหารวมกัน

ลักษณะของผูนําและผูบริหาร แตละแบบของผูบริหารระดับสูงจะมีผลตอการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชารองลงมาเปนลําดับดวย เชน ผูนําแบบเผด็จการก็จะปฏิบัติตอผูใตบังคับบัญชาในลักษณะกดขี่ ชอบใชอํานาจสั่งการ ไมใหโอกาสแสดงความคิดเห็น เมื่อผูบริหารระดับกลางถูกครอบงําทางความคิดก็อาจจะถายทอดพฤติกรรมนั้นมายังผูบริหารระดับตน การจัดการทุกอยางทุกขั้นตอนจึงปฏิบัติไปตามคําสั่งที่หัวหนางานปอนให ผูปฏิบัติงานจึงกลายเปน “ถังขยะ” รับรองความรูวิธีการทํางานนั้นแตฝายเดียว ผูใตบังคับบัญชาที่ดี คือ ที่ยอมรับขยะทุกอยางเขามาเก็บไว ซ่ึงในทางตรงกันขาม ถาผูนําหรือผูบริหารเปนไปในลักษณะยอมรับความคิดเห็นของผูอ่ืน มองเห็นคุณคาของผูรวมงาน ผูปฏิบัติงานก็จะมีขวัญและกําลังใจดี การทํางานจะออกมาในรูปของการทํางานเปนทีมแบบใหทุกคนมีโอกาสเปนนักคิด นักสรางสรรค สามารถอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เปนการจัดการแบบกระบวนการกลุมที่ทุกคนเปนผูบริหารระบบมีสวนรวม (กิติ ตยัคคานนท, 2532: 42)

คุณลักษณะของการเปนผูนํา คุณลักษณะของผูนํานั้น ถือวา เปนคุณสมบัติที่ผูนําแตละทานมีอยูโดยไมจําเปนตอง

เหมือนกัน ผูนําแตละทานจะมีคุณลักษณะที่เดนเฉพาะของตนเอง ดังจะกลาวตอไปนี้

Page 43: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

33

Tead (1935 อางถึงใน กิติ ตยัคคานนท, 2532: 49) ใหไดคุณลักษณะผูนําไว 10 ประการ คือ 1. มีกําลังกายและกําลังของระบบประสาทดี (Physical and Nervous Energy) 2. ตระหนักในเปาหมายและมีลูทางที่จะไปสูเปาหมาย (A Sense of Purpose and Direction) 3. มีความกระตือรือรน (Enthusiasm) 4. มีความเปนมิตรและความรักใคร (Friendliness and Affection) 5. มีความนาเชื่อถือไววางใจได (Integrity) 6. มีความรอบรูหรือเจาความคิด (Technical Mastery) 7. มีความสามารถในการตัดสินใจ (Decisiveness) 8. มีเชาวปญญาดี (Intelligence) 9. มีความสามารถในการถายทอดความรู (Teaching Skill) 10. ความนาศรัทธา (Faith)

Clarke (1979 อางถึงใน กิติ ตยัคคานนท, 2532: 50) ไดอธิบายลักษณะของผูนําที่ประสบความสําเร็จดังนี้

1. มีความอดทนและรูจักแสดงความพึงพอใจในผลงานผูใตบังคับบัญชา 2. ใหการยอมรับในความสามารถ ศักยภาพ การประสานงาน และคุณลักษณะที่ดีของ

ผูใตบังคับบัญชา 3. มีการชี้แจงใหผูใตบังคับบัญชาไดรับทราบในเรื่องที่มีความสําคัญตอเขา 4. ใหผูใตบังคับบัญชาไดมีสวนรวมในการวางแผน กําหนดเปาหมาย และมีสวนตัดสินใจ

ในกิจกรรมที่กระทบตองานของเขา 5. พัฒนาศักยภาพผูใตบังคับบัญชาและนําออกมาใชอยางเต็มที่ 6. มีสวนชวยใหเขาเพิ่มความภาคภูมิใจในตัวเอง (Self – esteem) ใหสูงที่สุด 7. พัฒนาสัมพันธภาพระหวางผูใตบังคับบัญชา 8. สรางบรรยากาศการทํางานเพื่อบรรลุเปาหมายองคการ 9. ใหโอกาสผูใตบังคับบัญชาเพื่อที่เขาจะไดประโยชนในสวนที่ควรจะได 10. ใชคนตรงกับความรูความสามารถ 11. มีสวนรับผิดชอบงานในสวนที่เขาทําไดและมีอํานาจหนาที่ในการนั้น Rosonbach (1989 อางถึงใน กิติ ตยัคคานนท, 2532: 50) ไดกลาวถึงผูนําที่มีคุณภาพไว ดังนี้ 1. รูจักตัวเอง เชื่อมั่นตัวเอง (Self Knowledge, Self – condidence) 2. มีวิสัยทัศน (Vision) 3. ฉลาดหลักแหลมและมีวิจารณญาณ (Intelligence, Wisdom, Judgment)

Page 44: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

34

4. มีความสามารถในการเรียนรูและรับสิ่งใหม ๆ (Learning/Renewal) 5. เปดกวางตอโลก (Worldmindedness / A Sense of History and Breadth) 6. เขารวมและมีสวนสรางสรรคสังคม (Conlition Building/Social Architecture) 7. ทํางานหนัก มีพละกําลัง อดทน กลาหาญ กระตือรือรน (Stamina, Energy, Tenacity,

Courage, Enthusiasm) 8. ซ่ือสัตย สุจริต เฉลียวฉลาด (Character, Integrity/Intellectual Honesty) 9. กลาเสี่ยง เปนนักลงทุน (Risk – taking/Entrepreneurship) 10. มีความสามารถในการสื่อสาร การโนมนาว เปนนักฟงที่ดี (An Ability to

Communicate, Persuade/Listen) 11. เขาใจธรรมชาติของอํานาจ (Power) และอํานาจหนาที่ (Authority) 12. มุงมั่นที่จะสัมฤทธิ์ผลตามเปาหมาย (The Ability to Concentrate on Achieving Goals

and Results) 13. เปนผูมีอารมณขัน รอบรู มีความยืดหยุน (A Sense of Humor, Perspective, Flexibility) ดนัย เทียนพุฒ (2534: 191 – 195) ไดอธิบายถึงลักษณะผูนําในองคการสมัยใหมไว ดังนี้ 1. ผูนําจะเปนมีความรู ความสามารถซึ่งไดจากการอบรมสั่งสอน การเรียนรูจาก

ประสบการณตรงและสามารถนํามาปรับใชใหเหมาะสมกับองคการ 2. ผูนําเปนผูที่มองการณไกล สามารถคาดการณปญหาหรือเหตุการณตาง ๆ ได พรอมทั้ง

วางแนวทางปองกันปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได 3. ผูนําเปนผูที่มีความกระตือรือรน มุงมั่น แสวงหาแนวทางที่จะทําใหเกิดความรูสึกที่ดีใน

การทํางาน มีความทะเยอทะยานเพื่อความกาวหนาขององคกร 4. ผูนําเปนผูที่กลาตัดสินใจ นับเปนประการที่มีความสําคัญมากสําหรับผูนํา การกลาที่จะ

ตัดสินใจก็แสดงถึงการเปนคนที่มีความกลาเสี่ยงอยูในตัวเอง 5. ผูนําเปนผูที่มีมนุษยสัมพันธดี กลาวคือ มีความสามารถในการชักจูงใหบุคคลตาง ๆ

รวมมือรวมใจในการทํางานรวมกัน 6. ผูนําเปนผูที่มีคุณธรรม รูวาสิ่งใดควรหรือไมควรปฏิบัติในการดําเนินการ เพราะสิ่งที่ผูนําปฏิบัติหรือแสดงออกคือภาพลักษณขององคกรดวย

เอกชัย กี่สุขพันธ (2538: 20 – 21) ไดกลาวถึงคุณลักษณะที่สําคัญของนักบริหารไว 7 ประการ หรือเขียนยอๆ วา 7C (7 C’s Characteristics of Managers)

1. Conceptual ความสามารถในการมองงานไดอยางครอบคลุมเปนคุณลักษณะดานความ คิดรวบยอดเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ

Page 45: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

35

2. Creative ความสามารถในการคิดอยางสรางสรรค ไมติดอยูในความเคยชินหรือวิธีทํา งานแบบเกา ๆ

3. Communicative ความสามารถในการสื่อสารหรือติดตอส่ือสารกับผูอ่ืนอยางไดผล 4. Courage ความกลาในการทํางาน รวมถึงการตัดสินใจ การนําเสนอความคิดหรือวิธีการ

ตาง ๆ 5. Curiosity ความกระตือรือรนในการเรียนรูส่ิงใหม ๆ อยูเสมออันจะมีผลตอการพัฒนา

ตนเองของผูบริหาร 6. Consistency ความคงเสนคงวาในการทํางาน ไมเปลี่ยนไปเปลี่ยนมาอยางขาดเหตุผลที่

เหมาะสม 7. Commitment ขอตกลงผูกมัดที่ผูบริหารจะตองยึดปฏิบัติตามที่ไดกําหนดไวหรือสัญญา

ไว จิตจํานงค กิติกีรติ (2532 อางถึงใน ปาริชาติ วลัยเสถียร พระมหาสุทธิตย อบอุนและคณะ,

2546: 343) กลาวถึงคุณลักษณะที่สําคัญของผูนําการพัฒนาชุมชน คือ 1. มีจิตใจมุงมั่นที่จะพัฒนา 2. มีความซื่อตรงตอหนาที่ 3. มีจิตใจเปนกุศล 4. การยอมรับวิทยาการแผนใหม 5. ความเชื่อมั่นในตนเอง 6. ทัศนะคติแบบประชาธิปไตย 7. มีความจงรักภักดีตอสถาบัน 8. มีความเปนผูนํา ทองหลอ เดชไทย (2544: 80) ไดกลาวถึงลักษณะภาวะผูนําวาตองเปนผูที่มีความสามารถ

ในการติดตอส่ือสาร (Communication) มีการทํางานเปนทีม (Teamwork) และมีความนาไววางใจหรือซ่ือสัตย (Trustworthiness)

Patton (1997 อางถึงใน ทองหลอ เดชไชย, 2544: 82 – 83) ไดกลาวถึงลักษณะภาวะผูนํา ดังนี้

1. รูจักตนเองและสามารถแลกเปลี่ยนความรูสึกที่แทจริงกับผูอ่ืน 2. รับผิดชอบติดตามงานผลลัพธใกลชิดตลอดเวลา 3. เปนตัวกลางการแลกเปลี่ยนความคิด ความรูสึก และขอมูล 4. เปนนักพัฒนาสรางฉันทามติและความเขาใจซึ่งกันและกัน

Page 46: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

36

5. ใหโอกาสผูรวมงานไดมีสวนในความสําเร็จหรือส่ิงทาทายตาง ๆ 6. พรอมเผชิญสามารถฟนฝาแรงกดดัน และความเครียดตาง ๆ 7. กลาแสดงออกโดยรูวาจะตองพูดอะไรและอยางไร 8. ทํางานเปนทีม โดยรวมมือ รวมแรง รวมใจเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน

ดังนั้น อาจกลาวสรุปถึงบทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงวาตอง เปนผูนําที่มีจิตใจรักในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงที่แทจริง มีการมองการณไกลในการจัดการทรัพยากรใหมีความเจริญและเกิดความยั่งยืนในทุกดาน มีการเรียนรูเพื่อหาความรูใหมที่ทันตอสถานการณที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เพื่อนํามาประยุกตใชในจัดการทรัพยากรของตนเอง นอกจากนี้ ผูนํายังจะตองสรางความสัมพันธอันดี มีไมตรีจิตทั้งคนในองคกรและประชาชนในชุมชน ผูนําจะตองสรางความไววางใจซึ่งกันและกัน สรางความศรัทธาในตัวผูนํา และผูนําจะตองมีคุณธรรมในการทํางานเพื่อสวนรวม เพื่อชุมชนของตนเอง และทําใหประชาชนในชุมชนรักและไววางใจที่ไดเลือกผูนําที่ดีเขาไปดูแลจัดการทรัพยากรของตนเอง และเชื่อวาผูนําของตนเองจะนําพาชุมชนทองถ่ินใหไดรับความเจริญยิ่งขึ้นไป

2.4 แนวคิดการมีสวนรวมของชุมชน

2.4.1 ความหมายของการมีสวนรวม การมีสวนรวม (Participation) ในหลักวิชาการ หมายถึง การเกี่ยวของทางดานจิตใจและอารมณของบุคคลหนึ่งในสถานการณของกลุม โดยผลของการเกี่ยวของดังกลาวเปนเหตุเราใจใหกระทําการใหบรรลุจุดมุงหมายรวมกันของกลุม พรอมทั้งเกิดความรูสึกนึกคิดรวมในการรับผิดชอบกับกลุมดวย นิรันดร จงวุฒิเวศย (2527: 181) กลาววา การมีสวนรวม หมายถึง การเกี่ยวของทางดานจิตใจ และอารมณ (Mental and Emotion Involvement) ของบุคคลหนึ่งในสถานการณกลุม (Group Situation) ซ่ึงผลของการเกี่ยวของดังกลาวเปนเหตุเราใจใหกระทําการให (Contribution) บรรลุจุดมุงหมายของกลุมนั้น กับทั้งทําใหรูสึกรวมรับผิดชอบกับกลุมดังกลาวดวย ทศพล กฤตยพิสิฐ (2538: 10) ใหความหมายของการมีสวนรวมไววา การมีสวนรวม หมายถึง การที่ปจเจกบุคคล กลุม หรือชุมชนมีความเห็นพองตองกันในเรื่องที่จะเปลี่ยนแปลงใหเปนไปตามความประสงคของตนจนมาสูการตัดสินใจกระทําการ เพื่อใหบรรลุถึงความประสงค นั้น ๆ ซ่ึงการกระทําดังกลาวกอใหเกิดการพัฒนาความรูและสติปญญาอีกทางหนึ่ง

Page 47: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

37

นรินทรชัย พัฒนพงศา (2538: 19) ระบุวา การมีสวนรวม คือ การใหประชาชนเขามาเกี่ยวของในกระบวนการตัดสินใจ กระบวนการดําเนินโครงการ และรวมรับผลประโยชนจากโครงการพัฒนา นอกจากนี้ ยังเกี่ยวของกับความพยายามที่จะประเมินผลโครงการนั้น อีกทั้งยังสรุปความหมายของการมีสวนรวมไว 4 ประการดวยกัน คือ

1) การเขาไปไดรับอํานาจ ที่จะคิดทํามากขึ้น ไมวาในเรื่องการเมืองหรืออํานาจในการตัดสินใจที่จะดําเนินการใด ๆ

2) ตองรวมกันอยางมีอิสรภาพ เสมอภาค เทาเทียมกัน และควรมีสวนรวมดวยอยางแทจริง/เขมแข็ง (Active) มิใชรวมอยางผิวเผินเฉื่อยชา (Passive)

3) ตองรวมตั้งแตขั้นแรกของกระบวนการ จนถึงขั้นสุดทายของโครงการ (Entire Development Process)

4) การมีสวนรวมมักเปนเรื่องที่ผูดอยโอกาสขอแบงอํานาจจากผูที่มีอํานาจเหนือกวา เพื่อปรับปรุงวิถีชีวิตตนใหดีขึ้น

นอกจากนี้ นรินทรชัย พัฒนพงศา (2547: 3) ใหความหมายการมีสวนรวม คือ กระบวนการที่สงเสริม ชักนํา สนับสนุน และสรางโอกาสใหชาวบานทั้งในรูปของสวนบุคคลและกลุมคนตาง ๆ ใหเขามามีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งหรือหลายกิจกรรม โดยจะตองเปนไปดวยความสมัครใจ มิใชเขามารวม เพราะการหวังรางวัลตอบแทน และที่สําคัญ คือ การมีสวนรวมนั้นจะตองสอดคลองกับชีวิต ความจําเปน ความตองการ และวัฒนธรรมของคนสวนใหญในชุมชนดวย ปาริชาติ วลัยเสถียร (2543: 138) ไดสรุปความหมายของการมีสวนรวมไวใน 2 ลักษณะ คือ

1. การมีสวนรวมในลักษณะที่เปนกระบวนการของการพัฒนา โดยใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาตั้งแตเร่ิมจนสิ้นสุดโครงการ ไดแก การรวมกันคนหาปญหา การวางแผน การตัดสินใจ การระดมทรัพยากรและเทคโนโลยีในทองถ่ิน การบริหารจัดการ การติดตามประเมินผล รวมทั้งการรับผลประโยชนที่เกิดขึ้นจากโครงการ โดยโครงการพัฒนาดังกลาว จะตองมีความสอดคลองกับวิถีชีวิต และวัฒนธรรมชุมชน

2. การมีสวนรวมในนัยทางการเมือง แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 2.1 การสงเสริมสิทธิและพลังอํานาจของพลเมืองโดยประชาชน หรือชุมชนพัฒนา

ขีดความสามารถของตนเองในการจัดการ เพื่อรักษาผลประโยชนของกลุม ควบคุมการใชและกระจายทรัพยากรของชุมชนอันจะกอใหเกิดกระบวนการและโครงสรางที่ประชาชนในชนบทสามารถแสดงออกซึ่งความสามารถของตนและไดรับผลประโยชนจากการพัฒนา

2.2 การเปลี่ยนแปลงกลไกการพัฒนาโดยรัฐ มาเปนการพัฒนาที่ประชาชนมีบทบาทหลัก โดยการกระจายอํานาจในการวางแผนจากสวนกลางมาเปนสวนภูมิภาค เพื่อใหภูมิภาคมี

Page 48: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

38

ลักษณะเปนเอกเทศ ใหมีอํานาจทางการเมือง การบริหาร มีอํานาจตอรองในการจัดสรรทรัพยากรอยูในมาตรฐานเดียวกัน โดยประชาชนสามารถตรวจสอบได อาจกลาวไดวา เปนการเสริมสรางพลังอํานาจ (Empowerment) ในการพัฒนาใหแกประชาชนใหมีสวนรวมในการกําหนดอนาคตของตนเอง

2.4.2 แนวคิดการมีสวนรวมของประชาชน แนวคิดการมีสวนรวมของประชาชน ไดมีผูนิยามความหมายดังกลาวไวมากมาย โดย

ผูศึกษาไดหยิบยกความหมายที่เกี่ยวของ ไดดังนี้ ไพรัตน เตชะรินทร (2531: 843) กลาววา การมีสวนรวมของประชาชนอาจตีกรอบได

แตกตางกัน แตเดิมทีนั้น (รัฐ) มักจะมองในแงหนึ่งของการรวมสมทบแรงงาน วัสดุ เงิน รวมคิด รวมวางแผน และรวมกันทํางาน หรืออาจจะมองอีกแงหนึ่งของการเนนการมีสวนรวมในการรวมคิด รวมวางแผน รวมทํางาน และรวมบํารุงรักษามากกวารวมสบทบดานวัตถุและเงิน แมวาจะยังจําเปนอยูก็ตาม

กรรณิกา ชมดี (2542: 11) ไดใหความหมายของการมีสวนรวมของประชาชนไว ดังนี้คือ การมีสวนรวมของประชาชน หมายถึง ความรวมมือของประชาชนไมวาจะเปนปจเจกชนหรือกลุมคนที่เห็นพองตองกัน และเขารวมรับผิดชอบเพื่อดําเนินการพัฒนาเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ตองการโดยกระทําผานกลุมองคการเพื่อใหบรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค

พิสิฐ ศกรียพงศ (2542: 17) ไดกลาวถึงความหมายการมีสวนรวมของประชาชนวามีความหมายรวมตั้งแตการมีสวนรวมในการรับรูขอมูลขาวสาร รายละเอียดดําเนินการโครงการที่อาจมีผลทั้งทางบวกและทางลบตอตนเองและ/หรือชุมชน รวมถึงการมีสวนรวมในการใหขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของ มีสวนรวมในการพิจารณาถึงรายละเอียดผลดีผลเสียจากการดําเนินโครงการและมีสวนรวมในการตัดสินใจ ในการดําเนินงาน ตลอดจนการมีสวนรวมในการติดตามตรวจสอบ ปองกันแกไขปญหาที่อาจเกิดจากการดําเนินโครงการ จึงอาจกลาวไดวา การมีสวนรวมของประชาชนเกิดขึ้นไดในขั้นตอนแรกที่ริเร่ิมจะดําเนินโครงการ ขั้นตอนการศึกษาความเหมาะสมของการดําเนินโครงการ และการมีสวนรวมในการติดตามตรวจสอบผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได

ชัยอนันต สมุทรวณิช (2541 อางถึงใน ปธาน สุวรรณมงคล, 2543: 144 – 145) กลาววา การมีสวนรวมของประชาชน (People Participation) วาเปนการแสดงถึงการยอมรับหลักการอํานาจอธิปไตยเปนของประชาชน และแสดงออกโดยการเขามามีสวนรวมในการใชอํานาจอธิปไตยผานทางสถาบันและองคกรทางการเมืองตาง ๆ โดยเฉพาะในระดับทองถ่ิน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

Page 49: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

39

เปนองคกรที่ประชาชนสามารถเขามามีสวนรวมทั้งโดยทางตรงและโดยทางออม การปกครองโดยประชาชนเปนสิ่งที่สําคัญและถือเปนหัวใจสําคัญของระบอบปกครองโดยประชาชน

ปธาน สุวรรณมงคล (2543: 164) กลาวถึง การมีสวนรวมของประชาชนในทองถ่ิน วาเปนเงื่อนไขที่สําคัญที่จะทําใหการบริหารจัดการทองถ่ินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ มีความโปรงใส ตรวจสอบได ยึดกฎ ระเบียบ เนื่องจาก ผูบริหารทองถ่ินตองคํานึงถึงเสียงเรียกรองและการถูกตรวจสอบจากประชาชนผูที่เลือกตนเอง เขามาบริหารทองถ่ิน ตามที่กฎหมายไดเปดชองใหประชาชนสามารถดําเนินการไดแลวในขณะนี้ ดังนั้น การบริหารงานขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน จะตองเปดโอกาสใหประชาคมไดมีสวนรวมคิด รวมรับรู รวมตัดสินใจ ในขั้นตอนที่สําคัญของการทํางาน เชน การจัดทําแผนพัฒนาทองถ่ิน การจัดทําแผนงาน โครงการเพื่อจัดทําเปนขอบัญญัติงบประมาณประจําปของทองถ่ินนั้น และไดกลาววา องคกรปกครองสวนทองถ่ินจะตองเปนองคกรที่เปด (Open Organization) โดยท่ีเปดใหกับประชาชนไดมีสวนรวมทั้งโดยตรงและทางออม และกระบวนการปฏิบัติงานขององคกรปกครองสวนทองถ่ินจะตองเปดใหฝายตาง ๆ ไดมีสวนรวมดวยทั้งในแงของการรับฟงความคิดเห็น รวมตัดสินใจ รวมดําเนินการ และรวมติดตามประเมินผล ซ่ึงเปนการบริหารจัดการทองถ่ินที่ดีไดทางหนึ่ง

โต สมบรูณ (2544: 31) ไดสรุปความหมายของการมีสวนรวมของประชาชน คือ การเปดโอกาสใหประชาชนรับรูปญหา หาวิธีการและแนวทางแกไข โดยรวมกันตัดสินใจและวางแผนตลอดจนการปฏิบัติกิจกรรมหรือโครงการตาง ๆ และติดตามประเมินผล

วิลเล่ียม เออรวิน (1987 อางถึงใน ชมภารี ชมพูรัตน, 2545: 41) กลาววา การมีสวนรวมของประชาชน คือ กระบวนการใหประชาชนเขามามีสวนเกี่ยวของในการดําเนินงานพัฒนา รวมคิด รวมตัดสินใจ แกปญหาของตนเอง รวมใชความคิดสรางสรรค ความรู และความชํานาญ รวมกับการใชวิทยากรที่เหมาะสม และสนับสนุนติดตามผลการปฏิบัติงานขององคกรและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ

อาจสรุปไดวา แนวคิดการมีสวนรวมของประชาชน จึงเปนการที่ประชาชนมีความคิดและการดําเนินงานเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของตนในการตัดสินใจจัดการควบคุมการใช และกระจายทรัพยากรธรรมชาติตลอดจนปจจัยการผลิตที่มีอยูในสังคม เพื่อใหเกิดประโยชนตอการดํารงชีพทางเศรษฐกิจ และสังคมของชุมชน ดังนั้น การมีสวนรวมจึงเปนการมีสวนรวมของประชาชนตามแนวทางการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซ่ึงเปดโอกาสใหประชาชนไดพัฒนาการรับรู สติปญญา และความสามารถในการตัดสินใจกําหนดชีวิตดวยตนเอง ดังนั้น การมีสวนรวมของประชาชนจึงเปนทั้งวิธีการ (Means) และเปาหมาย (Ends) ในเวลาเดียวกัน

Page 50: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

40

2.4.3 กระบวนการมีสวนรวม กระบวนการมีสวนรวมเปนขั้นตอนที่แสดงถึงวิธีการ และแนวทางที่ประชาชนสามารถเขา

มามีสวนรวมในกิจกรรมในชุมชน ดังนั้น จึงจําเปนอยางยิ่งที่ประชาชน หนวยงานที่เกี่ยวของ อาทิ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน จะตองศึกษากระบวนการ เพื่อสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริง ผูศึกษาจึงไดศึกษากระบวนการมีสวนรวมของประชาชนไว ดังนี้

อคิน ระพีพัฒน (2531: 49) ไดกลาวถึง กระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา ซ่ึงมี 5 ระดับ คือ 1) ชาวบานรวมในการคิดคนปญหา การพิจารณาปญหา และจัดลําดับความสําคัญของปญหา 2) ชาวบานมีสวนรวมในการคิดคนสาเหตุของปญหา 3) ชาวบานมีสวนรวมในการคนหา และพิจารณาแนวทางวิธีการแกปญหา 4) ชาวบานมีสวนในการดําเนินกิจกรรมเพื่อแกปญหา 5) ชาวบานมีสวนในการประเมินผลของกิจกรรมในการพัฒนา

ในสวนของหลักการแนวคิดและแนวทางการพัฒนาโดยการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนยังถือปฏิบัติจนถึงปจจุบัน โดยมีแนวทางและขั้นตอนการเพื่อใหประชาชนเขามามีสวนรวม ผูศึกษาเห็นวาแนวทางดังกลาวเปนแนวทางที่ดีสําหรับองคกรปกครองสวนทองถ่ินในการพัฒนากระบวนการมีสวนรวมของประชาชน โดยไดเสนอแนวทางดังตอไปนี้

1. ตองยึดหลักความตองการและปญหาของคนในชุมชนเปนจุดเริ่มตนของกิจกรรม ตองใชเวลาในการกระตุน เรงเราความสนใจ ใหความรูความเขาใจจนคนในชุมชนยอมรับความจําเปนและประโยชนในการที่จัดกิจกรรมเหลานั้น

2. กิจกรรมตองดําเนินในลักษณะกลุม เพื่อสรางพลังกลุมในการรับผิดชอบรวมกันสรางความสัมพันธรวมกันระหวางสมาชิกกลุม ปลูกฝงทัศนะและพฤติกรรมที่เห็นแกประโยชนสวนรวม ทํางานเสียสละเพื่อสวนรวมมากกวาสวนตัว

3. แนวทางการพัฒนากิจกรรมตาง ๆ ในชุมชน ตองคํานึงถึงขีดความสามารถของประชาชนที่รับดําเนินการตอไปไดโดยไมตองพึ่งพาภายนอก โดยเฉพาะในระยะเริ่มแรกตองไมทุมเทในลกัษณะการใหเปลาโดยสิ้นเชิง ตองทําใหคนในชุมชนรูสึกสํานึก เปนเจาของกิจกรรมรวมกัน และตองสามารถทําตอไปไดเอง เมื่อการชวยเหลือจากภายนอกสิ้นสุดลง การชวยตนเองและพึ่งตนเองเปนหลักสําคัญที่ตองเริ่มตั้งแตตน

4. กิจกรรมพัฒนาที่นําเขาไปในชุมชนตองสอดคลองกับสภาพแวดลอม ความพรอมของชุมชน ซ่ึงรวมทั้งการใชทรัพยากรชุมชน การสอดคลองกับประเพณีและวัฒนธรรมชุมชน

5. การเริ่มตนกิจกรรมตองอาศัยผูนําชุมชน ซ่ึงหมายถึงผูนําตามธรรมชาติ ที่ชาวบานเคารพนับถือ ผูนําทางศาสนา ผูนําที่ไดรับการเลือกตั้ง ผูนําชุมชนโดยทั่วไปจะปรับทัศนะและการยอมรับส่ิงใหม ๆ ไดเร็วกวาและเปนผูที่ชาวบานศรัทธาอยูแลว

Page 51: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

41

6. ขั้นตอนการดําเนินงานตาง ๆ ตองใหประชาชนเขามามีสวนรวมตั้งแตขั้นตน กลาวคือ รวมหาขอมูล รวมหาสาเหตุปญหา รวมปรึกษาหารือทางแกไข รวมตัดสินใจ รวมวางแผน รวมปฏิบัติงาน รวมติดตามผลจนถึงขั้นรวมบํารุงรักษาในระยะยาว

อาจสรุปไดวาขั้นตอนทั้ง 6 ประการเปนขั้นตอนที่จะกอใหเกิดการมีสวนรวม และเพื่อใหการทํางานตามหลักการพัฒนา นอกจากนั้น การจะใหแนวทางการพัฒนาดังกลาวสัมฤทธ์ิผลตองอาศัยความรวมมือจากคนในชุมชนเอง ประกอบกับความรวมมือจากทุกภาคสวนดวย

สรุปไดวา กระบวนการมีสวนรวม สงผลใหประชาชนจะมีความรูสึกรัก เกิดความรูสึกเปนเจาของชุมชน เกิดความภาคภูมิใจในผลงาน เนื่องจากไดลงมือลงแรงในการทํางานและสิ่งที่สําคัญที่สุด คือ เกิดความรักใครสามัคคีในชุมชน จากครอบครัวที่เคยตางคนตางอยู ก็หันหนาเขาหากัน รวมคิด รวมวางแผน รวมทํางาน ทําใหเกิดชุมชนที่เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ชุมชนนั้นจะเขมแข็งและพัฒนาไปสูความยั่งยืน อีกทั้งยังลดปญหาในสังคมได สงผลใหสังคมเกิดความรมเย็น ประเทศชาติก็พัฒนาไปในทางที่ดี

2.5 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

สมพร ประกอบชาติ (2536: บทคัดยอ) ศึกษาสภาพทรัพยากรชายฝง กิจกรรมการใชประโยชน ยุทธวิธีการจัดการจากแผนการจัดการทรัพยากรชายฝงในระดับชาติและในจังหวัดเพชรบุรี โดยใชวิธีวิเคราะหความสัมพันธระหวางสถานภาพทรัพยากรชายฝง การใชประโยชน และยุทธวิธีการจัดการในจังหวัดเพชรบุรี เปนการวิจัยเชิงพรรณนาคุณภาพ และผลการศึกษาทําใหทราบถึงสถานภาพทรัพยากรชายฝงจังหวัดเพชรบุรี โดยการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมเปนปจจัยที่สงผลใหเกิดสภาพปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรชายฝงไทยมีแผนการจัดการทรัพยากรชายฝงในระดับประเทศ 11 แผน และมีผลใหมีการจัดการแผนปฏิบัติการรวมทั้งโครงการควบคุม และแกไขปญหาทรัพยากรในพื้นที่ชายฝงจังหวัดเพชรบุรี 13 โครงการ แตไมปรากฏการจัดทําแผนการจัดการทรัพยากรชายฝงในลักษณะที่เปนภาพรวมของจังหวัดเพชรบุรี

วิลาวัณย ภมรสุวรรณ (2537: บทคัดยอ) ศึกษาแนวทางพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลจังหวัดสมุทรสาคร จากผลการวิเคราะหปญหา พบวา ปญหาที่สําคัญของพื้นที่ คือ ปญหาความเสื่อมโทรมของส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะดานทรัพยากรน้ํา ดังนั้น ในการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลของจังหวัดนี้ ควรแกไขปญหาเพื่อฟนฟูทรัพยากรน้ํา ซ่ึงไดแก การแกไขปญหาคุณภาพ

Page 52: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

42

น้ําผิวดินเสื่อมโทรม การจัดหาน้ําจืดใหพอเพียงแกการอุปโภคบริโภค และการเกษตร ปญหาการรุกลํ้าน้ําเค็ม ขณะเดียวกันการพัฒนาตองสอดคลองกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กฤติกา บุณยชาติพิสุทธิ์ (2542: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาความสัมพันธระหวางการใชที่ดินบริเวณชายฝงกับการเปลี่ยนแปลงของชายฝงทะเลจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยศึกษาดวยเทคนิครีโมทเซนซิง สามารถคํานวณไดจากขอมูลการเปลี่ยนแปลงของชายฝงทะเลและการใชประโยชนที่ดิน และส่ิงปกคลุมดินบริเวณชายฝง โดยใชวิธีการวิเคราะหถดถอย โลจิสติกสในการหาความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนแปลงของชายฝงกับการใชประโยชนที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน 10 ประการ คือ พื้นที่ชุมชนหนาแนน พื้นที่ชุมชน พื้นที่ชายหาด พื้นที่วางเปลา พื้นที่ปาชายเลน พื้นที่ที่ปกคลุมดวยตนไมหนาแนน พื้นที่ที่ปกคลุมดวยตนไมเบาบาง นาขาว ที่ราบน้ําทวมถึง และแหลงน้ํา นอกจากนี้แผนงานการจัดการจะประสบความสําเร็จตองอาศัยการมีสวนรวมของประชาชนที่อยูในพื้นที่

คํานวณ นวลสนอง (2543: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง ภูมิปญญาชาวบานกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ: ศึกษากรณีการจับผ้ึงของชาวบาน ตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง ผลการศึกษา พบวา ชุมชนตะโหมดเปนชุมชนเกาแกมาตั้งแตสมัยอยุธยา ชุมชนไดสรางแบบแผนของการดําเนินชีวิตที่มีลักษณะของความเปนเฉพาะถิ่น เพื่อใหสมาชิกของสังคมอยูรวมกันไดอยางมีความสุข ระบบนิเวศชุมชนจึงเปนพื้นฐานสําคัญของการกอเกิดภูมิปญญาชาวบาน ซ่ึงเปนความรู ความคิด ประสบการณ และความเชื่อที่มีการกลั่นกรอง ส่ังสม ปรับปรุง มีการสืบทอด และนําไปใชอยางมีแบบแผน เพื่อการดํารงชีพใหสอดคลองกับสภาพพื้นที่ที่ชุมชมอาศัยอยู การทําความเขาใจระบบนิเวศชุมชน จึงเปนพื้นฐานสําคัญตอการศึกษาภูมิปญญาชาวบานกับการจัดการทรัพยากร ภูมิปญญาในการจับผ้ึงของชุมชนตะโหมดสืบทอดกันมาแตโบราณ และมีความเชื่อเคารพตอส่ิงเหนือธรรมชาติ เมื่อขั้นตอนการเก็บน้ําผ้ึงเสร็จแลว จะมีพิธีสังเวยภูมิเทวดา ส่ิงศักดิ์สิทธ หรือเรียกวา การตั้งโหลน ความเชื่อเกี่ยวกับการจับผ้ึงนั้นเมื่อในขณะที่ขึ้นไปเก็บน้ําผ้ึงหามสมาชิกของครอบครัวมีเร่ืองขัดของหมองใจกัน เพราะขณะจับผ้ึงจะทําใหผ้ึงดุและรุมทําราย หรือหามคนในครอบครัวปรุงแตงรางกายดวยของหอมเพราะจะทําใหเกิดอันตรายได ภูมิปญญาชาวบาน ภูมิปญญาชาวบานเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใหมีประสิทธิภาพ จึงเปนความสามารถของนักจับผ้ึงที่กอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยใชทุนและแรงงานนอยที่สุด ใชวัสดุตามธรรมชาติมาทําเปนอุปกรณ มีการแบงสรรน้ําผ้ึงอยางเทาเทียมกันและทุกคนสามารถใหประโยชนรวมกันของรังผ้ึงได และมีการถายทอดความรูแกคนที่เขารวมดวยความเต็มใจ นอกจากนี้ นักจับผ้ึงจะไมโคนตนไมที่ผ้ึงมาทํารัง รักษาปาและแหลงน้ําใหมีความอุดมสมบูรณในบริเวณที่ผ้ึงทํารัง การหาน้ําผ้ึงแตละครั้งจะพยายามใหผ้ึงตายนอยที่สุด เพื่อใหผ้ึงไดสรางรังและ

Page 53: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

43

น้ําผ้ึงใหม เพราะฉะนั้นภูมิปญญาการหาน้ําผ้ึงของชุมชนตะโหมดจึงชวยรักษาความสมดุลของระบบนิเวศและความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติใหเกิดความสมดุล

ฐิติยา เทวัญอิทธิกร (2544: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาการจัดการชายฝงทะเลแบบบูรณาการบริเวณสวนเหนือของอาวไทยตอนใน จากการวิเคราะหสภาพการใชประโยชนที่ดินจากขอมูลดาวเทียมศึกษารวมกับมาตรการการจัดการพื้นที่ชายฝง พบวา พื้นที่ดานตะวันออกของพื้นที่ศึกษาตั้งแตปากแมน้ําบางปะกงจนถึงปากแมน้ําเจาพระยา มีการใชประโยชนที่ดินดานอุตสาหกรรมซึ่งทําใหเกิดปญหามลพิษ และสงผลกระทบตอการประมงและเพาะเลี้ยงชายฝง ปญหาขาดแคลนน้ําใน อําเภอบางปะกง ปญหาน้ําทวมในตัวเมืองสมุทรปราการ ปญหาการกัดเซาะชายฝงรุนแรงพื้นที่ตอนกลางของพื้นที่ทําการศึกษาตั้งแตปากแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันตกจนถึงบริเวณปากแมน้ําทาจีน การใชประโยชนที่ดินเปนการเพาะเลี้ยงชายฝงบริเวณแมน้ําทาจีนเปนชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม การประมงที่หนาแนน เกิดปญหาดานมลพิษเชนเดียวกับพื้นที่แรก พื้นที่ดานตะวันตกของพื้นที่ทําการศึกษา การใชประโยชนที่ดินเปนการเกษตร เพาะเลี้ยงชายฝง นาเกลือ และไดเสนอแนะแนวทางการจัดการพื้นที่ชายฝง โดยมุงแกไขและลดผลกระทบที่เกิดขึ้น

ปวีณา ดานกุล (2544: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาการจัดการชายฝงแบบบูรณาการบริเวณอาวไทยตอนในฝงตะวันตก โดยใชวิธีการวิเคราะหสภาพการใชที่ดินจากขอมูลดาวเทียม รวมกับมาตรการการจัดการพื้นที่ชายฝง พบวา บริเวณชายฝงตั้งแตปากแมน้ําแมกลองถึงแหลมผักเบี้ยมีการใชทรัพยากรที่หลากหลาย จึงทําใหเกิดปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากร ปญหามลพิษ ปญหาความขัดแยงจากการใชประโยชนทรัพยากร สวนพื้นที่แหลมผักเบี้ยถึงปราณบุรี ปญหาที่สําคัญเกิดจากกิจกรรมการทองเที่ยว ปญหามลพิษ ปญหาการขยายตัวของชุมชน ปญหาการกัดเซาะชายฝง และไดเสนอแนวทางการจัดการการใชประโยชนทรัพยากรชายฝงแบบบูรณาการ โดยเนนการแบงเขตกําหนดมาตรการควบคุมการขยายตัวของเมือง การใชหลักเศรษฐศาสตรควบคูไปกับการบังคับใชกฎหมายในการจัดการน้ําเสีย การสงเสริมการอนุรักษและฟนฟูปาชายเลน และทรัพยากรสัตวน้ําอยางยั่งยืน

วรารัตน ตรีธนวัฒ (2544: บทคัดยอ) ศึกษาดานศักยภาพกับการมีสวนรวมของประชาชนในการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเลตั้งแตปากแมน้ําเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ถึงปากแมน้ําปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาศักยภาพของประชาชนในดานการมีสวนรวมแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล โดยวิเคราะหการเปดรับขาวสารทั่วไป การแสวงหาขาวสาร การติดตอส่ือสารกับสื่อบุคคล ความตระหนักในปญหาการกัดเซาะ นอกจากนี้ ยังศึกษาระดับการมีสวนรวมของประชาชนในการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล ศักยภาพของผูนําชุมชนตามทัศนะของประชาชน การหาความสัมพันธระหวางลักษณะประชากรกับศักยภาพของ

Page 54: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

44

ประชาชน การมีสวนรวมแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล และการหาความสัมพันธระหวางศักยภาพของประชาชนกับการมีสวนรวมแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล การหาความสัมพันธระหวางศักยภาพของผูนําชุมชนตามทัศนะของประชาชนกับการมีสวนรวมแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเล โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลใชการแจกแจงความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คา t-test, คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน และการวิเคราะหถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบวา ตัวแปรที่สามารถอธิบายการมีสวนรวมในการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเลไดดีที่สุด คือ การติดตอส่ือสารกับสื่อบุคคล ศักยภาพของผูนําชุมชนตามทัศนะของประชาชน และการเปดรับขาวสารทั่วไป ตามลําดับ

ทองแทน เลิศสัทธภรณ (2546: บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากร และส่ิงแวดลอมชายฝงจังหวัดสมุทรสาคร ไดสรุปประเด็นปญหา และบทเรียนจากอดีตมาเปนแนวทางการฟนฟูและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอมชายฝงจังหวัดสมุทรสาคร จากการศึกษาไดวางแนวทางการดําเนินงานเพื่อวางแผนงานการพัฒนาและจัดการทรัพยากรชายฝงจังหวัดสมุทรสาคร และเสนอแนวคิดในการกําหนดแผนงานการพัฒนาและการจัดการทรัพยากรชายฝงจังหวัดสมุทรสาคร โดยแบงสภาพความเสื่อมโทรมของทรัพยากรออกเปน 3 สวน คือ พื้นที่ชายฝงดานตะวันออกของปากแมน้ําทาจีน พื้นที่ชายฝงตะวันตกของปากแมน้ําทาจีน และพื้นที่ชายฝงดานตะวันตกสุดของสมุทรสาคร พบวา การคงอยูของชุมชนประมงชายฝงจะขึ้นอยูกับปริมาณของทรัพยากร นอกจากนี้ เสนอแนวคิดในการกําหนดแผนงานนํารองการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดลอมชายฝงดานตะวันออกของปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร

ธฤษวรรณ นนทพุทธ (2545: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การพัฒนากระบวนการเรียนรูโดยชุมชนในการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ: กรณีศึกษาปาชุมชนเขาหัวชาง ตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง ผลการศึกษา พบวา การเรียนรูของสมาชิกในชุมชนเกิดจากเงื่อนไข 3 ประการ ตามเงื่อนไขของเวลา คือ 1) ทุนของชุมชน ไดแก ทุนระบบนิเวศ ทุนคน ทุนระบบสังคมและวัฒนธรรม ทุนสติปญญาและทุนเงินตรา 2) พลวัตของปจจัยภายนอกที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงทุนของชุมชนและการเรียนรูของสมาชิกในชุมชน 3) การพัฒนากระบวนการเรียนรูในการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศใหแกสมาชิกในชุมชน สามารถแบงการเรียนรูของสมาชิกไดเปน 2 ประเภท คือ การเรียนรูของสมาชิกในชุมชนที่พัฒนาจากทุนเดิมและการเรียนรูของสมาชิกในชุมชนเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงนิเวศ โดยการเรียนรูของสมาชิกในชุมชนตะโหมดเกิดขึ้นกับกลุมบุคคล 3 กลุม ตามระดับการมีสวนรวมในกระบวนการวิจัย คือ คณะกรรมการการทองเที่ยวเชิงนิเวศ คณะกรรมการปาชุมชนเขาหัวชาง และสมาชิกในชุมชน ตามลําดับ และการเรียนรูดังกลาวมีแนวโนมจะถายทอดผานเวทีของชุมชน

Page 55: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

45

สมภพ รุงสุภา และคณะ (2546: บทคัดยอ) ไดศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ําในแมน้ําบางปะกงและปริมาณของเสียระหวาง พ.ศ. 2525 – 2545 ใชขอมูลปริมาณบีโอดีเปนตัวแทนของของเสียที่ลงสูแมน้ําบางปะกง โดยใชขอมูลคุณภาพน้ําทุติยภูมิระหวาง พ.ศ. 2525 – 2545 เพื่อจัดลําดับความสําคัญของแหลงกําเนิดมลพิษในแมน้ําบางปะกง ผลการศึกษา พบวา ปริมาณของเสียในแมน้ําบางปะกงเพิ่มขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2525 เนื่องจากการขยายตัวของกิจกรรมของมนุษย คือ การขยายตัวของชุมชน การขยายตัวของกิจกรรมการทํานากุงและฟารมสุกร ความสําคัญของแหลงกําเนิดมลพิษในแตละพื้นที่แตกตางกันตามขนาดของกิจกรรม บริเวณที่ปริมาณบีโอดีเพิ่มขึ้นอยางชัดเจนคือ อําเภอเมือง บริเวณปากแมน้ําบางปะกง

นัฎกุล บุษบงค (2547: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาปญหาสิ่งแวดลอมในลักษณะภาพรวมของพื้นที่ชายฝงทะเลดานตะวันออกของจังหวัดระยอง ใน 3 พื้นที่ คือ หาดแมรําพึง อาวบานเพ อาวสวนสน และพื้นที่ชายฝงทะเลบริเวณแหลมแมพิมพ พบวา ปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นบริเวณทั้ง 3 พื้นที่มีลักษณะคลายคลึงกัน คือ ปญหาคุณภาพน้ํา ปญหาการสรางสิ่งรุกลํ้าพื้นที่ชายหาด ปญหาขยะ และปญหาความปลอดภัยบริเวณแหลงทองเที่ยว และจากการศึกษาแนวทางการจัดการพื้นที่ชายหาดทั้ง 3 พื้นที่ พบวา แนวทางการจัดการที่นํามาใชเปนปจจัยที่สงผลใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ยังไดเสนอแนะแนวทางการจัดการพื้นที่ชายฝงทะเลที่ยึดหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน

พิษณุ สรอยฤทธิ์ (2549: บทคัดยอ) ไดศึกษาการเปรียบเทียบสภาพแวดลอม และการจัดการชายฝงทะเลที่มีการพัฒนาแตกตางกันบริเวณชายฝงทะเลปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ พบปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดบริเวณปากน้ําปราณ และชายหาดเขากะโหลก ไดแก ปญหาคุณภาพน้ํา ปญหาการกัดเซาะพังทลาย ปญหาการรุกลํ้าพื้นที่ชายหาด และปญหาขยะมูลฝอย และจากการศึกษาเปรียบเทียบการจัดการที่ตางกันไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน และจากการวางแผนการจัดการที่ตางกันก็เปนปจจัยหลักที่ทําใหเกิดปญหาส่ิงแวดลอมในพื้นที่ และขาดการแกไขที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังเสนอแนะยุทธศาสตรแนวทางการจัดการแกไขปญหาพื้นที่ชายฝงทะเล โดยเนนการแกไขปญหาและลดผลกระทบ

Lohmeyer (1999 อางถึงใน ฐิติยา เทวัญอิทธิการ, 2544: 44) จุดมุงหมายของการจัดการชายฝงทะเลแบบบูรณาการ เพื่อใหเกิดการรวมมือกันระหวางผูมีสวนเกี่ยวของกับการใชประโยชนทรัพยากร เพื่อปองกันการบริโภคทรัพยากรจนเกินขีดจํากัด โดยผูใดผูหนึ่ง และเพื่อเพิ่มผลประโยชนใหกับกลุมผูใชประโยชนทรัพยากรกลุมอื่น และการจัดการชายฝงทะเลแบบบูรณาการยังเปนเครื่องมือที่จะชวยปกปองทรัพยากรในระยะยาวโดยการจัดการที่มองในภาพรวมทั้งหมด

Mokhtar and Ghani Aziz (2003: 124) ศึกษาลักษณะสิ่งแวดลอมรวมในการจัดการชายฝงแบบบูรณาการในประเทศมาเลเซีย โดยการศึกษาจากนโยบายฉบับที่ 8 สําหรับป ค.ศ. 2001 ถึง ค.ศ.

Page 56: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

46

2005 ซ่ึงจากการศึกษา พบวา นโยบายเปนสิ่งสําคัญในการวางกฎ ระบบชวยในการออกแบบการจัดการพื้นที่ชายฝงแบบบูรณาการ และเปนเครื่องมือที่ชวยทําใหโครงสรางการวางแผนการจัดการเปนไปอยางยั่งยืน

Tagliani, Landazuri and Reis (2003: 75) ศึกษาการจัดการชายฝงทะเลแบบบูรณาการบริเวณปากแมน้ํา Patos Lagoon ในประเทศบราซิล ซ่ึงเปนพื้นที่เศรษฐกิจดานการเพาะเลี้ยงชายฝง การประมง การทองเที่ยว ทาเทียบเรือ และเขตอุตสาหกรรม ซ่ึงจากการพัฒนาดานเศรษฐกิจของพื้นที่ทําใหส่ิงแวดลอมในพื้นที่ถูกรบกวนมาตลอด 3 ทศวรรษ ซ่ึงผลศึกษาไดวางหลักการจัดการแบบบูรณาการในพื้นที่ โดยเรงจัดทํายุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรชายฝงที่สามารถนํากลับมาใชใหม และทรัพยากรที่ใชแลวหมดไป จัดทํากฎหมายคุมครองสิ่งแวดลอมในพื้นที่ และใหความสําคัญประชาชนในการวางแผนจัดการพื้นที่ชายฝงทะเล

Page 57: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

บทที่ 3

วิธีการศึกษา

ในการศึกษาเรื่อง บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี เปนการศึกษาเชิงปริมาณ ซ่ึงมีขั้นตอนวิธีการดําเนินการศึกษา ดังนี้

1. การศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของ 2. ประชากรและกลุมตัวอยาง 3. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมลู 4. ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ 5. การเก็บรวบรวมขอมูล 6. การวิเคราะหขอมูล 7. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 การศึกษาขอมูลท่ีเกี่ยวของ

ในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดศึกษาคนควาหาขอมูลที่เกี่ยวของเพื่อดําเนนิการศึกษา ดงันี้ 1. ศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวของ (Document Study) เปนการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร

บทความวิชาการ แนวคิด ทฤษฎี รายงานวิจัยที่เกี่ยวของ วิทยานิพนธ อีกทั้งการคนควาขอมูลจากส่ืออินเตอรเน็ต ที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกับเรื่องที่การศึกษา และอีกสวนหนึ่งเปนการศึกษาขอมูลทุติยภูมิ ในพื้นที่ในการศึกษาวิจัย เพื่อเปนขอมูลเบื้องตนที่ใชประกอบในการศึกษาในครั้งนี้

2. ศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนาม (Field Study) ในการเก็บรวบรวมขอมูลภาค สนามตามหลักการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใชเครื่องมือ คือ แบบสอบถาม และใชวิธีการสัมภาษณเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล

Page 58: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

48

3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก กํานัน ผูใหญบาน และตัวแทนกลุมประมงพื้นบาน ที่มีพื้นที่ติดกับชายฝงทะเล ประกอบดวย ชุมชนบางสระเกา ชุมชนบางกะไชย ชุมชนเกาะแมว ชุมชนเกาะเปริด ชุมชนหนองชิ่ม โดยใชวิธีการสุมแบบเฉพาะเจาะจง

3.3 เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามแบบมีโครงสราง โดยแบงออกเปน 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดสวนตัวเฉลี่ยตอเดือน

ตอนที่ 2 การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ประกอบไปดวย ความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ลักษณะการประกอบอาชีพและวิถีชีวิตของคนในชุมชน การมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง การปลูกจิตสํานึกในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง กิจกรรมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง การสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของ การมีสวนรวมของบุคคลภายนอกชุมชน

ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะในการเสริมบทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3.4 ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ

การสรางเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล ผูศึกษาไดดําเนินการตามลําดับขั้น ดังตอไปนี้ 1. ศึกษาเอกสารแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวของกับบทบาทผูนําตอการจัดการทรัพยากร

ทางทะเลและชายฝง 2. ศึกษาวิธีการสรางแบบสอบถาม เพื่อนํามาจัดทําแบบสอบถามในการลงพื้นที่เก็บขอมูล

จากกลุมตัวอยาง

Page 59: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

49

3. นําขอมูลที่ไดจากการศึกษา มาสรางเปนแบบสอบถามอยางมีโครงสราง เพื่อสอบถามบทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

4. นําแบบสอบที่สรางขึ้นเสนอตออาจารยที่ปรึกษา เพื่อตรวจสอบความถูกตอง ความเหมาะสมของเนื้อหา และภาษาที่ใช เพื่อใหครอบคลุมวัตถุประสงคในการศึกษา

5. นําแบบสอบถามมาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา เพื่อใหเกิดความสมบูรณ

3.5 การเก็บรวบรวมขอมลู

1. ผูศึกษาติดตอประสานงานกับกํานัน ผูใหญบาน และตัวแทนกลุมประมงพื้นบาน อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี เพื่อขออนุญาตและขอความรวมมือใหกับผูศึกษาเขาสูพื้นที่ในการดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถาม

2. ผูศึกษานําแบบสอบถามลงพื้นที่ไปหากํานัน ผูใหญบาน และตัวแทนกลุมประมงพื้นบาน ในการเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชวิธีการสัมภาษณ เพี่อใหไดขอมูลตรงตามวัตถุประสงค

3. ผูศึกษานําแบบสอบถามที่ดําเนินการจัดเก็บเรียบรอยแลว พิจารณาและตรวจสอบความถูกตอง เพื่อนําไปวิเคราะหขอมูลตอไป

3.6 การวิเคราะหขอมูล

หลังจากที่รวบรวมแบบสอบถามที่สํารวจมาแลว จึงนํามาตรวจสอบความถูกตองและความครบถวนของขอมูล แลวนํามาวิเคราะหโดยใชเครื่องคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows ดังนี้

1. ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ใชวิธีหาคาความถี่และรอยละ 2. บทบาทผูนําตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ใชวิธีหาคาเฉลี่ย (Mean) และ

คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แลวแปลความหมายของคาเฉลี่ยออกมาเปนดังนี้ คาเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีบทบาทอยูในระดับมากทีสุ่ด คาเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มีบทบาทอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีบทบาทอยูในระดับปานกลาง

Page 60: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

50

คาเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มีบทบาทอยูในระดับนอย คาเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีบทบาทอยูในระดับนอยทีสุ่ด

3.7 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมลู

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Page 61: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

บทที่ 4

ผลการศึกษา

การศึกษาเรื่อง บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาถึงบทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง และศึกษาปญหาอุปสรรค และแนวทางในการเสริมสรางบทบาทผูนําในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอยางยั่งยืน ทั้งนี้กลุมตัวอยางเปนผูนําชุมชนเฉพาะชุมชนชายฝงทะเลในเขตอําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี จํานวน 5 ชุมชน ไดแก บานบางสระเกา บานบางกะไชย บานเกาะแมว บานเกาะเปริด บานหนองชิ่ม ซ่ึงผูศึกษาขอเสนอผลการศึกษาตามวัตถุประสงค แบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 4.2 ระดับของบทบาทผูนําชุมชน 4.3 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะ

Page 62: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

52

4.1 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง

ตารางที่ 4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง

ขอมูลท่ัวไป จํานวน (คน) รอยละ

เพศ ชาย หญิง

26 12

68.4 31.6

อายุ ต่ํากวา 30 ป 30 – 50 ป 51 ป ขึ้นไป

1 27 10

2.60 71.1 26.3

สถานภาพสมรส โสด สมรส หมาย / หยาราง / แยกกันอยู

3 33 2

7.90 86.8 5.30

ระดับการศึกษา ประถมศึกษา หรือ ต่ํากวา / ไมไดศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทา อนุปริญญา หรือเทียบเทา ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

26 9 1 1 1 0

68.4 23.7 2.60 2.60 2.60

0

Page 63: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

53

ตารางที่ 4.1 (ตอ)

ขอมูลท่ัวไป จํานวน (คน) รอยละ

อาชีพ พอบาน / แมบาน/เกษยีณอายรุาชการ รับจางทั่วไป คาขาย / อาชีพอิสระ รับราชการ รัฐวสิาหกิจ เกษตรกรรม/ประมง ลูกจาง /พนกังานบริษัท นักเรียน/นักศกึษา วางงาน

3 5 1 2 26 1 0 0

7.90 13.2 2.60 5.30 68.4 2.60

0 0

รายได ต่ํากวา 5,000 บาท 5,001 – 10,000 บาท 10,001 – 15,000 บาท มากกวา 15,001 บาทขึ้นไป

9 20 7 2

23.7 52.6 18.4 5.30

จากตารางที่ 4.1 กลุมตัวอยางที่เปนผูนําชุมชน ในพื้นที่เฉพาะชุมชนชายฝงทะเลในเขตอําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี จํานวน 5 ชุมชน ไดแก บานบางสระเกา บานบางกะไชย บานเกาะแมว บานเกาะเปริด บานหนองชิ่ม รวมทั้งสิ้นจํานวน 38 คน เปนเพศชายมากกวาเพศหญิง โดยมีเพศชายรอยละ 68.4 และเพศหญิงรอยละ 31.6 กลุมตัวอยางสวนใหญ มีอายุระหวาง 30 – 50 ป รอยละ 71.1 รองลงมามีอายุ 50 ปขึ้นไป รอยละ 26.3 และมีอายุต่ํากวา 30 ป รอยละ 2.60

ในดานสภาพสมรส พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ มีสถานภาพสมรสแลว รอยละ 86.8 รองลงมาสถานภาพโสด รอยละ 7.90 และสถานภาพหยา / แยกกันอยู รอยละ 5.30

ในดานระดับการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีระดับการศึกษาประถมศึกษา หรือต่ํากวา หรือไมไดรับการศึกษา รอยละ 68.4 รองลงมา ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน รอยละ 23.7 และระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย อนุปริญญาหรือเทียบเทา และปริญญาตรี รอยละ 2.60

Page 64: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

54

ในดานการประกอบอาชีพ พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีอาชีพเปนเกษตรกร / ประมง รอยละ 68.4 รองลงมา อาชีพรับจางทั่วไป รอยละ 13.2 อาชีพพอบาน แมบาน รอยละ 7.90 อาชีพรับราชการ รอยละ 5.3 และอาชีพลูกจาง / พนักงานบริษัท อาชีพคาขาย / อาชีพอิสระ รอยละ 2.60 ตามลําดับ

ในดานรายได พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ มีรายไดระหวาง 5,001 – 10,000 บาท/เดือน รอยละ 52.6 รองลงมา มีรายไดต่ํากวา 5,000 บาท/เดือน รอยละ 23.7 รายไดระหวาง 10,001 – 15,000 บาท/เดือน รอยละ 18.4 และรายได 15,000 ขึ้นไป รอยละ 5.30

4.2 ระดับบทบาทของผูนําชุมชน

ตารางที่ 4.2 ระดับบทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

บทบาทของผูนําชุมชน ระดับบทบาท

คา เฉล่ีย

S.D. แปลผล มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

1. สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 1 . 1 ผู นํ า เ ค ย ได รั บก ารอ บ ร ม เ พิ่ ม พู น ค ว า ม รูเ กี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด ก า รทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

5 (13.2)

25 (65.8)

7

(18.4)

0

(0)

1 (2.60)

3.87

0.741

มาก

1.2 ผูนํามีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

4 (10.5)

25 (65.8)

7 (18.4)

1 (2.60)

1 (2.60)

3.79 0.777 มาก

Page 65: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

55

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

บทบาทผูนํา ระดับบทบาท

คา เฉล่ีย

S.D. แปลผล มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

1 .3 ผูนํ ามีการถายทอดความรูเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ ง ให คนในชุ มชนไดรับทราบ

7 (18.4)

18 (47.4)

12 (31.6)

0 (0)

1 (2.60)

3.79 0.843 มาก

1.4 ผูนํามีการจัดเวทีในการถายทอดความรูความเ ข า ใ จ ใ น ก า ร จั ด ก า รทรัพยากรทางทะเลและชายฝงใหกับคนในชุมชนอยางตอเนื่อง

5 (13.2)

18 (47.4)

12 (31.6)

3 (7.90)

0 (0)

3.66 0.815 มาก

1.5 ผูนํามีการประยุกตใชความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเพื่อพัฒนาชุมชนของตนเอง

3 (7.9)

20 (52.6)

14 (36.8)

1 (2.60)

0 (0)

3.66 0.669 มาก

รวม 3.75 0.769 มาก

2. ลักษณะการประกอบอาชีพและวิถีชีวิตของคนในชุมชน 2.1 การประกอบอาชีพมีผลกระทบตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3 (7.90)

9 (23.7)

3 (7.90)

17 (44.7)

6 (15.8)

2.63 1.24 ปานกลาง

รวม 2.63 1.24 ปานกลาง

Page 66: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

56

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

บทบาทผูนํา

ระดับบทบาท คา เฉล่ีย

S.D. แปลผล มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

3. การมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 3.1 ผูนํามีการจัดเวทีในการระดมความคิดเพื่อหาแนวทางในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

5 (13.2)

15 (39.5)

13 (34.2)

3 (7.90)

2 (5.30)

3.47 1.01 ปานกลาง

3.2 มีการจัดตั้งกลุมในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

14 (36.8)

19 (50.0)

4 (10.5)

0 (0)

1 (2.60)

4.18 0.834 มาก

3.3 ชุมชนมีการกําหนดขอตกลงรวมกนัในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

7 (18.4)

19 (50.0)

9 (23.7)

1 (2.60)

2 (5.30)

3.74 0.978 มาก

รวม 3.79 0.939 มาก

4. การปลูกจิตสํานึกในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 4.1 ผูนํามีกิจกรรมในการปลูกจิตสํานึกใหชุมชนไดตระหนักถึงคุณคาและผลกระทบของทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

9 (23.7)

21 (55.3)

7 (18.4)

1 (2.60)

0 (0)

4.00 0.735 มาก

Page 67: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

57

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

บทบาทผูนําชมุชน

ระดับบทบาท คา เฉล่ีย

S.D. แปลผล มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

4.2 ผูนํามีการจัดทําเอกสารในการเผยแพรความรูเกี่ยวกบัทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

6 (15.8)

15 (39.5)

6 (15.8)

6 (15.8)

5 (13.2)

3.29 1.29 ปานกลาง

4.3. ผูนํามีการจัดทําปายประกาศ ปายรณรงคในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

9 (23.7)

15 (39.5)

8 (21.1)

6 (15.8)

0 (0)

3.71 1.01 มาก

รวม 3.66 1.01 มาก

5. กิจกรรมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 5.1 ชุมชนมีการประชุม พูดคุยกนัถึงปญหาดานการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

8

(21.1)

17 (44.7)

13 (34.2)

0

(0)

0

(0)

3.87

0.741

มาก

5.2 ชุมชนไดมีการจัดกิจกรรมรักษาความสะอาดชายฝงทะเล

5 (13.2)

12 (31.6)

17 (44.7)

3 (7.90)

1 (2.60)

3.45 0.921 ปานกลาง

5.3 ชุมชนไดมีการใหความรูเกี่ยวกบัการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงใหแกคนชุมชน

7 (18.4)

15 (39.5)

15 (39.5)

1 (2.60)

0 (0)

3.74 0.795 มาก

Page 68: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

58

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

บทบาทผูนําชุมชน

ระดับบทบาท คา เฉลี่ย

S.D. แปลผล มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

5.4 ชุมชนมีการรณรงค สรางจิตสํานึกใหคนในชุมชนดูแลรักษาทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

8 (21.1)

15 (39.5)

15 (39.5)

0 (0)

0 (0)

3.82 0.766 มาก

5.5 ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลักษณะการประกอบอาชีพประมง เพื่อลดปญหาที่มีผลกระทบตอทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3 (7.9)

23 (60.5)

11 (28.9)

1 (2.60)

0 (0)

3.74 0.644 มาก

รวม 3.72 0.773 มาก

6. การสนับสนุนจากหนวยงานที่เก่ียวของ 6.1 มีหนวยงานภายนอกเขามาอบรมใหความรูดานการจัดการทรพัยากรทางทะเลและชายฝง

8

(21.1)

15

(39.5)

12

(31.6)

2

(5.30)

1

(2.60)

3.71

0.956

มาก

6.2 ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานภายนอกเพื่อมาดําเนินกิจกรรมในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

5 (13.2)

15 (39.5)

11 (28.9)

6 (15.8)

1 (2.60)

3.45 1.00 ปานกลาง

Page 69: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

59

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

บทบาทผูนําชมุชน

ระดับบทบาท คา เฉล่ีย

S.D. แปลผล มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

6.3 มีบุคลากรจากภายนอกเขามารวมดําเนินกิจกรรมการจัดการทรพัยากรทางทะเลและชายฝงรวมกับคนในชุมชน

6 (15.8)

15 (39.5)

14 (36.8)

3 (7.90)

0 (0)

3.63 0.852 มาก

6.4 มีหนวยงานภายนอกเขามาศึกษาขอมูล ศึกษาปญหาดานการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง เพื่อแกไขปญหาเชิงวิชาการ

6 (15.8)

20 (52.6)

6 (15.8)

5 (13.2)

1 (2.60)

3.66 0.994 มาก

รวม 3.61 0.951 มาก

7. การสรางการมีสวนรวมจากบุคคลภายนอกชุมชน 7.1 มีบุคคลภายนอกชุมชนเขามารวมศึกษาปญหา วิเคราะหปญหาดานชายฝงทะเล

3

(7.90)

16

(42.1)

13

(34.2)

6

(15.8)

0

(0)

3.42

0.858

ปานกลาง

7.2 มีบุคคลภายนอกชุมชน เขามารวมวางแผน และกําหนดกจิกรรมในการจัดการชายฝง

4 (10.5)

13 (34.2)

9 (23.7)

11 (28.9)

1 (2.60)

3.21 1.07 ปานกลาง

Page 70: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

60

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

บทบาทผูนําชมุชน

ระดับบทบาท คา เฉล่ีย

S.D. แปลผล มากท่ีสุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยท่ีสุด

7.3 มีบุคคลภายนอกชุมชน เขามาทํากิจกรรมดานการรักษาสิ่งแวดลอมและการจัดการชายฝงทะเล

10 (26.3)

11 (28.9)

11 (28.9)

6 (15.8)

0 (0)

3.66 1.05 มาก

7.4 มีบุคคลจากภายนอกชุมชน เขามาตดิตามการดําเนินกิจกรรมหรือโครงการของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3 (7.90)

17 (44.7)

8 (21.1)

9 (23.7)

1 (2.60)

3.32 1.02 ปานกลาง

รวม 3.40 0.997 ปานกลาง

คาเฉล่ียรวม 3.65 0.907 มาก

จากตารางที่ 4.2 ผลการวิเคราะหขอมูลคาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับบทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยรวมพบวามีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.65)

เมื่อวิเคราะหจําแนกในแตละดาน และแตละขอพบวา ดานสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยรวมมีคาเฉลี่ยอยู

ในระดับมาก ( x = 3.75) เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 ลําดับ ไดแก ผูนําเคยไดรับการอบรมเพิ่มพูนความรูเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.87) รองลงมาซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากัน คือ ผูนํามีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง และผูนํามีการถายทอดความรูเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงใหคนในชุมชนไดรับทราบ ( x = 3.66) สวนประเด็น ผูนํามีการจัดเวทีในการถายทอดความรูความเขาใจในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงใหกับคนในชุมชนอยางตอเนื่อง และ

Page 71: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

61

ผูนํามีการประยุกตใชความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเพื่อพัฒนาชุมชนของตนเอง มีคาเฉลี่ยเทากันอีกเชนกัน ( x = 3.66)

ดานการสรางการมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก ( x = 3.79) เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อันดับ ไดแก มีการจัดตั้งกลุมในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 4.18) ชุมชนมีการกําหนดขอตกลงรวมกันในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.74) และผูนํามีการจัดเวทีในการระดมความคิดเพื่อหาแนวทางในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.47)

ดานการปลูกจิตสํานึกในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก ( x = 3.66) เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อันดับ ไดแก ผูนํามีกิจกรรมในการปลูกจิตสํานึกใหชุมชนไดตระหนักถึงคุณคาและผลกระทบของทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 4.00) ผูนํามีการจัดทําปายประกาศ ปายรณรงคในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.71) และผูนํามีการจัดทําเอกสารในการเผยแพรความรูเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x =3.29)

ดานการจัดกิจกรรมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก ( x = 3.72) เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อันดับ ไดแก จัดใหชุมชนมีการประชุม พูดคุยกันถึงปญหาดานการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.87) จัดใหชุมชนมีการรณรงค สรางจิตสํานึกใหคนในชุมชนดูแลรักษาทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.82) และชุมชนไดมีการใหความรูเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงใหแกคนชุมชน รวมทั้งชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลักษณะการประกอบอาชีพประมง เพื่อลดปญหาที่มีผลกระทบตอทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซ่ึงมีคะแนนเฉลี่ยเทากัน ( x = 3.74)

ดานการประสานการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกเขามาในชุมชน โดยรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก ( x = 3.61) เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อันดับ ไดแก จัดใหมีหนวยงานภายนอกเขามาอบรมใหความรูดานการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.71) จัดใหมีหนวยงานภายนอกเขามาศึกษาขอมูล ศึกษาปญหาดานการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเพื่อแกไขปญหาเชิงวิชาการ ( x = 3.66) และจัดใหมีบุคลากรจากภายนอกเขามารวมดําเนินกิจกรรมการจัดการทรัพยากรทาวงทะเลและชายฝงรวมกับคนในชุมชน ( x = 3.63)

Page 72: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

62

และดานการสรางการมีสวนรวมจากบุคคลภายนอกชุมชน โดยรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับปานกลาง ( x = 3.40) เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย 3 อันดับ ไดแก มีบุคคลภายนอกชุมชน เขามาทํากิจกรรมดานการรักษาสิ่งแวดลอมและการจัดการชายฝงทะเล ( x = 3.66) มีบุคคลภายนอกชุมชนเขามารวมศึกษาปญหา วิเคราะหปญหาดานชายฝงทะเล ( x = 3.42) และมีบุคคลจากภายนอกชุมชน เขามาติดตามการดําเนินกิจกรรมหรือโครงการของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.32)

ตารางที่ 4.3 สรุปคาเฉลี่ยบทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

บทบาทของผูนําชุมชน x S.D การแปลผล อันดับ ดานสงเสริมความรูความเขาใจเกีย่วกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3.75 0.769 มาก 2

ดานการสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3.79 0.939 มาก 1

ดานการปลูกจิตสํานึกในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3.66 1.01 มาก 4

ดานการจัดกิจกรรมใหกับชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3.72 0.773 มาก 3

ดานการประสานการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกเขามาในชุมชน

3.61 0.951 มาก 5

ด า น ก า ร ส ร า ง ก า ร มี ส ว น ร ว ม กั บบุคคลากรภายนอกชุมชน

3.40 0.997 ปานกลาง 6

เฉล่ียรวม 3.65 0.907 มาก

จากตารางที่ 4.3 สรุปคาเฉลี่ยบทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ในแตละดาน เรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก ดานการสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.79) ดานสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.75) ดานการจัดกิจกรรมใหกับชุมชนในการจัดการ

Page 73: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

63

ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.72) ดานการปลูกจิตสํานึกในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.66) ดานการประสานการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกเขามาในชุมชน ( x = 3.61) และดานการสรางการมีสวนรวมกับบุคลากรภายนอกชุมชน ( x = 3.40)

4.3 ขอคิดเห็นเพิ่มเติม และขอเสนอแนะ

ตารางที่ 4.4 ขอเสนอแนะเพิ่มเติมของกลุมตัวอยาง ในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม จํานวน (คน) รอยละ 1 . ควรมีการสนับสนุนพันธุปู ปลา จากหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาปลอยในพื้นที่

6 23.1

2. ตองการใหมีหนวยงานจากภายนอกเขามาสนั บสนุ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง าน โด ย เ ฉพ า ะงบประมาณ

4 15.4

3 . ควรมีการสร า ง เครื อข ายการอนุ รักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝงกับตางพื้นที่ในชุมชนอื่น ๆ

2 7.70

4. เสริมสรางความเขมแข็งของกิจกรรมกลุมในชุมชนที่ดําเนินการอยูแลว และทําใหเปนศูนยเรียนรูดานประมงชายฝงที่สําคัญ

3 11.5

5. ตองการใหจัดการปญหาการบุกรุกของเรือ ลากแขก อวนรุน ออกจากพื้นที่ประมงชายฝง

10 38.5

6. ตองการใหมีการนําปะการังเทียมมาทิ้งในทะเล

1 3.80

รวม 26 100

(กลุมตัวอยางตอบคําถามในสวนนี้ จํานวน 26 คน)

Page 74: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

64

จากตารางที่ 4.4 กลุมตัวอยางมีขอเสนอแนะเพิ่มเติมในเรื่องการจัดการทรัพยากรชายฝงและทะเล ในประเด็นตองการใหจัดการปญหาการบุกรุกของเรือลากแขก อวนรุน ออกจากพื้นที่ประมงชายฝง มากที่สุด รอยละ 38.5 รองลงมา คือ เร่ืองควรมีการสนับสนุนพันธุปู ปลา จากหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาปลอยในพื้นที่ รอยละ 23.1 และตองการใหมีหนวยงานจากภายนอกเขามาสนับสนุนการดําเนินงาน โดยเฉพาะงบประมาณสําหรับการดําเนินงานในชุมชน รอยละ 15.4 ตามลําดับ

Page 75: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี มีวัตถุประสงคในการศึกษา ดังนี้

1. เพื่อศึกษาถึงบทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 2. เพื่อศึกษาปญหาอุปสรรค และแนวทางในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

5.1 สรุปผล

5.1.1 ลักษณะทางประชากรศาสตรของกลุมตัวอยาง จากกลุมตัวอยาง ที่เปนผูนําชุมชน เฉพาะชุมชนชายฝงทะเลในเขตอําเภอแหลมสิงห

จังหวัดจันทบุรี จํานวน 5 ชุมชน ไดแก บานบางสระเกา บานบางกะไชย บานเกาะแมว บานเกาะ เปริด และบานหนองชิ่ม ทั้งหมด 38 คน เปนเพศชายมากกวาเพศหญิง โดยมีเพศชายรอยละ 68.4 สวนเพศหญิง รอยละ 31.6 กลุมตัวอยางสวนใหญ มีอายุระหวาง 30 – 50 ป รอยละ 71.1 มีอายุ 50 ปขึ้นไป รอยละ 26.3 และมีอายุต่ํากวา 30 ป รอยละ 2.60 ตามลําดับ โดยมีสถานภาพสมรสแลว มากที่สุด รอยละ 86.8 รองลงมาสถานภาพโสด รอยละ 7.90 และสถานภาพหยา/แยกกันอยู รอยละ 5.30 และมีระดับการศึกษาประถมศึกษา หรือต่ํากวา หรือไมไดรับการศึกษา มากที่สุด รอยละ 68.4 รองลงมา ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน รอยละ 23.7 โดยมากประกอบอาชีพ เกษตรกร/ประมง รอยละ 68.4 รองลงมา อาชีพรับจางทั่วไป รอยละ 13.2 ทั้งนี้กลุมตัวอยางรอยละ 52.6 มีรายไดระหวาง 5,001 – 10,000 บาทตอเดือน และมีรายไดต่ํากวา 5,000 บาท รอยละ 23.7 รายไดระหวาง 10,001 – 15,000 บาท รอยละ 18.4 และมีรายได 15,000 บาทขึ้นไป รอยละ 5.30 ตามลําดับ

Page 76: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

66

5.1.2 บทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ผลการศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

พบวาในภาพรวมผูนําชุมชนมีบทบาทตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อยูในระดับมาก โดยมีคาเฉล่ีย 3.65 เมื่อพิจารณาในรายละเอียด โดยจําแนกเปนประเด็นพบวา ดานการสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง มีคาเฉล่ียมากที่สุด ( x = 3.79) รองลงมา คือ ดานสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.75) ดานการจัดกิจกรรมใหกับชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.72) ดานการปลูกจิตสํานึกในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ( x = 3.66) ดานการประสานการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกเขามาในชุมชน ( x = 3.61) และดานการสรางการมีสวนรวมกับบุคลากรภายนอกชุมชน ( x = 3.40) ตามลําดับ

5.2 อภิปรายผล

การศึกษาเรื่อง บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาถึงบทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง และศึกษาปญหาอุปสรรค และแนวทางในการเสริมสรางบทบาทผูนําในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงอยางยั่งยืน ซ่ึงมีขอนาสังเกตและควรนํามาอภิปรายผลดังนี้

ผลการศึกษาขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง สะทอนใหเห็นวา เพศชายยังมีบทบาทสําคัญของการเปนผูนําชุมชน ในขณะที่เพศหญิงก็เร่ิมเขามามีบทบาทมากขึ้น หากเทียบกับสมัยกอน นอกจากนี้ผูนําสวนใหญในชุมชน เปนกลุมผูมีอายุที่กําลังเขาสูชวงสูงวัย มากกวา ผูนําที่มีอายุนอย สอดคลองกับลักษณะของความเปนผูนําที่นักวิชาการหลายทานไดนําเสนอวา จะตองเปนผูไดรับการยอมรับ เปนผูที่มีความรูความสามารถ และเปนที่เคารพของคนในชุมชน ในขณะที่ระดับการศึกษาของผูนําชุมชนสวนใหญ อยูในระดับประถมศึกษา หรือไมไดศึกษาเลาเรียน ซ่ึงผูศึกษาตั้งเปนขอสังเกตไดวา ลักษณะของผูนําที่ตองมีความรูความสามารถนั้น ในมุมมองของชุมชน ไมไดมองที่ระดับการศึกษา แตใหความสําคัญกับการเรียนรู และประสบการณที่เกิดจาการดําเนินชีวิต การประกอบอาชีพ และความศรัทธาของคนในชุมชน ซ่ึงเปนไปตามลักษณะของผูนําตามธรรมชาติ หรือผูนําแบบไมเปนทางการ สวนดานการประกอบอาชีพของผูนํา เนื่องจากการศึกษาเรื่อง บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อําเภอแหลมสิงห จังหวัดจันทบุรี

Page 77: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

67

มีกลุมเปาหมายเฉพาะกลุมที่มุงไปในชุมชนที่อยูริมชายฝงทะเล ดังนั้น จึงพบวา อาชีพของผูนํา ในกลุมตัวอยางของการศึกษาครั้งนี้ สวนใหญประกอบอาชีพทางดานประมง หรือเกษตรกรรม ซ่ึงสอดคลองกับบริบทเชิงพื้นที่ หรือ ขอบเขตดานพื้นที่ในการศึกษาครั้งนี้ สวนในดานรายได พบวา กลุมตัวอยางมีรายไดอยูในระดับปานกลาง คือรายได 5,000 – 10,000 บาทตอเดือน ตามสภาพวิถีชีวิตของชาวประมงชายฝงขนาดเล็ก ที่รายไดสวนใหญมาจากการทําประมง ซ่ึงมีขอสังเกตที่เกิดจากผลการศึกษาในครั้งนี้วา แนวโนมชาวบานจะมีรายไดจากการทําประมงลดลง เนื่องจากสัตวทะเลเริ่มลดจํานวนลง ในขณะที่ผูประกอบอาชีพประมงยังมีจํานวนมาก ประกอบกับการถูกเรือประมงขนาดกลาง และขนาดใหญซ่ึงมีเครื่องจับสัตวทะเลที่มีประสิทธิภาพมากกวาเขามาบุกรุกในพื้นที่ ซ่ึงไมเพียงแตจะเขาแยงชิงทรัพยากรทางทะเลเทานั้น แตอุปกรณตาง ๆ ที่นํามาใช ไดทําลายทรัพยากรทางทะเลไปดวย ดวยเหตุนี้ชาวบานในชุมชน และผูนําชุมชน จึงสะทอนผานผลการศึกษาในครั้งนี้ เรียกรองใหหนวยงานที่เกี่ยวของเขามาดําเนินการกับกลุมชาวประมงขนาดกลางและขนาดใหญที่เขามาบุกรุกในพื้นที่ของชาวประมงรายยอย หรือประมงพื้นบานอยางจริงจัง ซ่ึงการดําเนินงานในฐานะของผูนําชุมชน สามารถทําไดเพียงการนําชาวบานในชุมชนชวยกันเฝาระวัง แตก็ไมสามารถปองกันแกไขไดอยางแทจริง

ในสวนของผลการศึกษาบทบาทของผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซ่ึงผูศึกษาไดกําหนดกรอบแนวคิดเรื่องบทบาทของผูนําไว 6 ดาน คือ ดานสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดานการสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดานการปลูกจิตสํานึกในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดานการจัดกิจกรรมใหกับชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดานการประสานการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกเขามาในชุมชน และดานการสรางการมีสวนรวมกับบุคลากรภายนอกชุมชน ซ่ึงการอภิปรายผลจะนําดานที่นาสนใจ และมีขอสังเกตมาอภิปรายผล ดังนี้

ดานสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซ่ึงมีคาเฉลี่ยแปลผลในระดับมาก ( x = 3.75) เมื่อจําแนกเปนประเด็นยอย พบวา ผูนําเคยไดรับการอบรมเพิ่มพูนความรูเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง มีคาเฉล่ียมากที่สุด สะทอนใหเห็นวา ผูนําชุมชนสวนใหญไดรับขอมูล และการอบรมใหความรูในเรื่องการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซ่ึงถือวาเปนปจจัยที่สําคัญอยางมากที่จะชวยกระตุนใหผูนําเกิดแรงผลักดันใจในการขับเคลื่อนกิจกรรมตางๆของชุมชน ใหเปนไปในทิศทางที่ถูกตอง สอดคลองกับสถานการณ และหลักวิชาการ หรือกลาวไดอีกนัยหนึ่งวา การพัฒนาผูนําใหมีลักษณะของการเปนผูที่มีความรูความสามารถ จะตองดําเนินการควบคูกันไประหวาง ความรูที่เกิดจากประสบการณจริงในการแกไขปญหาในชุมชน และ ความรูที่เกิดจากการเขารวมอบรม สัมมนา หรือการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับบุคคลอื่น

Page 78: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

68

นอกจากนี้ ผูนําชุมชนยังมีการถายทอดความรูที่ไดรับ ไปสูชาวบานในชุมชน ซ่ึงเปนบทบาทของผูนําชุมชน ที่จะตองสรางความเขาใจที่ถูกตองใหกับชาวบาน สอดคลองกับประเภทของผูนํา คือ ผูนําที่มีความสามารถพิเศษ สามารถอธิบาย ถายทอดความรูใหกับชาวบานไดอยางเขาใจ เปนไปในแนวทางเดียวกัน ซ่ึงจากผลการศึกษาในประเด็นนี้ ผูศึกษามีความคิดเห็นวา ปจจัยสําคัญอีกประการหนึ่งในการแสดงบทบาทของผูนําชุมชน คือ การสื่อสารระหวางกัน หรือ การสรางปฏิสัมพันธที่ดีระหวางกันในชุมชน สอดคลองกับผลการศึกษาของ วรารัตน ตรีธนวัฒ (2544: บทคัดยอ) ศึกษาดานศักยภาพกับการมีสวนรวมของประชาชนในการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเลตั้งแตปากแมน้ําเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ถึงปากแมน้ําปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ ผลการศึกษาพบวา ตัวแปรที่สามารถอธิบายการมีสวนรวมในการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเลไดดีที่สุด คือ การติดตอส่ือสารกับสื่อบุคคล ศักยภาพของผูนําชุมชนตามทัศนะของประชาชน และการเปดรับขาวสารทั่วไปตามลําดับ

อยางไรก็ตาม แมผูนําจะแสดงบทบาทในการศึกษาเรียนรู เขารับอบรมความรูดานการจัดการทรัพยากรชายฝงและทะเล และมีการถายทอดใหกับคนในชุมชนก็ตาม แตมีขอสังเกตประการหนึ่งจากผลการศึกษา คือ การประยุกตใชความรูมาสูการปฏิบัติเพื่อการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงในชุมชน และการถายทอดความรูอยางตอเนื่อง เปนประเด็นที่มีคาเฉลี่ยนอยกวาประเด็นอื่น จึงเปนประเด็นที่ผูนําควรมีการพัฒนาบทบาทในสวนนี้ใหชัดเจนมากขึ้น เพราะนอกจากจะทําใหเกิดกระบวนการเรียนรูจากการนําองคความรูมาลงมือปฏิบัติจริงใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในชุมชนแลว ยังเปนการเสริมสรางชุมชนใหเปนชุมชนแหงการเรียนรู และการจัดการตนเอง แตทั้งนี้ผูนําจะตองดําเนินการอยางตอเนื่อง

การสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซ่ึงมีคาเฉลี่ยแปลผลในระดับมาก ( x = 3.79) ซ่ึงเปนบทบาทของผูนําชุมชนที่มีคาเฉลี่ยมากที่สุด นับวาเปนปจจัยที่นาสนใจเปนอยางมาก และชุมชนที่เปนพื้นที่เปาหมายของการศึกษาครั้งนี้ มีผูนําที่ใหความสําคัญกับกระบวนการมีสวนรวม สอดคลองกับหลักการพัฒนาชุมชนตามแนวกระบวนทัศนใหม ที่เนนกระบวนการมีสวนรวม เปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนงานพัฒนาในชุมชน โดยเฉพาะการเสริมพลังคนในชุมชนใหเกิดขึ้น (Empowerment) ดวยกระบวนการกลุม (Group) ซ่ึงจากผลการศึกษา พบวา ผูนําชุมชนไดเสริมสรางการจัดตั้งกลุมการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝงในชุมชนใหเกิดขึ้น เปนประเด็นยอยที่มีคาเฉล่ียมากที่สุด รองลงมา คือ ชุมชนมีการกําหนดขอตกลงรวมกันในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง แตถึงอยางไรก็ตาม ผูศึกษามีขอสังเกตวา แมชุมชนจะมีการจัดตั้งกลุมการอนุรักษ และการกําหนดกติกาขอตกลงในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเกิดขึ้นในเชิงรูปธรรม แตกระบวนการที่จะสรางใหเกิดขึ้นเปนสงที่

Page 79: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

69

นาสนใจมากกวา เพราะผลการศึกษา ในประเด็นยอยเร่ืองการจัดเวทีในการระดมความคิดเพื่อหาแนวทางในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง พบวา อยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ย 3.47 ซ่ึงสะทอนภาพอะไรบางอยางในการทําหนาที่ของผูนําชุมชนถึงกระบวนการสรางการมีสวนรวมวาใชเทคนิค วิธีการ หรือเครื่องมือใด ดังนั้นการใชเวทีชาวบาน หรือ การประชุมระดมความคิดรวมกันของคนในชุมชน เปนเครื่องมือสําคัญในการสรางการมีสวนรวมอยางแทจริง ภายใตหลักการประชาธิปไตยที่ผูนําชุมชน จะไมไดทําหนาที่ในการชี้นํา หรือ กําหนดนโยบาย กฎเกณฑใด ๆ เพียงคนเดียว แตผูนําชุมชน ตองเปนทําหนาที่เปนคุณอํานวย (Facilitator) ในการสงเสริม สนับสนุนใหเกิดการพุดคุยกันในชุมชนผานเวทีชาวบาน สอดคลองกับผลการศึกษาของ ธฤษวรรณ นนทพุทธ (2545: บทคัดยอ) เร่ือง การพัฒนากระบวนการเรียนรูโดยชุมชนในการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ: กรณีศึกษาปาชุมชนเขาหัวชาง ตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง ซ่ึงพบวา การพัฒนากระบวนการเรียนรูใหแกสมาชิกในชุมชน มีแนวโนมจะถายทอดผานเวทีของชุมชน นั่นหมายความวา เวทีชาวบาน เปนเครื่องมือที่ชวยสรางกระบวนการเรียนรู และเสริมสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนไดเปนอยางดี และชุมชนตางๆ ใหความสนใจกับเรื่องดังกลาวมากขึ้น

ดานการจัดกิจกรรมใหกับชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ผลการศึกษามีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก ( x = 3.72) โดยสวนใหญจะเนนกิจกรรมเรื่องการใหความรู การรณรงคสรางจิตสํานึก และการพูดถึงปญหาการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง แตผูศึกษามีขอสังเกตวา แมชุมชนจะมีการขับเคลื่อนกิจกรรมของชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงก็ตาม แตกิจกรรมดังกลาวเปนเพียงการกระตุนความรูสึก ปลุกจิตสํานึก และสรางการรับรูใหเกิดขึ้น แตยังไมถึงขั้นเกิดการตระหนัก และลงมือปฏิบัติอยางจริงจัง ดังจะเห็นไดจากผลการศึกษาในประเด็นเรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดปญหาที่มีผลกระทบกับทรัพยากรทางทะเล และการจัดกิจกรรมรักษาความสะอาด มีคาเฉลี่ยนอยกวาประเด็นอื่น อาทิ ประเด็นการรณรงคสรางจิตสํานึก ดังนั้น ผูนําควรมุงไปสูกิจกรรมในเชิงปฏิบัติการใหมากขึ้น เพราะเพียงแคการใหความรู และสรางจิตสํานึก ไมไดเปนคําตอบของการแกไขปญหาที่แทจริง หากไมไดนําไปสูการลงมือทําใหเกิดขั้นจริง อยางไรก็ตาม ผูศึกษามีความเห็นเพิ่มเติมวา ในการจัดกิจกรรมของชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ผูนําชุมชนควรสงเสริมใหคนในชุมชน นําทุนชุมชนในดานอ่ืนมาใชประยุกตใช โดยเฉพาะเรื่องการเชื่อมโยงการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเขากับวัฒนธรรมชุมชน ประเพณีของชุมชน หรือ ภูมิปญญาที่เปนวิถีชีวิตของชุมชน ดังเชนผลการศึกษาของคํานวณ นวลสนอง (2543: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง ภูมิปญญาชาวบานกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ: ศึกษากรณีการจับผ้ึงของชาวบาน ตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง พบวา ภูมิปญญาในการจับผ้ึงของชุมชนตะโหมดที่สืบทอดกันมาแตโบราณ สามารถชวย

Page 80: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

70

รักษาความสมดุลของระบบนิเวศและความสัมพันธระหวางมนุษยกับธรรมชาติใหเกิดความสมดุลได

ดานการประสานการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกเขามาในชุมชน ผลการศึกษาพบวา มีคาเฉลี่ยเปนอันดับที่ 5 จาก 6 ดาน ( x = 3.61) โดยเฉพาะประเด็นยอยเร่ืองการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานภายนอกเพื่อมาดําเนินกิจกรรมในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซ่ึงมีคาเฉลี่ยต่ํากวาประเด็นอื่น ๆ ผูศึกษามีความคิดเห็นวา ความเปนผูนําชุมชน ควรมีคุณลักษณะสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การเปนนักเชื่อมประสาน มีความสามารถที่จะแสวงหาทรัพยากรจากภายนอกเขาไปในชุมชนได ดังนั้น ผลการศึกษาครั้งนี้ สะทอนใหเห็นวา ความเปนผูนําในงานพัฒนาชุมชนในยุคปจจุบันนี้ จําเปนที่จะตองมีการเชื่อมประสาน ทํางานรวมกับองคกรภายนอกได ทั้งหนวยงานภาครัฐ เอกชน องคกรอิสระ และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เพื่อหาแรงเสริมสนับสนุนปจจัยการดําเนินงานจากภายนอกเขาไปในชุมชน อาทิ งบประมาณ เทคโนโลยี เปนตน ทั้งนี้การดําเนินงานของชุมชนที่ไดรับการสนับสนุนจากองคกรภายนอก จากผลการศึกษาพบวา เปนปจจัยดานองคความรู และการเขามาศึกษาขอมูล ศึกษาปญหาของชุมชน ซ่ึงกลไกดังกลาวยังไมเพียงพอที่จะขับเคลื่อนการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง แตผูนําชุมชน จะตองดําเนินงานพัฒนาในลักษณะเชิงรุกมากขึ้น และสามารถจัดการตนเองใหได พึ่งตนเองใหไดในระดับหนึ่งกอน แลวจึงรองรับการชวยเหลือจากหนวยงานภายนอก

และดานการสรางการมีสวนรวมกับบุคลากรภายนอกชุมชน ( x = 3.40) ผลการศึกษา พบวา มีคาเฉลี่ยเปนอันดับสุดทาย ซ่ึงมีทิศทางไปในทางเดียวกันกับประเด็นดานการประสานการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกเขามาในชุมชน ซ่ึงสะทอนใหเห็นถึงปญหาการทําหนาที่ของผูนําชุมชนในการสรางความรวมมือกับองคกรภายนอก โดยเฉพาะกระบวนการมีสวนรวมในการทํางานรวมกันระหวางชุมชนกับหนวยงานภายนอก ซ่ึงผลการศึกษาพบวา ประเด็นที่นาหวงใย คือ เร่ือง การศึกษาวิเคราะหปญหา การวางแผน และการติดตามประเมินผล ซ่ึงผลการศึกษาพบวา 3 ประเด็นนี้มีคาเฉลี่ยในระดับต่ําหากเทียบกับประเด็นอื่น ๆ ที่ไดกลาวมาแลว

ดังนั้น จากการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษา พบวา ผูนําชุมชนมีบทบาทตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ในดานการสรางการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝงมากที่สุด รองลงมา คือ ดานสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดานการจัดกิจกรรมใหกับชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดานการปลูกจิตสํานึกในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ดานการประสานการสนับสนุนจากหนวยงานภายนอกเขามาในชุมชน และดานการสรางการมีสวนรวมกับบุคคลากรภายนอกชุมชน ตามลําดับ

Page 81: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

71

5.3 ขอเสนอแนะจากการศึกษา

1. แมผูนําจะไดรับอมรมความรูดานการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง แตก็ควรมีการนําความรูนั้นมาถายทอดใหกับคนในชุมชน ดวยวิธีการที่เหมาะสม อาทิ การจัดเวทีชาวบาน การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู เปนตน

2. ผูนําควรมีความรู หรือ ประสบการณที่ไดแลกเปลี่ยนกับผูอ่ืน มาประยุกตใชใหเกิดประโยชนกับชุมชน โดยสรางเปนกิจกรรม หรือโครงการที่ใหชาวบานในชุมชนเขามามีสวนรวมในการกําหนด

3. ผูนําชุมชนควรพัฒนาตนเอง ใหเปนผูนําแหงการเปลี่ยนแปลง มิใชเพียงแตมุงสรางการรณรงค ปลุกจิตสํานึก แตควรสรางกิจกรรมขับเคลื่อนเชิงงานพัฒนา เพื่อใหชุมชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อันจะนํามาสูการลดปญหาดานทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

4. ผูนําชุมชนตองสรางบรรยากาศใหเปนชุมชนแหงการเรียนรู โดยผูนําชุมชนจัดใหชาวบานไดมารวมพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสะทอนปญหาของชุมชน พรอมทั้งรวมกันหาแนวทางการแกไขรวมกันในลักษณะของเวทีชาวบานใหมากขึ้น ขณะเดียวกันผูนําชุมชนตองปรับบทบาทตนเองใหเปนผูนําในลักษณะคุณอํานวย (Facilitator)

5. ผูนําควรมีการนําทุนของชุมชน ในมิติเชิงวัฒนธรรม ภูมิปญญา และประเพณีความเชื่อของชุมชน มาใชเปนเครื่องมือในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ไมใชมุงเนนแตกิจกรรมเชิงรณรงคหรือกิจกรรมดูแลรักษาชายฝงแบบหลักปฏิบัติทั่วไป

6. ผูนําชุมชนควรมีการขยายการเรียนรู พัฒนาจากระดับกลุม และเชื่อมโยงเปนเครือขายการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง พรอมทั้งควรมีการวางเปาหมายการพัฒนาชุมชนใหชัดเจน ในการมุงไปสูการยกระดับชุมชนใหเปนศูนยการเรียนรูการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

7. ผูนําชุมชนควรมีการเชื่อมประสานกับหนวยงานภายนอก และสรางศักยภาพความเปนผูนําใหเปนที่ยอมรับ เพื่อเปนแรงดึงดูดความรวมมือจากหนวยงานภายนอก อันจะนํามาซึ่งการนําทรัพยากรจากภายนอกเขามาสูคนในชุมชน อาทิ งบประมาณ เทคโนโลยี หรือองคความรูใหม ๆ

8. ผูนําชุมชน ควรใหความสําคัญกับกระบวนการพัฒนา แมวาจะทํางานรวมกับหนวยงานภายนอก โดยดําเนินงานอยางเปนขั้นเปนตอน ใหความสําคัญของกระบวนการพัฒนา ไดแกการศึกษาและวิเคราะหปญหา การวางแผน การลงมือปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล

Page 82: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

 

 

72

5.4 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป

1. ควรจะมีการศึกษาแนวทางการใชวัฒนธรรมชุมชน ภูมิปญญาทองถ่ิน และประเพณีของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

2. ควรมีการศึกษาคุณลักษณะของผูนําชุมชน เพื่อสรางความเขาใจถึงคุณลักษณะของผูนําที่เปนอยูในปจจุบัน และจะไดนําไปสูแนวทางการพัฒนาศักยภาพผูนําเพื่อใหสอดคลองกับสถานการณในปจจุบัน หรือ สถานการณที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคต

Page 83: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

บรรณานุกรม

กรมเจาทา กระทรวงคมนาคม. 2539. โครงการศึกษาสํารวจออกแบบเพื่อแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเลอาวไทยตอนบน. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงคมนาคม.

กรมควบคุมมลพิษ . 2540. บันทึกสีน้ํ าตาล รายงานสถานการณมลพิษของประเทศไทย . กรุงเทพมหานคร: บริษัท ฮีช จํากัด.

กรรณิกา ชมดี. 2542. การมีสวนรวมของประชาชนที่มีผลตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การศึกษาเฉพาะกรณีโครงการสารภี ตําบลทาชาง อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาผูใหญ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

กฤติกา บุณยชาติพิสุทธิ์. 2542. ความสัมพันธระหวางการใชท่ีดินบริเวณชายฝงกับการเปลี่ยนแปลงของชายฝงทะเลจังหวัดเพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

กิติ ตยัคคานนท. 2532. เทคนิคการสรางผูนํา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพบัตเตอรฟลาย. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์. 2543. คล่ืนลูกท่ี 5 ปราชญสังคม. กรุงเทพมหานคร: บริษัทซัคเซส มีเดีย

จํากัด. คํานวล นวลสนอน. 2543. ภูมิปญญาชาวบานกับกาจัดการทรัพยากรธรรมชาติ: ศึกษากรณีการจับ

ผึ้งของชาวบาน ตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง. พัทลุง: สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ

จิระศักดิ์ เจริญสุข. 2539. ภาวะผูนําของจุฬาราชมนตรีในสังคมไทยชวงป 2524 - 2538 . สารนิพนธ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ชมภารี ชมพูรัตน. 2545. ผลของการนําพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 ไปปฏิบตั:ิ กรณีศึกษาอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธมหาบณัฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ฐิติมา เจริญฐิติรัตน และมนตรี ชูวงษ. 2545. ธรณีวิทยาเบื้องตน เอกสารประกอบการฝก. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ (เอกสารอัดสําเนา).

ฐิติยา เทวัญอิทธิกร. 2544. การจัดการชายฝงทะเลแบบบูรณาการบริเวณสวนเหนือของอาวไทยตอนใน. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ดนัย เทียนพุฒ. 2534. สองโลกทรรศนักบริหาร. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพจุฬาลงกรณ.

Page 84: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

74

โต สมบูรณ. 2544. การมีสวนรวมชุมชนในการควบคุมอาชญากรรมตานยาเสพติดและการพนันในจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ถนอม เจริญลาภ. 2550. กฎหมายทะเล เขตทางทะเลของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สํานักพิมพวิญูชน จํากัด.

ทศพล กฤตยพิสิฐ. 2538. การมีสวนรวมของกํานัน ผูใหญบาน เขตหนองจอกที่มีตอโครงการ/กิจกรรมการพัฒนาตามแนวทาง “บรม” และ “บวร” เพื่อสรางสรรคอุดมการณแผนดินธรรมแผนดินทองหนองจอก. วิทยานิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมสงเคราะห บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ทองหลอ เดชไทย. 2544. ภาวะผูนํา : เพื่อการบริหารคุณภาพสูความเปนเลิศ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล.

ทองแทน เลิศสัทธภรณ. 2546. ยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดลอมชายฝงจังหวัดสมุทรสาคร. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.

ธฤษวรรณ นนทพุทธ. 2545. กระบวนการเรียนรูโดยชุมชนในการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศ: กรณีศึกษาปาชุมชนเขาหัวชาง ตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง . วิ ท ย า นิ พ น ธ วิ ท ย า ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ศึ ก ษ า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.

นรินทรชัย พัฒนพงศา . 2538. การมีสวนรวม หลักการพื้นฐาน เทคนิค และกรณีตัวอยาง . กรุงเทพมหานคร: ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

นัฎกุล บุษบงค. 2547. การศึกษาปญหาสิ่งแวดลอมในลักษณะภาพรวมของพื้นท่ีชายฝงทะเลดานตะวันออกของจังหวัดระยอง. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

นิรันดร จงวุฒิเวศน. 2527. แนวทางการพัฒนาองคการบริหารสวนตําบล. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกลา.

ประมุข แกวเนียม. 2529. คูมือการวางแผนพัฒนาและจัดการชายฝงทะเลสําหรับประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย.

ปธาน สุวรรณมงคล. 2543. การกระจายอํานาจ สูองคการปกครองสวนทองถิ่น: 18 ป รัฐศาสตร มสธ.รวมบทความวิชาการรัฐศาสตร สาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยสโุขทัยธรรมาธิราช. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมหาวทิยาลัย ธรรมศาสตร.

ปวีณา ดานกุล. 2544. การจัดการชายฝงแบบบูรณาการบริเวณอาวไทยตอนในฝงตะวันตก. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 85: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

75

ปาริชาติ วลัยเสถียร.2543. กระบวนการและเทคนิคการทํางานของนักพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: โครงการเสริมสรางการเรียนรูสูชุมชนเปนสุข.

ปาริชาติ วลัยเสถียร, พระมหาสุทธิตย อบอุน, สหัสยา วิเศษ และจันทนา เบญจทรัพย. 2546. กระบวนการและเทคนิคการทํางานของนักพัฒนา. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โครงการเสริมสรางการเรียนรูสูชุมชนเปนสุข.

พิษณุ สรอยฤทธิ์. 2549. การเปรียบเทียบสภาพแวดลอม และการจัดการชายฝงทะเลที่มีการพัฒนาแตกตางกันบริเวณชายฝงทะเลปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

พิสิฐ ศกรียพงศ. 2542. การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรณีและการทําเหมืองแร, วารสารภูมิศาสตร. 27(1): 47 - 59.

ไพรัตน เดชะรินทร. 2531. นโยบายและกลวิธีการมีสวนรวมของชุมชนในยุทธศาสตรการพัฒนาในปจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.

วรารัตน ตรีธนวัต. 2544. ศักยภาพกับการมีสวนรวมของประชาชนในการแกไขปญหาการกัดเซาะชายฝงทะเลตั้งแตปากแมน้ําเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ถึงปากแมน้ําปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

วิลาวัณย ภมรสุวรรณ. 2537. แนวทางพัฒนาพื้นท่ีชายฝงทะเลจังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สมภพ รุงสุภา. 2546. การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ําในแมน้ําบางปะกงและปริมาณของเสียระหวาง พ.ศ.2525 – 2545. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.

สมพร ประกอบชาติ . 2536. สภาพทรัพยากรชายฝง กิจกรรมการใชประโยชนยุทธวิธีการจัดการจากแผนการจัดการทรัพยากรชายฝงในระดับชาติ และในจังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต วิทยาลัยครูเพชรบุรี.

สมพันธ เตชะอธิก . 2537. คู มือและทิศทางการพัฒนาผูนําชาวบานเพื่อแกปญหาชนบท . กรุงเทพมหานคร: เจริญวิทยการพิมพ.

สัญญา ศิวิโรจน. 2541. ศึกษากรณีนายอนันต อนันตกุล: ผูนําการบริหารของปลัดกระทรวงมหาดไทย. วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม. 2540. รายงานคุณภาพสิ่งแวดลอม. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม.

Page 86: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

76

อคิน ระพีพัฒน. 2531. การวางแผนแบบมีสวนรวมเพื่อพัฒนาทองถิ่น. ขอนแกน: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแกน.

อัมพันธ พินธุกนก. 2541. ปาชายเลนกับการอนุรักษทรัพยากรชายฝงทะเล. กรุงเทพมหานคร: สํานักนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม.

เอกชัย กี่สุขพันธ. 2538. การบริหารทักษะและการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพสุขภาพใจ. . 2547. การมีสวนรวม หลักการพื้นฐาน เทคนิค และกรณีตัวอยาง. พิมพ

คร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สิริลักษณการพิมพ. Mokhtar and Ghani Aziz. 2003. Integrated Coastal Zone Management Using the Ecosystems

Approach Some Perspectives in Malaysia. Malaysia: Ocean & Coastal Management Division.

Tagliani, Landazuri and Reis. 2003. Integrated Coastal zone Management in the Patos Lagoon Estuary: Perspectives in Context of Developing Country. Malaysia: Ocean & Coastal Management Division.

Page 87: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

ภาคผนวก

Page 88: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

78

แบบสอบถาม เร่ือง บทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง อําเภอแหลงสิงห จังหวัดจันทบุรี

แบบสอบถามฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอม คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันพัฒนบริหารศาสตร ดังนั้นขอมูลที่ไดจากการลงพื้นที่เก็บขอมูลจะนํามาใชเปนผลการศึกษาในปริญญานิพนธเทานั้น ตอนที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงใน หนาขอความที่ตรงกับสภาพความเปนจริงเกี่ยวกับตัวทานหรือเติมขอความใน

ชองวาง สําหรับเจาหนาที่ 1. เพศ 1) ชาย 2) หญิง 2. อายุ..........................ป 3. สถานภาพสมรส 1) โสด 2) สมรส 3) มาย / หยา / แยกกันอยู 4. การศึกษาที่สําเร็จสูงสุด

1) มัธยมศึกษาหรือต่ํากวา / ไมไดเรียน 2) มัธยมศึกษาตอนตน 3) มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา 4) อนุปริญญาหรือเทียบเทา 5) ปริญญาตรี 6) สูงกวาปริญญาตรี 5. อาชีพ 1) รับราชการ / รัฐวิสาหกิจ 2) ลูกจาง / พนักงานบริษัท

3) เกษตรกร / ประมง 4) คาขาย / อาชีพอิสระ 5) นักเรียน / นักศกึษา 6) รับจางทั่วไป 7) แมบาน / พอบาน / เกษียณ 8) วางงาน 9) อ่ืน ๆ โปรดระบุ...............................................

6. รายไดสวนตัวเฉลี่ยตอเดือน (บาท/เดือน) 1) ต่ํากวา 5,000 บาท 2) 5,001-10,000 บาท 3) 10,001-15,000 บาท 4) 15,000 บาท ขึ้นไป

Page 89: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

79

ตอนที่ 2 การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทผูนําชุมชนตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองวางดานขวามือ ที่ตรงกับระดับความพึงพอใจของทาน

บทบาทของผูนําชุมชน

ระดับของบทบาทผูนํา

มากทีสุด (5)

มาก (4)

ปานกลาง (3)

นอย (2)

นอยท่ีสุด (1)

1. ความรูความเขาใจเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝง สําหรับเจาหนาที ่

1.1 ผูนําเคยไดรับการอบรมเพิ่มพูนความรูเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

1.2 ผูนํามีความรูความเขาในเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

1.3 ผูนํามีการถายทอดความรูเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงใหคนในชุมชนไดรับทราบ

1.4 ผูนํามีการจัดเวทีในการถายทอดความรูความเขาใจในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงใหกับคนในชุมชนอยางตอเนื่อง

1.5 ผูนํามีการประยุกตใชความรูความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเพื่อพัฒนาชุมชนของตนเอง

2. ลักษณะการประกอบอาชพีและวิถีชีวิตของคนในชุมชน

2.1 การประกอบอาชีพมีผลกระทบตอการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3. การมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3.1 ผูนํามีการจัดเวทีในการระดมความคดิเพื่อหาแนวทางในการจดัการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3.2 มีการจัดตั้งกลุมในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

3.3 ชุมชนมีการกําหนดขอตกลงรวมกันในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

Page 90: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

80

บทบาทของผูนําชุมชน

ระดับของบทบาทผูนํา

มากทีสุด (5)

มาก (4)

ปานกลาง (3)

นอย (2)

นอยท่ีสุด (1)

4. การปลูกจิตสํานึกในการจดัการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

สําหรับเจาหนาที ่

4.1 ผูนํามีกิจกรรมในการปลูกจิตสํานึกใหชุมชนไดตระหนักถึงคุณคาและผลกระทบของทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

4.2 ผูนํามีการจัดทําเอกสารในการเผยแพรความรูเกี่ยวกับทรัพยากรทางทะเลและชายฝงแกคนในชุมชน

4.3 ผูนํามีการจัดทําปายประกาศ ปายรณรงคในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

5. กิจกรรมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

5.1 ชุมชนไดมีการประชุม พูดคุยกันถึงปญหาดานการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

5.2 ชุมชนไดมีการจัดกิจกรรมรักษาความสะอาดชายฝงทะเล 5.3 ชุมชนไดมีการใหความรูเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร

ทางทะเลและชายฝงใหแกคนในชุมชน

5.4 ชุมชนมีการรณรงค สรางจิตสํานึกใหคนในชุมชนดูแลรักษาทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

5.5 ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลักษณะการประกอบอาชีพประมง เพื่ อลดปญหาที่มีผลกระทบตอทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

6. การสนับสนุนจากหนวยงานที่เก่ียวของ

6.1 มีหนวยงานภายนอกเขามาอบรมใหความรูดานการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

6.2 ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานภายนอกเพื่อมาดําเนินกิจกรรมในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

6.3 มีบุคลากรจากหนวยงานภายนอกเขามารวมดําเนินกิจกรรมการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงรวมกับคนในชุมชน

Page 91: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

81

บทบาทของผูนําชุมชน

ระดับของบทบาทผูนํา สําหรับเจาหนา

ท่ี

มากทีสุด (5)

มาก (4)

ปานกลาง (3)

นอย (2)

นอยท่ีสุด (1)

6.4 มีหนวยงานภายนอก เขามาศึกษาขอมูล ศึกษาปญหาดานการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง เพื่อแกไขปญหาเชิงวิชาการ

7. การมีสวนรวมของบุคคลภายนอกชุมชน

7.1 มีบุคคลภายนอกชุมชนเขามารวมศึกษาปญหา วิเคราะหปญหาดานชายฝงทะเล

7.2 มีบุคคลภายนอกชุมชนเขามารวมวางแผน และกําหนดกิจกรรมในการจัดการชายฝงทะเล

7.3 มีบุคคลภายนอกชุมชน เขามาทํากิจกรรมดานการรักษาส่ิงแวดลอมและการจัดการชายฝงทะเล

7.4 มีบุคคลจากภายนอกชุมชน เขามาติดตามการดําเนินกิจกรรมหรือโครงการของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะอื่นๆ ขอขอบคุณในความรวมมือ

Page 92: 1.ปก - NIDAlibrary1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2556/19823.pdf · บทบาทผู นําชุมชนต อการจ ัดการทร ัพยากรทางทะเลและชายฝ

ประวัติผูเขียน

ชื่อ ชื่อสกุล นายกฤตยชญ ชํานาญชาง

ประวัติการศึกษา วิทยาศาสตรบณัฑิต (สาขาวชิาการจัดการ

อุตสาหกรรม) คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎรําไพพรรณี ปที่สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2551 ประกาศนยีบตัรนายชางกลเรือ กรมเจาทา

ตําแหนงและสถานที่ทํางาน ศูนยอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝงที่ 1 ตําแหนง นายชางกลเรือ ชํานาญการ ปฏิบัติหนาที่ หัวหนาฝายอนุรักษทรัพยากรทางทะเลและชายฝง