14

บรู

Embed Size (px)

Citation preview

เจอร ์โรม บร ูเนอร ์(Jerome Bruner) เป ็นน ัก

จิตว ิทยาแนวพทุธ ิป ัญญา ที่เน ้นท ี่พฒันาการเก ี่ยวก ับความสามารถในการร ับร ู้และความ

เข ้าใจของผู้เร ียน ประกอบกับการจ ัดโครงสร ้างของเน ื้อหาที่

จะเร ียนร ู้ใหส้อดคล้องก ัน และได้เสนอทฤษฎีการสอน(Theory of Instruction)

หลักการพัฒนาทางสติ ปัญญาของเพ ียเจต ์ (Piaget) มา

เป ็นพ ื้นฐานในการพัฒนา บร ู เนอร ์ได ้เสนอว ่า ในการจ ัดการ

ศึกษาควรคำาน ึงถ ึง การเช ื่อม โยง ทฤษฎีพ ัฒนาการ ก ับทฤษฎี

ความร ู้ก ับทฤษฎีการสอน เพราะการจ ัดเน ื้อหาและว ิธ ีการสอนจะ

ต้องค ำาน ึงถ ึงพ ัฒนาการ และปร ับเน ื้อหาให้สอดคล้องก ับ

ความสามารถในการคิด หร ือ การร ับร ู้ การใช้ภาษาที่เหมาะ

สม

บรูเนอร ์ได ้เสนอว ่า การจ ัดการเร ียนการสอนควรม ีการจ ัดเน ื้อหาว ิชาที่ม ีความ

สัมพ ันธ ์ต ่อเน ื่องก ันไปเร ื่อยๆมคีวามล ึกซ ึ้งซ ับซ ้อนและกว ้างขวางออกไปตาม

ประสบการณ์ของผู้เร ียนเร ื่องเด ียวก ันอาจสามารถเร ียนตั้งแต ่ระด ับประถมถงึ

มหาว ิทยาล ัย เร ียกว ่า"Spiral curriculum"

แนวคิดเก ีย่วก ับพ ัฒนาการ ทางปัญญาของบร ูเนอร ์ ม ี 3

ขั้นขั้นท ี่1 ...Enactive

representation ( แรกเก ิด - 2 ขวบ) ขั้นท ี่ 2.... Iconic

representationขั้นท ี่3.... Symbolic

representation

ขั้นท ี่1 ...Enactive representation ( แรกเก ิด - 2

ขวบ) เด็กจะแสดงการพัฒนาทางสมอง หรือทาง

ปญัญาด้วยการกระทำา และยังคงดำาเนินต่อไปเรื่อยๆตลอดชีวิต วิธกีารเรียนรู้ในขั้นนี้จะเป็นการแสดงออกด้วยการกระทำา เรียกว่า Enactive mode จะเปน็วิธกีารปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

โดยการสมัผสั จ ับต ้องด ้วยม ือ ผล ัก ด ึง รวม ถึงการใชป้ากกับว ัตถ ุส ิง่ของที่อย ู่รอบๆต ัว

ส ิง่ท ี่ส ำาคญัเด ็กจะต ้องลงมอืกระทำาด ้วยตนเอง เชน่ การเลียนแบบ หรือการลงมือกระทำากับวัตถุสิ่งของ สว่นผู้ใหญ่จะใชท้ักษะทางการที่ซับซ้อน เชน่ ทักษะการขี่จักรยาน เล่นเทนนิส เป็นต้น

ขั้นท ี่ 2.... Iconic representationในขั้นพัฒนาการทางความคดิ จะ

เกิดจากการมองเห็น และการ ใช้ประสาทสมัผัสแล้ว เด ็กสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ต ่างๆเหลา่น ั้นด ้วยการม ีภาพในใจแทน พัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจจะเพิ่มตามอายุ เด็กที่โตขึ้นก็จะสามารถสร้างภาพในใจได้มากขึ้น วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้ เรียกว่า Iconic mode เมื่อเด็กสามารถที่จะสร้างจินตนาการ หรือ มโนภาพ(Imagery)ในใจได้ เด็กจะสามารถเรียนรู้สิง่ต่างๆในโลกได้ด้วย Iconic mode ดังนัน้ในการเรียนการสอนเด ็กสามารถที่จะเร ียนร ู้โดยการ

ใชภ้าพแทนของการสมัผ ัสจากของจร ิง เพ ื่อท ี่จะชว่ยขยายการเร ียนร ู้ท ี่เพ ิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ ความคดิรวบยอด กฎและ หลักการ ซึ่งไม่สามารถแสดงให้เห็นได้ บร ูเนอร ์ได ้เสนอแนะให้น ำาโสตทัศนว ัสด ุมาใชใ้นการสอน ได้แก่ ภาพนิ่ง โทรทัศน์ หรืออื่นๆเพื่อที่จะชว่ยให้เด็กเกิดจินตนาการประสบการณ์ที่เพิ่มขึ้น

ขั้นท ี่3.... Symbolic representationในขั้นพัฒนาการทางความคดิที่ผ ู้เร ียน

สามารถถ่ายทอดประสบการณ์หร ือ เหต ุการณ์ต ่างๆโดยใช้สญัล ักษณ์ หร ือ

ภาษา บรูเนอร์ถือว่าการพัฒนาในขัน้น ี้เปน็ข ัน้สงูส ุดของพฒันาการทางความรู้ความเข้าใจ เช่น การคิดเชงิเหตุผล หรือการแก้ปญัหา และเชื่อว่า การพฒันาการทางความรู้ความเขา้ใจจะควบคูไ่ปกับภาษา วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้เรียกว่า Symbolic mode ซึ่งผู้เรียนจะใช้ในการเรียนได้เมื่อมีความสามารถที่จะเข ้าใจในสิง่ท ี่เป ็น

นามธรรม หรือความคดิรวบยอดที่ซบัซ ้อน

แนวคดิเก ีย่วกบัการเรยีนร ู้โดยการคน้พบของบรเูนอร ์

แนวคิดท ี่เป ็นพ ื้นฐาน ดังน ี้1. การเร ียนร ู้เป ็นกระบวนการ

ที่ผ ู้เร ียนม ีปฏ ิส ัมพ ันธ ์ก ับส ิ่งแวดล ้อมด ้วยตนเอง

2. ผู้เร ียนแต่ละคนจะม ีประสบการณ์และพื้นฐานความร ู้

ที่แตกต่างก ัน การเร ียนร ู้จะเก ิดจากการที่ผ ู้เร ียนสร ้างความส ัมพ ันธ ์ระหว ่างส ิ่งท ี่พบใหม่ก ับความร ู้เด ิมแล ้วน ำามาสร ้างเป ็นความหมายใหม่

สร ุปได้ว่า บรูเนอร์ กล่าวว่า คนทุกคนมีพ ัฒนาการทาง

ความร ู้ความเข ้าใจ หร ือการร ู้ค ิด โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า Acting, Imagine และ Symbolizing

ซึ่งอย ู่ในขั้นพ ัฒนาการ ทางปัญญาคือ Enactive,

Iconic และ Symbolic representation ซึ่งเป ็นกระ

บวนการที่เก ิดข ึ้นตลอดชีว ิตม ิใช ่เก ิดข ึ้นช ่วงใดช่วงหนึ่ง

ของชีว ิตเท ่าน ั้น

     บรูเนอร์เห็นด้วยกบั Piaget ที่ว่า มนุษย์เรามีโครงสร้างทางสติปัญญา(Cognitive structure) มาตั้งแต่เกิด ในวัยเด็กจะมโีครงสร้างทางสติปัญญาที่ไมซ่ับซ้อน เมือ่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะทำาให้โครงสร้างทางสติปัญญาขยายและซับซ้อนเพิ่มขึ้น หน้าท ี่ของคร ูค ือการจ ัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่ช ่วยเอ ื้อต ่อการขยายโครงสร ้างทางสติป ัญญาของผู้เร ียน

จบการนำาเสนอแล้ว

คร ๊าบบบ........

......