14

สารบัญ

Embed Size (px)

DESCRIPTION

สารบัญ,รายชื่อนักเขียน,เจตจำนงผู้ก่อตั้งนิตยสารอีศาน

Citation preview

18

1919

โชติชวง นาดอน

เ ราเปนพลโลก เราเปนพลเมืองไทยท่ีมาจากภูมิลำเนาท่ัวทุก

ภาค แมวาสวนใหญของพวกเราเกิดในภาคอีสาน อันเปนสวนหนึ่งของโลกและของประเทศไทย แตพวกเราอยากใหทั้งโลกงดงามรมเย็น ทั้งนี้... เพราะเราอยูในเมืองไทย เราจึงตอง

ทำใหเมืองไทยงดงามกอน และดวยพลังของเรายังออน จำเปนตองเลือก

เนนบางพื้นที่กอน เราเลือกเนนภูมิภาคอีสาน เปนตัวอยางในการพัฒนาชุมชนยุคโลกาภวิัตน

จากหัวใจผูรวมกอตั้งโครงการฯ

2020

การพัฒนาชุมชนยุคโลกาภิวัตน สรางสรรค สังคมดีงาม

จะสำเร็จไดดวย “ปญญาภิวัฒน” เราปวารณาตนเปนฝาย “สื่อสาร” – ปญญา

ของพอแมพี่นองไปถึงพอแมพี่นองทั่วภาคอีสาน ทั่วประเทศไทย และทั่วโลก

2121

เราตองการพลังปญญาของพวกทาน เราตองการกำลังสนับสนุนจากพวกทาน เราพยายามจะเปนตัวสื่อกลางอยางดีที่สุด ในข้ันตน เราทำเว็บไซต และอิเล็กทรอนิกส

แม็กกาซีนกอน คาดหวังวา จะสามารถพิสูจน “ตัวตน” และ

“ความสามารถ” สรางสมาชิกเปนเครือขายใหไดภายในหกเดือน

จากน้ันจะออกเปนนิตยสาร-สิ่งพิมพรายปกษ แลวขยายเปนรายสัปดาหในอนาคต และในช้ันตนของข้ันตนนี้ เราขอคำเสนอแนะ

จากทานทั้งหลาย ในทุก ๆ เรื่อง... ไดโปรดกรุณาตอพวกเรา....... ขอขอบพระคุณ.

22

เรียน ชาวคณะ “อีศาน”

ผมไดรับเมลสงตอจาก อ.ลาวัณย และไดอานโครงการนิตยสาร “อีศาน”

ในเบื้องตนผมคิดวา เปนแนวคิดที่นาสนใจและเปนไปไดมาก

เช่ือแนวาทีมงานคงทำไดสำเร็จ เพราะมีความพรอมในระดับหนึ่ง มีแผนการที่ดี

ผมคิดวานี่จะเปนส่ือที่มีคุณคาในสังคมของความเปล่ียนแปลง การบูรณาการทองถ่ินและโลกาภิวัตนใหไปดวยกันได โดยไมมีอคติตอฝายใดฝายหน่ึง

ผมสนใจ และอาจชวยไดบางในเร่ืองงานเขียน การเผยแพรบอกตอถึงความเคลื่อนไหวนี้ ขอใหกำลังใจ และขอบคุณในไมตรีจิต

“ไพฑูรย ธัญญา” มหาสารคาม

23

ถึง ผูจัดทำหนังสือ “อีศาน” ไดรับขอมูลทั้งหมดแลว ขอแสดงความชื่นชมตอพลังท่ีจะสรรคสรางสิ่งดี

งามใหแกแผนดินนี้ หากจะใหชวยอะไรไดบางก็ยินดีครับ

เฉลิมชัย พันธเลิศ นักวิชาการศึกษา, สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

อาคาร สพฐ.๓ ชั้น ๔ สถาบันสังคมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ

24

เรียน กอง บก. “อีศาน” รูสึกดีใจที่ไดทราบขาววาจะมีการเปดตัว “อีศาน”

แม็กกาซีน (ออนไลน) เร็ว ๆ นี้ ฟงแคชื่อก็ไดกลิ่น “ผักกะแยง” และ “ผักอีฮีน” โชยมากระตุนตอมความ คิดฮอดบานแลวครับ (ฮา)

เพราะมาอยูใตชายแดนมาเลยก็สามสิบปเขาใหแลว ยามคำนึงถึงบานก็ไดแตหยิบกีตารมาสะบัดคอรดบีไมเนอรแลวโอลำน้ำตาคลอ หรือไมก็แวะเวียนไปหาเพื่อนคนบานเดียวกันที่มา“เต็มอ้ึงตึ้ง”อยูแถวยะลา ปตตานี นราธิวาส แลวนั่งคุยกันเปนขวดเปนแบน นี่ก็มวนซืนโฮแซวกันอยูตลอด เพื่อนพองนองพี่ของผมเหลานี้ตางหลากหลายอาชีพ ตั้งแตกรรมกรถึงเถาแก ตั้งแตไพรถึงอำมาตย บางคนเปน “อิสลาว” ก็มี (หมายถึงไปไดเมียเปนมุสลิมครับ)

25

อยากมารวมงานเปดตัว และอยากรวมวงเลาเรื่องราวของคนบานเฮาใหฟง ทานจะวาอยางไรหนอ

“ฮักแพงยิ่ง”

สฤษดิ์ ผาอาจ ป.ล. “คึดฮอดระเบียงชานบานหลังเกา ถิ่นท่ีเคยแนบเนาเสาเรือนสูง คึดฮอดควายบักตูคูเคยจูง หวยขะยูงขอดแหงเปนแองตม ผักกะแยงเขียวเต็มนาเคยควาเก็บ เล็มหมากเล็บแมวดำกำผักขม แววเสียงแคนลองลำมาตามลม ดึงผาหมแมคลุมหนาน้ำตาซึม”

2626

• “คำหมาน คนไค” (สมพงษ พละสูรย) หนึ่งในนักเขียนอาวุโส “สามคำ” ของอีสาน อีก ๒ ทานไดแก คำสิงห ศรีนอก (“ลาว คำหอม”) และคำพูน บุญทวี (ผูลวงลับไปแลว) ผูเฒานักปราชญเหลานี้ลวนนำความรูและบุกเบิกงานวรรณศิลปยุคใหมแกดินแดนที่ราบสูง • มาโนช พรหมสิงห – ผูใชชีวิตเรียบงาย พึ่งลำแขงตนเองตามวิถีชาวบาน ณ ถิ่นที่แมน้ำมูลกับแมน้ำชีไหลมาบรรจบกัน ความคิดเดินทางไกลไปทุกแดนดาว มีจิตใจออนหวานละมุนละมอม และในความมีเหตุมีผลแลวยิ่งละเอียดรอบคอบ • สมคิด สิงสง ในปเดือนน้ีประกาศแกผองญาติมิตรวา ชีวิตที่เหลืออยูมีงานตองทำเพียง ๒ อยาง คือ เรื่องน้ำและเรื่องการเขียนหนังสือ สายน้ำโขงและลุมน้ำสาขาทุกแหลงในภาคอีสานท่ีเขาเหยียบย่ำมาน้ันจะปรากฏชัดเหมือนผูอานดูลายมือตัวเอง • แวง พลังวรรณ นักส่ือสารมวลชนอิสระ ผูกอต้ังพิพิธภัณฑลูกทุงอีสาน หวงโซวิถีชีวิตระหวางผูเฒาผูแกกับคนรุนใหมใหญทีหลัง สาระจากงานเขายอมเขมขนและไหลหลั่งดั่งน้ำทำนบแตก

ผูเขียนในฉบับนี้

2727

พาดปกฉบับที่ ๒ จะวาดวย “ฮีต-คอง” ของแวง พลังวรรณ • “กบเฝาบัว” บุคคลผูสนใจศึกษาศาสตรทุกแขนง พรอมนำความรูทุกเร่ืองราวประวัติศาสตรในอุษาคเนยมาลำดับเสนออยางเปนระบบ • สมพงษ ประทุมทอง ผูรับราชการมาทั้งชีวิต และถอดเคร่ืองแบบต้ังแตอยูในเคร่ืองแบบ จะนำประสบการณและแงคิดมุมมองมาถายทอดเพ่ือการเติบใหญ กาวหนาของทุกภาคสวนในสังคม • “อิน อวยลวย” ตั้งแตรุนบิดาก็รวบรวมหนังสือหนังหาเต็มบาน รุนตัวก็ซื้อหามาเพิ่มพูนจนทวมหัว วันน้ียินดีเก็บเล็มทุกเศษเส้ียวความรูมาเผยแผใหประจักษแจง • สุชาติ ภูมิบริรักษ เลขาฯ คณะมิตรภาพประชาชนไทย – จีน รุนบุกเบิก ซึ่งมี กุหลาบ สายประดิษฐ (“ศรีบูรพา”) เปนหัวหนาคณะ ทบทวนประวัติความเปนมาของบรรพบุรุษใหผูอานไดยอนอดีตอยางเห็นเลือดเห็นเน้ือ • “เขาบังภู” อดีตหนุมนักขาว สนใจรากเหงาจิตวิญญาณภูมิปญญาของทุกชาติพันธุ กำลังจัดระบบงานและชีวิต เพื่อทุมใหกับหนังสือ “อีศาน” อยางเต็มตัว • เสรี ยาวงษ เขาผูนี้เปยมดวยความกระตือรือรน ดวงตาวาวใส มองทุกสรรพชีวิตดวยมุมบวก อาสาเขาชวยงานทุกอยาง

• ชัชวาลย โคตรสงคราม คือผูเกิดมาและมีลมหายใจ

2828

อยูกับแมน้ำใหญสายประธานของภูมิภาคนี้ ทั้งหลงมนต เสนห วรรณคดี โบราณ และเปนผู สร างงานวรรณกรรมรวมสมัยที่โดดเดนคนหน่ึง • ณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค ใครจะทราบวา เจาของฉายา “นักรบสันติภาพแหงเทือกเขาบูโด” จะพูดเรื่องเกาเวาเรื่องบานเกิดในทุกดานทุกมิติใหคนที่เกิดและอยูในพื้นถิ่นมาตลอด อาปากฟงไดทั้งวันทั้งคืน แถมพกนวนิยายเร่ืองใหมมาฝากถ่ินเฮือนตาย • อาทิตย บำรุงเอ้ือ คนผูมากฉายา รอบรูหลากเรื่องราว เปนนักธุรกิจนักบริหารและประสานสามัคคีกับทุกภาคสวน วันนี้เขามาในบทบาทมือลาบมือกอยมือปนมือตำมือตม ชนิดไมเปนสองรองใคร • ปกรณ ปกีรณัม ในเสนทางของการบากบั่นร่ำเรียน การประกอบสัมมาอาชีวะ ลูกอีสานแดนแดตอนกลางยานแลงซ้ำซากผูนี้ มีความสุขกับการอานเปนที่สุด หนังสือที่รักชอบเขาอาน ๕ เที่ยว ๑๐ เที่ยว ถนอมรักษาลูบคลำเม่ือถวิลหา ตามเขาไปดูไปอานหนังสือเหลานั้นกัน • “ครูเบ้ิม สอนศิลป” ลูกศิษยกนกุฏิครูสังคม ทองมี แตนอกจากงานศิลปะแลวมีหลายศาสตรหลายศิลปที่อาจารยไมเคยสอนเลย นี่จึงเปนสีสันของชีวิตที่มีศิลปะนำทางท่ีไมคือไผและไมมีไผคือ แมเกษมสุข ตันติทวีโชค ศิษยรวมสำนัก ฝายศิลป

2929

ของเรายังไดแตหัวเราะหึ หึ เมื่อเอยชื่อเขา • วสุ หาวหาญ จอมยุทธผูนี้ใชเวลาศึกษา ณ สำนักมอดินแดง ถึงแปดปเต็ม วิชาความรูจึงแนนเปรี๊ยะ เมื่อหงายคมกระบี่วิชาเพลงจึงเลื่อนลั่นสนั่นปฐพี สายธารเพลงอีสานลูกทุงของครูสลา คุณวุฒิ ยอมคูควรที่มีอีกหนึ่งขุนพลมาเคียงกาย • มาลี รอยสีพันใบ สาวสายเลือดวรรณศิลปตั้งแตอยูในรั้วมหาวิทยาลัย ชีวิตงามด่ังไมงามหย่ังรากเติบใหญผลิดอกออกใบ ใหทั้งความสุขความรมรื่นแกผูรวมงานและสัมผัสผลงาน • “ทัศ-นาวดี” เธอผูฝงหัวใจไวที่หาดดอกเกด ชอบปลีกวิเวกบนเรือแพกลางเขื่อนลำปาว และนำความคิดฝนจินตนาการมากำนัลบรรณพิภพ ในหลากหลายทวงทำนองลีลาและสาระ • ไพวรินทร ขาวงาม หัวใจผู ขี่มากานกลวยจะกระตุกเตนจังหวะใด เม่ือโครงงานพัฒนาใหญระดับแสนลาน พรอมความปรารถนาดีจะทุมลงไปเนรมิตถ่ินเกิดของเขาใหเปนแดนศรีวิไล ตามฟงเสียงเตนหัวใจของเขาไดทุกเรื่องที่ “ที่นี่...สถานีทุงกุลา” •

สาสนจาก “อีศาน”

บรรณาธิการ “ไหวครู”

จากหัวใจผูรวมโครงการฯ | โชติชวง นาดอน

จดหมาย

ผูเขียนในฉบับนี้

ขาว

ความฮูจากผูเฒา | คำหมาน คนไค ภาคอีสาน

วิถีไทบาน | มาโนช พรหมสิงห ถามหัวใจ

เดินทวนหนทาง | สมคิด สิงสง ลุมแมน้ำโขง : แนวโนมของการพัฒนาและประเด็นที่เกิดข้ึน (๑)

ฮีต-คอง | แวง พลังวรรณ อิ่มแลว...พานองไปเลนวัด

อริยสงฆ | กบเฝาบัว สมเด็จพระยอดแกวพุทธชิโนรสฯ อดีตสมเด็จพระสังฆราชาแหงพระราชอาณาจักรลาว

ในเครื่องแบบ | สมพงษ ประทุมทอง ขอเสนอของ ครป. กับขาราชการไทย

พื้นบานพ้ืนเมือง | อิน อวยลวย ประวัติจังหวัดบึงกาฬ (ตอน ๑)

ภาพเกาเลาเร่ือง | กอง บก. เมืองชัยภูมิเกา

บุคคล | สุชาติ ภูมิบริรักษ ขุนภูมิพาณิช ผูมีสวนพัฒนาทุนนิยมในไทยระดับหนึ่ง (ตอน ๑)

๕ ๑๓ ๑๙ ๒๒ ๒๖

๔๕

๘๙

๙๕

๑๐๓

๘๓

๖๓

๓๒

๗๕

๑๐๕

๕๕

คำถิ่นกลิ่นอายขแมร | เขาบังภู ตาเกียรติ – ตะเกียด – เกรียด – เกียด

ลุยไปกับลาม | เสรี ยาวงษ รวมใจกัน

วรรณคดีลาว | ชัชวาลย โคตรสงคราม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต แมน้ำสายนั้นช่ือสุนทรียรส

นวนิยาย “กาบแกวบัวบาน” | ณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค เกริ่นกลาว จากบูโดสูภูพาน (ตอน ๑)

e-โอะชวนอ้ำ | อาทิตย บำรุงเอื้อ ปนขาวเหนียว

เรื่อย ๆ มาเรียง ๆ | ปกรณ ปกีรณัม สภาพอีสาน

ศิลปะนำชีวิต | ครูเบิ้ม สอนศิลป เปดตัว “ครูเบิ้ม”

เพลงถอดทำนอง | วสุ หาวหาญ ความเกี่ยวของของความรัก

เราจะกาวไปดวยกัน | มาลี รอยสีพันใบ แนะนำตัว

บทกวี | ทัศนาวดี มนตรักผาขาวมา

ที่นี่...สถานีทุงกุลา | ไพวรินทร ขาวงาม ทุงกุลาอยารองไห

ปดเลม | กอง บก.

๑๑๗

๑๒๓

๑๓๑

๑๔๑

๑๕๑

๑๕๙

๑๖๕

๑๗๓

๑๗๗

๑๘๐

๑๘๔

๑๘๒