6
ความรู เบื ้องตนเกี ่ยวกับสารกัมมันตรังสี Iodine-131 และ Cesium 137 Iodine-131 คืออะไร Iodine-131 คือ แรธาตุไอโอดีนที ่มีคุณสมบัติ เปนสารกัมมันตรังสีที่มีความคงตัวต่ํา มี คาครึ ่งชีวิตของการสลายตัวประมาณ 8 วัน โดยการสลายตัวของไอโอดีน 131 สามารถ สลายตัวไดอนุภาคหลายชนิดรวมถึงรังสี เบตาและรังสีแกมมา ซึ่งรังสีเบตาดังกลาวนี้เองที่มี คุณสมบัติในการทําลายเนื ้อเยื ่อตางๆ ไดดี จึงมีการประยุกตใชคุณสมบัติดังกลาวของไอโอดีน 131 มาใชประโยชนในทางการแพทย เพื ่อทําลายเนื ้อเยื ่อที ่ผิดปกติ ทั ้งนี ้มีการนําเอาไอโอดีน 131 มาใช ในการรักษาผู ปวยมะเร็งตอมไทรอยด หรือกลุ มผู ปวยที ่เปนคอหอยพอกซึ ่งมีการผลิตฮอรโมน ไทรอยดสูงผิดปกติ เนื่องจากโดยปกติ เนื้อเยื่อของตอมไทรอยดเปนเนื้อเยื่อที่มีความสามารถสูงใน การจับกับไอโอดีน (ซึ ่งหมายความรวมถึงไอโอดีนทุกชนิด) เพื ่อนําไปใชเปนสารตั ้งตนในการผลิต ฮอรโมนไทรอยดในการทําหนาที่ควบคุมระบบตางๆภายในรางกาย ดังนั้นเมื่อตอมไทรอยดมีขนาด โตผิดปกติเนื่องจากมะเร็งหรือเปนคอหอยพอก ไอโอดีน 131 ที่ใหเขาไปก็จะถูกจับไวในเนื้อเยื่อ ของตอมไทรอยดและไปทําลายมะเร็งหรือเนื ้อเยื ่อที ่ผิดปกตินั ้นได ไอโอดีน 131 สลายตัวไดรังสีที ่สามารถทําลายเนื ้อเยื ่อได ดังนั ้นหากในคนปกติที ่ไดรับสาร กัมมันตรังสีชนิดนี้ รางกายจะมีการดูดซึมเขาสู กระแสเลือดและถูกดักจับเพื ่อขนสงเขาสู ตอม ไทรอยดตอไป ผลที ่เกิดขึ ้นก็คือ เนื ้อเยื ่อของตอมไทรอยดอาจถูกทําลาย และกลายไปเปนภาวะ ขาดไทรอยดฮอรโมนได นอกจากนี้ยังอาจเกิดผลในอีกดานหนึ่งคือทําใหเปนมะเร็ง การศึกษาทาง ระบาดวิทยาพบวากลุ มประชากรที ่อยู บริเวณที ่มีสารกัมมันตรังสีชนิดไอโอดีน 131 สูง โดยเฉพาะ เด็กทารก มีโอกาสเกิดมะเร็งตอมไทรอยดไดสูงกวาคนทั่วไป อีกทั้งยังมีโอกาสเกิดมะเร็งเม็ดเลือด ขาว (leukemia) ไดอีกดวย จากความเสี ่ยงดังกลาวนี ้เอง มาตรการการปองกันตางๆ จึงถูก นํามาใชเพื ่อลดความเสี ่ยงใหมากที ่สุด โดยวิธีการลดความเสี ่ยงที ่กําลังเปนที ่พูดถึงกันอยางมากใน ขณะนี้คือการใชไอโอดีนทั้งในรูปแบบการรับประทานและการทาผิวหนังนั่นเอง การปองกันการไดรับไอโอดีน 131 เกลือโปแตสเซียม ไอโอไดด (potassium iodide) ไดรับการอนุมัติจากองคการอาหารและ ยาสหรัฐอเมริกา เพื่อใชสําหรับการปองกันการไดรับไอโอดีน 131 (radiation exposure) แตไมมี ผลปองกันในสารกัมมันตรังสีชนิดอื ่นๆ โดยขนาดที ่แนะนําคือ โปแตสเซียม ไอโอไดด 130 มิลลิกรัมตอวัน โดยรับประทานกอนที ่จะเขาเขตกัมมันตภาพรังสีอยางนอย 12 ชั ่วโมง ซึ ่งจะให ประสิทธิภาพในการปองกันไดมากกวารอยละ 90 และแนะนําใหรับประทานตอเนื่องจนกวาจะ ออกจากบริเวณพื ้นที ่ที ่มีความเสี ่ยง อยางไรก็ตาม หากรับประทานโปแตสเซียม ไอโอไดด หลังจาก ที่ไดรับไอโอดีน 131 แลวภายใน 3-4 ชั่วโมง ยังพบวามีประสิทธิภาพในการปองกันไดรอยละ 50 แตหากรับประทานหลังจากนั ้นเกิน 6 ชั ่วโมง ยังไมมีการศึกษายืนยันถึงประสิทธิภาพ

สารกัมมันตรังสี

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Iodne 131

Citation preview

Page 1: สารกัมมันตรังสี

ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกบัสารกัมมันตรังสี Iodine-131 และ Cesium 137

Iodine-131 คืออะไร

Iodine-131 คือ แรธาตุไอโอดีนท่ีมีคุณสมบัติเปนสารกัมมันตรังสีที่มีความคงตัวต่าํ มี

คาคร่ึงชีวิตของการสลายตัวประมาณ 8 วัน โดยการสลายตัวของไอโอดีน 131 สามารถ

สลายตัวไดอนุภาคหลายชนิดรวมถึงรังสี เบตาและรังสีแกมมา ซึ่งรังสีเบตาดังกลาวนี้เองที่มี

คุณสมบัติในการทําลายเน้ือเย่ือตางๆ ไดดี จึงมีการประยุกตใชคุณสมบัติดังกลาวของไอโอดีน 131

มาใชประโยชนในทางการแพทย เพ่ือทําลายเน้ือเย่ือท่ีผิดปกติ ท้ังน้ีมีการนําเอาไอโอดีน 131 มาใช

ในการรักษาผูปวยมะเร็งตอมไทรอยด หรือกลุมผูปวยท่ีเปนคอหอยพอกซ่ึงมีการผลิตฮอรโมน

ไทรอยดสูงผิดปกติ เนื่องจากโดยปกติ เนื้อเยื่อของตอมไทรอยดเปนเนื้อเยื่อที่มีความสามารถสูงใน

การจับกับไอโอดีน (ซ่ึงหมายความรวมถึงไอโอดีนทุกชนิด) เพ่ือนําไปใชเปนสารต้ังตนในการผลิต

ฮอรโมนไทรอยดในการทําหนาที่ควบคุมระบบตางๆภายในรางกาย ดังนัน้เมื่อตอมไทรอยดมีขนาด

โตผิดปกตเินื่องจากมะเร็งหรือเปนคอหอยพอก ไอโอดีน 131 ที่ใหเขาไปก็จะถูกจบัไวในเนื้อเยื่อ

ของตอมไทรอยดและไปทําลายมะเร็งหรือเน้ือเย่ือท่ีผิดปกติน้ันได

ไอโอดีน 131 สลายตัวไดรังสีท่ีสามารถทําลายเน้ือเย่ือได ดังน้ันหากในคนปกติท่ีไดรับสาร

กัมมันตรังสชีนิดนี้ รางกายจะมีการดูดซึมเขาสูกระแสเลือดและถูกดักจับเพ่ือขนสงเขาสูตอม

ไทรอยดตอไป ผลท่ีเกิดข้ึนก็คือ เน้ือเย่ือของตอมไทรอยดอาจถูกทาํลาย และกลายไปเปนภาวะ

ขาดไทรอยดฮอรโมนได นอกจากนี้ยังอาจเกิดผลในอีกดานหนึ่งคือทําใหเปนมะเร็ง การศึกษาทาง

ระบาดวิทยาพบวากลุมประชากรท่ีอยูบริเวณท่ีมีสารกัมมันตรังสีชนิดไอโอดีน 131 สูง โดยเฉพาะ

เด็กทารก มีโอกาสเกิดมะเร็งตอมไทรอยดไดสูงกวาคนทั่วไป อีกทั้งยังมีโอกาสเกิดมะเร็งเมด็เลือด

ขาว (leukemia) ไดอีกดวย จากความเส่ียงดังกลาวน้ีเอง มาตรการการปองกันตางๆ จึงถูก

นํามาใชเพ่ือลดความเส่ียงใหมากท่ีสุด โดยวิธีการลดความเส่ียงทีกํ่าลังเปนท่ีพูดถึงกันอยางมากใน

ขณะนี้คือการใชไอโอดีนทั้งในรูปแบบการรับประทานและการทาผวิหนังนั่นเอง

การปองกันการไดรับไอโอดีน 131

เกลือโปแตสเซียม ไอโอไดด (potassium iodide) ไดรับการอนุมัติจากองคการอาหารและ

ยาสหรัฐอเมรกิา เพื่อใชสําหรับการปองกันการไดรับไอโอดีน 131 (radiation exposure) แตไมมี

ผลปองกันในสารกัมมันตรังสีชนิดอ่ืนๆ โดยขนาดท่ีแนะนําคือ โปแตสเซียม ไอโอไดด 130

มิลลิกรัมตอวัน โดยรับประทานกอนท่ีจะเขาเขตกัมมันตภาพรังสีอยางนอย 12 ช่ัวโมง ซ่ึงจะให

ประสิทธิภาพในการปองกันไดมากกวารอยละ 90 และแนะนําใหรับประทานตอเนื่องจนกวาจะ

ออกจากบริเวณพ้ืนท่ีท่ีมีความเส่ียง อยางไรก็ตาม หากรับประทานโปแตสเซียม ไอโอไดด หลังจาก

ที่ไดรับไอโอดีน 131 แลวภายใน 3-4 ชั่วโมง ยังพบวามปีระสิทธิภาพในการปองกันไดรอยละ 50

แตหากรับประทานหลังจากน้ันเกิน 6 ช่ัวโมง ยังไมมีการศึกษายืนยันถึงประสิทธิภาพ

Page 2: สารกัมมันตรังสี

สําหรับประสิทธิภาพในการปองกันอันตรายจาก ไอโอดีน 131 น้ันสามารถอธิบายไดจาก

การท่ีตอมไทรอยดน้ันสามารถดักจับแรธาตุไอโอดีนไดในทุกรูปแบบ อยางไรก็ตามตอมไทรอยดน้ัน

จะจับกับไอโอดีนไดในปริมาณจํากัด ดังนัน้จึงอาศยัหลกัการนี้ในการใหแรธาตุไอโอดีนในรูปที่มี

ความคงตัวสูงในปริมาณสูง เพ่ือใหเน้ือเย่ือของตอมไทรอยดจับกับไอโอดีนจนอ่ิมตัว ดังน้ันหากมี

การเขาพ้ืนท่ีท่ีมีสารกัมมันตรังสี ไอโอดีน 131 จะไมสามารถจับกับเน้ือเย่ือในตอมไทรอยดไดอีก

แตจะถูกขับออกจากรางกายทางปสสาวะ อยางไรก็ตามการรับประทานไอโอดีนในปริมาณสูงน้ันมี

ขอควรระวังหลายประการ เชน เกิดการแพอยางรุนแรง หัวใจเตนผิดปกติ ระดับฮอรโมนไทรอยด

ผิดปกติ นอกจากนี้ควรพิจารณาใชในกรณีที่มีขอบงใชทีช่ัดเจน ซี่งควรอยูภายใตคาํแนะนําของ

แพทยเทานั้น

สารกัมมันตรังสีไอโอดีนท่ีร่ัวออกมา มีอันตรายตอรางกายอยางไร ?

อันตรายที่จะเกดิขึ้นมากนอยแคไหนขึน้กับวาปริมาณที่มาถึงประเทศไทยจะมากนอยแค

ไหน อยางไรก็ดีคงไมมโีอกาสที่จะมีปรมิาณมากถึงระดับที่กอใหเกิดอาการเฉียบพลันหรือเสียชีวิต

แตความพิเศษของไอโอดีนรังสีก็คือถาไดรับเขาสูรางกายแลวมันจะเขาไปสะสมอยูมากในตอม

ไทรอยดซึ่งอยูทีบ่ริเวณคอ เนือ่งจากตอมไทรอยดจะตองใชไอโอดีนในการสรางเปนไทรอยด

ฮอรโมนตอไป ดังน้ันตอมไทรอยดจะไดรับปริมาณรังสีมากกวาอวัยวะอ่ืนๆในรางกาย ถาหากไดรับ

เขาไปมากตอมไทรอยดก็อาจจะเกิดอาการอักเสบหรือถูกทําลายหมดทําให รางกายขาดไอโอดีน

ถาไดรับเพียงปริมาณนอยๆ ความเสียหายตอสารพันธุกรรมไมมาก รางกายซอมแซมไดก็จะไมเกิด

อันตรายแตอยางใด แตถาไดรับในปริมาณปานกลางก็อาจมีโอกาสท่ีจะเกิดมะเร็งตอมไทรอยดได

ในภายหลัง ทั้งนี้มิไดหมายความวาทุกคนที่ไดรบัในปริมาณนี้จะเกิดเปนมะเร็งทุกคน เพียงแตมี

โอกาสมากข้ึนกวาผูท่ีไมไดรับรังสีเลยเทาน้ัน

มีวิธีปองกันไมใหรางกายรับสารกัมมันตรังสีไอโอดีนหรือไม

วิธีปองกันไมใหเขาสูรางกายท่ีทําไดก็คือไมเขาไปอยูในบริเวณท่ีมีสารกัมมันตรังสีและไม

รับประทานอาหารที่มกีารปนเปอน แตหากหลีกเล่ียงไมไดก็จะมีวิธีปองกันไมใหสารกัมมันตรังสี

ไอโอดีนเขาไปสะสมอยูในตอมไทรอยดได ท้ังนีเ้น่ืองจากตอมไทรอยดมีความสามารถจับไอโอดีน

ไดในปริมาณจํากัดปริมาณหน่ึง ถาตอมไทรอยดมีปริมาณไอโอดีนในตอมเพียงพอแลวก็จะไมจับ

ไอโอดีนท่ีไดรับเขาไปอีก เราจึงใชวิธีรับประทานสารไอโอดีนท่ีไมมีรังสีเขาไปจนทําใหตอมไทรอยด

มีไอโอดีนมากพอท่ีจะไมจับไอโอดีนเพ่ิมเติมอีก ดังน้ันเม่ือเราไดรับไอโอดีนรังสีก็จะไมเขาไปสะสม

ในตอมไทรอยดตอไป

ที่มาของแหลงขอมูล

1.http://variety.teenee.com/foodforbrain/33923.html

2.นายแพทย สามารถ ราชดารา สมาคมเวชศาสตรนิวเคลียรแหงประเทศไทย เขาถึงไดจาก

http://www.oaep.go.th/dt_news1.php?id=809

Page 3: สารกัมมันตรังสี

ความรูเบ้ืองตนเกีย่วกับสารกัมมันตรังสี Cesium 137

Cesium 137 ซึ่งเปนปญหาอยูในขณะนี้ การจะสลายตวัไปคร่ึงหนึ่ง ตองใชเวลานานถึง

30 ปและเปนสารท่ีเม่ือบริโภคเขาไปแลวจะมีการสะสมอยูในรางกาย ตําแหนงท่ีสะสมอยูใน

รางกาย คือ เนื้อเยื่อ บางสวนไปท่ีตับ และบางสวนไปท่ีไขกระดูก แตรางกายของคนเราสามารถ

ขับถายสารน้ีไดดี กลาวคือ ในผูใหญจะถูกขับถายออกไปครึ่งหนึ่งในชวง 44 วัน ภาษาแพทยเรา

เรียกวา ไบโอโลจีกอล ฮาลฟไลฟ (Biological half life) แตถาอายุนอยลง การขับถายของสาร

ซีเซียมจะยิ่งเร็วข้ึน ในทารกในชวงที่เดก็อายุไมเกิน 5 เดือน การขับถายสารนี้จะออกมาครึ่งหนึ่งใน

เวลาเพียง 19 วันเทานั้น ซึ่งอนัตรายจากซเีซียมจะนอยลง สวนซเีซียมจะมาในลักษณะปนเปอนมา

กับอาหารตางๆ ซ่ึงสามารถปองกันไดโดยการตรวจวัดปริมาณรังสีกอนนําเขาประเทศ

ที่มาของแหลงขอมูล

- นิตยสารหมอชาวบาน เขาถึงไดจาก http://www.oaep.go.th/dt_news1.php?id=809

Page 4: สารกัมมันตรังสี

รูจัก ARS “ความผิดปกติของการไดรับรังสีสูงแบบเฉยีบพลัน”

รังสี" แมวาจะมีประโยชนมากมาย แตในการนํามาใชก็ตองระมัดระวังใหมาก โดยเฉพาะ

หากซึมเขาสูรางกาย ยิ่งในปริมาณมากและรวดเรว็ จะกลายเปนพิษรายที่ตอเนื่องยาวนาน จึง

กลายเปนเร่ืองท่ีหลายคนหว่ันวิตกอยูในขณะน้ี ตอการร่ัวไหลของรังสี ปนเปอนเขาสูส่ิงแวดลอม

หลังจาก แผนดินไหวอยางหนัก ท่ีบริเวณชายฝงประเทศญ่ีปุน เม่ือวันท่ี 11 มี.ค.54 สงผลให

โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรฟูกูชิมาไดรับความเสียหาย กระท่ังโครงสรางเกิดระเบิด ทําใหเกิดความ

กังวลตอกัมมนัตภาพรังสีรั่วไหล แมวาในเบ้ืองตนรัฐบาลญ่ีปุนไดส่ังอพยพประชาชน และแจก

ไอโอดีนปองกันสารกัมมันตภาพรังสีใหแกผูอยูโดยรอบแลวก็ตาม แตสภาพเตาปฏิกรณท่ีขาด

ระบบหลอเยน็ก็ยังคงสรางความหวัน่วิตกใหแกชาวโลกไมนอย

หาก "รังสี" เกดิร่ัวไหล หรือ เตาปฏิกรณระเบิด จะสงผลโดยตรงกับผูท่ีอาศัยอยูใน

บริเวณนั้น ทีจ่ะไดรับรังสีในปริมาณมากในเวลาไมกี่นาที จนอาจนําไปสู "ความผิดปกติจากการ

ไดรับรังสีสูงแบบเฉียบพลัน" (Acute Radiation Syndrome, ARS) หรือทีเ่รียกกันวา "พิษจาก

รังสี" (Radiation toxicity) หรือ "อาการเจ็บปวยจากรังส"ี (Radiation sickness)

อาการ หลังจากไดรับรังสีสูงอยางรวดเร็วจะเร่ิมแสดงออกใหเห็นไดท้ังภายใน

ไมก่ีนาที หรืออาจจะนานอีกหลายวัน ทั้งนี้จะเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน และทองเสีย ซึ่ง

อาการเหลาน้ีจะเปนๆหายๆตอเน่ืองไมก่ีช่ัวโมงหรือหลายวัน

หลังจากท่ีอาการเบ้ืองตนหยุดไป ผูปวยอาจรูสึกวากําลังจะฟนตัว จากน้ันก็จะลมปวยลง

ไปอีก และครั้งนี้ก็จะหนักขึ้น ดวยอาการไขข้ึน หมดแรง หมดความอยากอาหาร อาเจียน

และทองเสีย อาจถึงข้ันชัก และโคมาในที่สุด ซึ่งอาการขั้นนี้จะอยูนานเปนเดือนๆ

ในสวนของผิวหนังจะคอยๆ เส่ือมสภาพ เปนไปไดภายในเวลาไมก่ีช่ัวโมง หรืออาจจะ

คอยๆ เปนตอเน่ืองไปเปนป ข้ึนอยูกับความเขมขนของรังสีท่ีไดรับ พรอมๆ กันน้ีก็จะเกิดอาการ

พุพอง คัน และเกิดผิวหนังไหมเหมือนโดนแดดเผาอยางรุนแรง อีกท้ังจะมีอาการผมรวงรวมดวย

เม่ือหนักเขาก็จะถึง ข้ันเสียชีวิต โดยเฉพาะกรณีท่ีไดรับรังสีอยางเขมในเวลาอันรวดเร็ว

โดยสวนใหญจะเสียชีวิตภายในไมก่ีเดือน ข้ึนอยูกับวาไขกระดูกจะถูกทําลายมากและเร็วแคไหน

แมวาจะรอดชีวิตจากความผดิปกติของการไดรบัรังสีสูงแบบเฉยีบพลัน แตอาการของ

โรคน้ีจะกําเริบไดในอีก 2 ปนับจากไดรับรังสี ดังนั้นจึงยังจําเปนทีจ่ะตองรักษาอยางตอ เนื่อง

เพ่ือปองกันการปนเปอนหรือไดรับรังสีเพ่ิม เพ่ือลดอาการตางๆ ท่ีจะเกิด รวมถึงฟนฟูอวัยวะตางๆ

ท่ีถูกทําลายและควบคุมอาการเจบ็ปวด

อยางไรก็ดี การชําระลางการปนเปอนกัมมันตรังสี ถือเปนกระบวนการขจัดการปนเปอน

ภายนอก อาทิ ซักลางรังสีออกจากเส้ือผา รองเทา ชวยลดการปนเปอนได 90% และการอาบนํ้า

ลางตัวก็ถือเปนการชวยขจัดอนุภาครังสีท่ีติดพ้ืนผิวในเบ้ืองตน

Page 5: สารกัมมันตรังสี

ความรุนแรงของอาการ

ความรุนแรงของอาการน้ัน ข้ึนอยูกบัปริมาณรังสีท่ีรางกายซึมซับเขาไป โดยขอมูลจาก

เว็บไซตสํานักงานปรมาณูเพ่ือสันติ แจกแจงถึงขอบงช้ี 5 ประการท่ีจะนําไปสูการเกิดความผิดปกติ

จากการไดรับรังสีสูงแบบเฉียบพลัน ไดแก

1. ปริมาณรังสี (dose) ท่ีไดรับท่ัวท้ังรางกายจะตองสูง เชน มีปริมาณสูงกวา 0.7 เกรย

(Gy) ท้ังน้ี การไดรับรังสีท่ัวรางกายปริมาณ 0.3 เกรย อาจเปนผลใหมีอาการผิดปกติแสดงเพียง

เล็กนอย

** เกรย (Gray; Gy) คือ การวัดพลังงานที่รังสีถายทอดใหแกสารตัวกลางที่รังสีเคลื่อนที่ผานตอหนึ่งหนวยมวล

ของสารตัวกลาง มีหนวยตาม SI unit โดยที ่1 เกรย หมายถึงการดูดกลืนพลังงานขนาด 1 J/kg

2. รังสีท่ีไดรับจะตองมาจากแหลงกําเนิดรังสีท่ีอยูภายนอกรางกาย (external

exposure) รังสีท่ีแผมาจากตนกําเนิดรังสีท่ีสะสมอยูภายในรางกาย อาจกอใหเกิดความผิดปกติ

จากการไดรับรังสีสูงแบบเฉียบพลันไดเชนกัน แตมีความเปนไปไดนอยมาก

3. รังสีท่ีไดรับจะตองเปนรังสีท่ีมีพลังงานหรืออํานาจทะลุทะลวงสูง เชน รังสีเอ็กซ รังสี

แกมมา หรือ นิวตรอน เปนตน ซ่ึงสามารถทะลุทะลวงผานเขาไปใหรังสีแกอวัยวะภายในรางกายได

4. จะตองไดรับรังสีท่ัวท้ังรางกาย (หรือโดยสวนใหญของรางกาย) ในคราวเดียวกัน

5. การไดรับรังสีจะตองเกิดข้ึนในชวงระยะเวลาสั้นๆ

จากขอบงช้ีดังกลาวขางตน การไดรับรังสีของรางกายเพียงบางสวน เชน ท่ีแขนหรือขา

หรือการรับรังสีของผูปวยในทางรังสีรักษา ซ่ีงแมปริมาณรังสีท่ีใหแกผูปวยจะสูงมาก (อาจถึง 80

เกรย) แตก็แบงการใหรังสีเปนหลายๆ สวนในชวงเวลาท่ีกําหนด เชน 1-2 เกรยตอวัน ติดตอกัน

หลายสัปดาห ซ่ึงการไดรับรังสีแบบน้ีมีผลในการกอใหเกิดความผิดปกติจากการไดรับรังสีสูงแบบ

เฉียบพลนัไดนอย

ท้ังน้ี ในสวนของอาการท่ีเกิดข้ึน หลังจากไดรับรังสีสูงแบบเฉียบพลันน้ัน แบงออกได 3

กลุมอาการ คือ

1. ความผิดปกติอันเกี่ยวของกบัระบบไขกระดกู (Bone marrow syndrome) หรือ

ความผิดปกติท่ีเก่ียวของกับระบบผลิตเลือด (hematopoietic syndrome) เกิดข้ึนไดเม่ือไดรับรังสี

สูงแบบเฉียบพลันท่ัวท้ังรางกายท่ีปริมาณรังสี 0.7 เกรย โดยอาจปรากฎอาการผิดปกติเพียง

เล็กนอย เม่ือไดรับรังสีปริมาณ 0.3 เกรย

อยางไรก็ดี อัตราการรอดชีวิตจะลดลง ถาหากปริมาณรังสีท่ีไดรับสูงข้ึน ซ่ึงสาเหตุหลักของ

การเสียชีวิตในผูปวยกลุมน้ี คือ การติดเชือ้และการเสียเลือดอันเน่ืองมาจากไขกระดูกถูกทําลาย

Page 6: สารกัมมันตรังสี

2. ความผิดปกติอันเกี่ยวของกบัระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal syndrome)

ความผิดปกติโดยสมบูรณ จะเกิดข้ึนเม่ือไดรับรังสีเฉียบพลันท่ัวรางกายสูงเกิน 10 เกรย สวน

ความผิดปกติแบบออนๆ จะเกิดข้ึนเม่ือไดรับรังสีประมาณ 6 เกรย

ท้ังน้ี อัตราการรอดชีวิตมีนอย เน่ืองจากการเปล่ียนแปลงและความเสียหายซ่ึงไมสามารถ

รักษาไดของระบบทางเดินอาหารเปนตนเหตุของการติดเช้ือ เสียสมดุลของนํ้าและเกลือแร โดย

ผูปวยจะเสียชีวิตภายในระยะเวลา 2 สัปดาห

3. ความผิดปกติอันเกีย่วของกับระบบทางเดินโลหติและระบบประสาทกลาง

(Cardiovascular (CV)/Central Nervous System (CNS) Syndrome) ความผิดปกติโดยสมบรูณ

จะเกดิข้ึน ถาไดรับรังสีโดยเฉียบพลันท่ัวรางกายสูงเกินกวา 50 เกรย โดยความผิดปกติของระบบ

CV และ CNS จะเร่ิมปรากฎใหเห็น เม่ือไดรับรังสีสูงถึง 20 เกรย

เม่ือไดรับรังสีโดยท่ัวไป ผูปวยจะเสียชวิีตภายใน 3 วัน อันเน่ืองมาจากความลมเหลวของ

ระบบการไหลเวียนโลหิตและแรงดันท่ีสูงข้ึน ภายในโพรงกะโหลก อันเน่ืองมาจากการสะสมของ

ของเหลวท่ีมีสาเหตุมาจากการบวมหรือการอับเสบของหลอดเลือดและเยือ่หุมสมอง (meningitis)

ที่มาของแหลงขอมูล

- ASTV ผูจัดการออนไลน วันท่ี 14 มีนาคม 2554 เขาถึงไดจาก

http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9540000032568

รวบรวมโดย....กลุมพัฒนาระบบเฝาระวังสุขาภิบาลอาหารและนํ้า (8 เมษายน 2554)