155
1 (ราง) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีสากล หลักสูตรปรับปรุง พ.. 2555 ชื่อสถานศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี คณะ : มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หมวดที1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีสากล ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Music 2. ชื่อปริญญาและสาขา ภาษาไทย ชื่อเต็ม ศิลปศาสตรบัณฑิต (ดนตรีสากล) ภาษาไทย ชื่อเต็ม ศศ.. (ดนตรีสากล) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม Bachelor of Arts (Music) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม B.A. (Music) 3. วิชาเอก ไมมี 4. จํานวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 135 หนวยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ เปนหลักสูตรระดับคุณวุฒิปริญญาตรี หลักสูตร 4 5.2 ภาษาที่ใช ภาษาไทย 5.3 การรับเขาศึกษา รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาตางประเทศที่สามารถใชภาษาไทยไดเปนอยางดี 5.4 ความรวมมือกับสถาบันอื่น เปนหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี 5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

1

(ราง) หลักสตูรศิลปศาสตรบณัฑิต สาขาวิชาดนตรีสากล

หลักสตูรปรบัปรุง พ.ศ. 2555 ชื่อสถานศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี คณะ : มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

หมวดท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีสากล ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Music 2. ชื่อปริญญาและสาขา ภาษาไทย ช่ือเต็ม ศิลปศาสตรบัณฑิต (ดนตรีสากล) ภาษาไทย ช่ือเต็ม ศศ.บ. (ดนตรีสากล) ภาษาอังกฤษ ช่ือเต็ม Bachelor of Arts (Music) ภาษาอังกฤษ ช่ือเต็ม B.A. (Music) 3. วิชาเอก ไมมี 4. จํานวนหนวยกิตท่ีเรียนตลอดหลักสูตร จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 135 หนวยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ

เปนหลักสูตรระดับคุณวุฒิปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป 5.2 ภาษาท่ีใช

ภาษาไทย 5.3 การรับเขาศึกษา

รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาตางประเทศที่สามารถใชภาษาไทยไดเปนอยางดี 5.4 ความรวมมือกับสถาบันอ่ืน เปนหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ

จังหวัดปทุมธานี 5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา

ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

Page 2: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

2

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ไดรับการกลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ

ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี ใหความเห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ .../2555 เมื่อวันที่ .... เดือน .......... พ.ศ. 2555 ไดรับการอนุมัติ/เห็นชอบโดยคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏ

วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี ในการประชุมครั้งที่ .../2555 เมื่อวันที่ .... เดือน ......... พ.ศ. 2555 7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ปการศึกษา 2557 8. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา (สัมพันธกับสาขาวิชา)

8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผูควบคุมวงดนตรีไดอยางมืออาชีพ (Conductor) 8.3 ผูสรางสรรคงานดนตรีดวยระบบคอมพิวเตอรดนตรี 8.4 ผูกํากับและควบคุมระบบเสียง (Sound Engineer) 8.5 ครูหรืออาจารยสอนดนตรี

9. ชื่อ ตําแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบ

ลําดับ ช่ือ-สกุล ตําแหนง ทางวิชาการ

คุณวุฒิ/สาขาวิชา สําเร็จจาก ปที่จบ

1 นายเบญจรงค กุลส ุ ผูชวยศาสตราจารย

ศศ.ม. (มานุษยดุริยางควิทยา) กศ.บ. (สังคมศึกษา)

มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา

2539

2518

2 นายพุทธะ ณ บางชาง อาจารย ศษ.ม. (มานษุยดุริยางควิทยา) ศษ.บ. (ดุริยางคศาสตร)

มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวะ

2543

2529

3 นายมณเฑียร รุงหิรัญ อาจารย ศษ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา) ค.บ. (ดนตรีสากล)

มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันราชภัฏจันทรเกษม

2549 2546

Page 3: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

3

ลําดับ ช่ือ-สกุล ตําแหนง ทางวิชาการ

คุณวุฒิ/สาขาวิชา สําเร็จจาก ปที่จบ

4 นายวิเชียร ธนลาภประเสริฐ

อาจารย ค.บ. (ดนตรีศึกษา) สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภปทุมธานี

2546

5 นายศรัทธา สวาทสุข อาจารย ค.บ. (ดนตรีศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ปทุมธานี

2548

10. สถานท่ีจัดการเรียนการสอน

ในสถานที่ต้ัง มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

ความเปลี่ยนแปลงของโลกปจจุบันและอนาคต ในรูปแบบตางๆ มีปจจัยสําคัญหลายประการ รวมถึงความกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร การคมนาคมขนสงและสื่อสารมวลชน ตลอดจนอิทธิพลของการรวมตัวของประเทศในภูมิภาคอาเซียน สวนเศรษฐกิจไทย ที่มีการขยายตัวอยางตอเน่ือง ทั้งภาคอุตสาหกรรมใหม และภาคบริการ สงผลกระทบตอการจัดการศึกษา ที่ตองสามารถรองรับความเปลี่ยนแปลง (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2551)

11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม แนวโนมของการเปลี่ยนแปลงชีวิตงานของบัณฑิตใหมในอนาคตที่แตกตางจากปจจุบัน เชนการทํางานที่มีหลายอาชีพตลอดจนชวงอายุ การทํางานไรสังกัด (Freelance) การจับคูผูรวมงานและเปลี่ยนแปลงผูรวมงาน เปนรูปแบบใหมในสังคมและวัฒนธรรมที่การศึกษาตองเพิ่มความสําคัญกับคุณภาพการศึกษา และทักษะอาชีพที่พึงประสงคในอนาคต สงเสริมการสรางความรู ตกผลึกความรูเปนองคความรู ใชความรูใหเกิดประโยชนทางสังคม เศรษฐกิจพาณิชย การสรางมูลคาเพิ่ม การสรางนวัตกรรม เชนดนตรี ศิลปะ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาการสมอง การบริหารจัดการ พลังงาน และสิ่งแวดลอม เปนตน (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2551) 12. ผลกระทบจาก ขอ 11.1 และ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ียวของกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย ผลกระทบจากสถานการณภายนอกการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับพันธกิจของมหาวิทยาลยัราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี ในการเปนสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาทองถ่ินในอุษาคเนย การพัฒนาหลักสูตรจึงเนนการพัฒนานักศึกษาใหมีความรู ทักษะวิชาชีพ ทักษะพื้นฐานที่จําเปน มีคุณธรรม จริยธรรมในการดํารงชีวิตและประกอบอาชีพอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

Page 4: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

4

13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอ่ืนท่ีเปดสอนในคณะ/ภาควิชาอ่ืนของสถาบัน 13.1 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรน้ีท่ีเปดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอ่ืน

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ หมวดวิชาเลือกเสรี

13.2 รายวิชาในหลักสูตรท่ีเปดสอนใหภาควิชา/หลักสูตรอ่ืนมาเรียน รายวิชาที่เปดสอนในหลักสูตรน้ี นักศึกษาสาขาวิชาอื่น สามารถเลือกเรียนเปนวิชาเลือกเสรีได

13.3 การบริหารจัดการหลักสูตร มหาวิทยาลัย คณะ และอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร วางแผนการดําเนินงานรวมกันใน

การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมเสริมสรางคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคของนักศึกษา และ การประเมินหลักสูตร

Page 5: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

5

หมวดท่ี 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร

1.1 ปรัชญา เปนเลิศทางความรู ทักษะ วินัยและความคิดสรางสรรค เพื่อพัฒนาตนและชุมชน

1.2 ความสําคัญ นักศึกษาหลักสูตรดนตรีสากลตองมีความรู ทักษะและความคิดสรางสรรคทางศิลปะ

ตลอดจนตองมีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบที่ใชในการประกอบอาชีพ เกี่ยวกับดนตรีสากล ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาสังคม สามารถปรับตัว และเรียนรูงาน เรียนรูคน เรียนรูความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก เพื่อดํารงชีวิตไดอยางมีความสุข 1.3 วัตถุประสงค 1.3.1 ผลิตบัณฑิตที่มีความรับผิดชอบตอหนาที่ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสํานึกที่ดีตอสังคมและชุมชน 1.3.2 ผลิตบัณฑิตที่มีความรู ความสามารถและตรงตอเวลา 1.3.3 ผลิตบัณฑิตใหมีความคิดริเริ่มสรางสรรค สามารถนําความรู และทักษะมา บูรณาการและประยุกตใชในการประกอบอาชีพ

1.3.4 ผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถดานการวิจัย และมีศักยภาพในการศึกษาข้ันสูงตอไป

2. แผนพัฒนาปรับปรุง

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงชี้

1. ปรบัปรุงหลกัสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาดนตรีใหมีมาตรฐานไมตํ่ากวามาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด และความตองการของภาคธุรกิจและสถานประกอบการ

1. ติดตามความเปลี่ยนแปลงและความตองการกําลังคน ในภาคธุรกิจและสถานประกอบการเพื่อเปนขอมลู ในการพัฒนาหลกัสูตร 2. สํารวจความตองการดานความรูทักษะ และคุณลักษณะของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาดนตรีที่ภาคธุรกจิ และสถานประกอบการ ตองการเพื่อนํามาพัฒนาหลักสูตร

1. รายงานผลการดําเนินงาน 2. นักศึกษาอยางนอยรอยละ 90 ผานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 3. เอกสารการประสานงาน กับหนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชน 4. รายงานผลการปฏิบัติงานสหกจิศึกษา 5. ผลสํารวจความพงึพอใจของผูใชบัณฑิตไมตํ่ากวา 3.5 จากระดับ 5

Page 6: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

6

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง

กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงชี้

3. เชิญผูเช่ียวชาญทั้งภาครัฐเอกชนและผูใชบัณฑิตมามี สวนรวมในการพัฒนาหลกัสูตร 4. ประสานความรวมมือกบัผูประกอบการ หนวยงานภาครัฐและเอกชนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และสหกจิศึกษา 5. ติดตามประเมินหลักสูตรอยางสม่ําเสมอ

2. พัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการสอน

1. อบรมอาจารยใหมใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเทคนิคการสอนการวัดและประเมินผล 2. อาจารยทุกคนตองเขาอบรมหลกัสูตรการสอนรูปแบบตางๆ การวัดผลประเมินผลตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

1. โครงการอบรมอาจารยเกี่ยวกับเทคนิคการสอน การวัดและการประเมินผล 2. รายงานผลการประเมิน การสอนของอาจารย 3. หลักฐานการสงบุคลากร เขาฝกอบรม ประชุมเกี่ยวกบัการจัดการเรียนการสอน

3. พัฒนาบุคลากรดานองคความรูใหทันตอความกาวหนาทางเทคโนโลยี และองคความรูใหมๆ สรางเสริมประสบการณ และนําความรูดานดนตรมีาใชในการปฏิบัติการ

1. สนับสนุนบุคลากรในการพัฒนาใหทันตอความกาวหนาทางเทคโนโลยีและองคความรู 2. สนับสนุนบุคลากรดานการเรียนการสอนและการบริการวิชาการแกบุคคลของหนวยงานภายนอก 3. สงเสรมิการจัดกจิกรรมทางวิชาการ การแสดง งานวิจัยเพื่อสรางเสริมประสบการณ การนําความรูดานดนตรมีาใชในการปฏิบัติการ

1. หลักฐานการสงบุคลากร เขารับการฝกอบรม ประชุม สัมมนาวิชาการในสาขาวิชาดนตรี 2. โครงการบรกิารวิชาการแกบุคคลของหนวยงานภายนอก 3. โครงการจัดการแขงขันและนิทรรศการดนตร ี4. งานวิจัย งานวิชาการ ของอาจารยและนักศึกษา

Page 7: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

7

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา

1.1 ระบบ ระบบทวิภาค โดยหน่ึงปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ แตละภาคการศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห หรือเทียบเทา หากมีการจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ใหจัดเน้ือหาวิชาในสัดสวน ที่สัมพันธกัน โดยระยะเวลาไมนอยกวา 8 สัปดาห และจํานวนหนวยกิตไมเกิน 9 หนวยกิต

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ไมมีภาคฤดูรอน 1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค ไมมี

2. การดําเนินการหลักสูตร

2.1 วัน-เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน ในเวลาราชการ เริ่มเปดทําการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2555

ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – กันยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ

2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 2.2.1 เปนผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทา และใหเปนไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ 2.2.2 ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี วาดวยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาปริญญาตรี พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ก ) 2.2.3 ใหเปนไปตามมติของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา 2.3.1 นักศึกษาใหมมีพื้นฐานความรูและทักษะทางดนตรีแตกตางกัน 2.3.2 การศึกษาในระดับอุดมศึกษาแตกตางกับระดับมัธยมศึกษา นักศึกษาใหมไมมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับโครงสรางหลักสูตร ระบบการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประมวลผล 2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพ่ือแกไขปญหา / ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3 2.4.1 จัดอบรมปรับพื้นฐานความรู และทักษะทางดนตรีใหนักศึกษาใหมกอนเปดภาคการศึกษา 2.4.2 จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับโครงสรางหลกัสตูร ระบบการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

Page 8: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

8

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษา

จํานวนนักศึกษา ปการศึกษา

2555 2556 2557 2558 2559 ช้ันปที่ 1 40 40 40 40 40 ช้ันปที่ 2 - 40 40 40 40 ช้ันปที่ 3 - - 40 40 40 ช้ันปที่ 4 - - - 40 40

รวม 40 80 120 160 160 คาดวาจะสําเร็จการศึกษา - - - 40 40

2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรับ(หนวย บาท)

รายละเอียดรายรับ ปงบประมาณ

2555 2556 2557 2558 2559 คาลงทะเบียน 160,000 320,000 480,000 640,000 800,000 เงินอุดหนุนจากรัฐบาล 32,000 64,000 96,000 128,000 160,000 รวมรายรับ 192,000 384,000 576,000 768,000 960,000

2.6.2 งบประมาณรายจาย(หนวย บาท)

หมวดเงิน ปงบประมาณ

2555 2556 2557 2558 2559 1. คาตอบแทน 1,500,000 1,500,000 1,212,000 1,225,000 1,225,000 2. คาใชสอย 10,000 10,000 30,000 30,000 30,000 3. คาวัสดุ 30,000 50,000 60,000 60,000 60,000 4. คาสาธารณูปโภค 18,000 36,000 54,000 72,000 72,000 5. คาครุภัณฑ 100,000 30,000 30,000 30,000 30,000 6. คาท่ีดินสิ่งกอสราง 100,000 100,000 100,000 100,000 100,000 7. คาดําเนินการ 20,000 20,000 20,000 20,000 20,000 รวม 1,778,000 1,746,000 1,506,000 1,537,000 1,537,000 จํานวนนักศึกษา 40 80 120 160 160 คาใชจายตอหัวนักศึกษา

44,450 21,825 12,550 9,606.25 9,606.25

หมายเหตุ คาใชจายเฉลี่ยในการผลิตบัณฑิต ประมาณ 22,107.81 บาท/คน/ป

Page 9: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

9

2.7 ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาเปนแบบช้ันเรียน และใหเปนเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏ

วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี วาดวยการจัดการศึกษาระดับ อนุปริญญา ปริญญาตรี พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ก) 2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย 2.8.1 เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี วาดวยการจัดการศึกษาระดับ อนุปริญญา ปริญญาตรี พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ก) 2.8.2 การเทียบโอนหนวยกิตและรายวิชาระหวางหลักสูตรในมหาวิทยาลัย ใหเปน ไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี วาดวยการเทียบโอนผลการเรียนและยกเวนการเรียนรายวิชา พ.ศ. 2549 (ภาคผนวก ข)

3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 135 หนวยกิต 3.1.2 โครงสรางหลักสูตร แบงเปนหมวดวิชาดังน้ี 1) หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป จํานวนไมนอยกวา 30 หนวยกิต 1.1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 หนวยกิต 1.2) กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 13 หนวยกิต 1.3) กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 8 หนวยกิต 2) หมวดวิชาเฉพาะ จํานวนไมนอยกวา 99 หนวยกิต 2.1) กลุมวิชาเน้ือหา 92 หนวยกิต

2.1.1) กลุมวิชาบังคับ 47 หนวยกิต 2.1.2) กลุมวิชาเลือก 45 หนวยกิต 2.2) กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ 7 หนวยกิต

3) หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต 3.1.3 รายวิชาในหมวดตางๆ 1) หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป จํานวนไมนอยกวา 30 หนวยกิต

ใชหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปของมหาวิทยาลัย (ภาคผนวก จ) 2) หมวดวิชาเฉพาะ จํานวนไมนอยกวา 99 หนวยกิต 2.1) กลุมวิชาเน้ือหา จํานวนไมนอยกวา 92 หนวยกิต 2.1.1) วิชาบังคับ บังคับเรียนจากรายวิชาตอไปน้ี 47 หนวยกิต ภาคทฤษฎี จํานวน 24 หนวยกิต

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061301 ทฤษฎีดนตรีสากล 1 3(3-0-6) Music Theory 1

Page 10: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

10

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061701 คอมพิวเตอรดนตรีข้ันพื้นฐาน 3(2-2-5) Introduction to Music Computer 2062301 ทฤษฎีดนตรีสากล 2 3(3-0-6) Music Theory 2 2062306 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตศตวรรษที่ 18 ถึงปจจุบัน 3(3-0-6) Music from 1800 to Modern 2063301 ทฤษฎีดนตรีสากล 3 3(3-0-6) Music Theory 3 2063317 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตยุคโบราณถึง ค.ศ. 1750 3(3-0-6) Music from Antiquity to 1750 2063326 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 1 3(3-0-6) Forms and Analysis of Western Music 1 2064312 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 2 3(3-0-6) Forms and Analysis of Western Music 2 ภาคปฏิบัติ จํานวน 23 หนวยกิต ก. ใหเรียนรายวิชาในกลุมปฏิบัติตอไปน้ีเพียงกลุมเดียว 12 หนวยกิต กลุมปฏิบัติเคร่ืองลมไม รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061401 ปฏิบัติเครือ่งลมไม 1 2(0-4-2) Woodwind Performance 1 2061402 ปฏิบัติเครือ่งลมไม 2 2(0-4-2) Woodwind Performance 2 2062401 ปฏิบัติเครือ่งลมไม 3 2(0-4-2) Woodwind Performance 3 2063401 ปฏิบัติเครือ่งลมไม 4 2(0-4-2) Woodwind Performance 4 2063402 ปฏิบัติเครือ่งลมไม 5 2(0-4-2) Woodwind Performance 5 2064401 ปฏิบัติเครือ่งลมไม 6 2(0-4-2) Woodwind Performance 6 กลุมปฏิบัติเคร่ืองทองเหลือง รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061403 ปฏิบัติเครือ่งทองเหลือง 1 2(0-4-2) Brass Performance 1

Page 11: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

11

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061404 ปฏิบัติเครือ่งทองเหลือง 2 2(0-4-2) Brass Performance 2 2062403 ปฏิบัติเครือ่งทองเหลือง 3 2(0-4-2) Brass Performance 3 2063403 ปฏิบัติเครือ่งทองเหลือง 4 2(0-4-2) Brass Performance 4 2063404 ปฏิบัติเครือ่งทองเหลือง 5 2(0-4-2) Brass Performance 5 2064403 ปฏิบัติเครือ่งทองเหลือง 6 2(0-4-2) Brass Performance 6 กลุมปฏิบัติเคร่ืองสายสากล รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061405 ปฏิบัติเครือ่งสายสากล 1 2(0-4-2) String Performance 1 2061406 ปฏิบัติเครือ่งสายสากล 2 2(0-4-2) String Performance 2 2062405 ปฏิบัติเครือ่งสายสากล 3 2(0-4-2) String Performance 3 2063405 ปฏิบัติเครือ่งสายสากล 4 2(0-4-2) String Performance 4 2063406 ปฏิบัติเครือ่งสายสากล 5 2(0-4-2) String Performance 5 2064405 ปฏิบัติเครือ่งสายสากล 6 2(0-4-2) String Performance 6 กลุมปฏิบัติกีตาร รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061407 ปฏิบัติกีตาร 1 2(0-4-2) Guitar Performance 1 2061408 ปฏิบัติกีตาร 2 2(0-4-2) Guitar Performance 2 2062407 ปฏิบัติกีตาร 3 2(0-4-2) Guitar Performance 3 2062408 ปฏิบัติกีตาร 4 2(0-4-2) Guitar Performance 4

Page 12: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

12

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2063408 ปฏิบัติกีตาร 5 2(0-4-2) Guitar Performance 5 2064407 ปฏิบัติกีตาร 6 2(0-4-2) Guitar Performance 6 กลุมปฏิบัติเคร่ืองคียบอรด รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061409 ปฏิบัติคียบอรด 1 2(0-4-2) Keyboard Performance 1 2061410 ปฏิบัติคียบอรด 2 2(0-4-2) Keyboard Performance 2 2062409 ปฏิบัติคียบอรด 3 2(0-4-2) Keyboard Performance 3 2062410 ปฏิบัติคียบอรด 4 2(0-4-2) Keyboard Performance 4 2063410 ปฏิบัติคียบอรด 5 2(0-4-2) Keyboard Performance 5 2064409 ปฏิบัติคียบอรด 6 2(0-4-2) Keyboard Performance 6 กลุมปฏิบัติขับรองสากล รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061411 ปฏิบัติขับรองสากล 1 2(0-4-2) Voice Performance 1 2061412 ปฏิบัติขับรองสากล 2 2(0-4-2) Voice Performance 2 2062411 ปฏิบัติขับรองสากล 3 2(0-4-2) Voice Performance 3 2062412 ปฏิบัติขับรองสากล 4 2(0-4-2) Voice Performance 4 2063412 ปฏิบัติขับรองสากล 5 2(0-4-2) Voice Performance 5 2064411 ปฏิบัติขับรองสากล 6 2(0-4-2) Voice Performance 6

Page 13: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

13

กลุมปฏิบัติเคร่ืองกระทบ รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061413 ปฏิบัติเครือ่งกระทบ 1 2(0-4-2) Percussion Performance 1 2061414 ปฏิบัติเครือ่งกระทบ 2 2(0-4-2) Percussion Performance 2 2062413 ปฏิบัติเครือ่งกระทบ 3 2(0-4-2) Percussion Performance 3 2063413 ปฏิบัติเครือ่งกระทบ 4 2(0-4-2) Percussion Performance 4 2063414 ปฏิบัติเครือ่งกระทบ 5 2(0-4-2) Percussion Performance 5 2064413 ปฏิบัติเครือ่งกระทบ 6 2(0-4-2) Percussion Performance 6 ข. เรียน 4 หนวยกิต ผูที่ไมไดเลือกเรียนกลุมปฏิบัติคียบอรดใหเรียนปฏิบัติคียบอรด 1 และปฏิบัติคียบอรด 2 ผูทีเ่รียนปฏิบัติคียบอรดใหเลือกเรียนปฏิบัติเครือ่งดนตรีในกลุมปฏิบัติ เครื่องดนตรีอื่นเพียงกลุมเดียวในรายวิชาปฏิบัติระดับ 1และระดับ 2 ค. ใหเรียนรายวิชาตอไปน้ี 3 หนวยกิต รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2064903 การเสนอผลงานดนตร ี 3(2-2-5) Music Presentation ง. ใหเรียนรายวิชาตอไปน้ี 4 หนวยกิต กลุมปฏิบัติรวมวงเล็ก รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2062415 ปฏิบัติรวมวงเลก็แบบสตรงิ 1(0-2-1) String Band 2062416 ปฏิบัติรวมวงเลก็แบบคอมโบ 1(0-2-1) Combo Band 2063415 ปฏิบัติรวมวงเลก็แบบรวมสมัย 1(0-2-1) Contemporary Band 2063416 ปฏิบัติรวมวงเลก็แบบแจส 1(0-2-1) Jazz Band

Page 14: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

14

กลุมปฏิบัติรวมวงใหญ รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2062417 ปฏิบัติรวมวงใหญ 1 1(0-2-1) Band Orchestra 1 2062418 ปฏิบัติรวมวงใหญ 2 1(0-2-1) Band Orchestra 2 2063417 ปฏิบัติรวมวงใหญ 3 1(0-2-1) Band Orchestra 3 2063418 ปฏิบัติรวมวงใหญ 4 1(0-2-1) Band Orchestra 4 กลุมปฏิบัติขับรองประสานเสียง รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2062419 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 1 1(0-2-1) Chorus Vocal 1 2062420 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 2 1(0-2-1) Chorus Vocal 2 2063419 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 3 1(0-2-1) Chorus Vocal 3 2063420 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 4 1(0-2-1) Chorus Vocal 4 2.1.2) กลุมวิชาเลือก เลือกเรียนตอไปน้ีไมนอยกวา 45 หนวยกิต ก. ภาคทฤษฎีท่ัวไป รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061505 ดนตรีวิจักษ 3(3-0-6) Introduction to Music 2061506 ดนตรีรวมสมัย 3(3-0-6) Contemporary Music 2062309 การอํานวยเพลงเบื้องตน 2(1-2-3) Introduction to Conducting 2062310 การอํานวยเพลงขับรองประสานเสียง 2(1-2-3) Choral Conducting 2062311 โอเปราและละครเพลง 3(3-0-6) Opera and Musical Comedies 2062314 ปรัชญาของดนตร ี 3(3-0-6) Philosophy of Music

Page 15: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

15

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2062501 ประวัติเครื่องดนตร ี 3(3-0-6) History of Musical Instruments 2062502 ประวัติดนตรเีชิงปฏิบัติ 3(3-0-6) Collegium Music 2062506 ความสัมพันธระหวางดนตรีไทยกับดนตรีตะวันตก 3(3-0-6) Thai Music Related to Western Music 2062507 การเขียนวิจารณดนตร ี 3(3-0-6) Writing Music Criticism 2062508 การเกบ็รกัษาและการซอมเครื่องดนตรีเบื้องตน 3(2-2-5) Introduction to Music Instrument Maintenance and Repair 2062509 การทําความสะอาดและการปรบัเครือ่งเปา 3(2-2-5) Cleaning and Adjustment of Wind Instruments 2062513 การจัดการวงดนตร ี 3(3-0-6) Management of Music Business 2063204 การอานและเขียนโนตสากล 4 1(1-0-2) Solfege and Dictation 4 2063503 เพลงไทยสากลเชิงประวัติ 3(3-0-6) History of Thai Popular Song 2063504 ดนตรีและความเกี่ยวพันกับศิลปะแขนงอื่น 3(3-0-6) Relationship with Other Arts 2063505 สุนทรียศาสตรทางดนตร ี 3(3-0-6) Aesthetics of Music 2063506 จิตวิทยาดนตร ี 3(3-0-6) Psychology of Music 2063508 ดนตรีบําบัด 3(3-0-6) Music Therapy 2063617 การสอนกีตาร 3(3-0-6) Guitar Pedagogy 2063706 การซอมสรางอปุกรณดนตร ี 3(2-2-5) Instrumental Maintenance and Repair 2063901 หลักการเขียนรายงานดนตรีนิพนธ 3(3-0-6) Research Methods in Music 2064901 การศึกษาดนตรีเอกเทศ 3(3-0-6) Independent Study in Music

Page 16: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

16

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2064906 สัมมนาดนตร ี 3(3-0-6)

Seminar in Music ข. กลุมวิชาทฤษฎีและการประพันธ รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061308 ทฤษฎีดนตรีสากลข้ันพื้นฐาน 3(3-0-6) Music Fundamentals 2062303 การประพันธ 1 3(3-0-6) Composition 1 2063329 การประพันธ 2 3(3-0-6) Composition 2 2063330 การประพันธ 3 3(3-0-6) Composition 3 2063302 ทฤษฎีดนตรีสากล 4 3(3-0-6) Music Theory 4 2063303 หลักการประพันธเบื้องตน 3(3-0-6) Elements of Composition 2063304 การเรียบเรียงดนตรสีําหรับเด็ก 3(3-0-6) Arranging for Children Songs 2063305 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรบั การขับรองประสานเสียง 3(3-0-6) Arranging for Chorus 2063325 การเรียบเรียงดนตรสีําหรับวงดุริยางค 3(3-0-6) Orchestration 2064301 เคานเตอรพอยต 3(3-0-6) Counterpoint 2064302 ดนตรีในสมัยศตวรรษที่ 21 3(3-0-6) Music in the 21th Century 2064321 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรบัวงโยธวาทิต 3(3-0-6) Arranging for Band Music 2064702 การเรียบเรียงดนตรปีระกอบสื่อ 3(2-2-5) Music Arranging for Visual Media ค. กลุมเทคโนโลยีทางดนตรี รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061701 คอมพิวเตอรดนตรีข้ันพื้นฐาน 3(2-2-5) Introduction to Music Computer

Page 17: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

17

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ)2062701 พื้นฐานเครื่องสงัเคราะหเสียง 3(2-2-5)

Introduction to the Sound Synthesizer 2062702 ระบบบันทกึและประมวลผลขอมูลทางดนตร ี 3(2-2-5) Sequencing and Note Processing 2062709 ปฏิบัติการบันทึกเสียงดนตรี 1 3(2-2-5) Studio Recording 1 2063701 การใชคอมพิวเตอรชวยงานดนตร ี 3(2-2-5) Computer Aided Music 2063703 ปฏิบัติการบันทึกเสียงดนตรี 2 3(2-2-5) Studio Recording 2 2063704 ปฏิบัติดนตรีอเิลก็ทรอนิกส 3(2-2-5) Electronics Music Workshop 2063705 อุตสาหกรรมการดนตรเีบื้องตน 3(2-2-5) Music Industry Overview 2064701 การผลิตผลงานทางดนตรีดวยคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Productions of Computerized Music ง. กลุมดนตรีวิทยา รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2061501 การจัดเก็บระบบขอมลูดนตร ี 3(3-0-6) Systemization Of Musical Datas 2061502 พื้นฐานดนตรีวิทยา 3(3-0-6) Introduction to Musicology 2061503 มานุษยวิทยาทางดนตร ี 3(3-0-6) Introduction to Ethnomusicology 2061504 พื้นฐานสังคมวิทยาทางดนตร ี 3(3-0-6) Introduction to Sociology of Music 2062503 การศึกษาดนตรีภาคสนาม 3(2-2-5) Introduction to Field Music Research 2062504 ดนตรีเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต 3(3-0-6) East and Southeast Asian Music 2062505 ดนตรีเอเชียใตและตะวันออกกลาง 3(3-0-6) South Asian and Middle East Music 2062515 การศึกษาประวัติดนตรีเชิงลึก 3(3-0-6) Music History Study in Depth

Page 18: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

18

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ)2063501 ดนตรีอาฟรกิา 3(3-0-6)

Music of Africa 2063502 ดนตรีอเมริกาและแปซิฟค 3(3-0-6) Music of the Americas and the Pacific 2063507 สวนศาสตรทางดนตร ี 3(3-0-6) Music Acoustics จ. กลุมดนตรีปอปปูลารและแจสศึกษา รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2062302 ทฤษฎีดนตรีแจส 3(3-0-6) Jazz Theory 2062313 คีตปฏิภาณแบบแจส 1 3(2-2-5) Jazz Improvisation 1 2062315 ประวัติดนตรีแจส 3(3-0-6) Jazz History 2063327 คีตปฏิภาณแบบแจส 2 3(2-2-5) Jazz Improvisation 2 2063328 การประพันธดนตรีแบบแจสและปอปปลูาร 3(3-0-6) Jazz and Popular Music Composition 2062305 ดนตรีปอปปลูารเริ่มต้ังแต ค.ศ. 1950 3(3-0-6) Popular musical Culture Since Bill Haley 2064306 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรบัดนตรีแจส และปอปปลูาร 3(3-0-6) Jazz and Popular Arranging ฉ. กลุมโยธวาทิต รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2062308 หลักการโยธวาทิต 3(3-0-6) Principles of Band Music 2062322 เครื่องกระทบสําหรับวงโยธวาทิต 3(2-2-5) Percussion for Band 2062323 ดนตรีสนาม 3(2-2-5) Marching and Display 2063321 การใชคอมพิวเตอรสําหรบัดนตรสีนาม 3(2-2-5) Computer for Marching and Display

Page 19: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

19

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2063320 การบริหารวงโยธวาทิต 3(3-0-6) Management of Band 2064320 การอํานวยเพลงโยธวาทิต 3(2-2-5) Conducting for Band Music ช. กลุมปฏิบัติรวมวงและขับรองประสานเสียง รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2062415 ปฏิบัติรวมวงแบบสตริง 1(0-2-1) String Band 2062416 ปฏิบัติรวมวงแบบคอมโบ 1(0-2-1) Combo Band 2063415 ปฏิบัติรวมวงแบบรวมสมัย 1(0-2-1) Contemporary Band 2063416 ปฏิบัติรวมวงแบบแจส 1(0-2-1) Jazz Band 2062417 ปฏิบัติรวมวงใหญ 1 1(0-2-1) Band Orchestra 1 2062418 ปฏิบัติรวมวงใหญ 2 1(0-2-1) Band Orchestra 2 2062419 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 1 1(0-2-1) Chorus Vocal 1 2062420 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 2 1(0-2-1) Chorus Vocal 2 2063417 ปฏิบัติรวมวงใหญ 3 1(0-2-1) Band Orchestra 3 2063418 ปฏิบัติรวมวงใหญ 4 1(0-2-1) Band Orchestra 4 2063419 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 3 1(0-2-1) Chorus Vocal 3 2063420 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 4 1(0-2-1) Chorus Vocal 4 ซ. กลุมปฏิบัติปอปปูลารและแจส รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2062421 ปฏิบัติเครือ่งลมไมแจส 1 2(0-4-2) Jazz Woodwind Performance 1

Page 20: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

20

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2062422 ปฏิบัติเครือ่งลมไมแจส 2 2(0-4-2) Jazz Woodwind Performance 2 2062423 ปฏิบัติเครือ่งทองเหลืองแจส 1 2(0-4-2) Jazz Brass Performance 1 2062424 ปฏิบัติเครือ่งทองเหลืองแจส 2 2(0-4-2) Jazz Brass Performance 2 2062425 ปฏิบัติเครือ่งสายสากลแจส 1 2(0-4-2) Jazz String Performance 1 2062426 ปฏิบัติเครือ่งสายสากลแจส 2 2(0-4-2) Jazz String Performance 2 2062427 ปฏิบัติกีตารพาณิชย 1 2(0-4-2) Jazz Guitar Performance or Commercial Guitar Performance 1 2062428 ปฏิบัติกีตารพาณิชย 2 2(0-4-2) Jazz Guitar Performance or Commercial Guitar Performance 2 2062429 ปฏิบัติคียบอรดแจส 1 2(0-4-2) Jazz Keyboard Performance 1 2062430 ปฏิบัติคียบอรดแจส 2 2(0-4-2) Jazz Keyboard Performance 2 2062431 ปฏิบัติขับรองสากลแจส 1 2(0-4-2) Jazz Voice Performance 1 2062432 ปฏิบัติขับรองสากลแจส 2 2(0-4-2) Jazz Voice Performance 2 2062433 ปฏิบัติเครือ่งกระทบแจส 1 2(0-4-2) Jazz Percussion Performance 1 2062434 ปฏิบัติเครือ่งกระทบแจส 2 2(0-4-2) Jazz Percussion Performance 2 2062435 รวมวงแจสหรือปอปปูลาร 1 2(0-4-2) Jazz or Popular Ensemble 1 2062436 รวมวงแจสหรือปอปปูลาร 2 2(0-4-2) Jazz or Popular Ensemble 1

Page 21: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

21

รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2063421 ปฏิบัติเครือ่งลมไมแจส 3 2(0-4-2) Jazz Woodwind Performance 3 2063422 ปฏิบัติเครือ่งลมไมแจส 4 2(0-4-2) Jazz Woodwind Performance 4 2063423 ปฏิบัติเครือ่งทองเหลืองแจส 3 2(0-4-2) Jazz Brass Performance 3 2063424 ปฏิบัติเครือ่งทองเหลืองแจส 4 2(0-4-2) Jazz Brass Performance 4 2063425 ปฏิบัติเครือ่งสายสากลแจส 3 2(0-4-2) Jazz String Performance 3 2063426 ปฏิบัติเครือ่งสายสากลแจส 4 2(0-4-2) Jazz String Performance 4 2063427 ปฏิบัติกีตารพาณิชย 3 2(0-4-2) Jazz Guitar Performance or Commercial Guitar Performance 3 2063428 ปฏิบัติกีตารพาณิชย 4 2(0-4-2) Jazz Guitar Performance or Commercial Guitar Performance 4 2063429 ปฏิบัติคียบอรดแจส 3 2(0-4-2) Jazz Keyboard Performance 3 2063430 ปฏิบัติคียบอรดแจส 4 2(0-4-2) Jazz Keyboard Performance 4 2063431 ปฏิบัติขับรองสากลแจส 3 2(0-4-2) Jazz Voice Performance 3 2063432 ปฏิบัติขับรองสากลแจส 4 2(0-4-2) Jazz Voice Performance 4 2063433 ปฏิบัติเครือ่งกระทบแจส 3 2(0-4-2) Jazz Percussion Performance 3 2063434 ปฏิบัติเครือ่งกระทบแจส 4 2(0-4-2) Jazz Percussion Performance 4 2063435 รวมวงแจสหรือปอปปูลาร 3 2(0-4-2) Jazz or Popular Ensemble 3 2063436 รวมวงแจสหรือปอปปูลาร 4 2(0-4-2) Jazz or Popular Ensemble

Page 22: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

22

2.2) กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ 7 หนวยกิต เลือกเรียน จากกลุมวิชาใดวิชาหน่ึงตอไปน้ีไมนอยกวา 7 หนวยกิต

ก. กลุมวิชาสหกิจศึกษา รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2063802 การเตรียมสหกจิศึกษาสาชาวิชาดนตรีสากล 1(45) Preparation for Cooperative Education in Music 2064802 สหกจิศึกษาสาขาวิชาดนตรีสากล 6(640) Cooperative Education in Music

ข. กลุมวิชาฝกประสบการณวิชาชีพ รหัส ชื่อวิชา น(ท-ป-ศ) 2063801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพสาขาวิชาดนตรี 2(90) Preparation for Professional Experience in Music 2064801 การฝกประสบการณวิชาชีพสาขาวิชาดนตรี 5(450) Practical Experience in Music

3) หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต ใหเลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี โดยไมซ้ํากับรายวิชาที่เคยเรียนมาแลวและตองไมเปนรายวิชาที่กําหนดใหเรียนโดยไมนับหนวยกิตรวมในเกณฑการสําเร็จหลักสูตรของสาขาวิชาน้ี หมายเหตุ ความหมายของเลขรหัสรายวิชา

รหัสรายวิชาประกอบดวยตัวเลข 7 ตัว เลขตัวที่ 3 ตัวแรกเปนหมวดวิชาและหมูวิชา เลขตัวที่ 4 บงบอกถึงระดับความยาก งายหรือช้ันป เลขตัวที่ 5 บงบอกถึงลักษณะเน้ือหาวิชา เลขตัวที่ 6 7 บงบอกถึงลําดับกอนหลังของวิชา

ความหมายของหมวดวิชาและหมูวิชาในหลักสูตร 206 หมูวิชาทฤษฎีดนตรีและวิชาปฏิบัติ

900 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

Page 23: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

23

3.1.4 การจัดแผนการศึกษา

ชั้นปท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 9000101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 9000102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 9000201 มนุษยกับการดําเนินชีวิต

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบังคับ

2061301 ทฤษฎีดนตรีสากล 1 XXXXXX เลือกปฏิบัติ 1

3(3-0-6) 2(0-4-2)

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเลือก

2061503 มานุษยวิทยาทางดนตรี 2063304 การเรียบเรียงดนตรีสําหรับเด็ก

3(3-0-6) 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 20 หนวยกิต

ชั้นปท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

9000103 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารและทักษะการเรียน 9000202 พลวัตทางสังคม 9000206 สุนทรียภาพของชีวิต

3(3-0-6) 3(3-0-6) 2(2-0-4)

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบังคับ

2062301 ทฤษฎีดนตรีสากล 2 XXXXXX เลือกปฏิบัติ 2

3(3-0-6) 2(2-0-4)

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเลือก

2062302 ทฤษฏีดนตรีแจส 2062315 ประวัติดนตรีแจส 2063706 การซอมสรางอุปกรณดนตรี

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 22 หนวยกิต

Page 24: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

24

ชั้นปท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 1 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 9000203 ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท 9000204 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย 9000301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต

3(3-0-6) 2(2-0-4) 3(2-2-5)

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบังคับ

2063301 ทฤษฎีดนตรีสากล 3 2062415 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบสตริง XXXXXX เลือกปฏิบัติ 3 XXXXXX บังคับคียบอรดและอื่นๆ 1

3(3-0-6) 1(0-2-1) 2(2-0-4) 2(0-4-2)

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเลือก

2064306 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับดนตรี แจสและปอปปูลาร 2063305 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับการ ขับรองประสานเสียง

3(3-0-6)

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 22 หนวยกิต

ชั้นปท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 9000302 วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต 9000304 การออกกําลงักายเพือ่พัฒนาคุณภาพชีวิต

3(3-0-6) 2(1-2-3)

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบังคับ

2063317 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแต ยุคโบราณถึง ค.ศ. 1750 2063326 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 1 XXXXXX เลือกปฏิบัติ 4

3(3-0-6)

3(3-0-6) 2(0-4-2)

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเลือก

2062313 คีตปฏิภาณแบบแจส 1 2064703 การติดต้ังและการใชระบบเครื่องเสียง2062505 ดนตรีเอเชียใตและตะวันออกกลาง

3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 22 หนวยกิต

Page 25: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

25

ชั้นปท่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบังคับ

2063415 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบรวมสมัย 2062306 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตศตวรรษที่ 18 ถึงปจจุบัน 2061701 คอมพิวเตอรดนตรีข้ันพื้นฐาน 2064312 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 2 2062416 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบคอมโบ XXXXXX เลือกปฏิบัติ 5 และอื่นๆ 1

1(0-2-1) 3(3-0-6)

3(2-2-5) 3(3-0-6) 1(0-2-1)

2(2-0-4) หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเลือก

2063327 คีตปฏิภาณแบบแจส 2 2065303 เพลงไทยสากลเชิงประวัติ 2064701 การผลิตผลงานทางดนตรีดวยคอมพวิเตอร

3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(2-2-5)

รวมหนวยกิต 22 หนวยกิต

ชั้นปท่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 2 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบังคับ

2063416 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบแจส XXXXXX เลือกปฏิบัติ 6 และอื่นๆ 2

1(0-2-1) 2(0-4-2)

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาเลือก

2063701 การใชคอมพิวเตอรชวยงานดนตรี 2063328 การประพันธดนตรีแบบแจสและปอปปูลาร

3(2-2-5) 3(3-0-6)

วิชาเลือกเสรี 2061505 ดนตรีวิจักษ 3(3-0-6) รวมหนวยกิต 12 หนวยกิต

Page 26: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

26

ชั้นปท่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 1 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ วิชาบังคับ

2064903 การเสนอผลงานดนตรี 3(2-2-5)

วิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ

2063802 การเตรียมสหกิจศึกษาสาขาวิชาดนตรี หรือ 2063801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี

1(45)

2(90) วิชาเลือกเสรี

2061506 ดนตรีรวมสมัย 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 7/8 หนวยกิต

ชั้นปท่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 2 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต

วิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ

2064802 สหกิจศึกษาสาขาวิชาดนตรี หรือ 2064801 การฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี

6(640)

5(450) รวมหนวยกิต 6/5 หนวยกิต

Page 27: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

27

3.1.5 คําอธิบายรายวิชา รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2061301 ทฤษฏีดนตรีสากล 1 3(3-0-6) Music Theory 1 ตรัยด (Triad) คอรด (Chord) และการพลิกกลับของคอรด (Inversion) ครั้งที่ 1 (First Inversion) ครั้งที่ 2 (Second Inversion) จุดพักเพลง (Cadence) การใชคอรดในรูปพื้นดน(Root Position) โนตนอกประสานเสียง (Tension) การเขียนและวิเคราะหทํานอง การประสานเสียง 4 แนว การฝก โสตประสาทใหสอดคลองกับเน้ือหาวิชาเรียน 2061303 การอานและเขียนโนตสากล 1 1(1-0-2) Solfege and Dictation 1 ฝกอานโนตอยางงาย ๆ ทั้ง Treble Clef และ Bass Clef ในบันไดเสียง Pentatonic ในอัตราจังหวะ Simple Time ฝกโสตประสาทและเขียนโนตดนตรีแนวเดียวจากการฟง 2061307 ทฤษฏีดนตรีสากลท่ัวไป 2(1-2-3) Introduction Music Theory ศึกษาจังหวะ อัตราจังหวะธรรมดาและผสม การจับกลุมตัวโนตตามจังหวะ ระดับเสียง กุญแจประจําหลัก เครื่องหมายแปลงเสียง บันไดเสียง เมเจอร การฝกอานโนตงายๆ การฝกโสตประสาท ศัพทสังคีต ภาษาอิตาเลียน ข้ันพื้นฐานเกี่ยวกับความเร็วชาและความหนักเบา 2061308 ทฤษฎีดนตรีสากลขั้นพ้ืนฐาน 3(3-0-6) Music Fundamentals การบันทึกโนตสากล บันไดเสียง กุญแจ ข้ันคู ศัพทสังคีตทั่วไป และการฝกโสตประสาทใหสอดคลองกับเน้ือหาวิชาที่เรียน 2061401 ปฏิบัติเคร่ืองลมไม 1 2(0-4-2) Woodwind Performance 1 การเรียนการสอนเครื่องลมไม มุ งพัฒนาการปฏิบั ติเครื่องดนตรีให เต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง–ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา(เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

Page 28: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

28

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2061402 ปฏิบัติเคร่ืองลมไม 2 2(0-4-2) Woodwind Performance 2 การเรียนการสอนเครื่องลมไม มุ งพัฒนาการปฏิบั ติเครื่องดนตรีให เต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง–ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา (เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาในระดับที่ 1 2061403 ปฏิบัติเคร่ืองทองเหลือง 1 2(0-4-2) Brass Performance 1 การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง–ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา(เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง 2061404 ปฏิบัติเคร่ืองทองเหลือง 2 2(0-4-2) Brass Performance 2 การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง–ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา(เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาในระดับที่ 1 2061405 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากล 1 2(0-4-2) String Performance 1 การเรียนการสอนปฏิบัติเครื่องสายสากล มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องมือ การดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง (ความเพี้ยนของเสียงสูง - ตํ่า) การใชคันชักและการวางน้ิว การต้ังเสียงและการเกิดเสียง ฝกเลนบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

Page 29: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

29

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2061406 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากล 2 2(0-4-2) String Performance 2 การเรียนการสอนปฏิบัติเครื่องสายสากล มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องมือ การดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง (ความเพี้ยนของเสียงสูง-ตํ่า) การใชคันชักและการวางน้ิว การต้ังเสียงและการเกิดเสียง ฝกเลนบันไดเสียง, บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 1 2061407 ปฏิบัติกีตาร 1 2(0-4-2) Guitar 1 การเรียนปฏิบั ติกีตารคลาสสิค มุ งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให เต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง การวางน้ิว เทคนิคการตีคอรด การเกากีตาร การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง 2061408 ปฏิบัติกีตาร 2 2(0-4-2) Guitar 2 การเรียนปฏิบั ติกีตารคลาสสิค มุ งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให เต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง การวางน้ิว เทคนิคการตีคอรด การเกากีตาร การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกใหฝกในระดับที่สูงกวาระดับ 1 2061409 ปฏิบัติคียบอรด 1 2(0-4-2) Keyboard Performance 1 การเรียนการสอนปฏิบัติคียบอรด มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา การไลเสียง บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถายทอดอารมณ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

Page 30: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

30

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2061410 ปฏิบัติคียบอรด 2 2(0-4-2) Keyboard Performance 2 การเรียนการสอนปฏิบัติคียบอรด มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา การไลเสียง บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถายทอดอารมณ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง ฝกในระดับที่สูงกวาระดับ 1 2061411 ปฏิบัติขับรองสากล 1 2(0-4-2) Voice Performance 1 การเรียนการสอนปฏิบัติขับรองสากล มุงพัฒนาขีดความสามารถของผูเรียน ใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี ทาทาง การหายใจ การออกเสียงภาษา การถายทอดอารมณ ศิลปะการรองเพลง (เทคนิค) บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญา ดนตรีการแสดง 2061412 ปฏิบัติขับรองสากล 2 2(0-4-2) Voice Performance 2 การเรียนการสอนปฏิบัติขับรองสากล มุงพัฒนาขีดความสามารถของผูเรียน ใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี ทาทาง การหายใจ การออกเสียง ภาษา การถายทอดอารมณ ศิลปะการรองเพลง (เทคนิค) บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 1 2061413 ปฏิบัติเคร่ืองกระทบ 1 2(0-4-2) Percussion Performance 1 การเรียนการสอนเครื่องกระทบ มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนแตละคนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบ การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง 2061414 ปฏิบัติเคร่ืองกระทบ 2 2(0-4-2) Percussion Performance 2 การเรียนการสอนเครื่องกระทบ มุงพฒันาความสามารถของผูเรียนแตละคนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบ การหยิบจบั ทาทาง การดูแลรักษา บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศีลปะการบรรเลง (เทคนิค) ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝก ใหฝกปฏิบัติสงูกวาในระดับที่ 1

Page 31: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

31

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2061501 การจัดเก็บระบบขอมูลดนตรี 3(3-0-6) Systemization Of Musical Datas ศึกษาวิธีการศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลดนตรีภาคสนาม หลักมนุษยสัมพันธ การสังเกต สัมภาษณ การมีสวนรวมในกิจกรรมดนตรี วิธีการจัดเก็บขอมูลใหเปนระบบ หมวดหมู ไดแก ขอมูลจาก การจดบันทึก เทปบันทึกเสียง วิดีทัศน แผนเสียง โนตเพลง บัตรรายการ ภาพถาย การเช่ือมโยงขอมูล การจัดบรรณานุกรมขอมูล การนําคอมพิวเตอรมาใชเพื่อการจัดเก็บขอมูล 2061502 พ้ืนฐานดนตรีวิทยา 3(3-0-6) Introduction to Musicology ศึกษาความเปนมาและหลักการของวิชาดนตรีวิทยา ตลอดจนเน้ือหาและบทบาทของดนตรีวิทยาที่มีตอวิวัฒนาการของดนตรีทั้งในดานวิชาการและศิลปะการแสดง 2061503 มานุษยวิทยาทางดนตรี 3(3-0-6) Introduction to Ethnomusicology ศึกษาความหมายและขอบเขตของมานุษยวิทยา แนวทางการศึกษา และวิธีการทางมานุษยวิทยา เพื่อใชในการศึกษาดนตรี สภาพและบทบาทของดนตรีที่มีความสัมพันธตอชีวิตมนุษยในสังคมและวัฒนธรรม 2061504 พ้ืนฐานสังคมวิทยาทางดนตรี 3(3-0-6) Introduction to Sociology of Music ศึกษาเชิงสํารวจเบื้องตนเกี่ยวกับแบบแผนของสังคม เชน สังคมเมือง สังคมชนบท สังคมอุตสาหกรรม สังคมเกษตร เปนตน กับศึกษาแบบแผนของดนตรี วงดนตรี และการนําเสนอดนตรีในสังคมน้ันๆ 2061505 ดนตรีวิจักษ 3(3-0-6) Introduction to Music ศึกษาถึงความงามระหวางดนตรีกับศิลปะและศิลปะการแสดง องคประกอบที่สําคัญของดนตรี เครื่องดนตรี วงดนตรี ดนตรีเพื่อการบรรเลงและขับรอง เปรียบเทียบถึงความเหมือนและความแตกตางของดนตรีไทยและดนตรีตะวันตก

Page 32: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

32

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2061506 ดนตรีรวมสมัย 3(3-0-6) Contemporary Music ศึกษาถึงความเปนมาของดนตรี ผลงานเพลงของคีตกวีที่สําคัญ สังเคราะห วิเคราะหแบบแผนของดนตรี การนําบทเพลงมาใชบรรเลงรวมกัน เชน ดนตรีไทยกับดนตรีในภูมิภาคเอเชีย และดนตรีตะวันตก เปนตน 2061701 คอมพิวเตอรดนตรีขั้นพ้ืนฐาน 3(2-2-5) Introduction to Music Computer ประวัติความเปนมาของคอมพิวเตอรดนตรี (Music Computer) คําศัพททางคอมพิวเตอร (Glossary) สวนประกอบหลัก (Hardware) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) การใชโปรแกรมดนตรีแบบตางๆ 2062301 ทฤษฎีดนตรีสากล 2 3(3-0-6) Music Theory 2 คอรดทบ 7 (7th chord) ทบ 9 (9th chord) ฯลฯ การยายบันไดเสียงแบบเมเจอร ไมเนอร(Diatonic modulation) การใชคอรด 5 ครั้งที่ 2 (Secondary dominant) การใชโนตซ้ําหรือเลียนแบบ (Sequence) การฝกโสตประสาทใหสอดคลองกับเน้ือหาวิชาที่เรียน 2062302 ทฤษฎีดนตรีแจส 3(3-0-6) Jazz Theory กลาวถึงสําเนียงเพลงที่เปนเมเจอร ไมเนอร และ Modes ตางๆ ลักษณะของการเขียนคอรด การใชคอรดทดแทน การเคลื่อนที่ของคอรดการใชเปยโนประกอบการเรียน 2062303 การประพันธ 1 3(3-0-6) Composition 1 ศึกษาการประพันธดนตรีงาย ๆ ข้ันตน ความคิดสรางสรรคในการประพันธ 2062304 การอานและการเขียนโนตสากล 4 1(1-0-2) Solfege and Dictation 4 ฝกอาน ฝกโสตประสาท ฝกเขียนโนตดนตรีแนวใดแนวหน่ึงจากการฟงหลายแนวฟงและสามารถระบุคอรดที่ซับซอนข้ึน

Page 33: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

33

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062305 ดนตรีปอปปูลารเร่ิมต้ังแต ค.ศ.1950 3(3-0-6) Popular Musical Culture Since Bill Haley ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมดนตรีประชานิยมของอเมริกาเหนือและยุโรป ต้ังแตสมัย ค.ศ. 1950 เปนตนมา กลาวถึงการเจริญเติบโตความนิยมสมัย Rock’ N Roll รวมทั้งรายละเอียด ตาง ๆ ที่ทําใหดนตรีในสมัยน้ีเปนที่นิยม 2062306 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตศตวรรษท่ี 18 ถึงปจจุบัน 3(3-0-6) Music from 1800 to Modern ศึกษาดนตรีสมัยโรโคโค คลาสสิค โรแมนติก และสมัยใหม ศึกษาถึงการปลี่ยนแปลงรูปแบบวงดนตรี แนวคิดชาตินิยม ดนตรีระบบหน่ึงเสียงเต็ม (Whole Tone) และครึ่งเสียง (Serial Music) ศึกษาคีตกวีและคีตนิพนธที่สําคัญ 2062307 ดนตรีสมัยโรโคโคและคลาสสิค 2(2-0-4) Music in the Rococo and Classical Eras ศึกษาลักษณะและรูปแบบดนตรีระหวางป 1730-1820 โดยอาศัยผลงานของ ซี.พี.อี บาค โฮเดิน โมสารท และผลงานในชวงแรกๆ ของเบโธเฟนเปนตัวอยาง 2062308 หลักการโยธวาทิต 3(3-0-6) Principles of Band Music ศึกษาประวัติและหนาที่ของวงโยธวาทิตรวมถึงวงดนตรีอื่นที่มีลักษณะการจัดวงคลายคลึงกัน ศึกษาเทคนิคและหนาที่ของเครื่องดนตรีที่ใชในวงโยธวาทิต การจัดรูปแบบของวงในลักษณะตางๆ บทเพลงที่ใชประกอบพิธีการ และบทเพลงอื่นๆ สําหรับดนตรีโยธวาทิต 2062309 การอํานวยเพลงเบ้ืองตน 2(1-2-3) Introduction to Conducting ศึกษาและฝกการใชไมบาตอง (Baton) การฝกซอมวง การเตรียมสกอร การถายทอดอารมณ 2062310 การอํานวยเพลงขับรองประสานเสียง 2(1-2-3) Choral Conducting ศึกษาเทคนิคและฝกอํานวยเพลงขับรองประสานเสียงสําหรับช้ันประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ฝกฟงและกําหนดความสมดุลของเสียงของคณะนักรอง

Page 34: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

34

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062311 โอเปราและละครเพลง 3(3-0-6) Opera and Musical Comedies ศึกษาประวัติความเปนมาและความเปลี่ยนแปลงของโอเปรา ต้ังแต คศ. 1600 จนถึงปจจุบัน โดยอาศัยผลงาน คีตกวีรุนแรก เชน Pere, Monteverdi จนถึง Wagner, Strauss, Puccini และคนอื่น ศึกษาความเปนมาและโครงสรางของละครเพลง โดยเนนดนตรีเปนพิเศษ และใหศึกษาจากละครเพลงที่มีช่ือเสียง 2062312 ประวัติดนตรีตะวันตก 2 2(2-0-4) History of Western Music 2 ประวัติวิวัฒนาการของดนตรีตะวันตก ในสมัย Classic ถึงสมัยศตวรรษที่ 20 ศึกษาเปรียบเทียบระหวางดนตรีกับศิลปะที่เกี่ยวของ ศึกษารูปแบบคีตลักษณ เทคนิค และการประพันธเพลงของคีตกวีศึกษารูปแบบของดนตรีช้ันสูงในสมัยคลาสสิค ของกลุมเวียนนา ศึกษา Opera, Dramatic ตลอดจนคีตกวี คีตวรรณกรรมที่สําคัญในสมัย Classic, Romantic และศตวรรษที่ 20 2062313 คีตปฏิภาณแบบแจส 1 3(2-2-5) Jazz Improvisation 1 ศึกษาการบรรเลงแบบคีตปฏิภาณที่มีความสัมพันธระหวางคอรดและบันไดเสียงแนวบูลสและแนวแจส วิเคราะหแนวทางการดําเนินคอรด การใชคอรดทดแทน (Sub Chord) การสรางแนวทํานองใหมใหสอดคลองกับคอรดที่กําหนดไว 2062314 ปรัชญาของดนตรี 3(3-0-6) Philosophy Of Music ดนตรี เปนปจจัยที่จะปรุงแตง ชีวิตใหสวยสดงดงามจากภายในของมนุษย ความสัมพันธระหวางดนตรีกับชีวิต ศาสนา วัฒนธรรม สังคม การเมือง จิตวิทยา การศึกษา ธุรกิจ ศึกษาแนวคิดของนักปรัชญาที่เกี่ยวกับดนตรี 2062315 ประวัติดนตรีแจส 3(3-0-6) Jazz History ศึกษาความเปนมาของดนตรีแจสแตละยุคต้ังแต ค.ศ.1890 จนถึงปจจุบัน ศึกษาเพลงงาน และเพลงสปริชวล (Spiritual) ของภาคใตของอเมริกา ผานแร็กไทม บลูส และระยะแรกของด๊ิกซีแลนด นิวออรลีน สวิง บีบอบ คูลแจส จนถึงแจสหลายรูปแบบในปจจุบัน

Page 35: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

35

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062318 คีตปฏิภาณแบบแจส 2(2-0-4) Jazz Improvisation มุงพัฒนาความรู และเสริมสรางทักษะคีตปฏิภาณที่อาศัยแนวทํานอง กระสวนจังหวะการนําความรูไปใช สําเนียงหลัก เสียงเดิม การเคลื่อนจากคอรดหน่ึงไปสูอีกคอรดหน่ึงและการเช่ือมคอรด 2062319 โยฮันน เซบาสเตียน บาค 2(2-0-4) Johann Sebastian Bach ศึกษาถึงชีวิต และผลงานของบาคผลงานที่เดนบางบท เชน แพสช่ัน (Passions) แบรนเดนเบอก คอนแชรโต (Brandenburg Concertos) แคนตาดา และผลงานที่แตงสําหรับเครื่องคียบอรด 2062320 วูลฟกัง อมาดิอุส โมสารท 2(2-0-4) Wolfgang Amadeus Mozart ศึกษาถึงชีวิตและผลงานของโมสารท การพัฒนาการประพันธเพลงลีลาและรูปแบบดนตรีของโมสารท วิเคราะหผลงานทั้งรองเพลง และเพลงบรรเลง 2062321 ลุควิก ฟาน เบโธเฟน 2(2-0-4) Ludwig Van Beethoven ชีวิตและผลงานของเขา เลือกผลงานที่ดีเดนบางบทมาศึกษาบทประพันธที่ยังมีรอยลายมือเบโธเฟนอยู การพัฒนาลีลารูปแบบเพลงของเขา ลีลาในการบรรเลง และวัฒนธรรมแวดลอมที่เกี่ยวของ 2062322 เคร่ืองกระทบสําหรับวงโยธวาทิต 3(2-2-5) Percussion for Band ศึกษาเครื่องประกอบจังหวะทุกชนิดที่ใชในวงโยธวาทิต เทคนิคการบรรเลงทุกระดับข้ัน การบันทึกโนต การเรียบเรียงเพื่อประกอบการบรรเลง 2062323 ดนตรีสนาม 3(2-2-5) Marching and Display ศึกษาระเบียบแถว ทาทางการถือเครื่องมือ การจัดขนาดของวงใหเหมาะสมกับจํานวน นักดนตรี การจัดตําแหนงจุดยืนของเครื่องดนตรี เพื่อใหเกิดความสมดุลของเสียง การสรางแผนภาพ รูปแบบ (Code Design) สําหรับแปรขบวนแถว (Display) การฝกซอมดนตรีสนามทั้งการเดินแถว (Marching) และการแปรขบวน ศึกษาการใชไมคทาในการควบคุมวง ฝกการใชอุปกรณประกอบในการแสดงดนตรีสนาม เชน ธง ริบบิ้น คทาสั้น เปนตน

Page 36: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

36

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062325 ดนตรีรวมสมัย 3(3-0-6) Contemporary Music ศึกษาคนควาและวิเคราะหถึงรูปแบบ โครงสราง และเทคนิคที่ใชในบทเพลงรวมสมัย ผลงานของคีตกวีสําคัญ 2062326 การปฏิบัติเฉพาะแนว 2(2-0-4) Performance Practices ศึกษาถึงการปฏิบัติดนตรีเฉพาะแนว เฉพาะสมัย จากคีตวรรณกรรมที่ปรากฏทัศนคติในทางสุนทรียะ ทฤษฎีเบื้องตนของดนตรีปฏิบัติในแตละสมัย 2062327 ประวัติดนตรีตะวันตก 3 2(2-0-4) History of Western Music 3 ประวัติวิวัฒนาการดนตรีตะวันตก ในสมัยศตวรรษที่ 19 และศตวรรษที่ 20 จนถึงสมัยปจจุบัน ศึกษาเปรียบเทียบระหวางดนตรีกับศิลปะที่เกี่ยวของศึกษารูปแบบ คีตลักษณ เทคนิคและ Style การประพันธเพลงของคีตกวีตลอดจนคีตวรรณกรรมที่สําคัญ ศึกษารูปแบบของดนตรีสมัยใหม การพัฒนาดนตรีจากยุโรปสูอเมริกา การพัฒนาดนตรีในปจจุบัน และในอนาคต ศึกษาเปรียบเทียบลักษณะวงดนตรีในสมัยตาง ๆ 2062328 อีกอร สตราวินสก้ี 2(2-0-4) Egor Stravinsky ศึกษาการพัฒนาการผลงานของสตราวินสกี้ สมัยแรก สมัยกลาง สมัยปลาย ดนตรีชาตินิยม และคลาสสิคนิยม (Neoclassicism) 2062329 การเรียบเรียงเสยีงประสานเพลงแจส 2 2(2-0-4) Jazz Arranging 2 ศึกษาตอจากการเรียบเรียงเสียงประสานเพลงแจส 1 โดยมุงการประสานเสียงสําหรับวงใหญ การเขียนสกอร (Score) การเรียบเรียงเสียงในแตละตระกูลเครื่องดนตรีรวมถึงการปฏิบัติผลงานที่เรียบเรียงข้ึน

Page 37: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

37

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062401 ปฏิบัติเคร่ืองลมไม 3 2(0-4-2) Woodwind Performance 3 การเรียนการสอนเครื่องลมไม มุ งพัฒนาการปฏิบั ติเครื่องดนตรีให เต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง–ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา (เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาในระดับที่ 2 2062403 ปฏิบัติเคร่ืองทองเหลือง 3 2(0-4-2) Brass Performance 3 การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง–ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา (เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาในระดับที่ 2 2062405 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากล 3 2(0-4-2) String Performance 3 การเรียนการสอนปฏิบัติเครื่องสายสากล มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรี ใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องมือ การดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง (ความเพี้ยนของเสียงสูง-ตํ่า) การใชคันชักและการวางน้ิว การต้ังเสียงและการเกิดเสียง ฝกเลนบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 2 2062407 ปฏิบัติกีตาร 3 2(0-4-2) Guitar 3 การเรียนปฏิบั ติกีตารคลาสสิค มุ งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให เต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง การวางน้ิว เทคนิคการตีคอรด การเกากีตาร การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกใหฝกในระดับที่สูงกวาระดับ 2

Page 38: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

38

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062408 ปฏิบัติกีตาร 4 2(0-4-2) Guitar 4 การเรียนปฏิบั ติกีตารคลาสสิค มุ งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให เต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง การวางน้ิว เทคนิคการตีคอรด การเกากีตาร การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกใหฝกในระดับที่สูงกวาระดับ 3 2062409 ปฏิบัติคียบอรด 3 2(0-4-2) Keyboard Performance 3 การเรียนการสอนปฏิบัติคียบอรด มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา การไลเสียง บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถายทอดอารมณ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง ฝกในระดับที่สูงกวาระดับ 2 2062410 ปฏิบัติคียบอรด 4 2(0-4-2) Keyboard Performance 4 การเรียนการสอนปฏิบัติคียบอรด มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา การไลเสียง บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถายทอดอารมณ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง ฝกในระดับที่สูงกวาระดับ 3 2062411 ปฏิบัติขับรองสากล 3 2(0-4-2) Voice Performance 3 การเรียนการสอนปฏิบัติขับรองสากล มุงพัฒนาขีดความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี ทาทาง การหายใจ การออกเสียง ภาษา การถายทอดอารมณ ศิลปะการรองเพลง (เทคนิค) บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 2

Page 39: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

39

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062412 ปฏิบัติขับรองสากล 4 2(0-4-2) Voice Performance 4 การเรียนการสอนปฏิบัติขับรองสากล มุงพัฒนาขีดความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี ทาทาง การหายใจ การออกเสียง ภาษา การถายทอดอารมณ ศิลปะการรองเพลง (เทคนิค) บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 3 2062413 ปฏิบัติเคร่ืองกระทบ 3 2(0-4-2) Percussion Performance 3 การเรียนการสอนเครื่องกระทบ มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนแตละคนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบ การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศีลปะการบรรเลง (เทคนิค) ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝก ใหปฏิบัติสูงกวาในระดับ 2 2062314 ปรัชญาของดนตรี 3(3-0-6) Philosophy Of Music ดนตรี เปนปจจัยที่จะปรุงแตง ชีวิตใหสวยสดงดงามจากภายในของมนุษย ความสัมพันธระหวางดนตรีกับชีวิต ศาสนา วัฒนธรรม สังคม การเมือง จิตวิทยา การศึกษา ธุรกิจ ศึกษาแนวคิดของนักปรัชญาที่เกี่ยวกับดนตรี 2062415 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบสตริง 1(0-2-1) String Band เปนการฝกปฏิบัติรวมวงในแนวสตริง ซึ่งประกอบดวยเครื่องดนตรีอยางนอย 4-8 ช้ิน เชน ทรัมเปต ทรอมโบน แซกโซโฟน กีตารกลองชุด เบส คียบอรดหรือเปยโน เปนตน เปนการรวมวงดนตรี ที่พัฒนาความสามารถดานการบรรเลง และขับรอง ทั้งเพลงไทย และเพลงตะวันตกในยุคตางๆ 2062416 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบคอมโบ 1(0-2-1) Combo Band เปนการฝกปฏิบัติรวมวงใน แนวลูกทุง ลูกกรุง ลีลาศ ซึ่งประกอบดวยเครื่องดนตรีอยางนอย 8 ช้ิน เชน ทรัมเปต ทรอมโบน แซกโซโฟน กลองชุด เครื่องกระทบ กีตาร เบส คียบอรดหรือเปยโน เปนตน เปนการรวมวงดนตรี ที่พัฒนาความสามารถหลายๆดาน ทั้งการบรรเลง และขับรองอยางกวางขวาง

Page 40: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

40

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062417 ปฏิบัติรวมวงใหญ 1 1(0-2-1) Band Orchestra 1 ฝกทักษะการบรรเลงรวมวง ฝกความพรอมเพรียงในการบรรเลงรวมกัน การบรรเลงใหนํ้าเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดตางๆ ของการบรรเลงในดานความถูกตองของเสียงและอารมณเพลง ปฏิบัติรวมวงใหญใชผูแสดงต้ังแต13 คนข้ึนไป 2062418 ปฏิบัติรวมวงใหญ 2 1(0-2-1) Band Orchestra 2 ฝกทักษะการบรรเลงรวมวง ฝกความพรอมเพรียงในการบรรเลงรวมกัน การบรรเลงใหนํ้าเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดตาง ๆ ของการบรรเลงในดานความถูกตองของเสียงและอารมณเพลง ปฏิบัติรวมวงใหญ ใชผูแสดงต้ังแต 13 คนข้ึนไป การปฏิบัติรวมวงใหญในข้ันน้ี ใหฝกบทเพลงในระดับสูงกวาระดับ 1 2062419 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 1 1(0-2-1) Chorus Vocal 1 หาพิสัยความสูงตํ่าของเสียงผูรอง จัดกลุมตามพิสัย ฝกการหายใจที่ ถูกตอง ฝกการออกเสียงจากตําแหนงตาง ๆ ฝกการใชเสียงทุกระดับ ฝกการออกเสียงสระตางๆ ฝกการเทียบเสียงกับเครื่องดนตรีมาตรฐานยายเสียงข้ึนลง ใชบทเพลงที่คอนขางงายไมเกิน 3 แนว 2062420 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 2 1(0-2-1) Chorus Vocal 2 ฝกการออกเสียงที่ยากข้ึน ฝกการยายเสียง โด ไปในบันไดเสียงตางๆ ใชบทเพลงที่ยากกวาในระดับที่ 1 และเพิ่มเปนเพลง 4 แนว 2062421 ปฏิบัติเคร่ืองลมไมแจส 1 2(0-4-2) Jazz Woodwind Performance 1 การเรียนการสอนเครื่องลมไมประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

Page 41: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

41

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062422 ปฏิบัติเคร่ืองลมไมแจส 2 2(0-4-2) Jazz Woodwind Performance 2 การเรียนการสอนเครื่องลมไมประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี-การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องลมไม 1 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล 2062423 ปฏิบัติเคร่ืองทองเหลืองแจส 1 2(0-4-2) Jazz Brass Performance 1 การเรียนการสอนเครื่องทองเหลืองประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง 2062424 ปฏิบัติเคร่ืองทองเหลืองแจส 2 2(0-4-2) Jazz Brass Performance 2 การเรียนการสอนเครื่องทองเหลืองประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรีการแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 1 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล 2062425 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากลแจส 1 2(0-4-2) Jazz String Performance 1 การเรียนการสอนเครื่องสายสากลประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการสี การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

Page 42: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

42

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062426 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากลแจส 2 2(0-4-2) Jazz String Performance 2 การเรียนการสอนเครื่องสายสากลประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการสี การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องสายสากล 1 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล 2062427 ปฏิบัติกีตารพาณิชย 1 2(0-4-2) Jazz Guitar Performance or Commercial Guitar Performance 1 การเรียนการสอนการปฏิบัติกีตารแจสรวมทั้งกีตารเบสแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการดีด การตีคอรด การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง 2062428 ปฏิบัติกีตารพาณิชย 2 2(0-4-2) Jazz Guitar Performance or Commercial Guitar Performance 2 การเรียนการสอนการปฏิบัติกีตารแจสรวมทั้งกีตารเบสแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการดีด การตีคอรด การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี-การแสดง โดยมีลําดับข้ันของการฝกสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติกีตารพาณิชย 1 2062429 ปฏิบัติคียบอรดแจส 1 2(0-4-2) Jazz Keyboard Performance 1 การเรียนการสอนเครื่องคียบอรดประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการบรรเลง การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง

Page 43: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

43

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062430 ปฏิบัติคียบอรดแจส 2 2(0-4-2) Jazz Keyboard Performance 2 การเรียนการสอนเครื่องคียบอรดประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการบรรเลง การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติคียบอรด 1 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล 2062431 ปฏิบัติขับรองสากลแจส 1 2(0-4-2) Jazz Voice Performance 1 การเรียนการสอนการปฏิบัติขับรองสากลแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียงที่ขับรอง ศิลปะของการรองเพลงแจส ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง 2062432 ปฏิบัติขับรองสากลแจส 2 2(0-4-2) Jazz Voice Performance 2 การเรียนการสอนการปฏิบัติขับรองสากลแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียงที่ขับรอง ศิลปะของการรองเพลงแจส ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ันกวารายวิชาปฏิบัติขับรองแจส 1 2062433 ปฏิบัติเคร่ืองกระทบแจส 1 2(0-4-2) Jazz Percussion Performance 1 การเรียนการสอนการปฏิบัติขับรองสากลแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการตี บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง 2062434 ปฏิบัติเคร่ืองกระทบแจส 2 2(0-4-2) Jazz Percussion Performance 2 การเรียนการสอนการปฏิบัติเครื่องกระทบแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการตี บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี-การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องกระทบแจส 1

Page 44: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

44

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062435 รวมวงแจสหรือปอปปูลาร 1 2(0-4-2) Jazz or Popular Ensemble 1 การเรียนการสอนปฏิบัติรวมวงสากลในรูปแบบแจสหรือปอปปูลาร มุงพัฒนาความสามารถในการบรรเลงรวมวง การปรับตนใหเขากับกลุมและการฝกระเบียบวินัยของการบรรเลงรวม วิธีปฏิบัติตองพบอาจารยผูควบคุมกอนการลงทะเบียน บทเพลงหรือคีตวรรณกรรมที่ใชข้ึนอยูกับอาจารยผูควบคุมเปนผูตัดสินใจในการฝกซอม ลักษณะวงในระดับน้ีใหเปนวงประเภท Small Band 2062436 รวมวงแจสหรือปอปปูลาร 2 2(0-4-2) Jazz or Popular Ensemble 2 การเรียนการสอนปฏิบัติรวมวงสากลในรูปแบบแจสหรือปอปปูลาร มุงพัฒนา ความสามารถในการบรรเลงรวมวง การปรับตนใหเขากับกลุมและการฝกระเบียบวินัยของ การบรรเลงร วม วิธีป ฏิบั ติตองพบอาจารยผู ควบคุมกอนการลงทะเบียน บทเพลงหรือ คีตวรรณกรรมที่ใชข้ึนอยูกับอาจารยผูควบคุมเปนผูตัดสินใจในการฝกซอม ลักษณะวงในระดับน้ีใหเปนวงประเภท Small Band ใชบทเพลงที่ซับซอนกวาในระดับ 2062501 ประวัติเคร่ืองดนตรี 3(3-0-6) History of Musical Instruments ศึกษาวิวัฒนาการของเครื่องดนตรีทุกตระกูลต้ังแตแรกเริ่มใชจนถึงปจจุบัน ศึกษาบริบทของการสรางเครื่องดนตรี เหตุการณสําคัญในยุคตาง ๆ ที่มีผลตอวิวัฒนาการของเครื่องดนตรี 2062502 ประวัติดนตรีเชิงปฏิบัติ 3(3-0-6) Collegium Music ศึกษาเชิงวิเคราะหวรรณกรรมดนตรีที่มิไดอยูในกลุมวรรณกรรมดนตรีทั่วไป ศึกษาวิธีปฏิบัติดนตรี เฉพาะแนวทั้งทางรองและบรรเลง ฝกปฏิบัติรวมวงประกอบการเรียน 2062503 การศึกษาดนตรีภาคสนาม 3(2-2-5) Introduction to Field Music Research ศึกษาและฝกปฏิบัติงานดนตรีภาคสนามเพื่อสํารวจ วางแผน เก็บรวบรวมขอมูล การจัดกระทํากับขอมูล วิเคราะห สังเคราะห สรุปผล และเขียนรายงานผลการศึกษา โดยผูศึกษาตองผานรายวิชาการจัดเก็บระบบขอมูลดนตรีมากอน 2062504 ดนตรีเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต 3(3-0-6) East and Southeast Asian Music ศึกษาดนตรีประเพณีของชาวเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต เกี่ยวกับแบบแผนของดนตรี เครื่องดนตรี วงดนตรี และบริบททางสังคมและวัฒนธรรม

Page 45: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

45

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062505 ดนตรีเอเชียใตและตะวันออกกลาง 3(3-0-6) South Asian and Middle East Music ศึกษาดนตรีประเพณีของชาวเอเชียใตและตะวันออกกลางเกี่ยวกับแบบแผนของดนตรี เครื่องดนตรี วงดนตรี และบริบททางสังคมและวัฒนธรรม 2062506 ความสัมพันธระหวางดนตรีไทยกับดนตรีตะวันตก 3(3-0-6) Thai Music Related to Western Music ศึกษาประวัติดนตรีตะวันตกที่เขามามีบทบาทในสังคมและวัฒนธรรมไทย การนําดนตรีไทยไปสัมพันธกับดนตรีตะวันตก การนําดนตรีตะวันตกเขามาสัมพันธกับดนตรีไทย ทั้งในดานเครื่องดนตรี วงบรรเลง บทเพลงและระบบเสียง 2062507 การเขียนวิจารณดนตรี 3(3-0-6) Writing Music Criticism ศึกษาการเขียนเชิงศิลปะดนตรีโดยอาศัยความรูความเขาใจในฐานะผูฟงดนตรี กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการเขียน การรวบรวมความคิดเชิงวิชาการที่ถือเอาเหตุผลสนับสนุนการเขียน 2062508 การเก็บรักษาและการซอมเคร่ืองดนตรีเบ้ืองตน 3(3-0-6) Introduction to Music Instrument Maintenance and Repair การหยิบจับเครื่องมือ การทําความสะอาด เรียนรูการกําเนิดเสียงของเครื่องดนตรีแตละชนิด การปฏิบัติเบื้องตนเพื่อเปนพื้นฐานที่จะนําไปสูการซอมเครื่องดนตรี 2062509 การทําความสะอาดและการปรับเคร่ืองเปา 3(2-2-5) Cleaning and Adjustment of Wind Instruments การถอดเครื่องดนตรีที่ถูกตองมีระเบียบ การทําความสะอาดและการประกอบสูสภาพเดิม การปรับเครื่องข้ันพื้นฐาน รูลมรั่ว การหยิบจับเครื่องมือในการซอม ตองเรียนรายวิชาการเก็บรักษาและการซอมเครื่องดนตรีเบื้องตนมากอน 2062510 การบันทึกเสียงเบ้ืองตน 2(2-0-4) Recording Fundamentals ศึกษาถึงวิธีในการบันทึกเสียงทั้งการบันทึก และการบันทึกแบบตัดตอระบบเสียง การใชไมโครโฟน เทปลําโพง การควบคุมเสียง และการผสมเสียง ธุรกิจของการบันทึกเสียงเทาที่จําเปน

Page 46: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

46

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062512 การซอมสรางอุปกรณดนตรี 2(2-0-4) Instrumental Maintenance Adjustment and Repair การซอมแซมบํารุงรักษาเครื่องดนตรี ตลอดจนการสรางอุปกรณดนตรีและการปรับเทียบเสียงของเครื่องดนตรี 2062513 การจัดการวงดนตรี 3(3-0-6) Management of Music Business หลักการบริหารบุคคลในวงดนตรี วาดวยตําแหนงและความรับผิดชอบ หลักการและระเบียบการฝกซอม ระเบียบการเก็บเครื่องอุปกรณดนตรี โนตเพลง การบริหารธุรกิจบันเทิงดานดนตรี การโฆษณา การคิดคาจางและคาตอบแทน 2062514 ดนตรีและการแสดง 1(0-2-1) Music and Drama ศึกษาลักษณะและธรรมชาติของดนตรี เครื่องดนตรีตาง ๆ การฝกเลนเครื่องดนตรี การเลนดนตรีประกอบเพลงในระดับงาย ๆ การเลนตามโนตเลือกตามความถนัดดวยเครื่องดนตรีสากลหรือไทย เชนเครื่องสายไทยหรือกีตารเปนตน อยางนอย 1 อยาง และสามารถบรรเลงเพลงงายๆ ได การแสดงและกํากับการแสดง การแสดงละครอยางงาย ความรูการแสดงลักษณะตางๆ หลักการแสดง การฝกบทละครและการเปนตัวละครในการแสดง ฝกแสดงและกํากับการแสดง 2062515 การศึกษาประวัติดนตรีเชิงลึก 3(3-0-6) Music History Study in Depth ศึกษาผลงานดนตรีประเภทใดประเภทหน่ึง หรือผลงานของคีตกวีสําคัญในดานประวัติและการวิเคราะห เพื่อนําเสนอเปนภาคนิพนธ 2062601 ดนตรีและกิจกรรมการเคลื่อนไหวสําหรับเด็ก 3(3-0-6) Music and Movement for Children ทดลองปฏิบัติพัฒนาทักษะพื้นฐานในองคประกอบดนตรีและทักษะการสอนในแตละองคประกอบของทักษะใหกับนักเรียนในระดับการศึกษาปฐมวัยไดแกทักษะการรอง การฟง การเลนเครื่องดนตรี การเคลื่อนไหว การสรางสรรค การอาน ที่มีความสัมพันธกับองคประกอบของดนตรีและพัฒนาการของเด็กอายุ 1–6 ป ฝกการใชวิธีการวัดและประเมินผลทักษะดนตรีเบื้องตนในแตละทักษะ นําบทเพลง เครื่องดนตรีและการละเลนพื้นบาน ทดลองใชสื่อมาตรฐานที่นิยมใชเปนสากล สังเกตการณสอนดนตรีเด็กปฐมวัยในรูปแบบตางๆ ฝกปฏิบัติเขียนและทดลองใชแผนการสอนใหเกิดผลตามจุดมุงหมายทางการศึกษา

Page 47: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

47

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062602 กระบวนการเรียนดนตรีศึกษา 2(2-0-4) Principles of Learning in Music Education ศึกษาการเจริญเติบโตและ และการพัฒนาของเด็กที่เกี่ยวของกับการเรียนดนตรีการรับรู การเรียนรู การพัฒนาทางรางกาย และความสรางสรรคเด็ก 2062603 จิตวิทยาและแนะแนวสําหรับครูดนตรี 2(2-0-4) Psychology and Guidance for Music Teacher ศึกษาความสัมพันธระหวางวิทยาการจิตวิทยาและการแนะแนวกับพื้นฐานความถนัดทางดนตรี พัฒนาการทางรางกายและอารมณกับการรับรูดนตรี ความแตกตางของบุคคลกับจิตวิทยา การฟงดนตรี อารมณและการมีความหมายดนตรี ที่เกี่ยวกับเด็กวัยรุน 2062604 จิตวิทยาการสอนดนตรีและกระบวนการเรียนดนตรีศึกษา 3(3-0-6) Psychology and Principles of Learning of Music Education ศึกษาพัฒนาการของหลักสูตรและการเรียนการสอนวิชาดนตรีศึกษา ศึกษาองคประกอบของหลักสูตร การใชความรูและทักษะทางดนตรีในการเรียนการสอน วิธีการพัฒนาครูผูสอนวิชาดนตรีวิธีการบริหารและจัดการการเรียนการสอนวิชาดนตรีอยางมีมาตรฐาน ใหสอดคลองกับความพรอมของผูเรียนและความตองการของทองถ่ิน ศึกษาพัฒนาการและจิตวิทยาวันรุน มาตรฐานในการวัดและประเมินผลทางดนตรี 2062701 พ้ืนฐานเคร่ืองสังเคราะหเสียง 3(2-2-5) Introduction to the Sound Synthesizer พื้นฐานการใชเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส การใชเครื่อง Synthesizer ทําใหเกิดประสบการณและการสรางเสียงใหม ตลอดจนเทคนิคการใชอุปกรณเกี่ยวกับการบันทึกเสียง 2062702 ระบบบันทึกและประมวลผลขอมูลทางดนตรี 3(2-2-5) Sequencing and Note Processing ศึกษาระบบ MIDI (Musical instrument Digital Interface) การบันทึกขอมูลแบบ step และแบบ real time การวิเคราะห (Analysis) แกไขปรับปรุง (Edit) และการประยุกตใชขอมูล 2062704 ระเบียบขอบังคับและกฎหมายท่ีเก่ียวของกับธุรกิจดนตรี 2(2-0-4) Music Industry Law and Ethics ระเบียบราชการเกี่ยวกับการซื้อเครื่องอุปกรณดนตรีใหกับหนวยราชการดวยกันกฎหมายที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดนตรี กฎหมาย ลิขสิทธ์ิ กฎหมายแรงงาน กฎหมายการเสียภาษี การซื้อขาย เครื่องดนตรี กฎหมายเกี่ยวกับการตีพิมพและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ

Page 48: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

48

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2062705 การปรับและการต้ังเสียงเปยโน 2(2-0-4) Piano Tuning and Regulation ระบบเสียงและระบบการต้ังเสียงเปยโน การฝกทั้งทางทฤษฎี และการปฏิบัติ โครงสรางของเปยโนที่แตกตางกัน การฝกซอมเบื้องตน และการปรับเสียง 2062706 เทคนิคการใชเคร่ืองสังเคราะหเสียง 2(2-0-4) Synthesizer Operational Technique ความรู เบื้ องตนเกี่ยวกับ เครื่ องสัง เคราะห เสียงลํ าดับข้ันตอนการทํางาน การประยุกตใชในลักษณะตาง ๆ การจัดโปรแกรมและการควบคุม 2062707 หลักการแสดงเบ้ืองตน 2(2-0-4) Principles of Basic Performance ศึกษาจิต วิทยาในการแสดง วาทศิลปที่ เกี่ยวกับการแสดง การกํ ากับ เวที การจัดระบบแสงเสียง การวางแผนจัดการแสดง มารยาทของนักแสดง 2062709 ปฏิบัติการบันทึกเสียงดนตรี 1 3(2-2-5) Studio Recording 1 การออกแบบหองบันทึกเสียง (Studio Design) ขนาดรูปรางโครงสรางและวัสดุอุปกรณในการบันทึกเสียง (Studio Equipment) ไมโครโฟน เทปบันทึกเสียงแบบอนาล็อก และดิจิตอล โมนิเตอร (Monitor) เครื่องตกแตงเสียง (Signal Processor) เครื่องผสมเสียง (Mixer) สายสัญญาณและหัวตอสายสัญญาณ การติดต้ังและเช่ือมระบบ (Installation and wiring) การวางลําดับกอนหลังของอุปกรณ ระเบียบปฏิบัติและข้ันตอนการปฏิบัติงาน การบํารุงรักษา 2063204 การอานและเขียนโนตสากล 1(1-0-2) Solfege and Dictation ฝกอานโนตอยางงาย ๆ ทั้ง Treble Clef และ Bass Clef ในบันไดเสียง Pentatonic ในอัตราจังหวะ Simple Time ฝกโสตประสาทและเขียนโนตดนตรีแนวเดียวจากการฟง 2063301 ทฤษฎีดนตรีสากล 3 3(3-0-6) Music Theory 3 ศึกษาการใชคอรดยืม (Borrow Chord) โครแมติกคอรด (Chromatic Chord) คอรดที่แปลงเสียง (Altered Chord) การเปลี่ยนคียเสียงแบบโครแมติก (Chromatic Modulation) การฝกโสตประสาทใหสอดคลองกับเน้ือหาวิชาที่เรียน

Page 49: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

49

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063302 ทฤษฎีดนตรีสากล 4 3(3-0-6) Music Theory 4 ศึกษาทฤษฎีดนตรีสากลในศตวรรษที่ 21 เชน Parallel harmony Poly chord Bitonal quartal harmony 2063303 หลักการประพันธเบ้ืองตน 2(2-0-4) Elements of Composition ศึกษาถึงการประพันธดนตรีเบื้องตน เทคนิคในการประพันธ และความคิดสรางสรรคในการประพันธดนตรีอยางงาย 2063304 การเรียบเรียงดนตรีสําหรับเด็ก 3(3-0-6) Arranging for Children Songs ศึกษาคํารองและทํานองเพลงที่มีความเหมาะสมกับเด็กในวัยระดับตางๆ เพื่อนํามาเปนวัตถุดิบพื้นฐานในการสรางการเรียบเรียงในลักษณะตาง ๆ 2063305 การเรียบเรียงเสยีงประสานสําหรับการขับรองประสานเสยีง 3(3-0-6) Arranging for Chorus ศึกษาและเรียบเรียงเสียงประสานแบบ 3 4 แนว และปฏิบัติตามความสามารถของแตละแนวเสียง การหายใจและการออกเสียงจากตําแหนงตาง ๆ 2063306 การเรียบเรียงเสยีงประสานสําหรับวงแบนด 2(2-0-4) Arranging for Band ศึกษาถึงเทคนิคของการเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับวงเครื่องเปาวงโยธวาทิต วงคอนเสิรตแบนด การอาน บันทึก และการวิเคราะหสะกอร (Score) 2063307 การเรียบเรียงเสยีงประสานสําหรับดนตรีปอปปูลาร 3(3-0-6) Arranging for Popular Music ศึกษาเทคนิคการเรียบเรียงเสียงประสานโดยอาศัยทํานองเพลงที่เปนที่นิยม ฝกการเรียบเรียงโดยใชคอรดข้ันพื้นฐานและซับซอนมากข้ึน ฝกการสรางแบ็คกราวนด การประสานเสียง 2 แนว 3 แนว 4 แนว การปรับประยุกตแนวทํานอง

Page 50: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

50

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063308 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับดนตรีแจส 2(2-0-4) Jazz Arranging ศึกษาถึงวิธีการเรียบเรียงเสียงประสานดนตรีแจส การใชเสียงแทนการประสานเสยีง ลักษณะโนตที่ใชในเพลงแจส ลีลาของแจสแตละประเภท เครื่องดนตรี และ Transposition Chord Pattern และ Chord Progression รวมทั้ง Bass Line ประสานเสียง 2 แนว 3 แนว 4 แนว และ 5 แนว คีตปฎิภาณ (Improvisation) การเรียบเรียงในวงขนาดตาง ๆ 2063317 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตยุคโบราณถึง ค.ศ. 1750 3(3-0-6) Music from Antiquity to 1750 ศึกษาความคิดเกี่ยวกับการเกิดของดนตรีโบราณ ดนตรีสมัยกรีก ดนตรีสมัยเพลงสวด ดนตรีสมัยกลาง ดนตรีสมัยฟนฟูศิลปะวิทยา และสมัยบาโรค ศึกษาวิวัฒนาการของเพลงในรูปแบบตาง ๆ ความคิดใหมเกี่ยวกับการประสานเสียง การนําเครื่องดนตรีมาใช ศึกษาคีตกวี และ คีตนิพนธ ที่สําคัญ บุคคลสําคัญ 2063320 การบริหารวงโยธวาทิต 3(3-0-6) Management of Band หลักการบริหารบุคคลในวงดนตรีวาดวยตําแหนงและความรับผิดชอบหลักการและระเบียบการฝกซอม การกําหนดแผนการบริหาร แนวนโยบายและเปาหมายการวางแผนตารางการฝกซอม ระบบการเก็บเครื่องอุปกรณดนตรี โนตเพลง การคัดเลือกวรรณกรรมทางดนตรีที่มีความเหมาะสมกับขนาด และความสามารถของวงดนตรีการแกไขปญหาที่เกิดข้ึนกับวงดนตรี 2063321 การใชคอมพิวเตอรสําหรับดนตรีสนาม 3(2-2-5) Computer for Marching and Display การประยุกตใชโปรแกรมสําเร็จรูปในงานดนตรีสนาม ความสัมพันธระหวางดนตรีกับแผนภาพที่สรางข้ึน โดยสั่งงานผานระบบ MIDI การนําแผนภาพที่สรางข้ึนไปปฏิบัติใชงานจริงกับวงดนตรี 2063325 การเรียบเรียงดนตรีสําหรับวงดุริยางค 3(3-0-6) Orchestration ศึกษาเครื่องดนตรีในตระกูลตางๆ เทคนิคเฉพาะเครื่อง เขียนสกอร เรียบเรียงดนตรีใหเหมาะสมกับเครื่องดนตรีและวงดนตรี แสดงรวมกับเครื่องดนตรี

Page 51: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

51

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063326 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 1 3(3-0-6) Forms and Analysis of Westren Music 1 ศึกษาและวิเคราะหคีตลักษณต้ังแตโมทีฟ วลี จุดพัก ประโยค ทอน ของเพลง และ บทบรรเลงของคีตลักษณพื้นฐาน เชน ทวิบท (Binary) ตรีบท (Ternary) รอนโด (Rondo) 2063327 คีตปฏิภาณแบบแจส 2 3(2-2-5) Jazz Improvisation 2 ศึกษาและปฏิบัติคีตปฏิภาณแบบแจสโดยใชความสัมพันธระหวางคอรดและบันไดเสียงในรูปแบบของดนตรีแนวแจสและแนวบูลสแจส ที่มีความซับซอนมากข้ึน 2063328 การประพันธดนตรีแบบแจสและปอปปูลาร 3(3-0-6) Jazz and Popular Music Composition ศึกษาการประพันธดนตรีในรูปแบบแจสและปอปปูลา พื้นฐานที่เกี่ยวกับบันไดเสียงตาง ๆ คอรดที่เกิดจากบันไดเสียง รวมทั้งคอรดแทนศึกษาแบบตางๆ ของดนตรีแจสและปอปปูลา ในยุคตางๆ การสรางบทนํา (Introduction) บทเช่ือม (Iinterlude) และบทจบ (Ending) 2063329 การประพันธ 2 3(3-0-6) Composition 2 ศึกษาเทคนิคการประพันธ ใชรูปแบบในการประพันธดนตรี ประพันธเพลงสําหรับเด่ียวเครื่องดนตรีและวงดนตรีวงเล็ก ผลงานตองแสดงในที่สาธารณชนได 2063330 การประพันธ 3 3(3-0-6) Composition 3 ศึกษาเทคนิคการประพันธในระดับสูงใชรูปแบบที่ซับซอน อาจารยที่ปรึกษาเปนผูดูแลผลงาน งานประพันธสําหรับเครื่องดนตรีมากช้ิน ผลงานตองแสดงในที่สาธารณชนได 2063401 ปฏิบัติเคร่ืองลมไม 4 2(0-4-2) Woodwind Performance 4 การเรียนการสอนเครื่องลมไม มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตร ี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียง สูง–ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา (เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาในระดับที่ 3

Page 52: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

52

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063402 ปฏิบัติเคร่ืองลมไม 5 2(0-4-2) Woodwind Performance 5 การเรียนการสอนเครื่องลมไม มุ งพัฒนาการปฏิบั ติเครื่องดนตรีให เต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง–ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา (เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาในระดับที่ 4 2063403 ปฏิบัติเคร่ืองทองเหลือง 4 2(0-4-2) Brass Performance 4 การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง – ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา (เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาในระดับที่ 3 2063404 ปฏิบัติเคร่ืองทองเหลือง 5 2(0-4-2) Brass Performance 5 การเรียนการสอนเครื่องทองเหลือง มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียง สูง – ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา (เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาในระดับที่ 4 2063405 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากล 4 2(0-4-2) String Performance 4 การเรียนการสอนปฏิบัติเครื่องสายสากล มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องมือ การดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง (ความเพี้ยนของเสียงสูง-ตํ่า) การใชคันชักและการวางน้ิว การต้ังเสียงและการเกิดเสียง ฝกเลนบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 3

Page 53: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

53

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063406 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากล 5 2(0-4-2) String Performance 5 การเรียนการสอนปฏิบัติเครื่องสายสากล มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องมือ การดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง (ความเพี้ยนของเสียงสูง-ตํ่า) การใชคันชักและการวางน้ิว การต้ังเสียงและการเกิดเสียง ฝกเลนบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 4

2063408 ปฏิบัติกีตาร 5 2(0-4-2) Guitar 5 การเรียนปฏิบัติกีตารคลาสสิค มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถ ของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง การวางน้ิว เทคนิคการตีคอรด การเกากีตาร การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกใหฝกในระดับที่สูงกวาระดับ 4

2063410 ปฏิบัติคียบอรด 5 2(0-4-2) Keyboard Performance 5 การเรียนการสอนปฏิบัติคียบอรด มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา การไลเสียง บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถายทอดอารมณ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง ฝกในระดับที่สูงกวาระดับ 4 2063412 ปฏิบัติขับรองสากล 5 2(0-4-2) Voice Performance 5 การเรียนการสอนปฏิบัติขับรองสากล มุงพัฒนาขีดความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี ทาทาง การหายใจ การออกเสียง ภาษา การถายทอดอารมณ ศิลปะการรองเพลง (เทคนิค) บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 4 2063413 ปฏิบัติเคร่ืองกระทบ 4 2(0-4-2) Percussion Performance 4 การเรียนการสอนเครื่องกระทบ มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนแตละคนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบ การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศีลปะการบรรเลง (เทคนิค) ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกใหปฏิบัติสูงกวาในระดับ 3

Page 54: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

54

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063414 ปฏิบัติเคร่ืองกระทบ 5 2(0-4-2) Percussion Performance 5 การเรียนการสอนเครื่องกระทบ มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนแตละคนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบ การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศีลปะการบรรเลง (เทคนิค) ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝก ใหปฏิบัติสูงกวาในระดับ 4

ฝกทักษะการเลนรวมวง ฝกความพรอมเพรียงในการบรรเลงรวมกัน การบรรเลงใหนํ้าเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดตาง ๆ ของการบรรเลงในดานความถูกตองของเสียงและอารมณเพลง ปฏิบัติรวมวงใหญ ใชผูแสดงต้ังแต 13 คนข้ึนไป การปฏิบัติรวมวงใหญในข้ันน้ี ใหฝกบทเพลงในระดับสูงกวาระดับ 2 2063418 ปฏิบัติรวมวงใหญ 4 1(0-2-1) Band Orchestra 4 ฝกทักษะการบรรเลงรวมวง ฝกความพรอมเพรียงในการบรรเลงรวมกัน การบรรเลงใหนํ้าเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดตาง ๆ ของการบรรเลงในดานความถูกตองของเสียงและอารมณเพลง ปฏิบัติรวมวงใหญใชผูแสดงต้ังแต 13 คนข้ึนไป การปฏิบัติรวม วงใหญในข้ันน้ี ใหฝกบทเพลงในระดับสูงกวาระดับ 3

2063415 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบรวมสมัย 1(0-2-1) Contemporary Band เปนการฝกปฏิบัติรวมวงในแนวดนตรีรวมสมัย ซึ่งประกอบดวยเครื่องดนตรีอยางนอย 8 ช้ิน เชน ทรัมเปต ทรอมโบน อัลโตแซกโซโฟน เทเนอรแซกโซโฟน บาริโทนแซกโซโฟน เบส กีตาร กลองชุด และคียบอรดหรือเปยโน เปนตน เปนการรวมวงดนตรี ที่พัฒนาความสามารถหลาย ๆดาน ในการบรรเลง และขับรองอยางกวางขวาง 2063416 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบแจส 1(0-2-1) Jazz Band เปนการฝกปฏิบัติรวมวงในแนวแจส ซึ่งประกอบดวยเครื่องดนตรีอยางนอย 4-8 ช้ิน เชน ทรัมเปต ทรอมโบน อัลโตแซกโซโฟน เทเนอรแซกโซโฟน เบส กีตาร กลองชุด และคียบอรดหรือเปยโน เปนตน เปนการรวมวงดนตรี ที่เนนความสามารถทางคีตปฏิภาณ ในการบรรเลงและขับรอง ทั้งเพลงไทยและตะวันตก

2063417 ปฏิบัติรวมวงใหญ 3 1(0-2-1) Band Orchestra 3

Page 55: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

55

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063419 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 3 1(0-2-1) Chorus Vocal 3 ฝกการออกเสียงที่ยากข้ึน ฝกการยายเสียง โด ไปในบันไดเสียงตาง ๆ ใชบทเพลงที่ยากกวาในระดับที่ 2 และใชบทเพลง 4 แนวมาตรฐาน 2063420 ปฏิบัติขับรองประสานเสียง 4 1(0-2-1) Chorus Vocal 4 ฝกการออกเสียงที่ยากข้ึน ฝกการยายเสียง โด ไปในบันไดเสียงตาง ๆ ใชบทเพลงที่ยากกวาในระดับที่ 3 และใชบทเพลง 4 แนวที่ซับซอนย่ิงข้ึน 2063421 ปฏิบัติเคร่ืองลมไมแจส 3 2(0-4-2) Jazz Woodwind Performance 3 การเรียนการสอนเครื่องลมไมประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของ การเปา การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี-การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องลมไม 2 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล 2063422 ปฏิบัติเคร่ืองลมไมแจส 4 2(0-4-2) Jazz Woodwind Performance 4 การเรียนการสอนเครื่องลมไมประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรีการแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝก จะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องลมไม 3 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล 2063423 ปฏิบัติเคร่ืองทองเหลืองแจส 3 2(0-4-2) Jazz Brass Performance 3 การเรียนการสอนเครื่องทองเหลืองประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปาการถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 2 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล

Page 56: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

56

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063424 ปฏิบัติเคร่ืองทองเหลืองแจส 4 2(0-4-2) Jazz Brass Performance 4 การเรียนการสอนเครื่องทองเหลืองประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรีการแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 3 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล 2063425 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากลแจส 3 2(0-4-2) Jazz String Performance 3 การเรียนการสอนเครื่องสายสากลประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการสี การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี-การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องสายสากล 2 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล

2063426 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากลแจส 4 2(0-4-2) Jazz String Performance 4 การเรียนการสอนเครื่องสายสากลประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการสี การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี-การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องสายสากล 3 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล 2063427 ปฏิบัติกีตารพาณิชย 3 2(0-4-2) Jazz Guitar Performance or Commercial Guitar Performance 3 การเรียนการสอนการปฏิบัติกีตารแจสรวมทั้งกีตารเบสแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติ เครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการดีด การตีคอรด การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดงโดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติกีตารพาณิชย 2 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล

Page 57: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

57

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063428 ปฏิบัติกีตารพาณิชย 4 2(0-4-2) Jazz Guitar Performance or Commercial Guitar Performance 4 การเรียนการสอนการปฏิบัติกีตารแจสรวมทั้งกีตารเบสแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการดีด การตีคอรด การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรม ทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี-การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะ สูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติกีตารพาณิชย 3 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล 2063429 ปฏิบัติคียบอรดแจส 3 2(0-4-2) Jazz Keyboard Performance 3 การเรียนการสอนเครื่องคียบอรดประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการบรรเลง การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี-การแสดง โดยลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องคียบอรด 2 และสอดคลองกับองคประกอบของมาตรฐานสากล 2063430 ปฏิบัติคียบอรดแจส 4 2(0-4-2) Jazz Keyboard Performance 4 การเรียนการสอนเครื่องคียบอรดประเภทดนตรีแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการบรรเลง การถายทอดอารมณ ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี-การแสดง โดยมีลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องคียบอรด 3 2063431 ปฏิบัติขับรองสากลแจส 3 2(0-4-2) Jazz Voice Performance 3 การเรียนการสอนการปฏิบัติขับรองสากลแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียงที่ขับรอง ศิลปะของการรองเพลงแจส ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของ นักดนตรี-การแสดง โดยลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติ ขับรองสากลแจส 2

Page 58: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

58

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063432 ปฏิบัติขับรองสากลแจส 4 2(0-4-2) Jazz Voice Performance 4 การเรียนการสอนการปฏิบัติขับรองสากลแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียงที่ขับรองศิลปะของการรองเพลงแจส ฝกไลบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของ นักดนตรี- การแสดง โดยลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติ ขับรองสากลแจส 3 2063433 ปฏิบัติเคร่ืองกระทบแจส 3 2(0-4-2) Jazz Percussion Performance 3 การเรียนการสอนการปฏิบัติเครื่องกระทบแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของ การตี บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดงโดยลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชาปฏิบัติเครื่องกระทบแจส 2 2063434 ปฏิบัติเคร่ืองกระทบแจส 4 2(0-4-2) Jazz Percussion Performance 4 การเรียนการสอนการปฏิบัติเครื่องกระทบแจส มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สําเนียง คุณภาพของเสียง ศิลปะของการตี บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง โดยลําดับข้ันของบทฝกจะตองมีเน้ือหาของทักษะสูงข้ึนกวารายวิชา ปฏิบัติเครื่องกระทบแจส 3 2063435 รวมวงแจสหรือปอปปูลาร 3 2(0-4-2) Jazz or Popular Ensemble 3 การเรียนการสอนปฏิบัติรวมวงสากลในรูปแบบแจสหรือปอปปูลาร มุงพัฒนาความสามารถในการบรรเลงรวมวง การปรับตนใหเขากับกลุมและการฝกระเบียบวินัยของการบรรเลงรวม วิธีปฏิบัติตองพบอาจารยผูควบคุมกอนการลงทะเบียนบทเพลงหรือคีตวรรณกรรมที่ใชข้ึนอยูกับอาจารยผูควบคุมเปนผูตัดสินใจในการฝกซอม ลักษณะวงในระดับน้ีใหเปนวงประเภท Big Band

Page 59: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

59

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063436 รวมวงแจสหรือปอปปูลาร 4 2(0-4-2) Jazz or Popular Ensemble 4 การเรียนการสอนปฏิบัติรวมวงสากลในรูปแบบแจสหรือปอปปูลาร มุงพัฒนาความสามารถในการบรรเลงรวมวง การปรับตนใหเขากับกลุมและการฝกระเบียบวินัยของการบรรเลงรวม วิธีปฏิบัติตองพบอาจารยผูควบคุมกอนการลงทะเบียน บทเพลงหรือคีตวรรณกรรมที่ใชข้ึนอยูกับอาจารยผูควบคุมเปนผูตัดสินใจในการฝกซอม ลักษณะวงในระดับน้ีใหเปนวงประเภท Big Band บทเพลงที่ใชใหมีความซับซอนมากกวาในระดับ 3 2063501 ดนตรีอาฟริกา 3(3-0-6) Music of Africa ศึกษาดนตรีประเพณีของชาวอาฟริกาเหนือ อาฟริกาใต และแถบทะเลทรายซาฮารา เกี่ยวกับแบบแผนของดนตรี เครื่องดนตรี วงดนตรีและบริบททางสังคมและวัฒนธรรม 2063502 ดนตรีอเมริกาและแปซิฟค 3(3-0-6) Music of the Americas and the Pacific ศึกษาดนตรีประเพณีของชนพื้นเมืองเดิมในทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง อเมริกาใต และชนเผาตางๆ ในมหาสมุทรแปซิฟกแถบโปลิเนเซีย เมลาเนเซีย เกี่ยวกับแบบแผนของดนตรี เครื่องดนตรี วงดนตรี และบริบททางสังคมและวัฒนธรรม 2063503 เพลงไทยสากลเชิงประวัติ 3(3-0-6) History of Thai Popular Song ศึกษาขอมูลที่เกียวของกับการพัฒนาเพลงไทยสากลอยางเปนระบบต้ังแตอดีต จนถึงปจจุบัน เพื่อคลี่คลายความเปนมาของเพลงไทยสากลทั้งประเภทเพลงลูกกรุง เพลงลูกทุง (ซึ่งประกอบดวยเพลงปลุกใจ เพลงเพื่อชีวิต) เพลงสตริง เพลงร็อค เพลงแร็พ เปนตนเพื่อศึกษา แนวคิดวิเคราะหดานสังคม วัฒนธรรมของไทยในยุคตางๆ ที่สอดคลองกับการพัฒนาของดนตรี 2063505 สุนทรียศาสตรทางดนตรี 3(3-0-6) Aesthetics of Music ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับความหมายของความงาม และความสําคัญของดนตรีตอชีวิต สังคม การเมือง และการศึกษาจากนักปรัชญาสาขาตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งโดยตรงและโดยออม รวมทั้งวรรณกรรมทางดนตรีที่ไดรับการยกยอง

Page 60: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

60

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063506 จิตวิทยาดนตรี 3(3-0-6) Psychology of Music ศึกษาความสัมพันธระหวางวิทยาการจิตวิทยา กับพื้นฐานความถนัดทางดนตรี ประสาท การรับรูดนตรี ความแตกตางของบุคคลกับจิตวิทยาการฟงดนตรี อารมณและการตีความหมายดนตรี 2063507 สวนศาสตรทางดนตรี 3(3-0-6) Music Acoustics ศึกษาการเกิดเสียงของเครื่องดนตรีในทางฟสิกส และคุณสมบัติของเสียง ไดแก ความถ่ี ลักษณะคลื่นเสียง ความกังวาน ความเขม ระดับเสียง คุณภาพของเสียง เสียงซอน หนวยวัดเสียงดานตางๆ การคํานวณเซนต ความกลมกลอมของเสียง บันไดเสียงรูปแบบตางๆ สวนศาสตรของเครื่องดนตรี 2063508 ดนตรีบําบัด 3(3-0-6) Music Therapy ศึกษาความหมายของดนตรีบําบัดและประวัติความเปนมา ทฤษฎีและการนําไปใช การนําองคประกอบดนตรีไปใชบําบัดผูปวย เทคนิคพื้นฐานในการบําบัดผูปวยโดยใชกิจกรรมดนตรีบําบัดเพื่อผูปวยทางรางกาย ผูปวยในระบบประสาท ระบบกระดูกและระบบทางเดินหายใจ ผูปวยที่ตองการฟนฟูสภาพรางกาย ตลอดจนเด็กที่มีปญหาทางการพูด การฟง การเคลื่อนไหวรางกาย เปนตน 2063606 การสอนโยธวาทิต 3(3-0-6) Band Teaching เทคนิคการสอนปฏิบัติเครื่องดนตรีในวงโยธวาทิต การปรับปรุงแกไขวิธีปฏิบัติ การหายใจ การวางปาก คุณภาพเสียง สําเนียง การถายทอดอารมณ เทคนิคการฝกซอม ทั้งการบรรเลงแบบคอนเสิรต และการบรรเลงดนตรีสนาม การเทียบเสียง ความสมดุลของเสียง 2063607 ดนตรีสําหรับชั้นประถมศึกษา 3(3-0-6) Music in the Elementary School ศึกษาหลักสูตรวิชาดนตรีระดับประถมศึกษา จิตวิทยาและพัฒนาการของเด็กระดับประถมศึกษา ทฤษฎีการสอนดนตรีรูปแบบตาง ๆ ของนักการศึกษาทางดนตรีเพื่อนํามาประยุกตใชในการเรียนการสอนดนตรี พัฒนาทักษะพื้นฐานทางดนตรี ไดแกการฟง การอาน การรอง การเลนเครื่องดนตรี การเคลื่อนไหว ความคิดสรางสรรคซึ่งสัมพันธกับองคประกอบของดนตรีเพี่อใหการเรียน การสอนดนตรีบรรลุตามวัตถุประสงค สามารถสรางสื่อการสอนหรืออุปการณดนตรีอยางงาย ๆ ศึกษาการวัดผลและประเมินผลวิชาดนตรีตามจุดมุงหมายทางการศึกษา

Page 61: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

61

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063608 ดนตรีสําหรับเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) Music for Pre-School Children ศึกษาทัศนะการสอนปฐมวัยตามแนวคิดแบบไทยและตะวันตก ศึกษาหลักสูตรการพัฒนาเด็กที่เกี่ยวของกับดนตรีศึกษาหรือมาตรฐานสากลของการพัฒนาเด็กปฐมวัยที่ตองการใหเกิดข้ึนโดยสังเขป ศึกษาองคประกอบของทักษะทางดนตรีที่มีความสัมพันธเกี่ยวขององคประกอบของดนตรี ศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมและเน้ือหาวิชาดนตรีศึกษาเขามาพัฒนาเด็กปฐมวัยใหเกิดผลตามจุดมุงหมายทางการศึกษา รูปแบบการสอนดนตรีเด็กโดยทั่วไปรูปแบบการสอนดนตรีเฉพาะโดยสังเขป ศึกษาจิตวิทยาพัฒนาการของเด็กปฐมวัยที่เกี่ยวของกับการสอนดนตรี สื่อการสอน ศึกษาขอกําหนดมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนดนตรีปฐมวัยและปรับใชตามสภาพความตองการของทองถ่ิน 2063609 ดนตรีสําหรับคนพิการ 3(3-0-6) Music of Handicapped Learner ศึกษาถึงเทคนิคการสอนสําหรับผูเรียนที่ไมสมประกอบทั้งทางดานกายและจิตใจ ทั้งเด็กและผูใหญเพื่อนําดนตรีไปใชเปนเครื่องพัฒนาคุณภาพชีวิต 2063610 การสอนเคร่ืองคียบอรด 3(3-0-6) Keyboard Pedagogy ศึกษากระบวนการสอนคียบอรด ประวัติและวิวัฒนาการวิธีสอนของแตละทฤษฎี สังเกตการสอนคียบอรด สํารวจรวบรวมและวิเคราะหสื่อ การเลือกใชสื่อใหมีความเหมาะสมกับผูเรียน ศึกษาสวนประกอบและการใชงานของเครื่องดนตรี ศึกษาเทคนิคเฉพาะของเครื่องคียบอรด การทดลองสอน 2063611 การสอนเคร่ืองลมไม 3(3-0-6) Woodwind Pedagogy ศึกษากระบวนการสอนเครื่องลมไม ประวัติและวิวัฒนาการวิธีสอนของแตละทฤษฎี สังเกตการสอนเครื่องลมไม สํารวจรวบรวมและวิเคราะหสื่อ การเลือกใชสื่อใหมีความเหมาะสมกับผูเรียน ศึกษาสวนประกอบและการใชงานของเครื่องดนตรี ศึกษาเทคนิคเฉพาะของเครื่องลมไม การทดลองสอน

Page 62: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

62

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063612 การสอนเคร่ืองทองเหลือง 3(3-0-6) Brass Pedagogy ศึกษากระบวนการสอนเครื่องทองเหลือง ประวัติและวิวัฒนาการวิธีสอนของแตละทฤษฎี สังเกตการสอนเครื่องทองเหลือง สํารวจรวบรวมและวิเคราะหสื่อ การเลือกใชสื่อใหมีความเหมาะสมกับผูเรียน ศึกษาสวนประกอบและการใชงานของเครื่องดนตรี ศึกษาเทคนิคเฉพาะของเครื่องทองเหลือง การทดลองสอน 2063613 การสอนเคร่ืองสายสากล 3(3-0-6) String Pedagogy ศึกษากระบวนการสอนเครื่องสายสากล ประวัติและวิวัฒนาการวิธีสอนของแตละทฤษฎี สังเกตการสอนเครื่องสายสากล สํารวจรวบรวมและวิเคราะหสื่อ การเลือกใชสื่อใหมีความเหมาะสมกับผูเรียน ศึกษาสวนประกอบและการใชงานของเครื่องดนตรี ศึกษาเทคนิคเฉพาะของเครื่องสายสากล การทดลองสอน 2063614 การสอนเคร่ืองกระทบ 3(3-0-6) Percussion Pedagogy ศึกษากระบวนการสอนเครื่องกระทบ ประวัติและวิวัฒนาการวิธีสอนของแตละทฤษฎี สังเกตการสอนเครื่องกระทบ สํารวจรวบรวมและวิเคราะหสื่อ การเลือกใชสื่อใหมีความสามารถสมกับผูเรียน ศึกษาสวนประกอบและการใชงานของเครื่องดนตรี ศึกษาเทคนิคเฉพาะของเครื่องกระทบ การทดลองสอน 2063615 การสอนทฤษฎีดนตรี 3(3-0-6) Music Theory Pedagogy สําหรับผูที่เตรียมตัวสอนทฤษฏีดนตรีใหคุนเคยกับวิธีการสอน เน้ือหาสาระ และอุปกรณในการสอนทฤษฎีดนตรี 2063616 การสอนประวัติดนตรี 3(3-0-6) Music History Pedagogy สํารวจวิธีการสอนประวัติดนตรี โดยมุงเนนเน้ือหาและขอมูล รวมทั้งวัสดุอุปกรณการสอน 2063617 การสอนกีตาร 3(3-0-6) Guitar Pedagogy ศึกษากระบวนการสอนกีตารประวัติและวิวัฒนาการวิธีสอนของแตละทฤษฎี สังเกตการสอนกีตาร สํารวจรวบรวมและวิเคราะหสื่อ การเลือกใชสื่อใหมีความเหมาะสมกับผูเรียน ศึกษาสวนประกอบและการใชงานของเครื่องดนตรี ศึกษาเทคนิคเฉพาะของกีตาร การทดลองสอน

Page 63: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

63

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063619 การสอนขับรองประสานเสียง 3(3-0-6) Chorus Pedagogy ศึกษาวิธีการสอนขับรองประสานเสียงแบบตาง ๆ วิธีการเลือกบทเพลงที่เหมาะสมกับกลุมขับรอง การนําความรูทางการเรียบเรียงการประสานเสียง สําหรับการขับรองประสานเสียงมาใชการจัดซอม 2063620 การสอนดนตรีปฏิบัติในชั้นมัธยมศึกษา 3(3-0-6) Instrumental Music in the Secondary School เรียนรูและปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลและ/หรือเครื่องดนตรีไทยที่ใชในวงดนตรี เรียนตัวโนต ทักษะการอานตัวโนต การจําเพลงไทย การใชคีตปฏิภาณจากทํานองเพลงที่จําได เทคนิคการซอมวง การเทียบเสียง ความสมดุลของเสียง ตามหลักสูตรของระดับช้ัน 2063621 การสอนดนตรีปฏิบัติในชั้นประถมศึกษา 3(3-0-6) Instrumental Music in the Elementary School เรียนรูและปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล และ/หรือเครื่องดนตรีไทยที่ใชในวงดนตรี เรียนตัวโนต ทักษะการอานตัวโนต การจําเพลงไทย การคีตปฏิภาณจากทํานองเพลงที่จําได เทคนิคการซอมวง การเทียบเสียง ความสมดุลของเสียง 2063622 การใชคอมพิวเตอรชวยสอนดนตรี 3(2-2-5) Computer Aided Music Instruction ศึกษาเกี่ยวกับการประยุกตใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการสอนดนตรี Notation Software Sequencing Software และอื่นๆ การเขียนโปรแกรมชวยสอนดนตรีเกี่ยวกับเน้ือหาทฤษฎีเกี่ยวกับการฟง (Ear Training) 2063623 การสอนขับรองสากล 3(3-0-6) Voice Pedagogy ศึกษากระบวนการสอนขับรองสากล ประวัติและวิวัฒนาการวิธีสอนของแตละทฤษฎี สังเกตการสอนขับรองสากล สํารวจรวบรวมและวิเคราะหสื่อ การเลือกใชสื่อใหมีความเหมาะสมกับผูเรียน ศึกษาเทคนิคเฉพาะของการขับรองสากล การทดลองสอน

Page 64: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

64

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063624 กิจกรรมดนตรีสําหรับครูปฐมวัย 3(3-0-6) Musical Activities for Pre-School Teachers พัฒนาทักษะพื้นฐานในองคประกอบดนตรีและทักษะการสอนในแตละองคประกอบของทักษะ ไดแกการรอง การฟง การเลนเครื่องดนตรี การเคลื่อนไหว การสรางสรรค การอาน ที่มีความสัมพันธกับองคประกอบของดนตรีและวรรณคดีดนตรี ศึกษาวิธีการวัดและประเมินผล ทักษะดนตรีเบื้องตนในแตละทักษะ เรียนรูบทเพลง เครื่องดนตรีและการละเลนพื้นบาน และวิเคราะหสื่อมาตรฐานที่นิยมใชเปนสากลรวมถึงการซอม สราง บํารุงรักษาเบื้องตน เพื่อนํามาประยุกต ใชใน การเรียนการสอนใหเหมาะสมกับพัฒนาการของผูเรียนตามความพรอมและความตองการของทองถ่ิน การฝกปฏิบัติเขียนและทดลองใชแผนการสอนในช้ันเรียนของผูศึกษาใหเกิดผล ตามจุดมุงหมายทางการศึกษา 2063625 การเลนเคร่ืองดนตรีสําหรับครูปฐมวัย 3(2-2-5) Music for Pre-School Teachers เลือกศึกษาเครื่องดนตรี 1 ชนิด มีความรูอธิบายหลักการเบื้องตนได กําหนดจุดประสงคของการปฏิบัติ กระบวนการฝกซอมและพัฒนาทักษะปฏิบัติในระดับที่สูงข้ึน เขาใจวิธีการใชสื่อประกอบการสอนและการวัดและประเมินผลเบื้องตน ปฏิบัติเครื่องดนตรีไดในระดับพื้นฐาน วัดผลโดยสอบปากเปลาและสอบปฏิบัติ 2063626 การวัดและประเมินผลวิชาดนตรี 3(3-0-6) Measurement and Evaluation of Music ศึกษาองคประกอบและวิธีการวัดผลประเมินผลวิชาดนตรี การวัดผลทฤษฎีดนตรี การวัดผลปฏิบัติทางดนตรี การวัดผลจิตพิสัยทางดนตรี ตามจุดมุงหมายทางการศึกษา ศึกษามาตรฐานการวัดผลดนตรีในแตละหลักสูตร สถาบันดนตรีในประเทศและตางประเทศ ปฏิบัติการใชและพัฒนาเครื่องมือวัดผลและประเมินผลดนตรีเพื่อใชในการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนวิชาดนตรีศึกษาในช้ันเรียนไดตามเน้ือหาและจุดประสงคของการสอนในหลักสูตรสอดคลองกับมาตรฐาน ฝกการใชสถิติอยางงายในการวัดผลและประเมินผล 2063628 การสรางสื่อการสอนวิชาดนตรี 3(2-2-5) Measurement and Evaluation of Music ศึกษาประเภทและองคประกอบของสื่อ ที่มีความสัมพันธกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรี การสํารวจสื่อประเภทตางๆ ศึกษาวิธีการซอม การสรางและการใชสื่อประกอบการเรียนการสอนวิชาดนตรีตามจุดประสงคของเน้ือหาวิชาสภาพการณทางเศรษฐกิจสังคมของทองถ่ินและความเจริญของเทคโนโลยี ศึกษาคุณสมบัติและคุณภาพของสื่อการสอนเพื่อประกอบการพิจารณาความเหมาะสมในการใช ศึกษาเกณฑมาตรฐานของสื่อที่จําเปนและควรจะมีใชในช้ันเรียนในการสอนวิชาดนตรีศึกษาของหลักสูตรในแตละระดับ วิธีการประเมินผลการใชสื่อ

Page 65: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

65

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063629 ดนตรีตามหลักสูตรประถมศึกษา 2(2-0-4) Music in the Elementary School ศึกษาดนตรีบทเพลงบรรเลง บทเพลงรองที่ปรากฏในหลักสูตรประถมศึกษา การจัดกิจกรรมและการนําอุปกรณการเรียนการสอนดนตรีใหเหมาะสมกับวัยของผูเรียน แนวคิดเทคนิควิธีการเรียนการสอน การปฏิบัติเครื่องดนตรี การขับรองที่สอดคลองกับหลักสูตรประถมศึกษา 2063701 การใชคอมพิวเตอรชวยงานดนตรี 3(2-2-5) Computer Aided Music การประยุกตใชโปรแกรมสําเร็จรูปในงานดนตรี Notation Software, Sequencing Software และอื่น ๆการเขียนโปรแกรมชวยงานดนตรี การเขียนโปรแกรมสั่งงานดนตรีผานระบบ MIDI 2063703 ปฏิบัติการบันทึกเสียงดนตรี 2 3(2-2-5) Studio Recording 2 การจัดวางตําแหนงและการเลือกใชไมโครโฟน ระบบซิงโครไนซ (Synchronization) เทคนิคการบันทึกเสียงจากเหลงตางๆ เทคนิคการผสมเสียงการทํามาสเตอรสําหรับสื่อตางๆ 2063704 ปฏิบัติดนตรีอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Electronics Music Workshop ศึกษาถึงอุปกรณดนตรีอิ เล็กทรอนิกสและวิธีการใชงาน เชน ซีเควนเซอร (Sequencer) กลองไฟฟา (Drum Machine) เครื่องแซมปลิง (Sampling Machine) ซินทิไซเซอร (Synthesizer) อิเล็กทรอนิกออรแกน (Electronic Organ) ซาวนดโมดุล (Sound Module) และอุปกรณที่ใชรวมกับเครื่องดนตรีตางๆ เชน Chorus Distortion Reverb Flanges Echo 2063705 อุตสาหกรรมการดนตรีเบ้ืองตน 3(2-2-5) Music Industry Overview กลาวถึงโครงสรางทั่วไปของวงการอุตสาหกรรมการดนตรีและการบันทึกเสียง ศึกษาถึงความเกี่ยวเน่ืองกันระหวางหนวยงานหรือบุคคลตาง ๆ กับวิธีการผลิตผลงานใน อุตสาหกรรมการดนตรี ซึ่งประกอบไปดวย นักแตงเพลง (Song Writer) ผูพิมพ (Publisher) หนวยงานสิทธิประโยชน (Performing Rights Organizations) ผูควบคุมการผลิต (Producer) หองบันทึกเสียงและวิศวกรเสียง (Studio and Engineer) ผูจัดการ (Manager) ตัวแทน (Agent) คายเพลง (Record Label) ผูสนับสนุนการแสดง (Promoter) ธุรกิจการขายปลีก (Retailer) อุตสาหกรรมการผลิต

Page 66: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

66

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2063706 การซอมสรางอุปกรณดนตรี 3(2-2-5) Instrumental Maintenance and Repair ศึกษาองคประกอบของช้ินสวนตางๆ ของเครื่องดนตรี แตละชนิด การบํารุงรักษาและการซอมแซมเบื้องตน การสรางอุปกรณของเครื่องดนตรีบางชนิด การปรับระดับเสียงของเครื่องดนตรี 2063801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพสาขาวิชาดนตรี 2(90) Preparation for Professional Experience in Music จัดกิจกรรมเตรียมความพรอมของผูเรียนในดานการแสดง และโอกาสของการประกอบอาชีพดานดนตรี พัฒนานักศึกษาใหมีความรู ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพดานดนตรี 2063802 การเตรียมสหกิจศึกษาสาขาวิชาดนตรี 1(45) Preparation for Cooperative Education จัดเตรียมความพรอมผูเรียน ดานความรู ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจ และคุณลักษณะ ที่เหมาะสมกับวิชาชีพดานดนตรี 2063901 หลักการเขยีนรายงานดนตรีนิพนธ 3(3-0-6) Research Methods in Music ศึกษาหลักการและวิธีการเขียนรายงานดนตรีนิพนธที่ไดมาจากการศึกษาคนควา การวิเคราะหบทเพลง การลําดับเน้ือหาสาระ การเขียนเชิงอรรถ การอางอิง การนําเสนอขอมูล การใชโนตเพลง สัญลักษณ ตาราง แผนภูมิ สรุปผล ทําการศึกษาคนควาแลวนําเสนอเปนรายงานที่แสดงภูมิหลัง แนวคิด จุดมุงหมาย วิธีดําเนินการ สรุปผลการศึกษาคนควา โดยเลือกหัวขอจากประเด็นตอไปน้ี 1. ศึกษาคนควา วิเคราะหหัวขอเรื่องใดๆ ที่เกี่ยวของกับดนตรี 2. บทประพันธเพลงหรืองานสรางสรรคที่เกี่ยวกับดนตรีทั้งดนตรีตะวันตก ดนตรีไทย หรือดนตรีพื้นบาน ฯลฯ 2064301 เคานเตอรพอยต 3(3-0-6) Counterpoint ศึกษาการเขียนเคานเตอรพอยต 2 แนว 3 แนว ที่พบในศตวรรษที่ 18 แบบโทนอล การเขียน harmonic implication, imitation, cannon, invention, fugue

Page 67: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

67

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2064302 ดนตรีสมัยศตวรรษท่ี 21 3(3-0-6) Music in the 21th Century ศึกษาคนควาและวิเคราะหรูปแบบโครงสราง เทคนิคที่ใชในบทเพลง การบันทึกโนตวรรณกรรมที่สําคัญ โปรแกรมการแสดงต้ังแตคริสตศตวรรษที่ 18–21 2064303 การประพันธดนตรีตามแบบแผนดนตรียุโรป 2(2-0-4) Euro pear Art Music Composition ศึกษาถึงเทคนิคการประพันธ โดยเนนสไตลดนตรีศิลปะประยุกตสมัยตาง ๆ 2064304 การประพันธดนตรีปอปปูลาร 2(2-0-4) Popular Music Composition ทบทวนหลักการประพันธตาง ๆ เนนการนําหลักการไปใชในการประพันธดนตรี ปอปปูลารศึกษาสไตลของดนตรีแบบปอปปูลาร 2064305 การประพันธดนตรีแจส 2(2-0-4) Jazz Composition ศึกษาการประพันธดนตรีในสไตลแบบแจสศึกษาเครื่องดนตรี พื้นฐานที่เกี่ยวกับบันไดเสียงตางๆ และ Chord ที่เกิดจากบันไดเสียง รวมทั้ง Chord แทนศึกษาสไตลแบบ Blues และลักษณะของแจสในยุคตางๆ การสราง Introduction, Interlude และ Endian 2064306 การเรียบเรียงเสยีงประสานสําหรับดนตรีแจสและปอปปูลาร 3(3-0-6) Jazz and Popular Arranging ศึกษาถึงวิธีการเรียบเรียงเสียงประสานดนตรีแจส การใชคอรดแทน ลักษณะโนต ที่ใชในเพลงแจสลีลาของแจสแตละประเภทเครื่องดนตรีรวมไปถึงการยายเสียง (transposition), การใชคอรดชุด (Chord Pattern) การใชแนวดําเนินคอรด (Chord Progression) รวมทั้งแนวทางดําเนินเบส (Bass Line) ประสานเสียง 2 แนว 3 แนว 4 แนว และ 5 แนว การใชบรรเลงปฏิภาณ (Improvisation) 2064312 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 2 3(3-0-6) Forms and Analysis of Western Music 2 ศึกษาและวิเคราะหคีตลักษณที่มีการพัฒนาองคประกอบ เชน โซนาตา (Sonata) แวริเอช่ัน (Variation) อินเวนช่ัน (Invention) สวิท (Suite ) และฟวจ (Fugue)

Page 68: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

68

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2064320 การอํานวยเพลงวงโยธวาทิต 3(2-2-5) Conducting for Band Music ศึกษาวรรณกรรมดนตรีสําหรับวงโยธวาทิต การอํานวยเพลงแบบคอนเสิรต (Concert Band) การกําหนดตําแหนงที่น่ังแนวดนตรีรวมไปถึงการอํานวยเพลงดนตรีสนาม ฝกอาน Score และการตีความหมายฝกเทคนิคการใชบาตองใหสอดคลองกับลีลาเครื่องหมายความสมดุลและความกลมกลืนของเสียงเครื่องดนตรีใหเหมาะสมกับรูปแบบของวง 2064321 การเรียบเรียงเสยีงประสานสําหรับวงโยธวาทิต 3(3-0-6) Arranging for Band Music ศึกษาถึงเทคนิคของการเรียบเรียงเสียงประสาน สําหรับวงโยธวาทิต และวงดนตรีอื่นที่มีลักษณะการจัดวงคลายคลึงกัน เครื่องดนตรีตระกูลตาง ๆ ที่ใชในวงโยธวาทิต การจัดระบบเครื่องดนตรี การใชเครื่องดนตรีทดแทน การนําบทเพลงจากวงดนตรีประเภทอื่น ๆ มาเรียบเรียงสําหรับวงโยธวาฑิต วิธีการเขียนสกอร (Score) ทั้ง Short Score และ Full Bound การคัดลอกสกอรสําหรับเครื่องดนตรี (Transposition) 2064401 ปฏิบัติเคร่ืองลมไม 6 2(0-4-2) Woodwind Performance 6 การเรียนการสอนเครื่องลมไม มุงพัฒนาการปฏิบัติใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียน แตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง – ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา (เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตร ี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาในระดับที่ 5 2064403 ปฏิบัติเคร่ืองทองเหลือง 6 2(0-4-2) Brass Performance 6 การปฏิบัติเครื่องทองเหลือง มุงพัฒนาการปฏิบัติใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง – ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา (เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาในระดับ 5

Page 69: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

69

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ)

การเรียนการสอนปฏิบัติเครื่องสายสากล มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องมือ การดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง (ความเพี้ยนของเสียงสูง-ตํ่า) การใชคันชักและการวางน้ิว การต้ังเสียงและการเกิดเสียง ฝกเลนบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับ 5

การเรียนปฏิบั ติกีตารคลาสสิค มุ งพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีให เต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคนโดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง การวางน้ิว เทคนิคการตีคอรด การเกากีตาร การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกใหฝกในระดับที่สูงกวาระดับ 5

การเรียนการสอนเครื่องลมไม มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องดนตรี ทาทาง การดูแลรักษา การหายใจ การวางปาก สําเนียง (ความเพี้ยนเสียงสูง – ตํ่า) คุณภาพของเสียง ศิลปะของการเปา (เทคนิค) การถายทอดอารมณ บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของ นักดนตรี การแสดง การฝกในระดับน้ีใหเปนระดับที่สูงกวาระดับ 7

การเรียนการสอนปฏิบัติคียบอรด มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา การไลเสียง บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) การถายทอดอารมณ ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง ฝกในระดับที่สูงกวาระดับ 5

2064405 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากล 6 2(0-4-2) String Performance 6

2064407 ปฏิบัติกีตาร 6 2(0-4-2) Guitar Performance 6

2064408 ปฏิบัติเคร่ืองลมไม 8 2(0-4-2) Woodwind Performance 8

2064409 ปฏิบัติคียบอรด 6 2(0-4-2) Keyboard Performance 6

Page 70: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

70

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ)

การเรียนการสอนปฏิบัติเครื่องสายสากล มุงพัฒนาการปฏิบัติเครื่องดนตรีใหเต็มขีดความสามารถของผูเรียนแตละคน โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบของเครื่องดนตรี การหยิบจับเครื่องมือ การดูแลรักษา การข้ึนสาย การต้ังเสียง สําเนียง (ความเพี้ยนของเสียงสูง-ตํ่า) การใชคันชักและการวางน้ิว การต้ังเสียงและการเกิดเสียง ฝกเลนบันไดเสียง บทฝกและวรรณกรรมทางดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 7

การเรียนการสอนปฏิบัติขับรองสากล มุงพัฒนาขีดความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี ทาทาง การหายใจ การออกเสียง ภาษา การถายทอดอารมณ ศิลปะการรองเพลง (เทคนิค) บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 5 2064412 ปฏิบัติขับรองสากล 8 2(0-4-2) Voice Performance 8 การเรียนการสอนปฏิบัติขับรองสากล มุงพัฒนาขีดความสามารถของผูเรียนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี ทาทาง การหายใจ การออกเสียง ภาษา การถายทอดอารมณ ศิลปะการรองเพลง (เทคนิค) บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ปรัชญาของนักดนตรี การแสดง การฝกปฏิบัติ ฝกในข้ันสูงกวาระดับที่ 7 2064413 ปฏิบัติเคร่ืองกระทบ 6 2(0-4-2) Percussion Performance 6 การเรียนการสอนเครื่องกระทบ มุงพัฒนาความสามารถของผูเรียนแตละคนใหเต็มขีดความสามารถ โดยคํานึงถึงหัวขอตอไปน้ี สวนประกอบ การหยิบจับ ทาทาง การดูแลรักษา บทฝกและวรรณกรรมดนตรี ศิลปะการบรรเลง (เทคนิค) ปรัชญาของนักดนตรีการแสดง การฝก ใหปฏิบัติสูงกวาในระดับที่ 5

2064410 ปฏิบัติเคร่ืองสายสากล 8 2(0-4-2) String Performance 8

2064411 ปฏิบัติขับรองสากล 6 2(0-4-2) Voice Performance 6

Page 71: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

71

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ)

ศึกษาหลักสูตรดนตรีในระดับมัธยมศึกษาจิตวิทยาและพัฒนาการเด็กวัยรุน พัฒนาทักษะทางดนตรีใหเหมาะสมกับการสอนดนตรีในระดับมัธยมศึกษา รูจักเลือกใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการเรียนการสอน ศึกษาวิธีการจัดกิจกรรมกลุมเกี่ยวกับดนตรี ศึกษาการวัดผลและประเมินผลวิชาดนตรีตามจุดมุงหมายทางการศึกษา

ในการเรียบเรียงเสียงประสาน การสรางเสียงประกอบโฆษณา ภาพยนตรและอื่นๆ ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร เชน ซีบีเลียส (Sibelius) โลจิก (Logic) การาจ แบนด (Garage Band) แบนด อิน อะบอกซ (Band in a Box) เปนตน

ศึกษารายละเอียดของสคริปต (Script) สตรอรีบอรด (Story Board) ไทมไลน (Time Line) ศึกษาระบบเฟรมและระบบซิงโครไนซของภาพยนตร วีดิทัศน สไลดมัลติวิช่ัน เรียนรูและฝกปฏิบัติการเรียบเรียง (Arrange) ตัดตอ (Editing) ดนตรีประกอบสื่อตางๆ เชน ภาพยนตร วิดีทัศน สไลดมัลติวิช่ัน รวมทั้งสื่อโปรแกรมคอมพิวเตอร

ศึกษาองคประกอบตางๆ ของเครื่องเสียง การทําหนาที่ของอุปกรณ การติดต้ังอุปกรณเครื่องเสียงในรูปแบบตางๆ และการดูแลรักษาอุปกรณใหอยูในสภาพพรอมใชงาน 2064801 การฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี 5(450) Field Experience in Music นักศึกษาฝกปฏิบัติงานดานดนตรี ตามความถนัดและความสนใจทั้งในหนวยงานรัฐ เอกชน หรือสรางงานอาชีพอิสระดานดนตรี โดยอาจารยที่ปรึกษาและพนักงานผูควบคุมการปฏิบัติงาน เปนผูวัดและประเมินผล

2064501 ดนตรีสําหรับชั้นมัธยมศึกษา 3(3-0-6) Music in the Secondary School

2064701 การผลิตผลงานทางดนตรีดวยคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Productions of Computerized Music ศึกษาถึงระบบการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรแบบแม็กอินทอส (Macintosh)

2064702 การเรียบเรียงดนตรีประกอบสื่อ 3(2-2-5) Music Arranging for Visual Media

2064703 การติดต้ังและการใชระบบเคร่ืองเสียง 3(2-2-5) Operating and Setting up Audio System

Page 72: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

72

รหัส คําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 2064802 สหกิจศึกษาสาขาวิชาดนตรี 6(495) Cooperative Education in Music นักศึกษาฝกปฏิบัติงานดานดนตรี ตามความถนัดและความสนใจ ทั้งในหนวยงานภาครัฐ เอกชน หรือสรางงานอาชีพอิสระดานดนตรีไมนอยกวา 16 สัปดาห เมื่อเสร็จสิ้นการฝกปฏิบัติแลว นักศึกษาตองสงรายงานและนําเสนอตอคณาจารยในสาขาวิชา โดยอาจารยที่ปรึกษาสหกจิ และพนักงานผูควบคุมการปฏิบัติงานเปนผูวัดและประเมินผล 2064901 การศึกษาดนตรีเอกเทศ 3(3-0-6) Independent Study in Music นักศึกษาเสนอโครงการศึกษาคนควาเกี่ยวกับดนตรีที่สนใจซึ่งไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาแลว ทําการศึกษาคนควาและนําเสนอเปนรายงานโดยมีขอบขายของเรื่องที่จะ ทําการศึกษา ดังน้ี 1. ศึกษาเรื่องใดเรื่องหน่ึงในหลักสูตรที่เรียนมาแลวใหละเอียดลึกซึ้ง

2. ศึกษาคนควาเรื่องอื่น ๆ นอกเหนือจากรายการวิชาในหลักสูตรที่เรียนมา 3. ศึกษาคนควาวิทยาการหรือสิ่งคนพบใหม ๆ ในสาขาดนตรี

2064903 การเสนอผลงานทางดนตรี 3(2-2-5) Music Presentation ใหนักศึกษาไดมีโอกาสเสนอผลงานของตนในรูปแบบตาง ๆ จัดแสดงแผนงานและ การประเมินผลโครงการที่ ชัดเจน โดยเลือกกิจกรรมตอไปน้ี 1 กิจกรรมเทาน้ัน โดยไดรับ ความเห็นชอบจากอาจารยผูสอนรายวิชาน้ี 1. ดนตรีนิทัศน ใหนักศึกษาจัดนิทรรศการทางดนตรี 2. การแสดงเด่ียวใหนักศึกษาสรุปผลงานทางดานปฏิบัติตลอดระยะเวลาที่ไดศึกษา ในหลักสูตรโดยใหนักศึกษาเลือกบทเพลงที่ตนเองถนัด บรรเลงตอสาธารณะชน 3. ปริญญานิพนธ ศึกษาคนควาในเรื่องราวที่ตนเองสนใจ 4. เสนอผลงานดานการประพันธ โดยไมจํากัดรูปแบบของเครื่องดนตรีและสื่อที่นําเสนอ

2064906 สัมมนาดนตรี 3(3-0-6) Seminar in Music ศึกษาเพื่อใหเกิดความรอบรู เกี่ยวกับเน้ือหาดนตรีดานตางๆ และสามารถคิดวิเคราะหได ศึกษาเรียนรูเรื่องวิธีการจัดการสัมมนาเพื่อสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันตอไปได

Page 73: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

73

3.2 ชื่อ ตําแหนงและคุณวุฒิของอาจารย 3.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร

ลํา ดับ

ช่ือ – นามสกลุ ตําแหนงวิชาการ

คุณวุฒิ-สาขาวิชาเอก สถาบัน การศกึษา

ปที ่จบ

ภาระงานสอน ชม./สัปดาห 2555 2556 2557 2558

1 นายเบญจรงค กุลสุ

ผูชวยศาสตราจารย

ศศ.ม . (มานุษยดุริยางควิทยา) กศ.บ. (สังคมศึกษา)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ประสานมิตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ สงขลา

2539 2518

12 12 12 12

2 นายพุทธะ ณ บางชาง

อาจารย ศษ.ม (มานุษยดุริยางควิทยา) ศษ.บ. (ดุริยางคศาสตร)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ประสานมิตร วิทยาลัย เทคโนโลยีและอาชีวะ

2543 2529

12 12 12 12

3 นายมณเฑียร รุงหิรญั

อาจารย ศษ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา) ค.บ. (ดนตรีสากล)

มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันราชภัฏจันทรเกษม

2549 2546

12 12 12 12

4 นายวิเชยีร ธนลาภประเสริฐ

อาจารย ค.บ. (ดนตรีศึกษา) สถาบันราชภัฏ วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ

2546 12 12 12 12

5 นายศรัทธา สวาทสุข

อาจารย ค.บ. (ดนตรีศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ

2548 12 12 12 12

3.2.2 อาจารยประจํา ลํา ดับ

ช่ือ – นามสกลุ ตําแหนงวิชาการ

คุณวุฒิ-สาขาวิชาเอก สถาบัน การศกึษา

ปที ่จบ

ภาระงานสอน ชม./สัปดาห 2555 2556 2557 2558

1 นายเบญจรงค กุลสุ

ผูชวยศาสตราจารย

ศศ.ม . (มานุษยดุริยางควิทยา) กศ.บ. (สังคมศึกษา)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ประสานมิตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ สงขลา

2539 2518

12 12 12 12

2 นายพุทธะ ณ บางชาง

อาจารย ศษ.ม (มานุษยดุริยางควิทยา) ศษ.บ. (ดุริยางคศาสตร)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ประสานมิตร วิทยาลัย เทคโนโลยีและอาชีวะ

2543 2529

12 12 12 12

3 นายมณเฑียร รุงหิรญั

อาจารย ศษ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา) ค.บ. (ดนตรีสากล)

มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันราชภัฏจันทรเกษม

2549 2546

12 12 12 12

4 นายวิเชยีร ธนลาภประเสริฐ

อาจารย ค.บ. (ดนตรีศึกษา) สถาบันราชภัฏ วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ

2546 12 12 12 12

5 นายศรัทธา สวาทสุข

อาจารย ค.บ. (ดนตรีศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ

2548 12 12 12 12

4. องคประกอบเก่ียวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน หรือสหกิจศึกษา) หลักสูตรดนตรีสากลไดกําหนดรายวิชา สหกิจศึกษา และการฝกประสบการณวิชาชีพ ในกลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ เพื่อใหนักศึกษามีประสบการณในสาขาวิชาชีพตามสถานการณจริงในหนวยงานภาครัฐ หนวยงานภาคเอกชน

4.1 มาตรฐานผลการเรียนรูของประสบการณภาคสนาม ความคาดหวังในผลการเรียนรู ประสบการณภาคสนามของนักศึกษา มีดังน้ี 4.1.1 มีความรูความเขาใจและทักษะการปฏิบัติงานจากหนวยงานภาครัฐและเอกชนมากข้ึน 4.1.2 สามารถนําความรูและทักษะที่ได ไปใชในการประกอบอาชีพทางดนตรีสากล

Page 74: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

74

4.1.3 พัฒนาบุคลิกภาพและมีมนุษยสัมพันธ สามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดดี 4.1.4 มีระเบียบวินัย ตรงตอเวลา เรียนรูวัฒนธรรมองคกร 4.1.5 มีความคิดสรางสรรคในการทํางาน

4.2 ชวงเวลา ภาคการศึกษาที่ 2 ของปการศึกษาที่ 4

4.3 การจัดเวลาและตารางสอน จัดเต็มเวลา 16 สัปดาห

5. ขอกําหนดเก่ียวกับการทําโครงงานหรืองานวิจัย ขอกําหนดในการทําศิลปะนิพนธ หรือโครงงานตองเปนหัวขอที่เกี่ยวกับการสรางสรรคงานดนตรี เปนงานเฉพาะบุคคล และมีการเสนอรายงาน ศิลปะนิพนธ หรือโครงงาน ตามรูปแบบที่ตองสงตามระยะเวลาที่หลักสูตรกําหนด

5.1 คําอธิบายโดยยอ ศิลปะนิพนธหรือโครงงาน เปนการสรางสรรคงานดนตรี ที่นักศึกษาสนใจ โดยศึกษาคนควาหลักการทฤษฎี มาเปนแนวทางสรางสรรคอยางเปนระบบ วิเคราะหและสรุปผลการวิจัย 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู นักศึกษาสามารถนําความรู และทักษะที่ไดจากการทําศิลปะนิพนธ หรือโครงงานไปใชในการพัฒนางานดนตรี หรือการประกอบอาชีพ 5.3 ชวงเวลา ภาคการศึกษาที่ 1 ของปการศึกษาที่ 4 5.4 จํานวนหนวยกิต

5 หนวยกิต 5.5 การเตรียมการ

มีกําหนดการใหคําปรึกษาดานการศึกษาคนควา การวางแผน การดําเนินงาน กระบวนการสรางสรรคงานดนตรี การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การสรุปผล การจัดทํารายงานการวิจัย 5.6 กระบวนการประเมินผล

ประเมินผลจากความกาวหนาในการทําโครงงานหรือศิลปะนิพนธ การสรางสรรคงานดนตรี และรายงานการวิจัย

Page 75: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

75

หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรูและกลยุทธการสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธการสอนหรือกิจกรรมนักศึกษา 1. มีทักษะ และความคิดสรางสรรคในการสรางงานดนตรี

1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใหนักศึกษาไดแสดงออกในลักษณะตางๆ 2. ศึกษาดูงานดนตรี 3. สงเสริมการเขารวมแสดงงานดนตรี 4. เชิญวิทยากรบรรยาย สาธิต หรือ Work Shop กิจกรรมดนตรี

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน

2.1 คุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 การเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

1) ตระหนักในคุณคาของคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย สุจริต 2) มีวินัย มีความรับผิดชอบในหนาที่ของตนเองและสังคม 3) เคารพ ขอบังคับ ระเบียบ กฎของสถาบัน และสังคม 4) เคารพสิทธิ และรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น

2.1.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม จัดปฐมนิเทศ กําหนดวัฒนธรรม โดยจัดทําเปนขอตกลงการเรียนการสอน

สอดแทรกเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ จัดกิจกรรม แสดงความช่ืนชม ยกยองนักศึกษาที่ทําความดี ใหความรวมมือในกิจกรรมตางๆ และผูสอนตองเปนแบบอยางที่ดีแกนักศึกษา

2.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม 1) ประเมินจากการเขาช้ันเรียน การสงงานที่มอบหมายตามกําหนด 2) ประเมินจากการปฏิบัติงานตาง ๆ ดวยตนเอง 3) ประเมินจากความรับผิดชอบตอวัสดุสิ่งของที่ใช สถานที่ในการเรียนของตนเอง

และการจัดกิจกรรมตาง ๆ 4) ประเมินจากความรวมมือ และการรวมกิจกรรม 5) ประเมินจากความรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

2.2 ความรู 2.2.1 การเรียนรูดานความรู

ความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี เน้ือหา สาระของดนตรี เปนสิ่งสําคัญ เปนพื้นฐานในการใชฝกทักษะ สรางสรรคงานดนตรี และการประกอบอาชีพ

1) มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักการทฤษฎีในสาขาวิชาดนตรี 2) สามารถวิเคราะหปญหา ออกแบบ ประยุกตความรู และทักษะในงานดนตรี

Page 76: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

76

3) สามารถติดตามความกาวหนา และวิวัฒนาการเกี่ยวกับ งานในสาขาวิชาดนตรี 4) รู เขาใจ และสนใจพัฒนาความรู ความชํานาญในงานศิลปกรรมอยางตอเน่ือง 5) สามารถบูรณาการความรูในงานดนตรี กับความรูในศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

2.2.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู ใชรูปแบบการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ นําหลักการทฤษฎี สอดแทรกในกิจกรรม ปฏิบัติการทางดนตรี ศึกษาคนควา วิเคราะห เปรียบเทียบ และประยุกตสูการปฏิบัติ การจัดการเรียนรูจากแหลงเรียนรูตาง ๆ เชิญวิทยากรเฉพาะสาขา และฝกปฏิบัติงานในสถานการณจริง

2.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู 1) การประเมินผลจากการปฏิบัติงานที่ตองนําความรูความเขาใจมาใชปฏิบัติได 2) ประเมินจากการทดสอบกลางภาค และสอบปลายภาค 3) ประเมินจากการศึกษาคนควา 4) ประเมินจากรายงานการเรียนรู จากแหลงเรียนรู 5) ประเมินผลจากผลงานที่ไดรับมอบหมาย 6) ประเมินจากการฝกประสบการณวิชาชีพ หรือสหกิจศึกษา

2.3 ทักษะทางปญญา 2.3.1 การเรียนรูดานทักษะทางปญญา

การพัฒนาทักษะทางปญญา ควบคูกับคุณธรรมจริยธรรม และความรูในการเรียนการสอน ตองฝกใหนักศึกษาคิด ตรวจสอบหาเหตุผล ประเมินขอมูล แนวทางแกปญหา ดวยตนเองอยางสรางสรรค

1) คิดอยางมีวิจารณญาณ และอยางเปนระบบ 2) สามารถสืบคน ตีความประเมินขอมูล เพื่อใชในการสรางสรรคงานได 3) สามารถศึกษา วิเคราะห สรุปประเด็นปญหา และหาแนวทางในการแกปญหาได

อยางสรางสรรค 4) สามารถประยุกตความรู และทักษะในการสรางงานดนตรีไดอยางเหมาะสม

2.3.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา 1) กําหนดหัวขอกิจกรรม ปฏิบัติการทางศิลปะ 2) การวิเคราะห วิจารณ ผลงานศิลปน และนักศึกษา 3) การศึกษา คนควาขอมูล รายงาน โครงการ 4) การฝกประสบการณวิชาชีพ หรือสหกิจศึกษา

2.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา 1) ประเมินจากการจัดทํารายงาน โครงการ 2) ประเมินจากผลงานดนตรีที่สรางสรรคอยางมีระบบ และพื้นฐานจากทฤษฎี 3) สามารถปรับตัว แกปญหาในการฝกประสบการณวิชาชีพ หรือสหกิจศึกษา

Page 77: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

77

2.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.1 การเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางตัวบุคคลและความสามารถในการ

รับผิดชอบ 1) มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบของตนเอง และผูอื่น

2) สามารถใชความรูในงานดนตรี ช้ีนําสังคม ในประเด็นที่เหมาะสม 3) มีมนุษยสัมพันธ และสามารถทํางานรวมกับผู อื่น ได ทั้ ง ในฐานะผู นํ า

และผูรวมงาน 4) สามารถเรียนรู ในการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพอยางตอเน่ือง

2.4.2 กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

1) กําหนดกิจกรรมกลุมในการเรียนการสอน 2) กิจกรรม โครงการ แสดงผลงานของนักศึกษา 3) การฝกประสบการณวิชาชีพ หรือสหกิจศึกษา

2.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

1) ประเมินจากพฤติกรรมในการรวมกิจกรรม ที่มอบหมาย และผลงานของการปฏิบัติงาน

2) ประเมินจากพฤติกรรมในการปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นที่แสดงความพึงพอใจ และเปนที่ยอมรับทั้งในฐานะผูนําและผูรวมงาน

2.5 ทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 การเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ 1) สามารถใชหลักการวิเคราะหเชิงตัวเลขทางสถิติ หรือคณิตศาสตรในการแกปญหา

การเรียนรู 2) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการรวบรวมขอมูล และนํามาใชในการ

นําเสนอ และสื่อสาร 3) สามารถสื่อสาร และเลือกใชรูปแบบของการนําเสนอไดเหมาะสมกับกลุมบุคคล

ที่แตกตางกัน 2.5.2 กลยุทธการสอนท่ีใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข

การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ มอบหมายงานที่ตองใชทักษะในการวิเคราะห คํานวณเชิงตัวเลข กําหนดงานศึกษา

คนควา รวบรวม เรียบเรียง ตลอดจนการนําเสนอ วิเคราะห วิจารณผลงานทางดนตรี

Page 78: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

78

2.5.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1) ประเมินจากผลงานที่แสดงความสามารถในการวิเคราะหเชิงตัวเลข ในการสรางสรรคและแกปญหา

2) ประเมินจากการใชเทคโนโลยีในการศึกษาคนควาและการนําเสนอ 2.6 ทักษะพิสัย

2.6.1 การเรียนรูดานทักษะพิสัย 1) มีทักษะในการใชวัสดุ อุปกรณ ในการสรางสรรคงาน 2) มีความสามารถพัฒนา และหรือ ประยุกตวัสดุ อุปกรณ ในการสรางสรรคงาน 3) มีทักษะในการสรางสรรคงานดนตรี 4) มีความสามารถในการบูรณาการ การสรางสรรคงานดนตรีแขนงตางๆ

2.6.2 กลยุทธการสอนท่ีใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะพิสัย 1) จัดการเรียนการสอน โดยเนนการปฏิบัติ ดวยการใชวัสดุ อุปกรณตางๆ 2) ศึกษาดูงาน แหลงเรียนรูตาง ๆ 3) จัดกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะ 4) การฝกประสบการณวิชาชีพ หรือสหกิจศึกษา

2.6.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะพิสัย 1) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ และการพัฒนาการสรางสรรคงาน 2) ประเมินจากการนิเทศ การฝกประสบการณวิชาชีพ หรือสหกิจศึกษา

Page 79: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

79

1. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรูสูกระบวนวิชา (Curriculum mapping) ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู ทักษะทางปญญา

ทักษะความสัมพันธระหวางบคุคลและความ

รับผิดชอบ

ทักษะวิเคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทักษะพิสัย

1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4

1.ทฤษฎีดนตรีสากล 1

2.การอานและการเขียนโนตสากล 1

3.ปฏิบัติเครื่องลมไม 1

4.ปฏิบัติเครื่องลมไม 2

5.ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 1

6.ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 2

7.ปฏิบัติเครื่องสายสากล 1

8.ปฏิบัติเครื่องสายสากล 2

9.ปฏิบัติกีตาร 1 10.ปฏิบัติกีตาร 2

11.ปฏิบัติคียบอรด 1

12.ปฏิบัติคียบอรด 2 13.ปฏิบัติเครื่องกระทบ 3

14.ปฏิบัติเครื่องกระทบ 1

15.ปฏิบัติเครื่องกระทบ 2

Page 80: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

80

รายวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู ทักษะทางปญญา

ทักษะความสัมพันธระหวางบคุคลและความ

รับผิดชอบ

ทักษะวิเคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทักษะพิสัย

1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4

16.การจัดเก็บระบบขอมูลดนตรี 17.มานุษยวิทยาทางดนตรี

18.ดนตรีวิจักษ

19.ดนตรีรวมสมัย

20. เพลงไทยสากลเชิงประวัติ

21.คอมพิวเตอรดนตรีขั้นพื้นฐาน

22.ทฤษฎีดนตรีสากล 2

23.ทฤษฎีดนตรีแจส

24.การอานและการเขียนโนตสากล 4

25.ประวัติดนตรีตะวันตกตั้งแตสตวรรษที่ 18 ถึงปจจุบัน

26.ประวัติดนตรีตะวันตก 2 27.คีตปฏิภาณแบบแจส 1

28.ประวัติดนตรีแจส

29.คีตปฏิภาณแบบแจส

30.ปฏิบัติเครื่องลมไม 3

Page 81: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

81

รายวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู ทักษะทางปญญา

ทั ก ษ ะ ค ว า ม สั ม พั น ธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

ทักษะวิ เค ราะหเชิ งตัว เลข การสื่อสารและการใชเ ท ค โ น โ ล ยีสารสนเทศ

ทักษะพิสัย

1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4

31.ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 3 32.ปฏิบัติเครื่องสายสากล 3 33.ปฏิบัติกีตาร 3

34.ปฏิบัติกีตาร 4

35.ปฏิบัติคียบอรด 3

36.ปฏิบัติคียบอรด 4

37.ปฏิบัติขับรองสากล 3 38.ปฏิบัติขับรองสากล 4

39.ปฏิบัติเครื่องกระทบ 3 40.ปฏิบัติเครื่องกระทบ 3

41.ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบสตริง

42.การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ 43. การฝกประสบการณวิชาชีพ 44. การเตรียมสหกิจศึกษาสาขาวิชา 45. สหกิจศึกษาสาขาวิชา 46.ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบคอมโบ 47.ดนตรีเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต

48.ดนตรีเอเชียใตและตะวันออกกลาง

Page 82: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

82

รายวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู ทักษะทางปญญา

ทักษะความสัมพันธระหวางบคุคลและความ

รับผิดชอบ

ทักษะวิเคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทักษะพิสัย

1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4

49.ความสัมพันธระหวางดนตรีไทยกับดนตรีตะวันตก

50.การซอมสรางอุปกรณดนตรี 51.ทฤษฎีดนตรีสากล 3

52.หลักการประพันธเบื้องตน

53.การเรียบเรียงดนตรีสําหรับเด็ก 54.การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับการขับรองประสานเสียง

55.การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับวงแบนด

56.การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับดนตรี ปอปปูลาร

57.การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับดนตรีแจส

58.ประวัติดนตรีตะวันตกตั้งแตยุคโบราณถึง ค.ศ.1750

59.รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 1

60.คีตปฏิภาณแบบแจส 2

61.การประพันธดนตรีแบบแจสและปอปปูลาร

Page 83: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

83

รายวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู ทักษะทางปญญา

ทักษะความสัมพันธระหวางบคุคลและความ

รับผิดชอบ

ทักษะวิเคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทักษะพิสัย

1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4

62.ปฏิบัติเครือ่งลมไม 4 63.ปฏิบัติเครื่องลมไม 5 64.ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 4 65.ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 5 66.ปฏิบัติเครื่องสายสากล 4

67.ปฏิบัติเครื่องสายสากล 5

68.ปฏิบัติกีตาร 5

69.ปฏิบัติคียบอรด 5

70.ปฏิบัติเครื่องกระทบ 4

71.ปฏิบัติเครื่องกระทบ 5

72.ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบรวมสมัย

73.ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบแจส

74.การใชคอมพิวเตอรชวยสอนดนตรี

75.การใชคอมพิวเตอรชวยงานดนตรี

76.การซอมสรางอุปกรณดนตรี 77.หลักการเขียนรายงานดนตรีนิพนธ

78.ดนตรีสมัยศตวรรษที ่21

Page 84: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

84

รายวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู ทักษะทางปญญา

ทักษะความสัมพันธระหวางบคุคลและความ

รับผิดชอบ

ทักษะวิเคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ทักษะพิสัย

1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4

79.การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับดนตรีแจส และปอปปูลาร

80.รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 2 81.ปฏิบัติเครื่องลมไม 6 82.ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 6 83.ปฏิบัติเครื่องสายสากล 6

84.ปฏิบัติกีตาร 6

85.ปฏิบัติคียบอรด 6

86.ปฏิบัติขับรองสากล 6

87.ปฏิบัติเครื่องสายสากล 6

88.ปฏิบัติเครื่องกระทบ 6

89.การผลิตผลงานทางดนตรีดวยคอมพิวเตอร

90.การติดตั้งและการใชระบบเครื่องเสียง

91. การเสนอผลงานทางดนตรี

Page 85: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

85

หมวดท่ี 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (ผลการเรียน) การวัดการประเมินผล และการสําเร็จการศึกษา เปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี วาดวยการจัดการศึกษา ระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ก) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูขณะนักศึกษายังไมสําเร็จการศึกษา 2.1.1 วางแผนการ กําหนดระบบการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิการเรียนรูของนักศึกษา ใหเปนสวนหน่ึงของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัย ซึ่งตองทําความเขาใจเกี่ยวกับ เกณฑการประเมินทั้งหลักสูตร และคณะ เพื่อนําไปดําเนินการจนบรรลุผลสัมฤทธ์ิ ซึ่งผูประเมินภายนอกสามารถตรวจสอบได 2.1.2 ใหนักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชา 2.1.3 พิจารณาทวนสอบจากผลการเรียน หรืองานที่กําหนดวาสอดคลองกับผลการเรียนรูหรือไม 2.1.4 การทวนสอบในระดับหลักสูตรสามารถดําเนินการโดยมีระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัย ดําเนินการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู และรายงานผล 2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษา วางแผนกําหนดวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษา โดยการทําวิจัย การไดงานทําของบัณฑิต ความเห็นของบัณฑิต และผูใชบัณฑิตที่มีตอการจัดการศึกษาของหลักสูตร ผลงานและเกียรติคุณของบัณฑิตในสังคม 3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร เปนไปตามขอบั งคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานีวาดวยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี พ.ศ. 2551 (ภาคผนวก ก)

Page 86: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

86

หมวดท่ี 6 การพัฒนาคณาจารย 1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม 1.1 จัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหม ใหเขาใจวัตถุประสงค โครงสราง การจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิของหลักสูตร 1.2 ใหอาจารยใหมเขาใจการบริหารงานของหลักสูตรและคณะ ทั้งงานวิชาการ งานพัฒนานักศึกษา งานประกันคุณภาพการศึกษาของหลักสูตร และคณะ ที่ตองรวมมือกันทํางาน 2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล มหาวิทยาลัยมีการจัดโครงการอบรมอาจารยใหม และอาจารยประจํา เรื่อง การสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ การสรางแบบทดสอบ การวัดและการประเมินผล การใชคอมพิวเตอรในการเรียน การสอน การผลิตสื่อการสอน การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การเขียน มคอ.3 มคอ.5 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอ่ืนๆ 2.2.1 สงเสริมและสนับสนุนใหอาจารยเขาอบรม ประชุม สัมมนา นําเสนอผลงานทั้งวิชาการและวิชาชีพทั้งในประเทศและตางประเทศ 2.2.2 สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาตอในระดับปริญญาเอก 2.2.3 สงเสริมและสนับสนุนใหอาจารยทําผลงานทางวิชาการ และผลงานในลักษณะอื่นๆ เพื่อใหมีตําแหนงทางวิชาการสูงข้ึน 2.2.4 สงเสริมและสนับสนุนใหอาจารยทําวิจัย ทั้งการวิจัยองคความรู การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

Page 87: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

87

หมวดท่ี 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การบริหารหลักสูตร 1.1 แตงต้ังอาจารยประจําหลักสูตร ใหเปนไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 1.2 แตงต้ังคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อบริหารจัดการเรียนการสอน การประเมนิหลกัสตูร และการประกันคุณภาพการศึกษาของหลักสูตร 1.3 หลักสูตรไดรับการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี และสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 1.4 มีการเขียน มคอ.3 มคอ.5 ทุกรายวิชา และมคอ.4 มคอ.6 ในรายวิชากลุมปฏิบัติการ 1.5 มีแผนการสอนในการเรียนการสอนทุกรายวิชา 1.6 มีการจัดการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ 1.7 มีการประเมินการสอนของอาจารยทุกรายวิชา 1.8 มีการประเมินหลักสูตร เพื่อพัฒนาอยางตอเน่ืองทุกๆ 5 ป 2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน 2.1 การบริหารงบประมาณ หลักสูตรใชอาคารเรียนของคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คาใชจายเกี่ยวกับบุคลากรใชงบแผนดิน คาใชสอยและเงินอุดหนุนใชงบรายได ซึ่งเปนรายรับจากคาลงทะเบียนของนักศึกษา 2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนท่ีมีอยูเดิม สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหนังสือ ตํารา วารสาร และระบบฐานขอมูล รวมทั้งเอกสาร ตํารา ที่เกี่ยวของ สําหรับการศึกษาคนควาอยางเพียงพอ 2.2.1 สํานักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี 1) หนังสือตําราเอกสาร - หนังสือ ตําราเกี่ยวกับดานดนตรี ภาษาไทยประมาณ 300 เลม - หนังสือ ตําราเกี่ยวกับดานดนตรี ภาษาอังกฤษประมาณ 200 เลม 2) วารสารทางวิชาการประมาณ 50 เลม 3) ฐานขอมูลออนไลน ไดแก Swing Music, Jazz_blues, Classical_ music, bigbandlibrary, Western Music, COUNTRY & WESTERN MUSIC, Music History 102, Jazz Musics book, Jazz Hand book, Jazz book etc. 4) ทางเวปไซต - www.Guitarthai.com - www. amazon.com - www.arturo Sandoval.com - www.WWbW.com

Page 88: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

88

- www.abc.net.au/classical - www.Chisbotti.com - www.Jazztrumpetsolo.com - www.thaimarchingband.org 2.2.2 สถานท่ี

ลําดับท่ี รายการและลักษณะเฉพาะ จํานวนท่ีมีอยู (หอง) 1 หองพักอาจารย 1 2 หองบรรยายและปฏิบัติการ 2 3 หองคอมพิวเตอรของคณะ 1 4 ศูนยคอมพิวเตอร 2 5 สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 6 อาคารพยาบาล 1

2.2.3 อุปกรณการสอน

ลําดับท่ี รายการและลักษณะเฉพาะ จํานวนท่ีมีอยู 1 เปยโน (up light) 2 2 เปยโนไฟฟา 4

3 ไวโอลิน 2 4 วิโอลา 1 5 เชลโล 2 6 ดับเบิลเบส 2 7 กีตารคลาสสิค 8 8 กีตารโปรง 4 9 กีตารไฟฟา 2 10 เบสไฟฟา 2 11 เครื่องทองเหลือง 6 12 เครื่องลมไม 7 13 กลองชุด 2

2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่ิมเติม 2.3.1 เสนอรายช่ือหนังสือที่ใชศึกษาคนควาประกอบการเรียนการสอน ใหสํานักวิทยบรกิารและเทคโนโลยีสารสนเทศจัดซื้อ 2.3.2 เชิญวิทยากรที่มีความเช่ียวชาญ เฉพาะสาขามาบรรยาย สาธิต และจัดกิจกรรม Work shop

Page 89: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

89

2.3.3 จัดซื้อวัสดุ อุปกรณการสอนทางดานดนตรี เชน คอมพิวเตอรโนตบุคที่ใชสําหรับงานดนตรี เครื่องพรินตเตอร เครื่องสแกนเนอร หองซอมเด่ียว เปนตน 3. การบริหารคณาจารย 3.1 การรับอาจารยใหม มีการสอบคัดเลือกอาจารยใหมตามระเบียบ และหลักเกณฑของมหาวิทยาลัย ซึ่งตองมีคุณวุฒิระดับปริญญาโทข้ึนไป ในสาขาวิชาดนตรี ดนตรีสากล หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวของ 3.2 การแตงต้ังอาจารยพิเศษ อาจารยพิเศษตองเปนผูมีคุณวุฒิระดับปริญญาโท ข้ึนไป ในสาขาวิชาดนตรี หรือสาขาที่เกี่ยวของ หรือเปนผูที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะสาขา และตองไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการวิชาการ 4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การสนับสนุนนักศึกษา มหาวิทยาลัย คณะ และหลักสูตร สงเสริม สนับสนุนใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรม การประกวดรองเพลง และกิจกรรมทางดนตรีตาง ๆ สนับสนุนการใหทุนการศึกษา ตลอดจนมอบเกียรติบัตรแกนักศึกษาที่สรางช่ือเสียง และคุณประโยชนใหแกมหาวิทยาลัยและสังคม 4.2 การใหคําแนะนํานักศึกษา มหาวิทยาลัยมีคําสั่งแตงต้ังอาจารยที่ปรึกษาประจําหมูเรียน เพื่อใหคําปรึกษานักศึกษาที่มีปญหาดานการเรียน ดานพฤติกรรม ปญหาสวนตัว มหาวิทยาลัยไดกําหนดวัน เวลาใหอาจารยที่ปรึกษาพบนักศึกษาไวในตารางเรียน ตารางสอน 4.3 การอุทธรณของนักศึกษา กรณีนักศึกษามีความสงสัยเกี่ยวกับผลการเรียนในรายวิชาใด นักศึกษาสามารถย่ืนคํารองขอดูหลักฐาน เอกสาร การวัดผล และประเมินผล ของอาจารยผูสอนได ทั้งน้ีเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่มหาวิทยาลัยกําหนด 5. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา การผลิตบัณฑิตหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต ตองมีการศึกษาความเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี ศิลปะและวัฒนธรรม อีกสวนหน่ึงคือการสํารวจความพึงพอใจ และความตองการของผูใชบัณฑิต ทั้งดานคุณลักษณะ และคุณภาพของบัณฑิต เพื่อใชขอมูลเปนพื้นฐานการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และผูใชบัณฑิต 6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ความเปลี่ยนแปลงของโลกปจจุบันและอนาคต ในรูปแบบตางๆ มีปจจัยสําคัญหลายประการ รวมถึงความกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร การคมนาคมขนสงและสื่อสารมวลชน ตลอดจนอิทธิพลของการรวมตัวของประเทศในภูมิภาคอาเซียน สวนเศรษฐกิจไทย ที่มี

Page 90: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

90

การขยายตัวอยางตอเน่ือง ทั้งภาคอุตสาหกรรมใหม และภาคบริการ สงผลกระทบตอการจัดการศึกษา ที่ตองสามารถรองรับความเปลี่ยนแปลง (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2551) แนวโนมของการเปลี่ยนแปลงชีวิตงานของบัณฑิตใหมในอนาคตที่แตกตางจากปจจุบัน เชนการทํางานที่มีหลายอาชีพตลอดจนชวงอายุ การทํางานไรสังกัด (Freelance) การจับคูผูรวมงานและเปลี่ยนแปลงผูรวมงาน เปนรูปแบบใหมในสังคมและวัฒนธรรมที่การศึกษาตองเพิ่มความสําคัญกับคุณภาพการศึกษา และทักษะอาชีพที่พึงประสงคในอนาคต สงเสริมการสรางความรู ตกผลึกความรูเปนองคความรู ใชความรูใหเกิดประโยชนทางสังคม เศรษฐกิจพาณิชย การสรางมูลคาเพิ่ม การสรางนวัตกรรม เชนดนตรี ศิลปะ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาการสมอง การบริหารจัดการ พลังงาน และสิ่งแวดลอม เปนตน (สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2551) 7. ตัวบงชี้ผลการดําเนินการ (Key Performance Indicator) ผลการดําเนินงานบรรลุตามเปาหมายตัวบงช่ีทั้งหมดอยูในเกณฑดีตอเน่ือง 2 ป เพื่อติดตามการดําเนินการตามกรอบ TQF ตอไป ทั้งน้ีเกณฑการประเมินผานคือ มีการดําเนินงานตามขอ 1-5 และอยางนอยรอยละ 80 ของตัวบงช้ีผลการดําเนินงานที่ระบุไวในแตละป

ตัวบงชี้และเปาหมาย ปการศึกษา

ปท่ี1 ปท่ี2 ปท่ี3 ปท่ี4 ปท่ี5 1.อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร

× × × × ×

2 .มี ร ายละ เอี ยดของหลั กสู ตร ตามแบบ มคอ . 2 ที่ ส อดคล อ ง กั บ กร อบม าตร ฐ าน คุณ วุฒิ แห ง ช า ติ หรือมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถามี)

× × × × ×

3.มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของ ประสบการณภาคสนาม (ถามี ) ตามแบบ มคอ . 3 และมคอ.4 อยางนอยกอนเปดสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา

× × × × ×

4 .จั ดทํ า ร าย งานผลก าร ดํ า เ นิ นกา รขอ งราย วิช า และรายงานผลการดําเนินการของประสบการณภาคสนาม (ถามี ) ตามแบบ มคอ.5 และมคอ .6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปดสอนใหครบทุกรยวิชา

× × × × ×

5.จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปการศึกษา

× × × × ×

6.มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาตามมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่กําหนดใน มคอ.3 และมคอ.4 (ถามี ) อยางนอยรอยละ 25 ของรายวิชาที่ เปดสอนในแตละ ปการศึกษา

× × × × ×

Page 91: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

91

ตัวบงชี้และเปาหมาย ปการศึกษา

ปท่ี1 ปท่ี2 ปท่ี3 ปท่ี4 ปท่ี5 7.มีการพัฒนา/ปรับปรุ งการจัดการ เรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือ การประเมินผลการเรียนรูจาก ผลการประเมินการดําเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปที่แลว

× × × ×

8.อาจารยใหม (ถามี ) ทุกคน ไดรับการปฐมนิเทศ หรือคําแนะนําดานการจัดการเรียนการสอน

× × × × ×

9.อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพอยางนอยปละหน่ึงครั้ง

× × × × ×

10 .จํ านวนบุคลากรส นับส นุนการ เ รี ยนการสอน (ประจําคณะ) ไดรับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไมนอยกวารอยละ 50 ป

× × × × ×

11.ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/บัณฑิตใหมที่มีตอคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

× ×

12.ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิตใหม เฉลี่ยไมนอยกวา 3.5 จากคะแนเต็ม 5.0

×

13. นักศึกษาอยางนอยรอยละ 95 ผานการฝกงานสหกิจศึกษา × × 14. มีอาจารยพิเศษหรือวิทยากรมาสอน หรืออบรม เชิงปฏิบัติการ

× × × × ×

15. บัณฑิตไดงานทําหลังสําเร็จการศึกษาแลวภายในหน่ึงป ไมนอยกวารอยละ 85

×

เกณฑการประเมิน : หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ ตองผานเกณฑประเมินดังน้ี ตัวบงช้ีบังคับ (ตัวบงช้ีที่ 1-5) มีผลการดําเนินการบรรลุเปาหมาย และมีจํานวนตัวบงช้ีที่มีผลดําเนินการบรรลุเปาหมาย ไมนอยกวารอยละ 80 ของตัวบงช้ีรวม โดยพิจารณาจากจํานวนตัวบงช้ีบังคับ และตัวบงช้ีรวมในแตละป

Page 92: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

92

หมวดท่ี 8 กระบวนการการประเมินและปรับปรุงหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 กระบวนการประเมินและปรับปรุงแผนกลยุทธการสอน การประเมินเพื่อปรับปรุงกลยุทธการสอน อาจารยผูสอน ตองประเมินผูเรียนเปนรายบุคคล ในทุกหัวขอของผลการเรียนรูสูรายวิชา โดยอาจประเมินจากการทดสอบ การปฏิบัติและผลการปฏิบติั การสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษา การอภิปราย การซักถาม ตอบคําถาม เมื่อรวบรวมขอมูลและประเมินแลว ขอใดที่ไมบรรลุผลการเรียนรู ตองมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอน การทดสอบ การวัดผล หรือดําเนินการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 1.2 กระบวนการประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน ใหนักศึกษาประเมินการจัดการเรียนการสอนของอาจารยในทุกดาน ทั้งดานการเตรียมการสอน วิธีสอน การใชสื่อ พฤติกรรมการสอนและการเปนแบบอยางที่ดี 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 2.1 ประเมินจากนักศึกษาและศิษยเกา ประเมินจากการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงานในรายวิชาสหกิจศึกษา หรือฝกประสบการณวิชาชีพ ซึ่งสามารถสอบถามไดจากพี่เลี้ยง และนักศึกษา จัดปจฉิมนิเทศกอนนักศึกษาจบการศึกษา หรือจัดประชุม สัมมนาศิษยเกา ในโอกาสที่เหมาะสม 2.2 ประเมินจากผูใชบัณฑิต ดําเนินการโดยสงแบบสอบถามไปยังผูใชบัณฑิต หรือสอบถามจากสถานประกอบการที่นักศึกษา ไปฝกงาน 2.3 ประเมินโดยผูทรงคุณวุฒิหรือท่ีปรึกษา ดําเนินการโดยเชิญผูทรงคุณวุฒิ มาใหความคิดเห็น ขอเสนอแนะ จากรายงานผลการดําเนินงานหลักสูตร หรือรายงานการประเมินผลการประกัณคุณภาพการศึกษาภายใน 3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามตัวบงช้ีผลการดําเนินงานในแตละป 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง จากขอมูล ในขอ 2.2 จะทําใหทราบปญหาของการบริหารหลักสูตรทั้งในภาพรวม และใน แตละรายวิชา ซึ่งจะเปนแนวทางในการวางแผนปรับปรุง อยางเรงดวนเฉพาะกรณี หรือปรับปรุง ในระยะ 5 ป เพื่อใหหลักสูตรมีความทันสมัย สอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิต

Page 93: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

93

ภาคผนวก

Page 94: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

94

ภาคผนวก ก ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

วาดวยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี พ.ศ. 2551

Page 95: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

95

ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

วาดวยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี พ.ศ. 2551

.............................................

เพื่อใหการจัดการศึกษาและการบริหารการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18 (2) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ.2547 และโดยมติสภามหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 10/2551 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2551 จึงตราขอบังคับ ไวดังตอไปน้ี ขอ 1 ขอบังคับน้ีเรียกวา “ขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี วาดวยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี พ.ศ.2551” ขอ 2 ขอบังคับน้ีใหใชบังคับต้ังแตภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 เปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิกขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี วาดวยการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ขอ 4 ในขอบังคับน้ี

“มหาวิทยาลัย” หมายความวา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

“สภามหาวิทยาลัย” หมายความวา สภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

“อธิการบดี” หมายความวา อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมาชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

“คณบดี” หมายความวา คณบดีทุกคณะของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

“คณะกรรมการผูรับผิดชอบหลักสูตร” หมายถึง คณะกรรมการบริหารและพัฒนาหลักสูตรตามที่มหาวิทยาลัยแตงต้ังใหรับผิดชอบในการบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและพัฒนาหลักสูตร

“นักศึกษาภาคปกติ” หมายความวา นักศึกษาที่เรียนในเวลาราชการเปนสําคัญ “นักศึกษาภาคพิเศษ” หมายความวา นักศึกษาที่เรียนนอกเวลาราชการเปนสําคัญ “การศึกษาภาคปกติ” หมายความวา การศึกษาที่มหาวิทยาลัยจัดการเรียนการสอน

ในเวลาราชการเปนสําคัญ

Page 96: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

96

“การศึกษาภาคพิเศษ” หมายความวา การศึกษาที่มหาวิทยาลัยจัดการเรียนการสอนนอกเวลาราชการเปนสําคัญ

“หนวยกิต” หมายถึง มาตราที่ใชแสดงปริมาณการศึกษาที่นักศึกษาไดรับแตละรายวิชา ขอ 5 ผู ใดเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัยอยูกอนที ่ข อบังคับนี ้ใชบ ังคับ ให ผู นั ้น เป นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยตามขอบังคับน้ีตอไป

ขอ 6 บรรดากฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือมติอื่นในสวนที่กําหนดไวแลวในขอบังคับน้ี หรือซึ่งขัดหรือแยงกับขอบังคับน้ี ใหใชขอบังคับน้ีแทน ขอ 7 ใหอธิการบดีรักษาการใหเปนไปตามขอบังคับน้ี และใหมีอํานาจออกระเบียบ ประกาศหรือคําสั่งเพื่อปฏิบัติการตามขอบังคับน้ี

ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามขอบังคับน้ี ใหอธิการบดีเสนอใหสภามหาวิทยาลัยวินิจฉัยช้ีขาด

หมวด 1 ระบบการศึกษา

ขอ 8 การจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีใชระบบทวิภาคโดยปการศึกษาหน่ึงแบงออกเปนภาคการศึกษาปกติ 2 ภาคคือ ภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาที่ 2 มีระยะเวลาเรียนแตละภาคไมนอยกวา 15 สัปดาห และมหาวิทยาลัยอาจจัดการศึกษาภาคฤดูรอนตอจากภาคการศึกษาที่ 2 โดยใหมีจํานวนช่ัวโมงการเรียนในแตละรายวิชาเทากับจํานวนช่ัวโมงการเรียนที่จัดใหสําหรับรายวิชาน้ันในภาคการศึกษาปกติก็ได ขอ 9 การกําหนดหนวยกิตแตละวิชา ใหกําหนดโดยใชเกณฑ ดังน้ี

9.1 วิชาภาคทฤษฎีที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหาไมนอยกวา 15 ช่ัวโมง ตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค

9.2 วิชาภาคปฏิบัติที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา 30 ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาปกติใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค

9.3 การฝกงานหรือฝกภาคสนามที่ใชเวลาไมนอยกวา 45 ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค

9.4 การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ไดรับมอบหมายที่ใชเวลาทําโครงงานหรือกิจกรรมไมนอยกวา 45 ช่ัวโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต ระบบทวิภาค

หมวด 2 หลักสูตรการศึกษาและระยะเวลาการศึกษา

ขอ 10 หลักสูตรการศึกษาจัดไว 2 ระดับ ดังน้ี 10.1 หลักสูตรระดับอนุปริญญา 3 ป ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอย

กวา 90 หนวยกิต 10.2 หลักสูตรระดับปริญญาตรีซึ่งจัดไว 3 ประเภท ดังน้ี

Page 97: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

97

10.2.1 หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ตอเน่ือง) ใหมีจํานวนหนวยกิตรวม ตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 72 หนวยกิต

10.2.2 หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ป ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 120 หนวยกิต

10.2.3 หลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 ป ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 150 หนวยกิต

ขอ 11 ระยะเวลาการศึกษาและการลงทะเบียนเรียน ใหเปนไปตามที่กําหนด ดังน้ี 11.1 ระยะเวลาการศึกษาของนักศึกษาภาคปกติ

11.1.1 สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลาใหใชเวลาการศึกษา ดังน้ี (1)หลักสูตรระดับอนุปริญญา ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 5 ภาค

การศึกษาปกติและไมเกินกวา 6 ปการศึกษา (2)หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ตอเน่ือง) ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 4

ภาคการศึกษาปกติและไมเกินกวา 4 ปการศึกษา (3)หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ป ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 6

ภาคการศึกษาปกติและไมเกินกวา 8 ปการศึกษา (4)หลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 ป ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 8

ภาคการศึกษาปกติและไมเกินกวา 10 ปการศึกษา 11.1.2 การลงทะเบียนเรียนบางเวลาใหใชเวลาการศึกษา ดังน้ี

(1) หลักสูตรระดับอนุปริญญา ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 10 ภาคการศึกษาปกติและไมเกินกวา 9 ปการศึกษา

(2) หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ตอเน่ือง) ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 8 ภาคการศึกษาปกติและไมเกินกวา 6 ปการศึกษา

(3) หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ป ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 14 ภาคการศึกษาปกติและไมเกินกวา 12 ปการศึกษา

(4) หลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 ป ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 17 ภาคการศึกษาปกติและไมเกินกวา 15 ปการศึกษา

11.2 ระยะเวลาการศึกษาของนักศึกษาภาคพิเศษ การลงทะเบียนเรียนใหใชเวลาการศึกษาดังน้ี 11.2.1 หลักสูตรระดับอนุปริญญา ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 8 ภาค

การศึกษา และไมเกินกวา 6 ปการศึกษา 11.2.2 หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ตอเน่ือง) ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 6

ภาคการศึกษาปกติและไมเกินกวา 4 ปการศึกษา 11.2.3 หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ป ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 11

ภาคการศึกษาปกติและไมเกินกวา 8 ปการศึกษา 11.2.4 หลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 ป ใชเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 14 ภาค

การศึกษาปกติและไมเกินกวา 10 ปการศึกษา

Page 98: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

98

ขอ 12 มหาวิทยาลัยอาจจัดหลักสูตรเพื่อขออนุมัติ 2 ปริญญาก็ได หมวด 3

การขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา การโอนยายคณะ การเปลี่ยนหลักสูตร

การพนและการขอคืนสภาพนักศึกษา

ขอ 13 ผูมีสิทธิสมัครเขาเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัยตองมีคุณสมบัติ ดังน้ี 13.1 สําเร็จการศึกษาไมตํ่ากวาช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา สําหรับ

หลักสูตรระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี หรือสําเร็จการศึกษาไมตํ่ากวาข้ันอนุปริญญาหรือเทียบเทา สําหรับหลักสูตรปริญญาตรี (ตอเน่ือง)

13.2 เปนผูมีความประพฤติดี 13.3 ไมเปนโรคที่เปนอุปสรรคตอการศึกษา 13.4 มีคุณสมบัติอื่นครบถวนตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

ขอ 14 การรับนักศึกษา 14.1 การรับเขาเปนนักศึกษา ใหใชวิธีการคัดเลือกดวยวิธีสอบหรือการคัดเลือกดวย

วิธีพิจารณาความเหมาะสม วิธีการคัดเลือกและเกณฑการตัดสินใหเปนไปตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการระดับคณะและดุลยพินิจของมหาวิทยาลัย

14.2 มหาวิทยาลัยอาจรับนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่นเขาเรียนบางรายวิชาและนําหนวยกิตไปคิดรวมกับหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาที่ผูน้ันสังกัดได โดยลงทะเบียนเรียนและชําระเงินตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ที่วาดวยการรับและจายเงินคาบํารุงการศึกษาเพื่อการจัดการศึกษา ขอ 15 การข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษา

15.1 ผูที่ไดรับคัดเลือกใหเขาเปนนักศึกษา ตองมารายงานตัวเพื่อขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษา โดยสงหลักฐานและชําระเงินตามระเบียบของมหาวิทยาลัยที่วาดวยการรับจายเงินคาบํารุงการศึกษาเพื่อการจัดการศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

15.2 ผูที่ไดรับการคัดเลือกใหเขาเปนนักศึกษาแตไมมารายงานตัวเพื่อข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด ใหถือวาผูน้ันหมดสิทธ์ิที่จะข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษา เวนแตจะไดรับอนุมัติจากมหาวิทยาลัย

15.3 ผูที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนนักศึกษาจะมีสภาพเปนนักศึกษาก็ตอเมื่อไดข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษาแลว

15.4 ผูที่ไดรับการคัดเลือกใหเขาเปนนักศึกษาในหลักสูตรใดและประเภทการศึกษาใดตองข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษาในหลักสูตรน้ันและประเภทการศึกษาน้ัน

ขอ 16 ประเภทการศึกษา แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 16.1 การศึกษาภาคปกติ 16.2 การศึกษาภาคพิเศษ

ขอ 17 ประเภทนักศึกษา แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 17.1 นักศึกษาภาคปกติ 17.2 นักศึกษาภาคพิเศษ

Page 99: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

99

ขอ 18 การเปลี่ยนประเภทนักศึกษา ในกรณีที่มีเหตุผลและความจําเปนมหาวิทยาลัยอาจอนุมัติใหนักศึกษา เปลี่ยน

ประเภทนักศึกษาได ทั้งน้ี นักศึกษาตองปฏิบัติตามขอบังคับและระเบียบตางๆ สําหรับนักศึกษาประเภทน้ัน ขอ 19 การเปลี่ยนหลักสูตร

19.1 นักศึกษาอาจเปลี่ยนหลักสูตรภายในคณะเดียวกันโดยไดรับความเห็นชอบจากคณบดี สวนการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรขามคณะใหไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการระดับคณะที่เกี่ยวของและใหไดรับเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย

19.2 นักศึกษาที่เปลี่ยนหลักสูตรจะตองมีเวลาเรียนในหลักสูตรเดิมมาแลวไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา ขอ 20 การรับโอนนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาอื่น

20.1 มหาวิทยาลัยอาจพิจารณารับโอนนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่นที่มีวิทยฐานะเทียบเทามหาวิทยาลัยและกําลังศึกษาในหลักสูตรที่มีระดับ และมาตรฐานเทียบเคียงไดกับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมาเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัยไดโดยไดรับอนุมัติจากคณบดีและโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการระดับคณะที่ขอเขาศึกษาน้ัน

20.2 คุณสมบัติของนักศึกษาที่จะไดรับการพิจารณารับโอน 20.2.1 มีคุณสมบัติครบถวนตามขอ 13 20.2.2 ไมเปนผูที่พนสภาพนักศึกษาจากสถาบันเดิม 20.2.3 ไดศึกษาอยูในสถาบันอุดมศึกษาเดิมมาแลวไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา

ปกติ ทั้งน้ีไมนับภาคการศึกษาที่ลาพักหรือถูกสั่งใหถูกพักการเรียน 20.3 การเทียบโอนผลการเรียนและการยกเวนการเรียนรายวิชาใหเปนไปตาม

ระเบียบของมหาวิทยาลัยที่วาดวยการเทียบโอนผลการเรียนและการยกเวนการเรียนรายวิชา (ภาคผนวก ข) ขอ 21 นักศึกษาพนจากสภาพนักศึกษา เมื่อ

21.1 ตาย 21.2 ไดรับอนุมัติจากมหาวิทยาลัยใหลาออก 21.3 สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรและไดรับปริญญาตามขอ 33 21.4 ถูกคัดช่ือออกจากมหาวิทยาลัย การคัดช่ือออกจากมหาวิทยาลัย ใหกระทําไดในกรณีดังตอไปน้ี

21.4.1 ไมลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาแรกที่ข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษา 21.4.2 เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาแลวไมชําระคาบํารุงและคาธรรมเนียม

การศึกษาตางๆ ตามที่มหาวิทยาลัยกําหนดโดยไมมีหลักฐานการขาดแคลนทุนทรัพยอยางแทจริง เวนแตไดรับการผอนผันจากมหาวิทยาลัย

21.4.3 ขาดคุณสมบัติตามขอ 13 อยางใดอยางหน่ึง 21.4.4 ไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตํ่ากวา 1.60 เมื่อลงทะเบียนเรียนและมี

ผลการเรียนแลว 2 ภาคการศึกษาปกติหรือไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตํ่ากวา 1.80 เมื่อ

Page 100: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

100

ลงทะเบียนเรียน และมีผลการเรียนแลว 4 ภาคการศึกษาปกตินับแตวันเขาเรียนและในทุก ๆ สองภาคการศึกษาปกติถัดไป สําหรับนักศึกษาภาคพิเศษใหนับการศึกษาภาคฤดูรอนเปนภาคการศึกษารวมเขาดวย

21.4.5 เมื่อไดลงทะเบียนเรียนครบกําหนดระยะเวลาการศึกษาตามขอ 11 21.4.6 นักศึกษาไมผานการเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพและการฝก

ประสบการณวิชาชีพเปนครั้งที่ 2 ขอ 22 นักศึกษาที่พนสภาพการเปนนักศึกษาโดยไมไดกระทําผิดทางวินัยหรือไมไดพนสภาพนักศึกษาเพราะมีผลการเรียนตํ่ากวาเกณฑที่กําหนดในขอ 21.4.4 อาจขอคืนสภาพนักศึกษาไดโดยไดรับอนุมัติจากอธิการบดี โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการระดับคณะ

หมวด 4 การลงทะเบียนเรียน

ขอ 23 การลงทะเบียนเรียน 23.1นักศึกษาจะลงทะเบียนรายวิชาดวยตนเองหรือมอบฉันทะใหบุคคลอื่น

ดําเนินการแทนโดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาก็ได วิธีการลงทะเบียนเรียน วัน เวลา และสถานที่ ใหเปนไปตามที่มหาวิทยาลัยประกาศกําหนด

นักศึกษาที่ลงทะเบียนลาชาตองจายคาปรับตามอัตราที่มหาวิทยาลยัประกาศกาํหนด 23.2 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาจะสมบูรณก็ตอเมื่อนักศึกษาไดชําระเงินตาม

ระเบียบของมหาวิทยาลัยที่วาดวยการรับจายเงินคาบํารุงการศึกษาพรอมทั้งย่ืนหลักฐานการลงทะเบียนตอมหาวิทยาลัย 23.3 ผูที่ ข้ึนทะเบียนเปนนักศึกษาในภาคการศึกษาใดตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาในภาคการศึกษาน้ันเปนจํานวนตามเกณฑมาตรฐานที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด 23.4 นักศึกษาที่ไมลงทะเบียนเรียนรายวิชาโดยสมบูรณในภาคการศึกษาใดภายในเวลาที่มหาวิทยาลัยประกาศกําหนดจะไมมีสิทธ์ิเรียนในภาคการศึกษาน้ัน เวนแตจะไดรับการอนุมัติเปนกรณีพิเศษจากคณบดี แตทั้งน้ีจะตองลงทะเบียนเรียนรายวิชาโดยสมบูรณภายใน 3 สัปดาหแรกของภาคการศึกษาปกติ หรือ ภายในสัปดาหแรกของภาคฤดูรอน

23.5 นักศึกษาจะเลือกลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดในแตละภาคการศึกษาจะตองไดรับอนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษากอน ถารายวิชาที่นักศึกษาตองการลงทะเบียนเรียนมีขอกําหนดวาตองเรียนรายวิชาอื่นกอน นักศึกษาตองเรียนและสอบไดรายวิชาที่กําหนดนั้นกอนจึงจะมีสิทธ์ิลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่ประสงค น้ันได เวนแตไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 23.6 นักศึกษาภาคปกติมีสิทธิลงทะเบียนเรียนรายวิชาในภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละไมเกิน 22 หนวยกิตและนักศึกษาภาคพิเศษมีสิทธิลงทะเบียนเรียนรายวิชาในภาคการศึกษาภาคการศึกษาละไมเกิน 12 หนวยกิต ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเปน นักศึกษาอาจย่ืนคํารองขออนุมัติตอคณบดีเพื่อลงทะเบียนเรียนรายวิชาแตกตางจากที่กําหนดไวในวรรคกอนได แตเมื่อรวมกันแลวตองไมเกินภาคการศึกษาละ 25 หนวยกิตสําหรับนักศึกษาภาคปกติ และไมเกินภาคการศึกษาละ 16 หนวยกิตสําหรับนักศึกษาภาคพิเศษ

Page 101: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

101

23.7 ในกรณีที่มีเหตุผลความจําเปนคณบดีอาจอนุมัติใหนักศึกษาภาคพิเศษลงทะเบียนเรียนบางรายวิชาที่จัดสําหรับนักศึกษาภาคปกติหรือใหนักศึกษาภาคปกติลงทะเบียนบางรายวิชาที่จัดสําหรับนักศึกษาภาคพิเศษได แตทั้ง น้ีนักศึกษาจะตองชําระคาลงทะเบียนเรียนรายวิชาน้ันเชนเดียวกับนักศึกษาภาคพิเศษ

ขอ 24 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาเปนพิเศษโดยไมนับหนวยกิต (Audit) 24.1 การลงทะเบียนรายวิชาเปนพิเศษโดยไมนับหนวยกิต หมายถึง การ

ลงทะเบียนเรียนรายวิชาโดยไมนับหนวยกิตรวมเขากับจํานวนหนวยกิตในภาคการศึกษาและจํานวนหนวยกิตตามหลักสูตร

24.2 นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดเปนพิเศษโดยไมนับหนวยกิตได ก็ตอเมื่อไดรับความเห็นชอบจากอาจารยผูสอนวิชาน้ัน แตทั้งน้ี นักศึกษาตองชําระคาหนวยกิต รายวิชาที่เรียนน้ันและนักศึกษาตองระบุในบัตรลงทะเบียนดวยวาเปนการลงทะเบียนเรียนรายวิชาเปนพิเศษโดยไมนับหนวยกิต

24.3 มหาวิทยาลัยอาจอนุมัติใหบุคคลภายนอกที่ไมใชนักศึกษาเขาเรียนบางรายวิชาเปนพิเศษได แตผูน้ันจะตองมีคุณสมบัติและพื้นความรูการศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยเห็นสมควร และจะตองปฏิบัติตามขอบังคับและระเบียบตางๆ ของมหาวิทยาลัย กับตองเสียคาธรรมเนียมการศึกษาเชนเดียวกับนักศึกษาภาคพิเศษ ขอ 25 การขอถอน ขอเพิ่ม หรือขอยกเลิกรายวิชาที่จะเรียน 25.1 การขอถอน ขอเพิ่ม และการขอยกเลิกรายวิชาที่เรียน ตองไดรับอนุมัติจากคณบดีโดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษาและอาจารยผูสอนกอน 25.2 การขอถอนหรือขอเพิ่มรายวิชาที่จะเรียนตองกระทําภายใน 3 สัปดาหแรกของ ภาคการศึกษาปกติหรือภายในสัปดาหแรกของภาคฤดูรอน หากมีความจําเปนอาจขอถอนหรือขอเพิ่มรายวิชาไดภายใน 6 สัปดาหแรกของภาคการศึกษาปกติ ทั้งน้ีตองเปนไปตามขอ 23.5 และขอ 23.6 25.3 การขอยกเลิกรายวิชาใด ตองดําเนินการใหแลวเสร็จกอนการสอบประจําภาคการศึกษาน้ันๆ ไมนอยกวา 1 สัปดาห ขอ 26 การขอคืนคาลงทะเบียนรายวิชา ใหเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยที่วาดวยการรับและจายเงินบํารุงการศึกษา ขอ 27 การลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนักศึกษา

27.1 นักศึกษาที่ลาพักการเรียนหรือถูกสั่งใหพักการเรียนตามระเบียบของมหาวิทยาลัยที่วาดวยวินัยนักศึกษา จะตองชําระเงินคาธรรมเนียมรักษาสภาพนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยประกาศกําหนด มิฉะน้ันจะพนสภาพนักศึกษา

27.2 การลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนักศึกษาใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 3 สัปดาหแรก นับจากวันเปดการศึกษาภาคปกติหรือภายในสัปดาหแรกนับจากวันเปดการศึกษาภาคฤดูรอน มิฉะน้ันจะตองเสียคาปรับตามอัตราที่มหาวิทยาลัยกําหนด ขอ 28 การลาพักการเรียน

28.1 นักศึกษาอาจย่ืนคําขอลาพักการเรียนไดในกรณีดังตอไปน้ี

Page 102: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

102

28.1.1 ถูกเกณฑหรอืถูกเรียกระดมพลเขารับราชการทหารกองประจําการ 28.1.2ไดรับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางประเทศหรือทุนอื่นใด ที่

มหาวิทยาลัยเห็นสมควรสนับสนุน 28.1.3 เจ็บปวยจนตองพักรักษาตัวเปนเวลานานเกินกวารอยละ 20 ของ

เวลาเรียนทั้งหมดในภาคการศึกษาน้ัน โดยมีใบรับรองแพทยจากสถานพยาบาลของทางราชการหรือสถานพยาบาลของเอกชนตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล

28.1.4 เมื่อนักศึกษามีความจําเปนสวนตัวอาจย่ืนคํารองขอลาพักการเรียนได ถาไดลงทะเบียนเรียนมาแลวอยางนอย 1 ภาคการศึกษา 28.2 นักศึกษาที่ตองการลาพักการเรียนใหย่ืนคํารองภายในสัปดาหที่ 3 ของภาคการศึกษา ที่ลาพักการเรียน

การอนุมัติใหนักศึกษาลาพักการเรียนใหเปนอํานาจของคณบดี นักศึกษามีสิทธ์ิขอลาพักการเรียนโดยขออนุมัติตอคณบดีไดไมเกิน 1 ภาคศึกษา ถานักศึกษามีความจําเปนที่จะตองลาพักการเรียนมากกวา 1 ภาคการศึกษา หรือเมื่อครบกําหนดพักการเรียนแลวยังมีความจําเปนที่จะตองพักการเรียนตอไปอีกใหย่ืนคํารองขอลาพักการเรียนใหมและตองไดรับอนุมัติจากมหาวิทยาลัย 28.3 ในกรณีที่นักศึกษาไดรับอนุมัติใหลาพักการเรียนใหนับระยะเวลาที่ลาพักการเรียนรวมเขาในระยะเวลาการศึกษาดวย 28.4 นักศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหลาพักการเรียน เมื่อจะกลับเขาเรียนจะตองย่ืนคํารองขอกลับเขาเรียนกอนวันเปดภาคเรียนไมนอยกวา 2 สัปดาห และเมื่อไดรับความเห็นชอบจากคณบดีแลวจึงจะกลับเขาเรียนได ขอ 29 นักศึกษาที่ประสงคขอลาออกจากความเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ใหย่ืนหนังสือขอลาออก และตองไดรับอนุมัติจากมหาวิทยาลัยกอนการลาออกจะสมบูรณ

หมวด 5 การวัด และประเมินผลการศึกษา

ขอ 30 นักศึกษาตองมีเวลาเรียนในรายวิชาหน่ึงๆ ไมนอยกวารอยละ 60 ของเวลาเรียนทั้งหมดของรายวิชาน้ันจึงจะมีสิทธ์ิเขาสอบ แตทั้งน้ีนักศึกษาที่มีเวลาเรียนในรายวิชาหน่ึง ๆ ต้ังแตรอยละ 60 ข้ึนไป แตไมถึงรอยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดของวิชาน้ันจะมีสิทธิเขาสอบไดตอเมื่อไดรับอนุมัติจากกรรมการระดับคณะกอน ขอ 31 ใหมีการวัดผลการเรียนเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษาและหรือมีการวัดผลระหวางภาคการศึกษา โดยใหเปนไปตามหลักเกณฑของการวัดผลและประเมินผลของแตละหลักสูตร ขอ 32 การประเมินผลการศึกษา ใหผู สอนเปนผู ประเมินและโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการระดับคณะ 32.1 เกณฑการประเมินผลการศึกษา แบงเปน 8 ระดับ และมีคาระดับ ดังน้ี ระดับข้ันผลการเรียน ความหมาย คาระดับ A ดีเย่ียม ( Excellent ) 4.0 B+ ดีมาก ( Very Good ) 3.5

Page 103: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

103

B ดี ( Good ) 3.0 C+ ดีพอใช ( Fairly Good ) 2.5 C พอใช ( Fair ) 2.0 D+ ออน ( Poor ) 1.5 D ออนมาก ( Very Poor ) 1.0 F ตก ( Failed ) 0.0 32.2 ในกรณีทีไมสามารถประเมินผลเปนคาระดับไดใหประเมิน โดยใชสัญลักษณ ดังน้ี สัญลักษณ ความหมาย P ผลการประเมินผานเกณฑ (Pass) NP ผลการประเมินไมผานเกณฑ (No Pass) I ผลการประเมินยังไมสมบูรณ (Incomplete) W การยกเลิกการเรียนโดยไดรับอนุมัติ (Withdrawn) Au การลงทะเบียนเรียนรายวิชาเปนพิเศษโดยไมนับหนวยกิต (Audit) 32.3 การให F กระทําในกรณีตอไปน้ี

32.3.1 นักศึกษาสอบตก 32.3.2 นักศึกษาขาดสอบปลายภาคโดยไมไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการระดับ

คณะ 32.3.3 นักศึกษามีเวลาเรียนไมเปนไปตามเกณฑในขอ 30 32.3.4 นักศึกษาทุจริตในการสอบ

32.4 การให P กระทําไดในการใหคะแนนรายวิชาเรียนที่ไมนับหนวยกิตหรือในรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเกินจากจํานวนหนวยกิตที่กําหนดไวและผลการเรียนในรายวิชาน้ันผานเกณฑการประเมิน 32.5 การให I ในรายวิชาใดกระทําไดในกรณีตอไปน้ี

32.5.1 นักศึกษามีเวลาเรียนครบตามเกณฑในขอ 30 แตไมไดสอบ เพราะปวยหรือเหตุสุดวิสัยและไดรับอนุมัติจากคณบดี

32.5.2 ผูสอนและคณบดีเห็นสมควรใหรอผลการศึกษา เน่ืองจากนักศึกษายังปฏิบัติงานซึ่งเปนสวนประกอบการศึกษารายวิชาน้ันไมสมบูรณ

นักศึกษาที่ได I จะตองดําเนินการขอรับการประเมินผลเพื่อเปลี่ยน I ใหเสร็จภายในภาคการศึกษาถัดไป หากพนกําหนดดังกลาวใหผูสอนประเมินผลจากคะแนนที่มีอยูและดําเนินการสงผลการเรียนภายในสองสัปดาหนับแตสิ้นสุดภาคการศึกษาน้ัน ในกรณีที่ผูสอนไมดําเนินการภายในเวลาที่กําหนดและเปนเหตุอันเน่ืองมาจากความบกพรองของนักศึกษา ใหมหาวิทยาลัยเปลี่ยน I เปน F หรือไมผานเกณฑตาม ที่หลักสูตรกําหนด ในกรณีที่ไมใชความบกพรองของนักศึกษาอธิการบดีอาจอนุมัติใหขยายเวลาตอไปได

32.6 การให W ในรายวิชาใดจะกระทําไดในกรณีตอไปน้ี 32.6.1 นักศึกษาไดรับอนุมัติใหยกเลิกการเรียนวิชาน้ัน ตามขอ 25.3 32.6.2 นักศึกษาไดรับอนุมัติใหลาพักการเรียนตามขอ 28

Page 104: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

104

32.6.3 นักศึกษาถูกสั่งพักการเรียนในภาคการศึกษาน้ัน 32.6.4 นักศึกษาที่ไดระดับผลการเรียน I เพราะเหตุตามขอ 32.5.1และไดรับอนุมัติจากคณบดีใหทําการสอบเพื่อประเมินผลการเรียนและครบกําหนดเวลาที่กําหนดใหสอบแลวแตเหตุตาม ขอ 32.5.1 น้ัน ยังไมสิ้นสุด

32.7 การให Au ในรายวิชาใดจะกระทําไดในกรณีที่นักศึกษาไดรับอนุมัติใหลงทะเบียนเรียนเปนพิเศษโดยไมนับหนวยกิตตามขอ 24 32.8 ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนซ้ําเพื่อแกผลการเรียนที่ตกหรือเรียนแทนเพื่อเพิ่มผลการเรียนในรายวิชาใด ใหนําจํานวนหนวยกิตและคาระดับที่ไดรับของทุกรายวิชาที่มีระบบการใหคะแนนเปนคาระดับมารวมคํานวณหาคาระดับเฉลี่ยดวย 32.9 การนับจํานวนหนวยกิตสะสมของนักศึกษาตามหลักสูตรใหนับเฉพาะหนวยกิตของรายวิชาที่สอบไดเทาน้ัน 32.10 คาระดับเฉลี่ยเฉพาะรายภาคการศึกษาใหคํานวณจากผลการเรียนของนักศึกษาใน ภาคการศึกษาน้ัน โดยเอาผลรวมของผลคูณของจํานวนหนวยกิตกับคาระดับของแตละรายวิชาเปนตัวต้ังและหารดวยจํานวนหนวยกิตรวมของภาคการศึกษาน้ัน การคํานวณดังกลาวใหต้ังหารถึงทศนิยม 3 ตําแหนงและใหปดเศษเฉพาะทศนิยมที่มีคาต้ังแต 5 ข้ึนไปเฉพาะตําแหนงที่ 3 เพื่อใหเหลือทศนิยม 2 ตําแหนง

32.11 คาระดับเฉลี่ยสะสมใหคํานวณจากผลการเรียนของนักศึกษาต้ังแตเริ่มเขาเรียนจนถึงภาคการศึกษาสุดทาย โดยเอาผลรวมของผลคูณของจํานวนหนวยกิตกับคาระดับของแตละรายวิชาที่เรียนทั้งหมดตามขอ 32.8 เปนตัวต้ัง หารดวยจํานวนหนวยกิตรวมทั้งหมด การคํานวณดังกลาวใหต้ังหารถึงทศนิยม 3 ตําแหนง และใหปดเศษเฉพาะทศนิยมที่มีคาต้ังแต 5 ข้ึนไปเฉพาะตําแหนงที่ 3 เพื่อใหเหลือทศนิยม 2 ตําแหนง 32.12 ในภาคการศึกษาใดที่นักศึกษาได I ใหคํานวณคาระดับเฉลี่ยรายภาคการศึกษาน้ันโดยนับเฉพาะรายวิชาที่ไมได I เทาน้ัน ขอ 33 การเรียนซ้ําหรือเรียนแทน รายวิชาใดที่นักศึกษาได F หรือไมผานเกณฑตามที่หลักสูตรกําหนด ถาเปนวิชาบังคับนักศึกษาจะตองลงทะเบียนเรียนซ้ําหรือถาเปนวิชาเลือกนักศึกษาอาจลงทะเบียนเรียนซ้ําหรือเลือกเรียนรายวิชาอื่นในกลุมเดียวกันแทนก็ได

หมวด 6 การสาํเร็จการศึกษา

ขอ 34 นักศึกษาที่ถือวาสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ตองมีคุณสมบัติครบถวนดังน้ี 34.1 มีความประพฤติดี มีคุณธรรม 34.2 สอบไดรายวิชาครบตามหลักสูตร รวมทั้งรายวิชาที่สภามหาวิทยาลัยกําหนด 34.3 ไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมตํ่ากวา 2.00 34.4 มีเวลาเรียนเปนไปตามขอ 9

Page 105: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

105

ขอ 35 กรณีนักศึกษาเรียนไดจํานวนหนวยกิตครบตามที่กําหนดไวในหลักสูตรแลว และไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต้ังแต 1.80 ข้ึนไปแตไมถึง 2.00 ใหนักศึกษาเลือกเรียนรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อทําคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมใหถึง 2.00 แตทั้งน้ีตองอยูภายในระยะเวลาที่กําหนดตามขอ 11 ขอ 36 นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและจะไดรับเกียรตินิยม ตองมีคุณสมบัติดังน้ี 36.1 หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ตอเน่ือง) ไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมจากระดับอนุปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงหรือประกาศนียบัตรอื่นใดที่เทียบเทาไมนอยกวา 3.60 และเรียนครบหลักสูตรไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมจากการศึกษาในมหาวิทยาลัยไมนอยกวา 3.60 จะไดรับเกียรตินิยมอันดับหน่ึง และไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมจากสถาบันเดิมและของมหาวิทยาลัยแตละแหงไมนอยกวา 3.25 แตไมถึง 3.60 จะไดรับเกียรตินิยมอันดับสอง หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ป สอบไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา 3.60จะไดรับเกียรตินิยมอันดับหน่ึง และไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา 3.25 แตไมถึง 3.60 จะไดรับเกียรตินิยมอันดับสอง

หลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 ป สอบไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา 3.60 จะไดรับเกียรตินิยมอันดับหน่ึง และไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา 3.25 แตไมถึง 3.60 จะไดรับเกียรตินิยมอันดับสอง 36.2 สอบไดในรายวิชาใด ๆ ไมตํ่ากวา C ตามระบบคาระดับคะแนน หรือไมได NP ตามระบบไมมีคาระดับคะแนน 36.3 มีระยะเวลาการศึกษา ดังน้ี

36.3.1 หลักสูตรระดับปริญญาตรี (ตอเน่ือง) สําหรับนักศึกษาภาคปกติ ใชเวลาในการศึกษา 4 ภาคการศึกษาปกติ และสําหรับนักศึกษาภาคพิเศษใชเวลาในการศึกษา 6 หรือ 7 ภาคการศึกษา ทั้งน้ีตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

36.3.2 หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ป สําหรับนักศึกษาภาคปกติ ใชเวลาในการศึกษา 6 ถึง 8 ภาคการศึกษาปกติ และสําหรับนักศึกษาภาคพิเศษใชเวลาในการศึกษา 11 หรือ 12 ภาคการศึกษา ทั้งน้ีตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

36.3.3 หลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 ป สําหรับนักศึกษาภาคปกติ ใชเวลาในการศึกษา 9 หรือ 10 ภาคการศึกษาปกติ และสําหรับนักศึกษาภาคพิเศษใชเวลาในการศึกษา 14 หรือ 15 ภาคการศึกษา ทั้งน้ีตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

ขอ 37 นักศึกษาที่เทียบโอนหนวยกิตและยกเวนรายวิชาไมมีสิทธ์ิไดรับเกียรตินิยม ขอ 38 ในภาคการศึกษาใดที ่นักศึกษาคาดวาจะสําเร็จการศึกษาใหยื่นคํารองขอรับ

อนุปริญญาหรือปริญญาตอสํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียน ขอ 39 มหาวิทยาลัยจะพิจารณานักศึกษาที ่ยื ่นความจํานงขอรับอนุปริญญาหรือ

ปริญญาตอสํานักสงเสริมวิชาการและงานทะเบียนที่มีคุณสมบัติตาม ขอ 34 เพื่อเสนอช่ือขออนุมัติอนุปริญญาหรือปริญญาตอสภามหาวิทยาลัย

Page 106: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

106

ประกาศ ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2551

(นายมีชัย ฤชุพันธุ)

นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 107: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

107

ภาคผนวก ข ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

วาดวยการเทียบโอนผลการเรียนและยกเวนการเรียนรายวิชา พ.ศ. 2549

Page 108: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

108

ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

วาดวยการเทียบโอนผลการเรียนและยกเวนการเรียนรายวิชา พ.ศ. 2549

-----------------------------------------

เพื่อใหการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษาเปนไปอยางมีระบบ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18 (2) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 และโดย มติสภามหาวิทยาลัย ในการประชุมครั้งที่ 3/2549 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2549 จึงวางระเบียบไวดังตอไปน้ี ขอ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี วาดวยการเทียบโอนผลการเรียนและยกเวนการเรียนรายวิชา พ.ศ. 2549 ” ขอ 2 บรรดาระเบียบ คําสั่ง ประกาศ หรือขอบังคับอื่นใด ในสวนที่กําหนดไวแลวในระเบียบน้ีหรือซึ่งขัดหรือแยงกับระเบียบน้ี ใหใชระเบียบน้ีแทน ขอ 3 ในระเบียบน้ี

“มหาวิทยาลัย” หมายความวา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

“อธิการบดี” หมายความวา อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

“นักศึกษา” หมายความวา นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

“รายวิชา” หมายความวา วิชาตาง ๆ ที่เปดสอนในระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา และเปนไปตามหลักสูตรของคณะน้ัน

“สถาบันอุดมศึกษาอื่น” หมายความวา สถาบันการศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรไมตํ่ากวาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเทา

ขอ 4 ผูมีสิทธิ์ขอเทียบโอนผลการเรียนและยกเวนการเรียนรายวิชาตองเปนนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ขอ 5 การพิจารณาเทียบโอนผลการเรียนและยกเวนการเรียนรายวิชา

5.1 การเรียนจากสถาบันการศึกษา 5.1.1 ระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี

(1) เปนรายวิชาหรือกลุมรายวิชาในหลักสูตรระดับอุดมศึกษาหรือเทียบเทาที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือหนวยงานของรัฐที่มีอํานาจตามกฎหมายรับรอง

Page 109: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

109

(2) เปนรายวิชาหรือกลุมรายวิชาที่มีเน้ือหาสาระครอบคลุมไมนอยกวาสามในสี่ของรายวิชาหรือกลุมรายวิชาที่ขอเทียบโอน

(3) เปนรายวิชาหรือกลุมรายวิชาที่ไดระดับคะแนนไมตํ่ากวา C หรือเทียบเทาในรายวิชาที่มีการประเมินผลเปนคาระดับ และไดระดับผลการประเมินผานในรายวิชาที่ไมประเมินผลเปนคาระดับ ทั้งน้ีตองเปนไปตามเงื่อนไขของหลักสูตรของสาขาวิชาน้ันกําหนด

(4) นักศึกษาจะขอเทียบโอนรายวิชาเรียนและโอนหนวยกิตไดไมเกินสามในสี่ของจํานวนหนวยกิตรวมของหลักสูตรที่รับโอน

(5) รายวิชาหรือกลุมรายวิชาที่ไดรับอนุมั ติให เทียบโอนไดจากตางสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยจะไมนํามาคํานวณแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม

(6) กรณีการยกเวนในระดับปริญญาตรี(ตอเน่ือง) รายวิชาที่ขอยกเวน ตองไมเปนรายวิชาในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเทา หรือรายวิชาที่หลักสูตรกําหนดไววาควรจัดใหเรียน 2 ปแรก ในระดับปริญญาตรี เวนแตรายวิชาน้ันหลักสูตรไดกําหนดไวเปนอยางอื่น

(7) รายวิชาที่ไดรับการยกเวน ใหบันทึกในระเบียนการเรียนของนักศึกษา โดยใชอักษร P

5.1.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (1) เปนรายวิชาหรือกลุมรายวิชาในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา หรือ

เทียบเทาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง (2) เปนรายวิชาหรือกลุมรายวิชาที่มีเน้ือหาสาระครอบคลุมไมนอยกวา

สามในสี่ของรายวิชาหรือกลุมรายวิชาที่ขอเทียบ (3) เปนรายวิชาหรือกลุมรายวิชาที่ไดระดับคะแนนไมตํ่ากวา B หรือ

เทียบเทา หรือระดับคะแนนตัวอักษร S (4) นักศึกษาจะเทียบรายวิชาเรียนและโอนหนวยกิตไดไมเกินหนึ่งใน

สามของจํานวนหนวยกิตรวมของหลักสูตรที่รับโอน (5) รายวิชาหรือกลุมรายวิชาที่เทียบโอนจากตางสถาบันอุดมศึกษาจะ

ไมนํามาคํานวณแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (6) นักศึกษาจะตองใชเวลาศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยอยางนอยหน่ึงป

การศึกษา และลงทะเบียนเรียนรายวิชาหรือวิทยานิพนธตามหลักสูตรที่เขาศึกษาไมนอยกวา 12 หนวยกิต

5.2 การเรียนรูจากประสบการณ 5.2.1 การเทียบความรูจากประสบการณจะเทียบเปนรายวิชาหรือกลุมรายวิชาตาม

หลักสูตรและระดับการศึกษาที่เปดสอนในมหาวิทยาลัย 5.2.2 การประเมินเพื่อเทียบโอนความรูในแตละรายวิชา หรือกลุมรายวิชา ทํา

ไดโดยวิธีตอไปน้ี (1) เสนอเอกสารทางการศึกษาหรือผลงาน และทดสอบความรู (2) อื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร

ขอ 6 กําหนดเวลาการเทียบโอนและยกเวนการเรียนรายวิชา

Page 110: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

110

นักศึกษาท่ีประสงคจะเทียบโอนและยกเวนการเรียนรายวิชาท่ีไดเรียนจากสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน จะตองยื่นคํารองขอเทียบโอนรายวิชาตอมหาวิทยาลัยภายใน 6 สัปดาห นับจากวันเปดภาคการศึกษาแรกท่ีเขาศึกษา เวนแตไดรับอนุมัติจากอธิการบดี แตท้ังน้ีตองไมเกิน 2 ภาคการศึกษา สําหรับการขอเทียบโอนจากประสบการณสามารถทําไดในทุกภาคการศึกษา

นักศึกษามีสิทธิขอเทียบโอนและยกเวนการเรียนรายวิชาไดเพียงคร้ังเดียว ขอ 7 การจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา การนับจํานวนภาค

การศึกษาของผูที่ไดรับการเทียบโอนผลการเรียนและการยกเวนการเรียนรายวิชาใหถือเกณฑดังน้ี 7.1 นักศึกษาอนุปริญญาตรีและปริญญาตรี ภาคปกติใหนับจํานวนหนวยกิต ไดไม

เกิน 22 หนวยกิต เปน 1 ภาคการศึกษา 7.2 นักศึกษาอนุปริญญาตรีและปริญญาตรี ภาคพิเศษใหนับจํานวนหนวยกิตไมเกิน

12 หนวยกิต เปน 1 ภาคการศึกษา 7.3 นักศึกษาบัณฑิตศึกษาใหนับจํานวนหนวยกิตไดไมเกิน 12 หนวยกิต เปน 1

ภาคการศึกษา ขอ 8 การเทียบโอนผลการเรียนและการยกเวนการเรียนรายวิชา ตองชําระคาธรรมเนียมตามระเบียบมหาวิทยาลัยที่วาดวยการรับจายเงินคาบํารุงการศึกษา ขอ 9 ใหคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแตงต้ังพิจารณามีความเห็นการเทียบโอนผลการเรียนและการยกเวนรายวิชาแลวเสนออธิการบดีเปนผูพิจารณาอนุมัติ ขอ 10 ใหใชระเบียบน้ี กับนักศึกษาที่เขาศึกษาต้ังแตปการศึกษา 2549 เปนตนไป ขอ 11 ใหอธิการบดีรักษาการตามระเบียบน้ี และมีอํานาจวินิจฉัยช้ีขาดในกรณีที่เกิดปญหาจากการใชระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันที่ 18 มีนาคม 2549

(นายมีชัย ฤชุพันธุ)

นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 111: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

111

ภาคผนวก ค ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

วาดวยการจัดการศึกษาในภาคฤดูรอนสําหรับนักศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรีภาคปกติ

พ.ศ. 2549

Page 112: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

112

ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

วาดวยการจัดการศึกษาในภาคฤดูรอนสําหรับนักศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรีภาคปกติ

พ.ศ. 2549

--------------------------------------

เพื่อใหการจัดการศึกษาในภาคฤดูรอนสําหรับนักศึกษาภาคปกติ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18 (2) แหงพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 และโดยมติสภามหาวิทยาลัยในการประชุม ครั้งที่ 3/2549 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2549 จึงวางระเบียบไวดังตอไปน้ี

ขอ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี วาดวยการจัดการศึกษาในภาคฤดูรอนสําหรับนักศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรีภาคปกติ พ.ศ.2549”

ขอ 2 ใหใชระเบียบน้ีต้ังแตภาคฤดูรอน ปการศึกษา 2549 เปนตนไป

ขอ 3 บรรดาระเบียบ คําสั่ง ประกาศ หรือขอบังคับอื่นใด ในสวนที่กําหนดไวแลวในระเบียบน้ีหรือซึ่งขัดหรือแยงกับระเบียบน้ี ใหใชระเบียบน้ีแทน

ขอ 4 ในระเบียบน้ี

“ภาคฤดูรอน” หมายความวา ชวงเวลาในการจัดการเรียนการสอนในระหวางเวลาหลังจากสิ้นสุดภาคการศึกษาที่ 2 ของปการศึกษาน้ันจนถึงเปดภาคการศึกษาที่ 1 ของปการศึกษาใหม “นักศึกษาภาคปกติ” หมายความวา นักศึกษาที่ ศึกษาเต็มเวลาในวันทําการปกติของมหาวิทยาลัยเรียนในวันราชการตามปกติต้ังแตวันจันทรถึงวันศุกร ในภาคการศึกษาที่ 1 และภาคการศึกษาที ่2 ของแตละป “อาจารยที่ปรึกษา” หมายความวา บุคคลที่มหาวิทยาลัยแตงต้ังใหทําหนาที่อาจารยที่ปรึกษา ดูแลสนับสนุนทางดานวิชาการ วิธีการเรียน ควบคุมการเรียนของนักศึกษาภาคปกติ

ขอ 5 การลงทะเบียนเรียนในภาคฤดูรอนของนักศึกษาภาคปกติ ใหลงทะเบียนเรียน ไดไมเกิน 9 หนวยกิต และไมนับเปนภาคการศึกษาปกติ

ขอ 6 เวลาการจัดการศึกษาใหจัดเวลาการเรียนการสอน 8 สัปดาห ในกรณีมีความจําเปนใหจัด 6 สัปดาห และตองจัดใหมีช่ัวโมงเรียนไมตํ่ากวา 16 คาบ ตอหน่ึงหนวยกิต

ขอ 7 การเปดสอนรายวิชาใดในภาคฤดูรอน ใหเปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยกําหนด หรือลงทะเบียนเรียนรวมกับนักศึกษาภาคพิเศษก็ได นักศึกษาอาจลงทะเบียนในภาคฤดูรอนไดในรายวิชา ดังตอไปน้ี

(1) วิชาปรับพื้นฐาน (Prerequisite)

Page 113: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

113

(2) วิชาที่ผลการเรียนเปน F หรือไมผาน

(3) วิชาที่ตองเรียนเปนภาคเรียนสุดทาย เพื่อใหครบตามโครงสรางหลักสูตร

(4) วิชาอื่นๆ ที่มหาวิทยาลัยกําหนด

ขอ 9 ใหอธิการบดีรักษาการตามระเบียบน้ี และมีอํานาจวินิจฉัยช้ีขาดในกรณีที่เกิดปญหาจากการใชระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2549

(นายมีชัย ฤชุพันธุ)

นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 114: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

114

ภาคผนวก ง คําสั่งมหาวิทยาลยัราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

ท่ี 1562/2554 ลงวันท่ี 16 สิงหาคม 2554 เร่ือง แตงต้ังคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีสากล

Page 115: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

115

คําสั่งมหาวิทยาลยัราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ท่ี /2554

เร่ือง แตงต้ังคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีสากล --------------------------------

เพ่ือใหการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี เปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพ บังเกิดผลดี และสอดคลองกับเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยจึงแตงตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี ดังน้ี

1. ผูชวยศาสตราจารยเบญจรงค กุลสุ ประธานกรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร 2. ศาสตราจารยสหชัย วิวัฒนปฐพี กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ 3. ผูชวยศาสตราจารยเฉลิมชัย สีตะระโส กรรมการ ผูทงคุณวุฒิ 4. อาจารยพุทธะ ณ บางชาง กรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร 5. อาจารยวิเชียร ธนลาภประเสริฐ กรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร 6. อาจารยศรัทธา สวาทสุข กรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร 7. อาจารยมณเฑียร รุงหิรัญ กรรมการและเลขานุการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร

สั่ง ณ วันท่ี 16 สิงหาคม 2554

(รองศาสตราจารย ดร.สมบัติ คชสิทธ์ิ) อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ

Page 116: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

116

ภาคผนวก จ หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

Page 117: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

117

หลักสตูรหมวดวิชาศกึษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ

(ปรับตามกรอบมาตรฐานคณุวุฒริะดับอดุมศกึษาแหงชาติ พ.ศ. 2552) พ.ศ. 2553

1. ชื่อหลักสูตร ช่ือภาษาไทย หลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรม

ราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี ภาษาอังกฤษ General Education , Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage 2. หนวยงานท่ีรับผิดชอบ

งานวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี 3. หลักการและเหตุผล

3.1 ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ กําหนดใหมีการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา โดยไดจัดทํากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เพื่อประกันคุณภาพของบัณฑิตในแตละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา ใหมุงสูเปาหมายเดียวกัน คือ ผลิตบัณฑิตไดอยางมีคุณภาพ โดยกําหนดใหคุณภาพของบัณฑิตตองเปนไปตามกรอบมาตรฐานผลการเรียนรูที่คณะกรรมการอุดมศึกษากําหนดอยางนอย 5 ดาน ดังน้ี

1) ดานคุณธรรม จริยธรรม 2) ดานความรู 3) ดานทักษะทางปญญา 4) ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี จึงนํารายวิชาเดิมของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป มาพิจารณาผลการเรียนรูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 โดยวิธีการจัดประชุมอาจารยผูสอนเพื่อวางแผนจัดทําหลักสูตร ตามแนวทางการจัดทํารายละเอียดหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อสรุปภาพรวมของหมวดวิชาวาสามารถตอบสนองมาตรฐานผลการเรียนรู 5 ดาน ดังกลาวขางตนได ประกอบกับในปจจุบันหลักสูตรตางๆ ของมหาวิทยาลัยไดดําเนินการปรับปรุงและมีการพัฒนาหลักสูตรใหมๆเพิ่มเติมอยูเสมอ การจัดทํารายละเอียดหมวดวิชาศึกษาทั่วไปก็จะเปนประโยชน ใหผูรับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชาสามารถนําเอกสารน้ีไปแนบกับหมวดวิชาชีพในแตละหลักสูตรได

3.2 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึ งประสงคของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

1) เปนผูมีความรูความสามารถ มีทักษะในวิชาชีพ สามารถคิดวิเคราะหอยางมีเหตุผล สามารถนําความรูและทักษะไปประยุกตใชในการดํารงชีวิต

Page 118: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

118

2) มีทักษะพื้นฐานดานภาษาและคอมพิวเตอรเพื่อสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเองจากแหลงขอมูลตาง ๆ ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย

3) มีคุณธรรม จริยธรรม ขยันหมั่นเพียรในการประกอบการงานอาชีพดวยใจรัก ดํารงชีวิตไดอยางเหมาะสม

4) มีความรักความผูกพันตอทองถ่ิน ภาคภูมิใจในคุณคาของความเปนไทย ภูมิปญญาไทย ศิลปวัฒนธรรมไทย และอนุรักษสิ่งแวดลอม

5) มีสุขภาพอนามัยแข็งแรง สมบูรณ ทั้งรางกายและจิตใจ 3.3 ปรัชญาของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

เปนวิชาที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรูอยางกวางขวาง มีคุณธรรม มีโลกทัศนที่กวางไกลมีความเขาใจธรรมชาติ ตนเอง ผูอื่น และสังคม เปนผูมีความรู คิดอยางมีเหตุผลสามารถใชภาษาในการติดตอสื่อสารความหมายไดดี ตระหนักในคุณคาของศิลปวัฒนธรรมทั้งของไทย และประชาคมนานาชาติ เพื่อเปนบัณฑิตที่สมบูรณทั้งรางกายและจิตใจ สามารถนําความรูไปใชในการดําเนินชีวิต และดํารงตนอยูในสังคมไดเปนอยางดี

3.4 วัตถุประสงคของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1) เพื่อพัฒนาทักษะของผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม เปนพลเมืองดี ยึดมั่นในการ

ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข และปฏิบัติตามรอยเบื้องพระยุคลบาท 2) เพื่อเสริมสรางความสามารถในการใชภาษา การคิด การแกปญหา ความเขาใจ

ตนเองและผูอื่น การรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาและปรับตัวอยูในสังคมไดอยางมีความสุข 3) เพื่อสรางความตระหนักในคุณคาของศิลปะ วัฒนธรรม การอนุรักษทรัพยากรและ

สิ่งแวดลอม 4) เพื่อพัฒนาทักษะการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเรียนรูและการดํารงชีวิต

5. กําหนดการเปดสอน เปดสอนหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2553 ต้ังแตภาคการศึกษาที่

1 ปการศึกษา 2554 เปนตนไป 6. อาจารยผูสอน

อาจารยผูสอนมีทั้งอาจารยประจําจากคณะตางๆ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี และอาจารยพิเศษที่มหาวิทยาลัยเชิญมา ทั้งน้ีอาจารยผูสอนจะตองเปนผูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหนักศึกษาสําเร็จไปเปนบัณฑิตที่เปนไปตามปรัชญาของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ทั้งน้ีอาจารยผูสอนวิชาเดียวกันจะตองรวมกันจัดทํารายละเอียดของวิชา เพื่อใหการสอนเปนไปในแนวเดียวกัน 7. นักศึกษา

นักศึกษาที่เขาศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยทุกหลักสูตร ที่นํารายวิชาศึกษาทั่วไปตามหลักสูตรน้ีบรรจุไวในหลักสูตรของสาขาวิชาน้ัน 8. หลักสูตร

การจัดรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่ วไปของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี มีแนวคิดดังน้ี

Page 119: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

119

7.1 โครงสรางหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ครอบคลุมสาระของกลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร และกลุมวิชาวิทยาศาสตรคณิตศาสตรและเทคโนโลยี รวมกันไมนอยกวา 30 หนวยกิต ซึ่งเปนไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548

7.2 โครงสรางหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ตอบสนองตอคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงคของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี 9. โครงสรางหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

โครงสรางหมวดวิชาศึกษาทั่วไปประกอบดวย 3 กลุมวิชา ดังตอไปน้ี หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป 30 หนวยกิต

- กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 หนวยกิต - กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 13 หนวยกิต

บังคับเรียน 11 หนวยกิต เลือกเรียน 2 หนวยกิต

- กลุมวิชาวิทยาศาสตรคณิตศาสตรและเทคโนโลยี 8 หนวยกิต บังคับเรียน 6 หนวยกิต เลือกเรียน 2 หนวยกิต

กระบวนวิชา หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป - กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 หนวยกิต

9000101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) Thai for Communication 9000102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) English for Communication 9000103 ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะทางการเรียน 3(3-0-6)

English for Study Skills Development - กลุมวิชามนุษยศาสตร และสังคมศาสตร 13 หนวยกิต

บังคับเรียน 11 หนวยกิต 9000201 มนุษยกับการดําเนินชีวิต 3(3-0-6) Man and Life Enhancement 9000202 พลวัตทางสังคม 3(3-0-6) Social Dynamics 9000203 ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท 3(3-0-6) To Follow in the Royal Foot Steps of His Majesty the King 9000204 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย 2(2-0-4) Fundamental Knowledge of Law เลือกเรียน 2 หนวยกิต

Page 120: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

120

9000205 สิ่งแวดลอมกับการดํารงชีวิต 2(2-0-4) Environment and Living 9000206 สุนทรียภาพของชีวิต 2(2-0-4)

Aesthetics for Life - กลุมวิชาวิทยาศาสตรคณิตศาสตรและเทคโนโลยี 8 หนวยกิต

บังคับเรียน 6 หนวยกิต 9000301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 3(2-2-5) Information Technology for Living 9000302 วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0-6) Science for Quality of Life เลือกเรียน 2 หนวยกิต 9000303 การคิดและการตัดสินใจ 2(2-0-4) Thinking and Decision Making 9000304 การออกกําลังกายเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 2(1-2-3)

Exercise for Quality of Life Development 10. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน

ผลการเรียนรูของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป เปนดังน้ี 9.1 คุณธรรม จริยธรรม

9.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม 1) สามารถจัดการปญหาทางคุณธรรม จริยธรรม โดยใชดุลยพินิจ ทางคานิยม

และความรูสึกของผูอื่น 2) แสดงออกซึ่ งพฤติกรรมทางดานคุณธรรมและจริยธรรม เชน มีวินัย

มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริต เสียสละ 3) ประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีตอผูอื่นทั้งทางกาย วาจา และใจปฏิบัติตาม

กฎระเบียบและขอบังคับตางๆ ขององคกรและสังคม 9.1.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

1) สอนคุณธรรมจริยธรรม สอดแทรกในรายวิชาที่เกี่ยวของ 2) บรรยายพิเศษโดยผูมีประสบการณ หรือผูนําในแตละศาสนา 3) สอนโดยใชกรณีศึกษาและอภิปรายรวมกัน 4) ผูสอนแสดงแบบอยางที่ดี

9.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม 1) สังเกตพฤติกรรมในช้ันเรียน 2) ใหทํางานเปนกลุมและรายงานผลงาน 3) กําหนดหัวขอทางคุณธรรมและจริยธรรมใหผูเรียนอภิปราย 4) สรางแบบสอบถามใหผูเรียนแสดงความคิดเห็น

Page 121: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

121

9.2 ความรู 9.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู

1) มีองคความรูพื้นฐานทั่วไปอยางกวางขวางและเปนระบบ และเขาใจหลักการในการดํารงชีวิต

2) มีความเขาใจเกี่ยวกับความกาวหนาของความรูเฉพาะดาน และตระหนักถึงงานวิจัยในปจจุบันที่เกี่ยวของกับการแกปญหา

3) ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ขอบังคับ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ

9.2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู 1) อภิปรายเปนกลุมโดยใหผูสอนต้ังคําถาม ตามเน้ือหาโดยยึดผูเรียนเปน

ศูนยกลาง 2) บรรยายในช้ันเรียนและถามตอบ 3) ใหคนควาทํารายงาน 4) ศึกษานอกสถานที่ 5) การสาธิตและฝกภายในหองปฏิบัติการ

9.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู 1) ทดสอบทฤษฎีโดยการสอบและใหคะแนน 2) ประเมินจากรายงานที่ใหคนควา 3) ประเมินจากงานที่ไดรับมอบหมาย 4) ประเมินความสนใจจากการศึกษานอกสถานที่

9.3 ทักษะทางปญญา 9.3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

1) สามารถคนหาขอเท็จจริง ทําความเขาใจและประเมินขอมูล แนวคิดและหลักฐานใหมๆ จากแหลงขอมูลที่หลากหลาย และใชขอมูลที่ไดในการแกไขปญหาและงานอื่นๆ ดวยตนเอง

2) สามารถศึกษาปญหาที่คอนขางซับซอนและเสนอแนะแนวทางในการแกไขไดอยางสรางสรรค โดยคํานึงถึงความรูทางภาคทฤษฎี ประสบการณทางภาคปฏิบัติ และผลกระทบจากการตัดสินใจ

3) สามารถใชทักษะและความเขาใจในเน้ือหาสาระในการแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม

9.3.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา 1) ศึกษาโดยการใชกรณีศึกษา 2) อภิปรายเปนกลุม 3) พัฒนางานที่ไดรับมอบหมาย 4) กําหนดใหมีรายวิชาที่ตองใชทักษะในการคํานวณ

9.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

Page 122: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

122

1) ประเมินโดยการสอบ 2) ประเมินโดยการเขียนรายงาน 3) ประเมินจากผลงานที่ไดรับมอบหมาย

9.4 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 9.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางตัวบุคคลและความสามารถในการ

รับผิดชอบ 1) มีสวนชวยเอื้อตอการแกปญหาในกลุมไดอยางสรางสรรค 2) สามารถแสดงความเปนผูนํา และรูจักใชนวัตกรรมในการแกไขปญหา 3) มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะหปญหาไดอยางเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเอง และ

ของกลุม 4) รับผิดชอบในการเรียนรู รวมทั้งพัฒนาตนเองและอาชีพอยางตอเน่ือง 9.4.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวาง

บุคคลและความรับผิดชอบ 1) มอบหมายงานเปนกลุมยอยและแบงหนาที่ความรับผิดชอบ 2) ศึกษาโดยใชกรณีศึกษา 9.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ 1) ใหผูเรียนประเมินซึ่งกันและกัน และประเมินตนเอง 2) สังเกตพฤติกรรมในการเรียน 3) ประเมินจากงานที่ไดรับมอบหมาย

9.5 ทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 9.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ 1) ศึกษาและทําความเขาใจในประเด็นปญหา และเลือกใชเทคนิคทางสถิติ

หรือคณิตศาสตรอยางเหมาะสมเพื่อแกไขปญหา 2) สื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งในการพูด การเขียน และเลือกใชรูปแบบ

ของการนําเสนอที่เหมาะสมสําหรับกลุมบุคคลที่แตกตางกันได 3) ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมขอมูล ประมวลผลแปล

ความหมาย และนําเสนอขอมูลสารสนเทศอยางสม่ําเสมอ 9.5.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิง

ตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ทดสอบความสามารถดานภาษาโดยการสอบและการสัมภาษณ 2) บูรณาการการใชเทคโนโลยีในรายวิชาที่เกี่ยวของ 3) แกปญหาโจทยโดยใชคณิตศาสตรหรือสถิติ

9.5.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 123: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

123

1) ประเมินผลจากการสอบขอเขียนและสอบปากเปลา 2) ประเมินผลการใชคอมพิวเตอร 3) แกปญหาโจทยทางคณิตศาสตร

10. มาตรฐานผลการเรียนรูของหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป 10.1 ดานคุณธรรม จริยธรรม

1) สามารถจัดการปญหาทางคุณธรรม จริยธรรม โดยใชดุลยพินิจ ทางคานิยม และความรูสึกของผูอื่น

2) แสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางดานคุณธรรมและจริยธรรม เชน มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริต เสียสละ

3) ประพฤติตนเปนแบบอยางที่ ดีตอผูอื่นทั้งทางกาย วาจา และใจปฏิบัติตามกฎระเบียบ และขอบังคับตางๆ ขององคกรและสังคม

10.2 ดานความรู 1) มีองคความรูพื้นฐานทั่วไปอยางกวางขวางและเปนระบบ และเขาใจหลักการในการ

ดํารงชีวิต 2) มีความเขาใจเกี่ยวกับความกาวหนาของความรูเฉพาะดาน และตระหนักถึงงานวิจัย

ในปจจุบันที่เกี่ยวของกับการแกปญหา 3) ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ขอบังคับ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ

10.3 ดานทักษะทางปญญา 1) สามารถคนหาขอเท็จจริง ทําความเขาใจและประเมินขอมูล แนวคิดและหลักฐาน

ใหมๆ จากแหลงขอมูลที่หลากหลาย และใชขอมูลที่ไดในการแกไขปญหาและงานอื่นๆ ดวยตนเอง 2) สามารถศึกษาปญหาที่คอนขางซับซอนและเสนอแนะแนวทางในการแกไขไดอยาง

สรางสรรค โดยคํานึงถึงความรูทางภาคทฤษฎี ประสบการณทางภาคปฏิบัติ และผลกระทบจากการตัดสินใจ

3) สามารถใชทักษะและความเขาใจในเน้ือหาสาระในการแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม 10.4 ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

1) มีสวนชวยและเอื้อตอการแกปญหาในกลุมไดอยางสรางสรรค 2) สามารถแสดงความเปนผูนํา และรูจักใชนวัตกรรมในการแกปญหา 3 มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะหปญหาไดอยางเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและ

ของกลุม 4) มีความรับผิดชอบในการเรียนรูและพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง

10.5 ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ศึกษาและทําความเขาใจในประเด็นปญหา และเลือกใชเทคนิคทางสถิติ หรือ

คณิตศาสตรอยางเหมาะสมเพื่อแกไขปญหา 2) สื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งในการพูด การเขียน และเลือกใชรูปแบบของการ

นําเสนอ ที่เหมาะสมสําหรับกลุมบุคคลที่แตกตางกันได

Page 124: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

124

3) ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมขอมูล ประมวลผล แปลความหมายและนําเสนอขอมูลสารสนเทศอยางสม่ําเสมอ

Page 125: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

125

แผนที่การกระจายความรบัผิดชอบผลการเรียนรูสูกระบวนวิชา (Curriculum Mapping) ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2 ความรู 3 ทักษะทางปญญา 4 ทักษะทางสังคม 5 ทักษะ การวิเคราะหฯ

1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1. มนุษยกับการดําเนินชีวิต

2. พลวัตทางสังคม

3. ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท

4. ความรูพื้นฐานเกี่ยวกบักฎหมาย

5. สิ่งแวดลอมกับการดํารงชีวิต

6. สุนทรียภาพของชีวิต

7. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

8. ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

9. ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะการเรียน

10. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 11. วิทยาศาสตรเพือ่คุณภาพชีวิต 12. การคิดและการตัดสินใจ

13. การออกกําลงักายเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

Page 126: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

126

11. คําอธิบายประกอบรหัสวิชา 11.1 ความหมายของเลขรหัสกระบวนวิชา

รหัสกระบวนวิชาที่ใชกําหนดเปนตัวเลข 7 หลัก ดังตอไปน้ี 1. เลข 3 ตัวแรก เปนหมวดวิชา 2. เลขตัวที่ 4 บงบอกถึงระดับความยากงายหรือช้ันป 3. เลขตัวที่ 5 บงบอกถึงลักษณะเน้ือหา

“1” แสดงถึง กระบวนวิชาในกลุมภาษา “2” แสดงถึง กระบวนวิชาในกลุมมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร “3” แสดงถึง กระบวนวิชาในกลุมคณิตศาสตร และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

4 . เลขตัวที่ 6 และ 7 บงบอกถึงลําดับกอนและหลังรายวิชา 12. คําอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 9000101 ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6) Thai for Communication

ความสําคัญของภาษาไทย การสื่อสาร การพัฒนาทักษะการฟง การพูด การอาน การเขียน ทักษะการยอความ การสรุปความ การขยายความ การแปลความ การตีความ และการพิจารณาสารเชิงชวนเช่ือหรือเบี่ยงเบน การนําเสนอสารดวยวาจา ลายลักษณอักษร และการใชสื่อผสมในทางวิชาการ และสถานการณจริงในชีวิตประจําวัน 9000102 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6) English for Communication

ฝกและพัฒนาทักษะการฟง การพูด การอานและการเขียน การสื่อสารในสถานการณตาง ๆ โดยคํานึงถึงบริบทของสังคมไทยและสากล การสื่อสาร การแนะนําตนเองและผูอื่น การทักทาย การกลาวลา การถามขอมูลสวนบุคคล การถามขอมูล การซื้อสินคา การบอกทิศทางและสถานที่ต้ัง การนัดหมาย การเชิญ การขอรอง การขอบคุณ การแสดงความรูสึก การแสดงความคิดเห็น การอธิบายลักษณะบุคคลและลักษณะสิ่งของเครื่องใช 9000103 ภาษาอังกฤษเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียน 3(3-0-6) English for Study Skills Development

ฝกและพัฒนาการใชภาษาอังกฤษ การฟง การพูด การอาน และการเขียนเชิงบูรณาการ การเขียนสรุปหัวขอเรื่องและจับใจความสําคัญ การแสดงความคิดเห็นและประยุกตใชในการศึกษาคนควาและพัฒนาการเรียนรูของตนเอง 9000201 มนุษยกับการดําเนินชีวิต 3(3-0-6) Man and Life Enhancement การดํารงชีวิตในสังคมปจจุบัน พฤติกรรมมนุษย ความเขาใจตนเองและผูอื่น คุณธรรมและจริยธรรม การรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง ความสามารถพัฒนาตน และปรับตัวใหเขากับสังคมและสิ่งแวดลอม การแกปญหา และพัฒนาปญญากอใหเกิดสันติสุขและสันติภาพ

Page 127: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

127

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 9000202 พลวัตทางสังคม 3(3-0-6) Social Dynamics

พัฒนาการของสังคมไทย วัฒนธรรมประเพณี เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง กฎหมาย และการพัฒนาประเทศ วิเคราะหสภาวการณปจจุบันของสังคมโลก ดานสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง ที่มีผลกระทบตอสังคมไทย 9000203 ตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาท 3(3-0-6) To Follow in the Royal Foot Steps of His Majesty the King

พระราชประวัติ พระราชจริยวัตร พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ และการประพฤติปฏิบัติตนตามพระบรมราชโอวาท และพระราชดําริ 9000204 ความรูพ้ืนฐานเก่ียวกับกฎหมาย 2(2-0-4) Fundamental Knowledge of Law

สิทธิและหนาที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ สิทธิเด็ก การแจงเกิด การรับบุตรบุญธรรม เกณฑเขาศึกษา การทําบัตรประชาชน การรับราชการ การหมั้น การสมรส การหยา มรดก กูยืมเงิน คํ้าประกัน การประกันภัย จํานอง จํานํา ซื้อขาย ขายฝาก เชาทรัพย เชาซื้อ กฎหมาย แรงงาน ยาเสพติดใหโทษ กฎหมายที่ดิน การรองทุกขเน่ืองจากการไดรับความเดือดรอนจากเจาหนาที่ของรัฐ การฟองศาล ปกครอง การคุมครองผูประสบภัยจากรถ กฎหมายเกี่ยวกับขอมูลขาวสาร 9000205 สิ่งแวดลอมกับการดํารงชีวิต 2(2-0-4) Environment and Living

ลักษณะทางกายภาพของโลก คุณคาความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและวิถีชีวิต สาเหตุและแนว ทางการแกปญหาการเกิดภัยพิบั ติ มลพิษ การสูญเสียทรัพยากร การสรางจิตสํานึกใหเห็นคุณคาของการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติใหดํารงอยูอยางย่ังยืน 9000206 สุนทรียภาพของชีวิต 2(2-0-4) Aesthetics for Life

การจําแนกขอแตกตางในศาสตรทางความงาม ความหมายของสุนทรียศาสตรเชิงการคิดกับสุนทรียศาสตรเชิงพฤติกรรม ความสําคัญของการรับรูกับความเปนมาของศาสตร ทัศนศิลป ศิลปะดนตรี ศิลปะการแสดงผานข้ันตอนการเรียนรูเชิงคุณคา เพื่อใหไดมาซึ่งประสบการณของความซาบซึ้งทางสุนทรียภาพ

Page 128: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

128

รหัสวิชา ชื่อและคําอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ) 9000301 เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือชีวิต 3(2-2-5) Information Technology for Living

การใชคอมพิวเตอรเบื้องตน ใหสามารถใชโปรแกรมสําเร็จรูปดานการจัดการเอกสาร การนําเสนอขอมูล และการจัดตารางการทํางาน ศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ความสําคัญของระบบเทคโนโลยีสารสนทเศ ที่มีอิทธิพลและผลกระทบตอชีวิตและสังคม และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดเก็บขอมูล ประมวลผลขอมูล การเลือกแหลงสารสนเทศ การวิเคราะหการประเมินคุณคาสารสนเทศและการใชอินเทอรเน็ต 9000302 วิทยาศาสตรเพ่ือคุณภาพชีวิต 3(3-0-6) Science for Quality of Life

การนําความรูดานวิทยาศาสตร และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร วิธีการสงเสริมสุขภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ผลกระทบของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตอมนุษย 9000303 การคิดและการตัดสินใจ 2(2-0-4) Thinking and Decision Making

หลักการและกระบวนการคิดของมนุษย การพัฒนาทักษะการคิด การแกปญหา การตัดสินใจและการประยุกตใช 9000304 การออกกําลังกายเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต 2(1-2-3) Exercise for Quality of Life Development ประวัติ ปรัชญา ขอบขาย ความหมาย ความมุงหมายและประโยชนของการออกกําลงักาย หลักการและวิธีการออกกําลังกาย การจัดการแขงขันกีฬาทุกระดับ การเปนผูเลนและผูดูที่ดี การพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยการเลนกีฬา การละเลนพื้นเมืองของไทย การเลนกีฬาประเภทบุคคลและประเภททีม และการออกกําลังกายในชีวิตประจําวัน

Page 129: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

129

ภาคผนวก ฉ รายงานการประชุมวิพากษหลักสูตร

Page 130: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

130

สรุปรายงานการวิพากยหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี คร้ังท่ี 1/2554

วันท่ี 28-29 มิถุนายน 2554 เวลา 09.00-15.00 น. ณ หองประชุมคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ผูเขารวมประชุม 1. ศาสตราจารยเบญจรงค กุลสุ ประธานกรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร

2. ศาสตราจารยสหชัย วิวัฒนปฐพี กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ 3. ผูชวยศาสตราจารยเฉลิมชัย สีตะระโส กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ 4. รองศาสตราจารยบุญเชิด พิณพาทย กรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร

5. อาจารยพุทธะ ณ บางชาง กรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร 6. อาจารยวิเชียร ธนลาภประเสริฐ กรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร 7. อาจารยมณเฑียร รุงหิรัญ กรรมการและเลขานุการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร

เริ่มประชุมเวลา 9.00 น. ผศ. เบญจรงค กุลสุ กลาวเปดการประชุม ปรับปรุงหลักสูตรดนตรี รายวิชาที่ปรับปรุงเน้ือหา และรายวิชาที่เปดใหม ดังน้ี 1. 2062415 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบสตริง 2. 2062416 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบคอมโบ 3. 2063415 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบรวมสมัย 4. 2063416 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบแจส 5. 2061505 ดนตรีวิจักษ 6. 2061506 ดนตรีรวมสมัย 7. 2064701 การผลิตผลงานทางดนตรีดวยคอมพิวเตอร 8. 2062313 คีตปฏิภาณแบบแจส 1 9. 2063327 คีตปฏิภาณแบบแจส 2 10. 2063305 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับการขับรองประสานเสียง 11. 2064703 การติดต้ังและการใชระบบเครื่องเสียง 12. 2063802 การเตรียมสหกิจศึกษา

13. 2064802 สหกิจศึกษา

14. 2063801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี 15. 2064801 การฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี

ผศ. เฉลิมชัย สีตะระโส ไดแสดงความคิดเห็นวา แตเดิมวิชาปฏิบัติรวมวงเล็ก 1-4 เปนการเปดโอกาสใหกับนักศึกษาไดเรียนเน้ือหาแบบกวาง ไมเฉพาะเจาะจงมากเกินไป ซึ่งในการปรับปรุงหลักสูตรครั้งน้ี จะนํารายวิชา ปฏิบัติรวมวงเล็กในแบบตางๆ กัน มาใชสอนแทนน้ัน จะเปนความยุงยากตอการเตรียมการสอนมาก เพราะมีความหลากหลายในเน้ือหาวิชา หลังจากที่ได วิพากยแลวก็เขาใจถึงเจตนาของการปรับหลักสูตรในครั้งน้ี

Page 131: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

131

ผศ. สหชัย วิวัฒนปฐพี ไดแสดงความคิดเห็นวา การปรับเปลี่ยนช่ือรายวิชา และเน้ือหาวิชา ตองจัดเตรียมการเรียนการสอนในแตละรายวิชาคอนขางยุงยาก ใชเวลาในการเขียนรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) มากข้ึน และควรจัดกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกันในแตละรายวิชาอีกดวย ผศ. เบญจรงค กุลสุ ไดนําเสนอปรับเปลี่ยนรายวิชาดนตรีวิจักษ และดนตรีรรวมสมัย เพื่อใหเน้ือหามีความเหมาะสมกับยุคปจจุบันมากข้ึน เพราะในโอกาสตอไป การเรียนการสอนจะตองมีความสอดคลองกันทั้งทวีปเอเชีย (Asian One) ซึ่งรายวิชาดังกลาว จะเปนการเผยแพรถึงวัฒนธรรมทางดนตรีไทยใหเปนที่รูจักกันอยางแพรหลาย และเปนที่สนใจกันอยางกวางขวางในการผสมผสานดนตรีไทยกับดนตรีชาติอื่นๆเขาดวยกันโอกาสตอๆไป ผศ. เฉลิมชัย สีตะระโส และผศ. สหชัย วิวัฒนปฐพี มีความเห็นพองกันวา รายละเอียดของรายวิชามีความเหมาะสมดี แตขอเสนอเพิ่มเติมในรายวิชาดนตรีรวมสมัยวา ดนตรีไทยกับดนตรีในภูมิภาคเอเชีย และดนตรีตะวันตก เปนตน จะไดครอบคลุมมากข้ึน อาจารยมณเฑียร รุงหิรัญ ไดเสนอปรับปรุงรายละเอียดวิชา การผลิตผลงานทางดนตรีดวยคอมพิวเตอร ซึ่งเปนรายวิชาใหม โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรระบบแม็คอินทอส เพื่อใหนักศึกษาไดมีโอกาสเรียนโปรแกรมที่เกี่ยวกับดนตรีไดอยางมืออาชีพ ผศ. เบญจรงค กุลสุ ไดเสนอรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับโปรแกรมที่นํามาใชในการเรียบเรียงเสียงประสาน การสรางเสียงประกอบโฆษณา ภาพยนตรและอื่นๆ ซึ่งไดรับความเห็นชอบจากกรรมการในที่ประชุม อาจารยวิเชียร ธนลาภประเสริฐ ไดเสนอปรับเปลี่ยนรายวิชาคีตปฏิภาณแบบแจส 1 และ คีตปฏิภาณแบบแจส 2 ใหมีรายละเอียดและมีความชัดเจนมากข้ึน

ผศ. สหชัย วิวัฒนปฐพี และ ผศ. เฉลิมชัย สีตะระโส ไดเสนอแนะวา ควรเพิ่มในเรื่องของบันไดเสียงแนวบูลสและแนวแจส อีกทั้งการใชคอรดทดแทน ที่มีความซับซอนมากข้ึน อาจารยวิเชียร ธนลาภประเสริฐ ไดเสนอปรับเปลี่ยนรายวิชาการเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับการขับรองประสานเสียง เพื่อใหมีเน้ือหาเปนที่ตองการนําไปใชไดมากข้ึน เปนที่นาสนใจ ซึ่งในที่ประชุมไดเสนอใหเนนเรื่อง การหายใจ และฐานเสียงที่ใชในการรองของแตละแนวเสียงดวย ผศ. เบญจรงค กุลสุ ไดเสนอรายวิชา การติดต้ังและการใชระบบเครื่องเสียง ข้ึนมาใหม เพื่อใหนักศึกษาไดมีโอกาสเรียนรูและสามารถนําไปใชไดจริงในวิชาชีพที่จําเปนตองใชในชีวิตประจําวันได ซึ่งในที่ประชุมก็ใหการตอบรับเปนอยางดีถึงประโยชนในการนําไปใชประกอบอาชีพได และมีความเกี่ยวของกับรายวิชาอื่นๆดวย สําหรับรายวิชา การเตรียมสหกิจศึกษา สหกิจศึกษา (เพิ่ม) การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพดนตร ี การฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี(ปรับ) คณะกรรมการไดมีความเห็นรวมกัน ในการเพิ่มเติมรายวิชาใหนักศึกษาเลือกไดมากข้ึน และปรับช่ือรายวิชาพรอมรายละเอียดในรายวิชา การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี และการฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี ให

มีความเหมาะสมกับหลักสูตรมากข้ึน

ปดประชุมเวลา 15.00 น. ---------------------

Page 132: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

132

สรุปรายงานการวิพากยหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี คร้ังท่ี 2/2554

วันท่ี 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-15.00 น. ณ หองประชุมคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

ผูเขารวมประชุม 1. ศาสตราจารยเบญจรงค กุลสุ ประธานกรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร

2. ศาสตราจารยสหชัย วิวัฒนปฐพี กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ 3. ผูชวยศาสตราจารยเฉลิมชัย สีตะระโส กรรมการ ผูทรงคุณวุฒิ 4. รองศาสตราจารยบุญเชิด พิณพาทย กรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร 5. อาจารยพุทธะ ณ บางชาง กรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร 6. อาจารยวิเชียร ธนลาภประเสริฐ กรรมการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร 7. อาจารยมณเฑียร รุงหิรัญ กรรมการและเลขานุการ ผูรับผิดชอบหลักสูตร

เริ่มประชุมเวลา 09.00 น. ผศ.เบญจรงค กุลสุ กลาวเปดการประชุมตอจากเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2554 หลังจากที่คณะกรรมการไดปรับปรุง แกไขหลักสูตรตามที่ไดแสดงความคิดเห็นไวดังน้ี การปรับปรุงหลักสูตรดนตรีในครั้งน้ี เปนการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อใหมีความทันสมัยตอการเปลี่ยนแปลง และความตองการทางสังคม เพื่อที่นักศึกษาจะไดนําความรู ประสบการณไปใชปฏิบัติไดในแบบเชิงประจักษ การเรียนรู การเลนดนตรีไดอยางมืออาชีพ การอนุรักษเชิงวัฒนธรรม การทํางานรวมกันไดอยางมีคุณธรรม จริยธรรม เปนผูที่มีความรับผิดชอบ ตรงตอเวลาและสามารถแขงขันกับผูอื่นไดในสังคม เปนตน นอกจากน้ี ยังตองการใหหลักสูตรมีความชัดเจน สนองตอความตองการทางสังคมมากข้ึนกวาเดิมอีกดวย

ผศ. เฉลิมชัย สีตะระโส และผศ. สหชัย วิวัฒนปฐพี ไดแสดงถึงความทันสมัย และความหลากหลายของหลักสูตรที่จะชวยใหนักศึกษาไดรับความรู ประสบการณทางดนตรีมากข้ึน ทั้งที่เปนดนตรีไทย ดนตรีตะวันตกในหลายรูปแบบ และดนตรีรวมสมัย ที่นําดนตรีไทยกับดนตรีสากลมาใชบรรเลงรวมกัน อันจะเปนการสงเสริมใหผูเรียนรู เขาใจถึงบทบาท หนาที่ของดนตรีที่เขามารับใชสังคม อีกทั้งเปนการอนุรักษดนตรีของไทยใหคงอยูสืบไป กอใหเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรคทางดนตรี ผลิตผลงานใหมๆ ทางดนตรีออกสูสาธารณะชนได นําไปใชประกอบธุรกิจดนตรีเชิงพานิชย ในรูปแบบของเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอรไดเปนอยางดี

คณะกรรมการหลักสูตรไดทําการตรวจสอบและวิพากยกันอยางเต็มที่ เพื่อใหหลักสูตร ที่ปรับปรุงในครั้งน้ี นําไปใชในทางปฏิบัติใหเกิดผลสัมฤทธ์ิที่ดีตามวัตถุประสงคที่ต้ังไว ถึงแมจะมี อุปสรรคทางเครื่องดนตรี และอุปกรณอื่นๆ ที่จําเปนบางก็ตาม แตดวยความมุงมั่น ไมยอทอและ ไมทอถอย โอกาสที่จะพัฒนาดนตรีในประเทศไทยก็คงจะดําเนินไปในทิศทางที่ดีข้ึน

ปดประชุมเวลา 15.00 น.

Page 133: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

133

ภาคผนวก ช ตารางเปรียบเทียบขอมูลระหวางหลักสูตรเดิมกับหลักสูตรปรับปรุง

Page 134: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

134

ตารางเปรียบเทียบขอมูลระหวางหลักสูตรเดิมกับหลักสูตรปรับปรุง

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2550 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 หมายเหตุ 1. ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี : Bachelor of Arts Program in Music

1. ชื่อหลักสูตร :หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี : Bachelor of Arts Program in Music

- คงเดิม

2. ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ดนตรีสากล) : Bachelor of Arts (Music) : ศศ.บ. (ศิลปกรรม : B.A. (Music)

2. ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ดนตรีสากล) : Bachelor of Arts (Music Arts)

: ศศ.บ. (ดนตรีสากล) : B.A. (Music Arts)

- คงเดิม

โครงสรางหลักสูตร 3. จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 135 หนวยกิต

3. จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 135 หนวยกิต - คงเดิม

4. หมวดวิชาเฉพาะ 99 หนวยกิต กลุมวิชาเน้ือหา 99 หนวยกิต วิชาบังคับ 47 หนวยกิต วิชาเลือก 45 หนวยกิต

4. หมวดวิชาเฉพาะ 99 หนวยกิต กลุมวิชาเน้ือหา 99 หนวยกิต วิชาบังคับ 47 หนวยกิต วิชาเลือก 45 หนวยกิต

Page 135: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

135

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2550 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 หมายเหตุ 5. วิชาบังคับ จํานวน 47 หนวยกิต ภาคทฤษฎี จํานวน 24 หนวยกิต 2061301 ทฤษฎีดนตรีสากล 1 3(3-0-6) 2061701 คอมพิวเตอรดนตรีขั้นพ้ืนฐาน 3(2-2-5) 2062301 ทฤษฎีดนตรีสากล 2 3(3-0-6) 2063301 ทฤษฎีดนตรีสากล 3 3(3-0-6) 2063317 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตยุคโบราณถึง ค.ศ. 1750 3(3-0-6) 2062306 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตศตวรรษที่ 18 ถึง ปจจุบัน 3(3-0-6) 2063326 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 1 3(3-0-6) 2064312 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 2 3(3-0-6) ก. ภาคปฏิบัติ เลือกกลุมเดียว จํานวน 12 หนวยกิต

- ปฏิบัติเครื่องลมไม 1-6 - ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 1-6 - ปฏิบัติเครื่องสายสากล 1-6 - ปฏิบัติกีตาร 1-6 - ปฏิบัติเครื่องคียบอรด 1-6 - ปฏิบัติขับรองสากล 1-6

5. วิชาบังคับ จํานวน 47 หนวยกิต ภาคทฤษฎี จํานวน 24 หนวยกิต 2061301 ทฤษฎีดนตรีสากล 1 3(3-0-6) 2061701 คอมพิวเตอรดนตรีขั้นพ้ืนฐาน 3(2-2-5) 2062301 ทฤษฎีดนตรีสากล 2 3(3-0-6) 2063301 ทฤษฎีดนตรีสากล 3 3(3-0-6) 2063317 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตยุคโบราณถึง ค.ศ. 1750 3(3-0-6) 2062306 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตศตวรรษที่ 18 ถึง ปจจุบัน 3(3-0-6) 2063326 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 1 3(3-0-6) 2064312 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 2 3(3-0-6) ก. ภาคปฏิบัติ เลือกกลุมเดียว จํานวน 12 หนวยกิต

- ปฏิบัติเครื่องลมไม 1-6 - ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 1-6 - ปฏิบัติเครื่องสายสากล 1-6 - ปฏิบัติกีตาร 1-6 - ปฏิบัติเครื่องคียบอรด 1-6 - ปฏิบัติขับรองสากล 1-6

รายวิชาละ 2 หนวยกิต รายวิชาละ 2 หนวยกิต รายวิชาละ 2 หนวยกิต รายวิชาละ 2 หนวยกิต รายวิชาละ 2 หนวยกิต รายวิชาละ 2 หนวยกิต

Page 136: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

136

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2550 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 หมายเหตุ - ปฏิบัติเครื่องกระทบ 1-6

ข. เรียนปฏิบัติอ่ืนๆอีก จํานวน 4 หนวยกิต - ผูที่ไมไดเรียนปฏิบัติคียบอรด 1-6 ตองเรียนปฏิบัติคียบอรด 1-2 สําหรับผูที่เรียนปฏิบัติคียบอรด 1-6 มาแลว ใหเลือกเรียนปฏิบัติในกลุม 1-2 อื่นๆแทน ค. เรียนปฏิบัติตอไปน้ีอีก จํานวน 3 หนวยกิต 2064903 การเสนอผลงานทางดนตรี 3(2-2-5) ง. ใหเรียนรายวิชาตอไปน้ี จํานวน 4 หนวยกิต 2062417 ปฏิบัติรวมวงใหญ 1 1(1-0-1) 2062418 ปฏิบัติรวมวงใหญ 2 1(1-0-1) 2063417 ปฏิบัติรวมวงใหญ 3 1(1-0-1) 2063418 ปฏิบัติรวมวงใหญ 4 1(1-0-1)

- ปฏิบัติเครื่องกระทบ 1-6 ข. เรียนปฏิบัติอ่ืนๆอีก จํานวน 4 หนวยกิต - ผูที่ไมไดเรียนปฏิบัติคียบอรด 1-6 ตองเรียนปฏิบัติคียบอรด 1-2 สําหรับผูที่เรียนปฏิบัติคียบอรด 1-6 มาแลว ใหเลือกเรียนปฏิบัติในกลุม 1-2 อื่นๆแทน ค. เรียนปฏิบัติตอไปน้ีอีก จํานวน 3 หนวยกิต 2064903 การเสนอผลงานทางดนตรี 3(2-2-5) ง. ใหเรียนรายวิชาตอไปน้ี จํานวน 4 หนวยกิต 2062415 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบสตริง 1(1-0-1) 2062416 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบคอมโบ 1(1-0-1) 2063415 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบรวมสมัย 1(1-0-1) 2063416 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบแจส 1(1-0-1)

รายวิชาละ 2 หนวยกิต - ปรับชื่อรายวิชาและคําอธิบายายวิชา - ปรับชื่อรายวิชาและคําอธิบายายวิชา - ปรับชื่อรายวิชาและคําอธิบายายวิชา - ปรับชื่อรายวิชาและคําอธิบายายวิชา

Page 137: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

137

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2550 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 หมายเหตุ 6. วิชาเลือก จํานวน 45 หนวยกิต 1. กลุมทฤษฎีท่ัวไป 2063706 การซอมสรางอุปกรณดนตรี 3(2-2-5) 2063304 การเรียบเรียงดนตรีสําหรับเด็ก 3(3-0-6) 2063305 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับการขับ รองประสานเสียง 3(3-0-6) 2063701 การใชคอมพิวเตอรชวยงานดนตรี 3(2-2-5) 2064701 การผลิตผลงานทางดนตรีดวยคอมพิวเตอร

2061503 มานุษยวิทยาทางดนตรี

2062505 ดนตรีเอเชียใตและตะวันออกกลาง 3(3-0-6) 2062315 ประวัติดนตรีแจส 3(3-0-6) 2062313 คีตปฏิภาณแบบแจส 1 3(2-2-5) 2062302 ทฤษฎีดนตรีแจส 3(3-0-6) 2063328 การประพันธดนตรีแบบแจสและปอปปูลาร 3(3-0-6)

2063327 คีตปฏิภาณแบบแจส 2 2063503 เพลงไทยสากลเชิงประวัติ 3(3-0-6) 2063617 การสอนกีตาร 3(2-2-5) 2064306 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับดนตรีแจส และปอปปูลาร 3(3-0-6)

6. วิชาเลือก จํานวน 45 หนวยกิต 2063706 การซอมสรางอุปกรณดนตรี 3(2-2-5) 2063304 การเรียบเรียงดนตรีสําหรับเด็ก 3(3-0-6) 2063305 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับการขับ รองประสานเสียง 3(3-0-6) 2063701 การใชคอมพิวเตอรชวยงานดนตรี 3(2-2-5) 2064701 การผลิตผลงานทางดนตรีดวยคอมพิวเตอร

2061503 มานุษยวิทยาทางดนตรี

2062505 ดนตรีเอเชียใตและตะวันออกกลาง 3(3-0-6) 2062315 ประวัติดนตรีแจส 3(3-0-6) 2062313 คีตปฏิภาณแบบแจส 1 3(2-2-5) 2062302 ทฤษฎีดนตรีแจส 3(3-0-6) 2063328 การประพันธดนตรีแบบแจสและปอปปูลาร 3(3-0-6) 2063327 คีตปฏิภาณแบบแจส 2 2063327 คีตปฏิภาณแบบแจส 2 2064703 การติดต้ังและการใชระบบเครื่องเสียง 3(2-2-5) 2064306 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับดนตรีแจส และปอปปูลาร 3(3-0-6)

ปรับคําอธิบายรายวิชา ปรับคําอธิบายรายวิชา ปรับคําอธิบายรายวิชา ใหมและแทนวิชาเดิม ปรับคําอธิบายรายวิชา

Page 138: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

138

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2550 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 หมายเหตุ 7. หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต 2061505 ดนตรีวิจักษ 3(3-0-6) 2062506 ความสัมพันธระหวางดนตรีไทยกับดนตรี ตะวันตก 3(3-0-6)

7. หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวนไมนอยกวา 6 หนวยกิต 2061505 ดนตรีวิจักษ 3(3-0-6) 2061506 ดนตรีรวมสมัย 3(3-0-6)

ปรับคําอธิบายรายวิชา ปรับคําอธิบายรายวิชา และแทนวิชาเดิม

8. กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ 2063801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี 1 2(90) 2064801 การฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี 3 5(450)

8. กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ ก. กลุมวิชาสหกิจศึกษา 2003805 การเตรียมฝกสหกิจศึกษา 2(90) 2004805 สหกจิดนตรีศึกษา 5(450) ข. กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ 2063801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี 2(90) 2064801 การฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี 5(450)

- มีใหเลือก 2 กลุมวิชา - เพิ่ม - เพิ่ม - ปรับชื่อรายวิชาและคําอธิบายรายวิชา - ปรับชื่อรายวิชาและคําอธิบายรายวิชา

รายวิชาท่ีปรับปรุง ชื่อวิชา จําหนวยกิต และคําอธิบายรายวิชา 2062415 ปฏิบัติรวมวงเล็ก 1 1(0-2-1) Ensemble 1 ฝกทักษะการบรรเลงรวมวง ฝกความพรอมเพรียงในการบรรเลงรวมกัน การบรรเลงใหนํ้าเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดตางๆ ของการบรรเลงในดานความถูกตองของเสียงและอารมณเพลง

2062415 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบสตริง 1(0-2-1) String Band เปนการฝกปฏิบัติรวมวงในแนวสตริง ซึ่งประกอบดวยเครื่องดนตรีอยางนอย 4-8 ช้ิน เชน ทรัมเปต ทรอมโบน แซกโซโฟน กีตารกลองชุด เบส คียบอรดหรือเปยโน เปนตน เปนการรวมวงดนตรี ที่พัฒนาความสามารถดานการบรรเลง และขับรอง ทั้งเพลงไทย และเพลงตะวันตกในยุคตางๆ

- ปรับช่ือรายวิชาและคําอธิบายรายวิชา

Page 139: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

139

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2550 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 หมายเหตุ

2062416 ปฏิบัติรวมวงเล็ก 2 1(0-2-1) Ensemble 2 ฝกทักษะการบรรเลงรวมวง ฝกความพรอมเพรียงในการบรรเลงรวมกัน การบรรเลงใหนํ้าเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดตางๆ ของการบรรเลงในดานความถูกตองของเสียงและอารมณเพลง ฝกบรรเลงสูงกวาในระดับ 1

2062416 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบคอมโบ 1(0-2-1) Combo Band เปนการฝกปฏิบัติรวมวงใน แนวลูกทุง ลูกกรุง ลีลาศ ซึ่งประกอบดวยเครื่องดนตรีอยางนอย 8 ช้ิน เชน ทรัมเปต ทรอมโบน แซกโซโฟน กลองชุด เครื่องกระทบ กีตาร เบส คียบอรดหรือเปยโน เปนตน เปนการรวมวงดนตรี ที่พัฒนาความสามารถหลายๆดาน ทั้งการบรรเลง และขับรองอยางกวางขวาง

- ปรับช่ือรายวิชาและคําอธิบายรายวิชา

2063415 ปฏิบัติรวมวงเล็ก 3 1(0-2-1) Ensemble 3 ฝกทักษะการบรรเลงรวมวง ฝกความพรอมเพรียงในการบรรเลงรวมกัน การบรรเลงใหนํ้าเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดตางๆ ของการบรรเลงในดานความถูกตองของเสียงและอารมณเพลง ฝกบรรเลงสูงกวาในระดับ 2

2063415 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบรวมสมัย 1(0-2-1) Contemporary Band เป นการฝ กป ฏิบั ติ ร วมวง ในแนวดนตรี ร วมสมั ย ซึ่ งประกอบดวยเครื่องดนตรีอยางนอย 8 ช้ิน เชน ทรัมเปต ทรอมโบน แซกโซโฟน กีตาร เบส กลองชุด เครื่องกระทบ คียบอรดหรือเปยโน เครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีพื้นบาน เปนตน เปนการรวมวงดนตรี ที่พัฒนาความสามารถหลายๆดาน ทั้งการบรรเลง และขับรองอยางกวางขวาง

- ปรับช่ือรายวิชาและคําอธิบายรายวิชา

Page 140: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

140

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2550 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 หมายเหตุ 2063416 ปฏิบัติรวมวงเล็ก 4 1(0-2-1) Ensemble 4 ฝกทักษะการบรรเลงรวมวง ฝกความพรอมเพรียงในการบรรเลงรวมกัน การบรรเลงใหนํ้าเสียงของเครื่องดนตรีในวงกลมกลืนกัน ศึกษารายละเอียดตางๆ ของการบรรเลงในดานความถูกตองของเสียงและอารมณเพลง ฝกบรรเลงสูงกวาในระดับ 3

2063416 ปฏิบัติรวมวงเล็กแบบแจส 1(0-2-1) Jazz Band เปนการฝกปฏิบัติรวมวงในแนวแจส ซึ่งประกอบดวยเครื่องดนตรีอยางนอย 4 ช้ิน เชน ทรัมเปต ทรอมโบน แซกโซโฟน กีตาร เบส กลองชุด เครื่องกระทบ คียบอรดหรือเปยโน เปนตน เปนการรวมวงดนตรี ที่เนนความสามารถทางคีตปฏิภาณ ในการบรรเลงและขับรอง

- ปรับช่ือรายวิชาและคําอธิบายรายวิชา

2061505 ดนตรีวิจักษ 3(3-0-6) Introduction to Music ศึกษาถึงความเกี่ยวพันระหวางดนตรีกับศิลปะ องคประกอบพื้นฐานของดนตรี เครื่องดนตรี วงดนตรี ดนตรีสําหรับการบรรเลง ดนตรีสําหรับการขับรองทั้งดนตรีไทยและดนตรีตะวันตก

2061505 ดนตรีวิจักษ 3(3-0-6) Introduction to Music ศึกษาถึงความงามระหวางดนตรีกับศิลปะและศิลปะการแสดง องคประกอบที่สําคัญของดนตรี เครื่องดนตรี วงดนตรี ดนตรีเพื่อการบรรเลงและขับรอง เปรียบเทียบถึงความเหมือนและความแตกตางของดนตรีไทยและดนตรีตะวันตก

- ปรับคําอธิบายรายวิชา

2061506 ดนตรีรวมสมัย 3(3-0-6) Contemporary Music ศึกษาคนควาและวิเคราะหถึงรูปแบบโครงสราง และเทคนิคที่ใชในบทเพลงรวมสมัย ผลงานของคีตกวีที่สําคัญ

2061506 ดนตรีรวมสมัย 3(3-0-6) Contemporary Music ศึกษาถึงความเปนมาของดนตรี ผลงานเพลงของคีตกวีที่สําคัญ สังเคราะห วิเคราะหแบบแผนของดนตรี การนําบทเพลงมาใชบรรเลงรวมกัน เชน ดนตรีไทยกับดนตรีในภูมิภาคเอเชีย และดนตรี

- ปรับคําอธิบายรายวิชา

Page 141: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

141

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2550 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 หมายเหตุ ตะวันตก เปนตน

2064701 การผลิตผลงานทางดนตรีดวยคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Productions of computerized Music ขบวนการผลิตผลงานเพื่อเผยแพรในรูปของ Visual Media การจัดพิมพโนตเพลงการสรางฐานขอมูลโนตดนตรี ขบวนการผลิตผลงาน เพื่อเผยแพรในรูปแบบของ Audio Visual Media การบันทึกในสตูดิโอ

2064701 การผลิตผลงานทางดนตรีดวยคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Productions of computerized Music ศึกษาถึงระบบการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรแบบแม็กอินทอส (Macintosh) ในการเรียบเรียงเสียงประสาน การสรางเสียงประกอบโฆษณา ภาพยนตรและอื่นๆ ดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร เชน ซีบีเลียส (Sibelius) โลจิก (Logic) การาจ แบนด (Garage band) แบนด อิน อะ บอกซ (Band in a box) เปนตน

- ปรับคําอธิบายรายวิชา

2062313 คีตปฏิภาณแบบแจส 1 3(2-2-5) Improvisation 1 พัฒนาความรู และเสริมสรางทักษะการบรรเลงปฏิภาณ ที่อาศัยแนวทํานองกระสวนจังหวะ สําเนียงหลักเสียงเดิม การเคลื่อนตัวจากคอรดหน่ึงไปสูคอรดหน่ึงโดยคํานึงถึงทํานองที่สรางข้ึนมา สอดคลองกับคอรดที่กําหนดไว

2062313 คีตปฏิภาณแบบแจส 1 3(2-2-5) Improvisation 1 ศึกษาการบรรเลงแบบคีตปฏิภาณที่มีความสัมพันธระหวางคอรดและบันไดเสียงแนวบูลสและแนวแจส วิเคราะหแนวทางการดําเนินคอรด การใชคอรดทดแทน (Sub Chord) การสรางแนวทํานองใหมใหสอดคลองกับคอรดที่กําหนดไว

- ปรับคําอธิบายรายวิชา

2063327 คีตปฏิภาณแบบแจส 2 3(2-2-5) Improvisation 2 ศึกษาการบรรเลงปฏิภาณที่ซับซอนมากข้ึน ใชบทเพลงและการดําเนินคอรดที่สูงกวาระดับ 1

2063327 คีตปฏิภาณแบบแจส 2 3(2-2-5) Improvisation 2 ศึกษาและปฏิบัติคีตปฏิภาณแบบแจสโดยใชความสัมพันธระหวางคอรดและบันไดเสียงในรูปแบบของดนตรีแนวแจสและแนวบูลสแจส ที่มีความซับซอนมากข้ึน

- ปรับคําอธิบายรายวิชา

Page 142: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

142

2063305 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับการขับรอง ประสานเสียง 3(3-0-6) Arranging for Chorus ศึกษาคํารองและทํานองของเพลงที่ใชในการเรียบเรียง จากสมัยตาง ๆ ถึงยุคปจจุบันเพื่อนํามาเปนแบบแผนในการเรียบเรียงเสียงประสานแบบ 2 3 4 แนว และมากกวาสําหรับคณะนักรอง ชายลวน หญิงลวน และชาย-หญิงผสม

2063305 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับการขับรองประสานเสียง 3(3-0-6) Arranging for Chorus ศึกษาและเรียบเรียงเสียงประสานแบบ 3-4 แนว ปฏิบัติตามความสามารถของแตละแนวเสียง การหายใจและการออกเสียงจากฐานเสียงตาง ๆ

- ปรับคําอธิบายรายวิชา

2064703 การติดต้ังและการใชระบบเคร่ืองเสียง 3(2-2-5) Operating and Setting up Audio System ศึกษาองคประกอบตางๆ ของเครื่องเสียง การทําหนาที่ของอุปกรณ การติดต้ังอุปกรณเครื่องเสียงในรูปแบบตางๆ และการดูแลรักษาอุปกรณใหอยูในสภาพพรอมใชงาน

- ใหม

Page 143: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

143

ภาคผนวก ซ ผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําหลักสูตร

Page 144: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

144

ผลงานทางวิชาการของอาจารยประจําหลักสูตร 1. ชื่อ นายเบญจรงค นามสกุล กุลสุ 1.1 ตําแหนงทางวิชาการ ผูชวยศาสตราจารย 1.2 ประวัติการศึกษา

ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) สถาบันการศึกษา ปท่ีจบ ปริญญาโท ศศ .ม . (มา นุษย ดุริย างค

วิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

2539

ปริญญาตรี กศ.บ. (สังคมศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา

2518

1.3 ผลงานทางวิชาการ 1.3.1 ตําราหนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน เบญจรงค กุลสุ. (2552). ดนตรีวิจักษ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย

ราชภัฏวไลยอลงกรณ ปทุมธานี. เบญจรงค กุลสุ. (2550). ทฤษฎีดนตรีแจส คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย

ราชภัฏวไลยอลงกรณ ปทุมธานี. เบญจรงค กุลสุ. (2550). ทฤษฎีดนตรีสากล 2 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย

ราชภัฏวไลยอลงกรณ ปทุมธานี เบญจรงค กุลสุ. (2545). สุนทรียภาพของชีวิต. คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย

ราชภัฏวไลยอลงกรณ ปทุมธานี. 1.3.2 งานวิจัย

ไมมี 1.3.3 บทความทางวิชาการ

เบญจรงค กุลสุ. (2554). วิชาการ ...สุนทราภรณ. นักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ ปทุมธานี.

1.4 ประสบการณในการสอน 35 ป 1.5 ภาระงานสอน

ระดับปริญญาตรี 2061503 มานุษยวิทยาทางดนตรี 2061505 ดนตรีวิจักษ 2065303 เพลงไทยสากลเชิงประวัติ 2061401 ปฏิบัติเครื่องลมไม 1 2061402 ปฏิบัติเครื่องลมไม 2 2062401 ปฏิบัติเครื่องลมไม 3 2063401 ปฏิบัติเครื่องลมไม 4

Page 145: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

145

2063402 ปฏิบัติเครื่องลมไม 5 2064401 ปฏิบัติเครื่องลมไม 6 2061403 ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 1 2061404 ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 2 2062403 ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 3 2063403 ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 4 2063403 ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 5 2064403 ปฏิบัติเครื่องทองเหลือง 6 2062417 ปฏิบัติรวมวงใหญ 1 2062418 ปฏิบัติรวมวงใหญ 2 2063417 ปฏิบัติรวมวงใหญ 3 2063418 ปฏิบติัรวมวงใหญ 4 2064903 การเสนอผลงานดนตรี 2063801 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี 2064801 การฝกประสบการณวิชาชีพดนตรี

Page 146: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

146

2. ชื่อ นายพุทธะ นามสกุล ณ บางชาง 2.1 ตําแหนงทางวิชาการ อาจารย 2.2 ประวัติการศึกษา

ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) สถาบันการศึกษา ปท่ีจบ ปริญญาโท ศศ .ม . (มา นุษย ดุริย างค

วิทยา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

2543

ปริญญาตรี ศษ.บ. (ดุริยางคไทย) วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวะ 2529

2.3 ผลงานทางวิชาการ 2.3.1 ตําราหนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน พุทธะ ณ บางชาง. (2551). สุนทรียภาพของชีวิต. คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย

ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ปทุมธานี. 2.3.2 งานวิจัย ไมมี 2.3.3 บทความทางวิชาการ พุทธะ ณ บางชาง. (2550). ปพาทยมอญ. สํานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ

ในพระบรมราชูปถัมภ ปทุมธานี. 2.4 ประสบการณในการสอน 30 ป 2.5 ภาระงานสอน ระดับปริญญาตรี 9000206 ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท 2061102 ประวัติดนตรีไทย 2061104 หนาทับดนตรีไทย 2061106 ลักษณะและประเภทเพลงไทย 2061107 การประสมวงดนตรีไทย 2061202 ปฏิบัติปพาทย 1 2061203 ปฏิบัติปพาทย 2 2061211 ปฏิบัติเพลงเกา 2061506 ดนตรีรวมสมัย

Page 147: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

147

3. ชื่อ นายมณเฑียร นามสกุล รุงหิรัญ 3.1 ตําแหนงทางวิชาการ อาจารย 3.2 ประวัติการศึกษา

ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) สถาบันการศึกษา ปท่ีจบ ปริญญาโท ศษ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล 2548 ปริญญาตรี ค.บ. (ดนตรีศึกษา) สถาบันราชภัฏจันทรเกษม 2546

3.3 ผลงานทางวิชาการ 3.3.1 ตําราหนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน ไมมี

3.3.2 งานวิจัย ไมมี 3.3.3 บทความทางวิชาการ

มณเฑียร รุงหิรัญ. (2554). เคง : ที่มา วิธีสรางและการเปลี่ยนแปลง. สํานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ปทุมธานี.

มณเฑียร รุงหิรัญ. (2554). เคงกับบทบาทและหนาที่. สํานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ ปทุมธานี.

มณเฑียร รุงหิรัญ. (2554). มง ความเช่ือ และประเพณี. สํานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ ปทุมธานี.

3.4 ประสบการณในการสอน 6 ป 3.5 ภาระงานสอน ระดับปริญญาตรี 2061301 ทฤษฎีดนตรีสากล 1 2062301 ทฤษฎีดนตรีสากล 2 2063301 ทฤษฎีดนตรีสากล 3 2061701 คอมพิวเตอรดนตรีข้ันพื้นฐาน 2062306 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตสตวรรษที่ 18 ถึงปจจุบัน 2063303 หลักการประพันธเบื้องตน 2063304 การเรียบเรียงดนตรีสําหรับเด็ก 2063317 ประวัติดนตรีตะวันตกต้ังแตยุคโบราณถึง ค.ศ.1750 2063326 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 1 2063701 การใชคอมพิวเตอรชวยงานดนตรี 2061409 ปฏิบัติคียบอรด 1 2061410 ปฏิบัติคียบอรด 2 2062409 ปฏิบัติคียบอรด 3 2062410 ปฏิบัติคียบอรด 4

Page 148: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

148

2063410 ปฏิบัติคียบอรด 5 2064409 ปฏิบัติคียบอรด 6

Page 149: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

149

4. ชื่อ นายวิเชียร นามสกุล ธนลาภประเสริฐ 4.1 ตําแหนงทางวิชาการ อาจารย 4.2 ประวัติการศึกษา

ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) สถาบันการศึกษา ปท่ีจบ กําลังศึกษาปริญญาโท

ค.ม. (ดนตรีศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา

-

ปริญญาตร ี ค.บ. (ดนตรีศึกษา) สถาบันราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ

2546

4.3 ผลงานทางวิชาการ 4.3.1 ตําราหนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน

วิเชียร ธนลาภประเสริฐ. (2550). เอกสารประกอบการสอน หลักการเลนโนตบนคอกีตารไฟฟา วิชาปฏิบัติกีตาร. คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ปทุมธานี.

วิเชียร ธนลาภประเสริฐ. (2553). เอกสารประกอบการสอน วิธีการเลนรูปแบบบันไดเสียงสเกลเมเจอรบนคอกีตาร .คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ ปทุมธานี.

4.3.2 งานวิจัย ไมมี

4.3.3 บทความทางวิชาการ วิเชียร ธนลาภประเสริฐ. (2554). บทเพลงรําวงยอนยุค. สํานักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ

วไลยอลงกรณ ปทุมธานี. 4.4 ประสบการณในการสอน35 ป 4.5 ภาระงานสอน

ระดับปริญญาตรี 2061405 ปฏิบัติเครื่องสายสากล 1

2061406 ปฏิบัติเครื่องสายสากล 2 2062405 ปฏิบัติเครื่องสายสากล 3 2063405 ปฏิบัติเครื่องสายสากล 4 2063406 ปฏิบัติเครื่องสายสากล 5 2064405 ปฏิบัติเครื่องสายสากล 6 2061407 ปฏิบัติกีตาร 1

2061408 ปฏิบัติกีตาร 2 2062407 ปฏิบัติกีตาร 3 2062408 ปฏิบัติกีตาร 4

Page 150: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

150

2063408 ปฏิบัติกีตาร 5 2064407 ปฏิบัติกีตาร 6 2061413 ปฏิบัติเครื่องกระทบ 1 2061414 ปฏิบัติเครื่องกระทบ 2 2062413 ปฏิบัติเครื่องกระทบ 3 2063413 ปฏิบัติเครื่องกระทบ 4 2063414 ปฏิบัติเครื่องกระทบ 5

2064413 ปฏิบัติเครื่องกระทบ 6 2063617 การสอนกีตาร 2063706 การซอมสรางอุปกรณดนตรี 2063305 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับการขับรองประสานเสียง 2063326 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 1 2064312 รูปแบบและการวิเคราะหดนตรีตะวันตก 2 2062505 ดนตรีเอเชียใตและตะวันออกกลาง 2062302 ทฤษฎีดนตรีแจส

2062313 คีตปฏิภาณแบบแจส 1 2062315 ประวัติดนตรีแจส 2063327 คีตปฏิภาณแบบแจส 2

2063328 การประพันธดนตรีแบบแจสและปอปปูลาร 2064306 การเรียบเรียงเสียงประสานสําหรับดนตรีแจสและปอปปูลาร

Page 151: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

151

5. ชื่อ นายศรัทธา นามสกุล สวาทสุข 5.1 ตําแหนงทางวิชาการ อาจารย 5.2 ประวัติการศึกษา

ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) สถาบันการศึกษา ปท่ีจบ กําลังศึกษาปริญญาโท

ศศ .ม . (มา นุษย ดุริย างควิทยา)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร -

ปริญญาตร ี ค.บ. (ดนตรีศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ

2549

5.3 ผลงานทางวิชาการ 5.3.1 ตําราหนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน ไมมี 5.3.2 งานวิจัย ไมมี 5.3.3 บทความทางวิชาการ ไมมี 5.4 ประสบการณสอน 5 ป 5.5 ภาระงานสอน ระดับประธมศึกษาและมัธยมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ปทุมธานี วิชาดนตรี ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 1 - 6 วิชาดนตรี ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 - 4

Page 152: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

152

ภาคผนวก ฌ รายงานการศึกษาผลการสํารวจคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใช

บัณฑิตหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีสากล

Page 153: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

153

สรุปผลการสํารวจคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิต หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีสากล

การสํารวจคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค ตามความตองการผูใชบัณฑิต หลักสูตรศิลปศาสตร

บัณฑิต สาขาวิชาดนตรีสากล โดยการสงแบบสํารวจไปยังหนวยงานตางๆ ไดแก หนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรเอกชน และธุรกิจสวนตัว โดยใชหลักเกณฑการวิเคราะหขอมูลดังน้ี 4.50 – 5.00 หมายถึงความตองการคุณลักษณะที่พึงประสงคในระดับมากที่สุด 3.50 – 4 .49 หมายถึงความตองการคุณลักษณะที่พึงประสงคในระดับมาก 2.50 – 3 .49 หมายถึงความตองการคุณลักษณะที่พึงประสงคในระดับปานกลาง 1.50 – 2 .49 หมายถึงความตองการคุณลักษณะที่พึงประสงคในระดับนอย 1.00 – 1 .49 หมายถึงความตองการคุณลักษณะที่พึงประสงคในระดับนอยที่สุด ผลการสํารวจคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานการเรียนรู 6 ดาน ดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ดานคุณธรรมจริยธรรม 4.87 รองลงมาคือดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และความรับผิดชอบ 4.70 และดานที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุดคือ ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.31 โดยมีรายละเอียดดังน้ี ดานคุณธรรมจริยธรรม มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.87, SD. =.23) ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ความซื่อสัตยสุจริต ( X = 4.96, SD. =.21) รองลงมาคือความตรงตอเวลา และมีจรรยาบรรณวิชาชีพ ( X = 4.89, SD. =.31) ดานความรู มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.63, SD. =.47) ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ มีทักษะในการปฏิบัติงานในสาขาวิชาที่ศึกษา ( X = 4.64, SD. =.48) รองลงมาคือมีความรูในสาขาวิชาที่ศึกษา ( X = 4.62, SD. =.48) ดานทักษะทางปญญา มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.52, SD. =.50) ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการแกปญหาโดยใชพื้นฐานจากความรูและทักษะที่ศึกษา ( X = 4.67, SD. =.48) รองลงมาคือมีความสามารถในการสืบคน การวิเคราะห การแปลความหมาย และการประเมินจากขอมูลสารสนเทศ ( X = 4.67, SD. =.59) ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.70, SD. =.39) ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ มีบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธดี สามารถทํางานเปนทีมได ( X = 4.71, SD. =.46) รองลงมาคือสามารถเปนผูนําและผูตามที่ดี และมีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพอยางตอเน่ือง ( X = 4.69, SD. =.47) ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก ( X = 4.30, SD. =.55) ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ มีทักษะการสื่อสารและนําเสนอไดอยางเหมาะสม ( X = 4.47, SD. =.59) รองลงมาคือสามารถใชเทคโนโลยีในการสืบคนขอมูล เก็บรวบรวมขอมูล ประมวลผลขอมูล แปลความหมายและนําเสนอขอมูลไดอยางเหมาะสม ( X = 4.31, SD. =.63)

Page 154: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

154

ดานทักษะพิสัย มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.64, SD. =.41) ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ มีความรับผิดชอบงานที่ไดมอบหมาย ( X = 4.84, SD. =.37) รองลงมาคือสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีไดอยางมืออาชีพ ( X = 4.44, SD. =.66) ความคิดเห็นและขอเสนอแนะเพ่ิมเติม ท่ีหนวยงานเห็นวาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยควรไดรับการพัฒนามีดังน้ี 1. ควรมีความสามารถพิเศษ หรือความชํานาญเฉพาะทางได และควรมีความสามารถตามสมัยนิยม 2. ตองหมั่นฝกซอมมาก ๆ ดู Concert ควรจัดการแสดง และตองศึกษาคนควาหาความรูดานน้ี 3. ตองการบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม อดทน สูงาน ไมยอทอตออุปสรรค 4. มีความสามารถทั้งดานผูนํา และผูตามที่ดี รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ไมเกี่ยงงาน มีความรับผิดชอบ มีความคิดกาวหนา และมีความคิดสรางสรรค รูกาละเทศะ 5. สามารถใชภาษาอังกฤษได 6. เนนความมีอารยธรรม รักชาติ ศาสน กษัตริย 7. จะทําอยางไรเพื่อใหบัณฑิตมีคุณลักษณะตามที่ตองการจริง ๆ 8. หากหลักสูตรสามารถพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตไดครบทั้ง 6 ดาน ถือวาเปนบัณฑิตที่มีคุณภาพ สามารถตอบสนองความตองการของผูใชบัณฑิตไดเปนอยางดี 9. บุคลิกภาพ ที่เหมาะสมกับการเปนครู 10. การแตงกายตองเรียบรอยถูกกาละเทศะ 11. ตองการใหพัฒนาบัณฑิต ไมเปนคนน่ิงดูดาย เวลาทํางานรวมกันใหมีความกระตือรือรนในการอาสา หรือชวยทํางานดวยความเต็มใจ และทําใหเรียบรอย 12. ตองการเนนเปนพิเศษ คือ ความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย 13. ตองการบัณฑิตที่มีทักษะหลายดาน 14. การพัฒนาบัณฑิตควรไดรับการพัฒนาอยางตอเน่ืองในทุก ๆ ดาน แตควรใหสอดคลอง และสัมพันธกับสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว 15. มีความมั่นคงทางอารมณ 16. รักความกาวหนา และพัฒนาตน 17. มีทักษะในการครองตน ครองคน ครองงาน 18. ตองมีจรยาบรรณตอวิชาชีพ 19. ควรพัฒนาดานดนตรีที่นําไปใชในการเรียนการสอน เชน การทําวงโยธวาทิต การทําวงตาง ๆ ของดนตรีสากล 20. ควรเปดเอกดนตรีที่เปนสายครูโดยตรง 21. การควบคุมอารมณ และความรูสึก การแกปญหา 22. การเคารพผูบังคับบัญชา หรือผูอาวุโสกวา 23. การแตงกายควรสุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะ โดยเฉพาะผูประกอบวิชาชีพครู 24. การพูดสื่อสารกับนักเรียนควรใชวาจาสุภาพ 25. ควรมีเทคนิคการคุมช้ันเรียน/นักเรียน การสรางระเบียบวินัยใหนักศึกษาไดเปนอยางดี

Page 155: ร าง สาขาวิชาดนตรีสากล ... · 2012-04-18 · 8.1 นักดนตรีอิสระ 8.2 ผู ควบคุมวงดนตรีได

155

26. ควรมีทักษะดานดนตรีไทย 26. ตองการใหบัณฑิตทํางานเปน มีความรับผิดชอบ มีความเปนผูใหญ ใหรักงานที่ทํา 27. ตองการใหมหาวิทยาลัยสงนักศึกษาไปฝกงานที่โรงเรียนสุธีวรราษฏรรังสฤษฏ 28. มีจิตสํานึกของความเปนครู รับทุกสภาพปญหาของนักศึกษา 29. ไมควรเช่ือมั่นในตนเองมากเกินไป 30. เขาใจสภาพสังคมและวัฒนธรรมทองถ่ิน 31. มีความสามารถดานการวิจัย 32. ตองปฏิบัติเครื่องดนตรีไดทุกชนิด 33. รักตอวิชาชีพครู