73
C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc -1- สวนที1 สภาพทั่วไปของจังหวัดยโสธร 1. ลักษณะทางกายภาพ 1.1 ที่ตั้งและขนาดพื้นทีจังหวัดยโสธรตั้งอยูทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย หางจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต ประมาณ 531 กิโลเมตร (ทางหลวงแผดิน หมายเลข 1, 2, 202) อยูในกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 2 (อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อํานาจเจริญ) 1.2 ขนาดพื้นทีจังหวัดยโสธรมีพื้นที4,161.444 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,600,902 ไร คิดเปนรอยละ 0.81 ของพื้นที่ทั่วประเทศ และคิดเปนรอยละ 12.89 ของพื้นที่กลุมจังหวัด ภาพแสดงที่ตั้งและขอบเขตของจังหวัดยโสธร 1.3 ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ สภาพพื้นที่หรือลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดยโสธร มีลักษณะลาดเอียงจากทิศตะวันตก ลงไปทางทิศตะวันออก พื้นที่ทางตอนเหนือสวนใหญเปนที่ราบสูง ภูเขา สลับกับพื้นที่แบบลูกคลื่น มีสภาพปาและภูเขา มีแหลงน้ําขนาดกลาง ไดแก หวยลิงโจน หวยสะแบก ลําโพง ลําเซบาย (ลุมน้ํามูล) ไหลผานทางตอนเหนือและตอนกลาง สวนพื้นที่ทางตอนกลางและตอนใตเปนที่ราบลุมต่ําสลับซับซอน กับสันดินริมน้ํา มีแหลงน้ําขนาดใหญไดแก แมน้ําชี และขนาดกลาง ไดแก ลําน้ํายัง ลําทวน (ลุมน้ําชี) ไหลผานจังหวัด ลักษณะดินสวนมากเปนดินปนทรายและดินเค็ม มีหนอง บึง ลําหวย และแหลงน้ํา ขนาดเล็กอยูทั่วไป พื้นที่แหลงน้ําอยูในลุมน้ําชี ลุมน้ํามูล สําหรับภูมิอากาศ จังหวัดยโสธรมี 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว ความชื้นสัมพัทธ เฉลี่ยเทากับ 71.1% อุณหภูมิสูงสุด 40.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ําสุด 14.0 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยในรอบ 5 (2547 – 2551) เฉลี่ย 1,352 ม.ม.ตอป

ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-1-

สวนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัดยโสธร

1. ลักษณะทางกายภาพ 1.1 ที่ตัง้และขนาดพ้ืนที ่ จังหวัดยโสธรตั้งอยูทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย หางจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต ประมาณ 531 กิโลเมตร (ทางหลวงแผดิน หมายเลข 1, 2, 202) อยูในกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 2 (อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อํานาจเจริญ) 1.2 ขนาดพ้ืนที ่ จังหวัดยโสธรมีพ้ืนท่ี 4,161.444 ตารางกิโลเมตร หรือ 2,600,902 ไร คิดเปนรอยละ 0.81 ของพ้ืนท่ีท่ัวประเทศ และคิดเปนรอยละ 12.89 ของพ้ืนท่ีกลุมจังหวัด

ภาพแสดงที่ตั้งและขอบเขตของจังหวัดยโสธร 1.3 ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ สภาพพ้ืนท่ีหรือลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดยโสธร มีลักษณะลาดเอียงจากทิศตะวันตก ลงไปทางทิศตะวันออก พ้ืนท่ีทางตอนเหนือสวนใหญเปนท่ีราบสูง ภูเขา สลับกับพ้ืนท่ีแบบลูกคล่ืน มีสภาพปาและภูเขา มีแหลงน้ําขนาดกลาง ไดแก หวยลิงโจน หวยสะแบก ลําโพง ลําเซบาย (ลุมน้ํามูล) ไหลผานทางตอนเหนือและตอนกลาง สวนพ้ืนท่ีทางตอนกลางและตอนใตเปนท่ีราบลุมต่ําสลับซับซอนกับสันดินริมน้ํา มีแหลงน้ําขนาดใหญไดแก แมน้ําชี และขนาดกลาง ไดแก ลําน้ํายัง ลําทวน (ลุมน้ําชี) ไหลผานจังหวัด ลักษณะดินสวนมากเปนดินปนทรายและดินเค็ม มีหนอง บึง ลําหวย และแหลงน้ําขนาดเล็กอยูท่ัวไป พ้ืนท่ีแหลงน้ําอยูในลุมน้ําชี ลุมน้ํามูล สําหรับภูมิอากาศ จังหวัดยโสธรมี 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว ความช้ืนสัมพัทธ เฉล่ียเทากับ 71.1% อุณหภูมิสูงสุด 40.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ําสุด 14.0 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ําฝนเฉล่ียในรอบ 5 ป (2547 – 2551) เฉล่ีย 1,352 ม.ม.ตอป

Page 2: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-2-

2. การปกครองและประชากร 2.1 การปกครอง 2.1.1 อาณาเขต จังหวัดยโสธรมีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดใกลเคียง ดังนี ้ ทิศเหนือ ติดตอกับจังหวัดรอยเอ็ดและมุกดาหาร ทิศตะวันออก ติดตอกับจังหวัดอํานาจเจริญและอุบลราชธาน ี ทิศใต ติดตอกับจังหวัดศรีสะเกษ ทิศตะวันตก ติดตอกับจังหวัดรอยเอ็ด 2.1.2 โครงสรางการบริหารราชการสวนภูมิภาค สวนกลาง สวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจ และองคกรพัฒนาเอกชนในจังหวัด 1) การบริหารราชการสวนภูมิภาค (และการปกครองทองท่ี) จังหวัดยโสธรมี สวนราชการสวนภูมิภาคประจําจังหวัด จํานวน 32 สวนราชการ ประกอบดวย 9 อําเภอ (อําเภอเมืองยโสธร อําเภอเลิงนกทา อําเภอไทยเจริญ อําเภอกุดชุม อําเภอทรายมูล อําเภอปาติ้ว อําเภอ คําเขื่อนแกว อําเภอมหาชนะชัย และอําเภอคอวัง) จํานวนตําบล 78 ตําบล และ 885 หมูบาน 2) การบริหารราชการสวนกลาง จังหวัดยโสธร มีสวนราชการสวนกลางท่ีมีท่ีตั้ง ทําการอยูในจังหวัด จํานวน 36 สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ จํานวน 7 แหง 3) การบริหารราชการสวนทองถ่ิน จังหวัดยโสธรมีองคกรปกครองสวนทองถ่ิน จํานวน 88 แหง แยกเปน องคการบริหารสวนจังหวัด 1 แหง เทศบาลเมือง 1 แหง เทศบาลตําบล 16 แหง และองคการบริหารสวนตําบล 70 แหง 4) องคกรพัฒนาเอกชนในจังหวัด จังหวัดยโสธรมีองคกรเอกชนในหลายลักษณะเพ่ือพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิตและอาชีพ ไดแก มูลนิธิ สมาคม สโมสร ชมรม และกลุมอาชีพตาง ๆ ซ่ึงองคกรท่ีเดนชัด และมีบทบาท เชน หอการคาจังหวัดยโสธร สภาอุตสาหกรรมจังหวัด เหลากาชาดจังหวัด มูลนิธิรวมสามัคคี และกลุมอาชีพในพ้ืนท่ีท่ีเปนองคกรพัฒนาอาชีพสรางรายไดท่ีมีกิจกรรมตอเนื่อง อาทิเชน กลุมเกษตรกรทํานานาโส อําเภอกดุชุม กลุมเกษตรกรทํานาบากเรือ อําเภอมหาชนะชัย กลุมเกษตรกรรมธรรมชาติยั่งยืน อําเภอคอวัง ซ่ึงจะผลิตขาวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรียสงตางประเทศ และมีกลุมวิสาหกิจแปรรูปตางๆ 2.2 ประชากรและโครงสรางประชากร 1) ประชากร ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2551 จังหวัดยโสธรมีประชากรท้ังส้ิน 539,284 คน โดยเปนชาย 270,801 คน และหญิง 268,483 คน เปนประชากรในเขตเทศบาล 55,679 คน และอยูนอกเขตเทศบาล 483,605 คน มีจํานวนครัวเรือนท้ังส้ิน 141,941 ครัวเรือน โดยเปนครัวเรือนในเขตเทศบาล 18,339 ครัวเรือน และครัวเรือนนอกเขตเทศบาล 123,602 ครัวเรือน มีอัตราการเพ่ิมธรรมชาติเฉล่ียรอยละ 0.45 ความหนาแนนของประชากรเฉล่ีย 130 คน / ตารางกิโลเมตร

Page 3: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-3-

2) โครงสรางประชากร จังหวัดยโสธรมีประชากร 539,284 คน แยกเปนวัยชวงตาง ๆ ดังนี ้ - วัยเด็ก (0 -14 ป) จํานวน 106,317 คน (รอยละ 19.71) - วัยการศึกษาภาคบังคับ (5-19 ป) จํานวน 116,664 คน (รอยละ 21.63) - วัยแรงงาน (15 – 60 ปเต็ม) จํานวน 373,396 คน (รอยละ 69.24) - วัยเฉล่ียทํางานมีรายได (20-60 ปเต็ม) จํานวน 332,225 คน (รอยละ 61.60) - วัยสูงอายุ (60 ปเต็มขึ้นไป) จํานวน 59,571 คน (รอยละ 11.05)

3. โครงสรางพ้ืนฐาน 3.1 ไฟฟา จากการสํารวจขอมูล กชช. 2 ค ป 2552 จังหวัดยโสธร จํานวน 16 หมูบานท่ีมีไฟฟาใชไมครบทุกครัวเรือน เนื่องจากมีการสรางบานในเขตหางไกลชุมชน ซ่ึงการไฟฟาสวนภูมิภาค มีเปาหมายขยายใหครบทุกครัวเรือน 3.2 ประปา จังหวัดยโสธรมีสํานักงานประปาภูมิภาค 5 แหง บริการในเขตเทศบาลและบริเวณใกลเคียงในชุมชน 5 อําเภอ คือ อําเภอเมืองยโสธร กุดชุม เลิงนกทา มหาชนะชัย และคําเขือ่นแกว สวนอําเภอท่ีเหลือ เปนประปาของเทศบาลตําบล หรือใชระบบปมน้ําบาดาล สําหรับ ในเขตชนบท จากการสํารวจขอมูล กชช. 2 ค จํานวน 885 หมูบาน จะเปนระบบประปาหมูบานหรือลักษณะประปาหมูบาน เพ่ือเปนน้ําใช จํานวน 848 แหง และยังไมมีระบบประปาหมูบานหรือน้ําใชเพียงพอทุกครัวเรือน มีจํานวน 37 หมูบาน ในจํานวนนี้อาจมีหลายแหงไมสามารถทําการกอสรางระบบประปาหมูบานเพ่ิมเติมไดอีกเพราะมีปญหาปริมาณน้ําหรือน้ําไมมีคุณภาพ จะตองจัดหาแหลงน้ําผิวดินมาเปนน้ําดิบตอไป 3.3 โทรศัพท จังหวัดยโสธร มีชุมสายโทรศัพทในทุกอําเภอ รวม 16 ชุมสาย มีหมายเลขใหเชา 26,630 เลขหมาย มีผูเชา 18,943 เลขหมาย เปนโทรศัพทสาธารณะ 1,581 เลขหมาย 3.4 เสนทางการคมนาคม จังหวัดยโสธร มีเสนทางคมนาคมโดยทางรถยนตอยางเดียว โครงขายถนนเขาถึงทุกหมูบานโดยเสนทางถนน เปนทางหลวงแผนดิน 7 สาย ระยะทาง 320 กิโลเมตร ทางหลวงทองถ่ิน 245 สาย ระยะทาง 898 กิโลเมตร ผิวจราจรสวนใหญเปนทางลูกรัง และทางหลวงชนบท 22 สาย ระยะทาง 460 กิโลเมตร เปนถนนลาดยาง 411 กิโลเมตร และลูกรัง 49 กิโลเมตร สภาพถนนทางหลวงทองถ่ินและทางหลวงชนบทดังกลาวสวนมากมีสภาพชํารุดเสียหาย เนื่องจากมีการใชรถสัญจรและขนสงสินคาเกษตรมาก และมีงบประมาณไมเพียงพอมาปรับปรุง ทําใหไมสะดวกและปลอดภัยในการสัญจรและการขนสงสินคาเกษตรของประชาชนในหมูบานตาง ๆ 3.5 การส่ือสารคมนาคม 3.5.1 การไปรษณียโทรเลข มีท่ีทําการ 9 แหง 3.5.2 สถานีวิทยุกระจายเสียง มี 5 แหง

Page 4: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-4-

3.5.3 หนังสือพิมพทองถ่ิน มีหนังสือพิมพเสียงมวลชนยโสธร มีผูส่ือขาวหนังสือพิมพสวนกลาง และสถานีวิทยุโทรทัศนทุกชองประจําจังหวัด 3.5.4 จังหวัดยโสธร จัดทํา Web site เพ่ือเผยแพรและประชาสัมพันธขอมูลของจังหวัด โดยเรียกดูไดท่ี www.yasothon.go.th และประสานติดตอขาวสารราชการกับจังหวัดยโสธรไดท่ี E – Mail ช่ือ [email protected] หรือกลุมงานขอมูลสารสนเทศและการส่ือสาร สํานักงานจังหวัดยโสธร โทร 0-4571-4212 โทรสาร 0-4571-1567 (มท.) 43529 3.6 การใชที่ดินจากพ้ืนที่ 2,600,902 ไร แยกเปน 3.6.1 พ้ืนท่ีปาสงวน 712,822 ไร คิดเปนรอยละ 27.41 ของพ้ืนท่ีจังหวัด 3.6.2 พ้ืนท่ีอยูอาศัย 34,776 ไร คิดเปนรอยละ 1.34 ของพ้ืนท่ีจังหวัด 3.6.3 พ้ืนท่ีถือครองทางการเกษตร 1,623,649 ไร คิดเปนรอยละ 62.42 ของพ้ืนท่ีจังหวัด 3.6.4 อ่ืน ๆ 229,655 ไร คิดเปนรอยละ 8.83 ของพ้ืนท่ีจังหวัด

- ตามขอมูล กชช. 2 ค. ป 2552 มีหมูบานท่ีเกษตรกรมีปญหาการมีท่ีดินทํากิน 87 หมูบาน

3.7 แหลงเก็บกักน้ํา 3.7.1 แหลงน้ํากิน น้ําใช ในการสํารวจขอมูล กชช. 2 ค. และ จปฐ. ป 2552 นอกเขตเทศบาลทุกหมูบาน จํานวน 885 หมูบาน พบวามีแหลงน้ําผิวดินในลักษณะตาง ๆ แตสวนมาก มีน้ําไมตลอดป สําหรับแหลงน้ําใตดิน มีจํานวนบอบาดาลสาธารณะใชการได 3,167 บอ บอบาดาลสวนตัว 7,064 บอ บอน้ําตื้นสาธารณะ 1,419 บอ และบอน้ําตื้นสวนตัว 8,580 บอ ซ่ึงในหลายหมูบานท่ีไมมีประปา เพราะน้ําดิบไมเพียงพอและในบางหมูบานไมมีบอบาดาลสาธารณะเพราะไมสามารถขุดเจาะได จะตองจัดหาน้ําจากแหลงน้ําผิวดินหรือมีสถานีสูบน้ําดวยไฟฟามาเปนน้ําดิบหรือน้ําใชในครัวเรือน 3.7.2 แหลงน้ําเพ่ือการเกษตร มีแหลงน้ําท่ีสําคัญ คือ - โครงการชลประทานขนาดกลาง จํานวน 2 แหง คือ หวยลิงโจน และหวยสะแบก เก็บน้ําได 45.20 ลานลูกบาศกเมตร พ้ืนท่ีชลประทาน 27,216 ไร - โครงการชลประทานขนาดเล็ก จํานวน 189 แหง กระจายท่ัวท้ังจังหวัดเก็บน้ําได 15 ลานลูกบาศกเมตร พ้ืนท่ีชลประทาน 75,929 ไร

- โครงการสูบน้ําดวยไฟฟา มีสถานีสูบน้ําดวยไฟฟา 50 แหง โดยสูบน้ําจากแมน้ําชี ลําน้ํายัง ลําหวยโพง/เซบาย รวมเนื้อท่ีประมาณ 76,744 ไร - เม่ือรวมพ้ืนท่ีจากโครงการชลประทานจากแหลงน้ําตาง ๆ และพ้ืนท่ีชลประทานตามโครงการสูบน้ําดวยไฟฟาแลว จะมีพ้ืนท่ีชลประทาน 179,889 ไร คิดเปนรอยละ 11.08 ของพ้ืนท่ีการเกษตรท้ังหมด นับวานอยมาก - สระเก็บกักน้ําสาธารณะมีเกือบทุกหมูบาน สวนมากเก็บกักน้ําไมไดตลอดป เพราะไมไดปรับปรุง เนื่องจากขาดงบประมาณหรือขาดการรวมมือกันดูแลใหเก็บกักน้ําไดยาวนาน

Page 5: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-5-

- สระเก็บน้ําในไรนาของเกษตรกรท่ีเกษตรกรขุดเก็บกักน้ําไวในไรนา และหรือไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐ มีประมาณ 1,200 ราย - พ้ืนท่ีบางสวนในทุกป ประสบปญหาอุทกภัยและภัยแลงซํ้าซากซ่ึงไมสามารถควบคุมได เนื่องจากเกิดจากสภาพดิน สภาพภูมิประเทศและตองแกไขเปนระบบพ้ืนท่ีกลุมจังหวัดท่ีเกี่ยวของ

4. สถานการณดานเศรษฐกิจ 4.1 โครงสรางเศรษฐกิจ ขนาดเศรษฐกิจของจังหวัด ในป 2552 โครงสรางการผลิตตามมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) จังหวัดยโสธร จํานวน 16 สาขา มีมูลคา 23,061 ลานบาท มูลคาผลิตภัณฑเฉล่ียตอหัวตอป (Per Capita GPP) 37,504 บาท สวนระดับประเทศเฉล่ียตอหัวตอป 67,815 บาท ถือวาจังหวัดยโสธรมีรายไดต่ํามาก จัดเปนลําดับท่ี 13 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จาก 19 จังหวัด) และลําดับท่ี 70 ของประเทศ (รวม กทม./76 จังหวัด) โดยสาขาการผลิตท่ีทํารายไดมากท่ีสุด คือ สาขาการเกษตรกรรม มีมูลคา 5,648 ลานบาท (รอยละ 24.50) รองลงไปเปนสาขาการขายสงการขายปลีก การซอมแซมยานยนตของใชสวนบุคคลและของใชในครัวเรือน มีมูลคา 4,947 ลานบาท (รอยละ 21.45) สาขาการศึกษา 3,676 ลานบาท (รอยละ 15.94) สาขาการผลิตอุตสาหกรรม 2,458 ลานบาท (รอยละ 10.69) สาขาการบริหารราชการแผนดินและการปองกันประเทศ รวมท้ังการประกันสังคมภาคบังคับ 1,273 ลานบาท (รอยละ 5.52) และสาขาการบริการดานสุขภาพและงานสงเคราะห 1,158 ลานบาท (รอยละ 5.02) ตามลําดับ ตามขอมูล จปฐ. ป 2552 ประชากรมีรายไดเฉล่ีย 42,818 บาท / คน / ป มีครัวเรือนท่ีมีรายไดเฉล่ียต่ํากวา 23,000 บาท / คน / ป จํานวน 712 ครัวเรือน การประกอบอาชีพ มีประชากรวัยแรงงาน (15-60 ป) จํานวน 373,396 คน สวนใหญประมาณรอยละ 60 ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม รองลงไปเปนอาชีพภาคอุตสาหกรรม ภาคพาณิชยกรรม ภาคขนสงและภาคบริการตามลําดับ 4.2 ภาคการผลิตที่สําคัญของจังหวัด 4.2.1 ภาคการเกษตร - จังหวัดมีพ้ืนท่ีการเกษตรกรรม (เพาะปลูกและปศุสัตว / ประมง) 1,623,649 ไร 1) สาขาการผลิตพืช มีพืชเศรษฐกิจที่สําคัญที่เพาะปลูก ในป 2552 ไดแก 1.1) ขาวนาป ขาวท่ีปลูกเปนขาวเจาธรรมดาและขาวเจาหอมมะลิ มีพ้ืนท่ีปลูก 900,170 ไร ขาวเหนียว 425,915 ไร ผลผลิตขาวเจาเฉล่ีย 440 ก.ก. / ไร ขาวเหนียว 453 ก.ก. / ไร ซ่ึงยังอยูในอัตราคอนขางต่ํา มีการปลูกขาวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรียท่ีอําเภอเลิงนกทา อําเภอกุดชุม อําเภอมหาชนะชัย และอําเภอคอวัง ดําเนินการโดยสหกรณเลิงนกทา – ไทยเจริญ กลุมเกษตรกรทํานานาโส กลุมเกษตรกรทํานาบากเรือ และกลุมเกษตรกรรมธรรมชาตยิั่งยืน ซ่ึงจะสงไปจําหนายตางประเทศตามมาตรฐานท่ีผูส่ังซ้ือกําหนด 1.2) มันสําปะหลัง พ้ืนท่ีเพาะปลูก 68,046 ไร ผลผลิตเฉล่ีย 3,477 ก.ก./ไร 1.3) ยางพาราพันธุสงเสริม พ้ืนท่ีเพาะปลูก 44,800 ไร และมีแนวโนมปลูกเพ่ิมขึ้น

Page 6: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-6-

1.4) ออยโรงงาน พ้ืนท่ีเพาะปลูก 29,272 ไร 1.5) มะมวง พ้ืนท่ีเพาะปลูก 10,263 ไร 1.6) ถ่ัวลิสง พ้ืนท่ีเพาะปลูก 6,681 ไร 1.7) ขาวโพด พ้ืนท่ีเพาะปลูก 3,470 ไร 1.8) แตงโม พ้ืนท่ีเพาะปลูก 2,807 ไร 1.9) มะพราว พ้ืนท่ีเพาะปลูก 2,052 ไร 1.10) กลวยน้ําวา พ้ืนท่ีเพาะปลูก 2,048 ไร 1.11) พืชผักท่ีปลูก เชน พริกขี้หนู หอมแดง ผักบุงจีน คะนาประมาณ 7,131 ไร

ภาวะการณผลิตดานการเกษตรกรรมท่ีสําคัญของจังหวัดยโสธร ชวงระหวางป พ.ศ. 2548 – 2552

ตารางเครื่องช้ีภาวะการณเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญ

ปริมาณการผลิต 2548 2549 2550 2551 2552

ขาวเจานาป ปริมาณผลผลิต (ตัน) 328,379 333,678 324,726 208,451 396,074 พ้ืนท่ีเพาะปลูก (ไร) 851,018 879,765 801,653 813,792 900,170 ขาวเหนียวนาป ปริมาณผลผลิต (ตัน) 211,840 170,584 230,416 121,203 192,939 พ้ืนท่ีเพาะปลูก (ไร) 492,255 490,029 544,067 483,517 425,915 ขาวเจานาปรัง ปริมาณผลผลิต (ตัน) 7,873 12,670 14,400 20,445 19,119 พ้ืนท่ีเพาะปลูก (ไร) 12,436 19,253 20,571 25,029 25,425 มันสําปะหลัง ปริมาณผลผลิต (ตัน) 76,400 137,610 170,421 124,003 331,624 พ้ืนท่ีเพาะปลูก (ไร) 37,210 42,225 54,668 95,955 140,103 ออยโรงงาน ปริมาณผลผลิต (ตัน) 112,640 95,440 225,468 158,499 78,078 พ้ืนท่ีเพาะปลูก (ไร) 11,612 21,690 29,272 26,137 12,938 ยางพารา ปริมาณผลผลิต (ตัน) 1,456 2,289 3,330 3,874 2,431 พ้ืนท่ีเพาะปลูกท่ีใหผลิต 6,211 9,698 13,900 14,900 8,644 พ้ืนท่ีเพาะปลูกท่ียังไมใหผลผลิต 19,784 22,931 29,190 34,700 53,102 ที่มา : สํานักงานเกษตรจังหวัดยโสธร

Page 7: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-7-

ภาวะการผลิตดานพืชเศรษฐกจิที่สําคัญ ป 2548 – 2552

จังหวัดยโสธรเปนจังหวัดท่ีประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก ซ่ึงพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญ คือ ขาวเจาหอมมะลิ มันสําปะหลัง ออยโรงงาน ยางพารา แตงโม ขาวโพด ถ่ัวลิสง ฯลฯ การปลูกขาวเจานาปสวนใหญเปนขาวหอมมะลิ 105 โดยมีพ้ืนท่ีเพาะปลูกแตละปจะอยูในระหวางจํานวน 800,000 – 850,000 ไร สําหรับพ้ืนท่ีเก็บเกี่ยวจะมีปริมาณนอยกวาพ้ืนท่ีเพาะปลูก เนื่องจากการประสบปญหาภัยธรรมชาติ เชน ภัยแลง อุทกภัย อัตราการเปรียบเทียบระหวางพ้ืนท่ีเพาะปลูกป 2550 จะมีปริมาณผลผลิตมากกวาป 2551 เนื่องจากป 2551 ไดรับผลกระทบจากปญหาภัยธรรมชาติทําใหพ้ืนท่ีเก็บเกี่ยวลดลงประมาณเกือบ 2 แสนกวาไร ซ่ึงหากมีการวางแผนในการระวังหรือแจงเตือนภัยท่ีดีและมีการขยายทําระบบน้ําชลประทานก็จะมีผลใหผลิตเฉล่ียตอไรท่ีมากขึ้น ดานมันสําปะหลัง และออยโรงงาน พ้ืนท่ีเพาะปลูกในแตละปขึ้นอยูกับกระแสของราคาซ่ึงเปนแรงจูงใจใหเกษตรหันมาเพาะปลูกมากหรือนอยขึ้นอยูกับราคาเปนแรงจูงใจหากมีการวิเคราะหสถานการณในแตละปในเรื่องราคาและการจัดหาพันธุท่ีให ผลผลิตตอไรสูง ๆ และการดูแลรักษาปองกันโรคท่ีดีจะเปนการสนับสนุนใหเกษตรกรมีรายไดมากขึ้น ดานยางพารา ถือเปนพืชเศรษฐกิจท่ีมีความสําคัญชนิดหนึ่งท่ีกําลังขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูกเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ ในจังหวัดยโสธรถือไดวาเปนพ้ืนท่ีมีความเหมาะสมท่ีสามารถเพาะปลูกไดดีในพ้ืนท่ีจังหวัดยโสธร หากไดรับการสงเสรมิ และการใหคําแนะนําในดานวิชาการท่ีถูกวิธี ถือเปนพืชเศรษฐกิจท่ีควรสงเสริมเพราะเปนพืชท่ีมีอนาคตสามารถทํารายไดใหเกษตรกรเปนอยางงาม

Page 8: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-8-

(1) ขอมูลผลผลิต และจํานวนพ้ืนที่เพาะปลูกขาวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรีย พ้ืนที่จังหวัดยโสธร

ปริมาณการผลิตและจํานวนพ้ืนที่เพาะปลูก ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552

1. ขาวหอมมะลิปลอดภัย ( ท่ีผานการตรวจรับรองตามกระบวนการตรวจ GAP )

- ปริมาณผลผลิต (ตัน) 2,280 18,916 19,603 21,837 27,481 - พ้ืนท่ีเพาะปลูก (ไร) 5,304 42,993 44,553 48,527 61,070 2. ขาวหอมมะลิอินทรีย ( ท่ีผานการตรวจรับรองตามมาตรฐาน มกท. , มกอช. , BCS)

- ปริมาณผลผลิต (ตัน) 9,562 13,257 9,286 11,409 13,548 - พ้ืนท่ีเพาะปลูก (ไร) 27,752 34,885 22,057 33,150 35,654 (2) ขอมูลปริมาณการจําหนายและมูลคาการจําหนาย ขาวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรีย ของจังหวัดยโสธร

ปริมาณและมูลคาการจําหนายภายในและตางประเทศ

ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ตัน มูลคา(ลานบาท) ตัน มูลคา(ลานบาท) ตัน มูลคา(ลานบาท) ตัน มูลคา(ลานบาท) ตัน มูลคา(ลานบาท)

1. ขาวหอมมะลิปลอดภัย

- จําหนายภายในประเทศ 2,280 25 18,916 208 19,603 254 21,837 305 27,481 412 - จําหนายตางประเทศ - - - - - - - - - - 2. ขาวหอมมะลิอินทรีย - จําหนายภายในประเทศ 8,430 168 10,047 200 5,127 102 4,677 107 7,018 175 - จําหนายตางประเทศ 1,132 33 3,210 96 4,159 124 6,732 201 6,530 228 (3) ปลูกหอมแบงปลอดสารพิษ : พื้นท่ีเพาะปลูก ประมาณ 85 ไร ผลผลิต รวม 6 รุน ประมาณ 1,050 ตัน /ป ราคาจําหนายเฉลี่ย 80 บาท / ก.ก. มูลคาการจําหนายภายในประเทศ 84 ลานบาท / ป

Page 9: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-9-

ภาวะการณเพาะปลูกพืชปลอดภัย และขาวหอมมะลิอินทรีย และการจําหนาย ประชากรจังหวัดยโสธร สวนมากประกอบอาชีพการเกษตรโดยเฉพาะการทํานา และเพ่ือใหผลผลิตมีมูลคาเพ่ิมขึ้น สงผลใหเกษตรกรมีรายไดสูงขึ้น จังหวัดยโสธรจึงไดสงเสริมใหกลุมเกษตรกรไดปลูกพืชปลอดภยั ปลอดสารพิษ และอินทรีย และสงเสริมใหมีการจําหนายท้ังในประเทศและตางประเทศ ซ่ึงชนิดพืชท่ีสงเสริม ไดแก ขาวหอมมะลิ และหอมแบง โดยการปลูกขาวหอมมะลิ ใหเปนขาวหอมมะลิปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย ท้ังนี้ จังหวัดไดสงเสริมใหเกษตรกรไดรวมกลุมกันดําเนินการ เพ่ิมข้ึนตั้งแต ป 2547 โดยอาศัยฐานของกลุมเกษตรกรทํานา ท่ีทํากันอยูกอนแลวเปนแนวทาง เชน กลุมสหกรณเลิงนกทา – ไทยเจริญ กลุมเกษตรกรทํานานาโส กลุมเกษตรกรทํานาบากเรือ และกลุมเกษตรกรรมธรรมชาติยั่งยืน ซ่ึงสงผลผลิตขาวหอมมะลิอินทรียไปตางประเทศอยางตอเนื่อง และเม่ือพิจารณาสถิติขอมูลการผลิตและการจําหนายขาวหอมมะลิปลอดภยั และขาวหอมมะลิอินทรยีแลว มีจํานวนเพ่ิมขึ้นทุกปไดราคาสูง สําหรับขาวหอมมะลิอินทรียมีการสงไปจําหนายใหกับผูบริโภคท่ีกรุงเทพ สงเลมอนฟารม และรานทางเลือก ยังสงออกไปตางประเทศแถบทวีปยุโรปหลายประเทศ โดยสหกรณกรีนเน็ตเปนผูจัดการ จากสถิติขอมูลดังกลาว เห็นวา ในอนาคตของการปลูกขาวหอมมะลิปลอดภัย และ ขาวหอมมะลิอินทรียของจังหวัดยโสธร มีโอกาสขยายเพ่ิมขึ้น เพราะความนาเช่ือถือในคุณภาพของขาวท่ีดําเนินการมา และประชาชนทุกชาติตองการบริโภคอาหารท่ีปลอดภัย 2) สาขาการผลิตดานปศุสัตว มีสัตวที่เกษตรกรเลี้ยงเพ่ือจําหนาย ป 2552 ไดแก 2.1) โคพ้ืนเมือง โคพันธ โคลูกผสม จํานวน 166,525 ตัว จํานวนเกษตรกร 42,678 ราย 2.2) กระบือ จํานวน 25,840 ตัว จํานวนเกษตรกร 8,530 ราย ซ่ึงจํานวนกระบือดังกลาวในสังคมเกษตรกรรมถือวามีจํานวนนอยมาก 2.3) สุกร จํานวน 27,354 ตัว จํานวนเกษตรกร 2,565 ราย - การเล้ียงโค กระบือ และสุกร เม่ือเทียบกับจํานวนครัวเรือนเกษตรกรและพ้ืนท่ีเกษตรกรรมแลว ยังมีการเล้ียงกันนอย 2.4) ไก - ไกพ้ืนเมือง 976,321 ตัว จํานวนเกษตรกร 60,852 ราย - ไกเนื้อ 546,782 ตัว จํานวนเกษตรกร 331 ราย 2.5) เปด - เปดเทศ 50,126 ตัว จํานวนเกษตรกร 5,986 ราย - เปดเนื้อ / เปดไข 116,536 ตัว จํานวนเกษตรกร 12,889 ราย 2.6) แพะ จํานวน 341 ตัว จํานวนเกษตรกร 69 ราย

Page 10: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-10-

ตารางเคร่ืองชี้ภาวะการณผลิตหมดการเลี้ยงสัตว ปริมาณการผลิต

2548 2549 2550 2551 2552 โค

จํานวน (ตัว) 120,079 136,220 139,724 166,129 166,525 กระบือ

จํานวน (ตัว) 33,488 26,344 26,975 25,459 25,840 สุกร

จํานวน (ตัว) 32,278 20,989 36,532 28,882 27,354 ไกพ้ืนเมือง จํานวน (ตัว) 783,804 719,862 784,438 924,444 976,321

ไกเนื้อ จํานวน (ตัว) 164,693 90,848 605,245 220,526 546,782

ที่มา : สํานักงานปศุสัตวจังหวัดยโสธร

การเล้ียงปศุสัตว โดยภาพรวม ปริมาณการเล้ียงโคเนื้อมีจํานวนขยายตัวเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากความนิยมในการบริโภคของประชาชนในพ้ืนท่ีจังหวัดและใกลเคียง ซ่ึงการเล้ียงโคเนื้อสามารถพัฒนาการเล้ียงในลักษณะโคขุน เพ่ือเพ่ิมมูลคาทางดานรายได ในอนาคตการเล้ียงสุกรจะอยูในลักษณะของการเล้ียงเปนฟารมหรือบริษัทใหญ ๆ ซ่ึงปริมาณการเล้ียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ในแตละป ขึ้นอยูกับอุปสงคอุปทานของตลาด ดานการเล้ียงกระบือมีแนวโนมลดลงในแตละป เนื่องจากปจจัยหลาย ๆ อยาง เชน เกษตรกรไมนิยมใชเปนแรงงานไถนา ระยะการใหลูกนอย ประมาณ 3 ป / 1 ตัว สถานท่ีไมเหมาะสมเนื่องจากท่ีสําหรับเล้ียงกระบือจะตองมีน้ําหรือใกลกับแหลงน้ํา และมีพอคาจากภาคเหนือมาซ้ือไป จากการนิยมบริโภคของชาวเหนือ จึงเห็นควรรณรงคใหเกษตรกรหันกลับมาเล้ียงกระบือใหมากขึ้น เนื่องจากเปนสัตวท่ีมีประโยชนท้ังใชเปนแรงงาน มูลใชเปนปุยคอก สามารถลดตนทุนในการผลิตดานการเกษตรกรรม 3) สาขาการประมง 3.1) จับปลาจากแหลงน้ําธรรมชาติตอป ป 2548 จับได 9,705 ตัน , ป 2549 จับได 8,621 ตัน , ป 2550 จับได 8,507 ตัน , ป 2551 จับได 3,836 ตัน และป 2552 จับได 4,726 ตัน ปลาท่ีจับไดมาก ไดแก ปลาชอน ปลาดุก ปลาหมอ ปลาตะเพียน ปลานิล ปลาไน ตามลําดับเม่ือเทียบกับจํานวนแหลงน้ําแลว ยังจับไดนอย เปนขอสังเกตไดวา มีแนวโนมจับปลานอยลง 3.2) การเพาะเล้ียงปลา จับปลาไดตอป จํานวน 701 ตัน ปลาท่ีเล้ียงมาก ไดแก ปลาตะเพียน ปลานิล ปลาดุก ปลาไน ปลานวลจันทรเทศ ตามลําดับ ในดานขอมูลกลุมเกษตรกร / สหกรณ ในป 2552 มีกลุมเกษตรกร 68 กลุม สมาชิก 13,233 ราย สหกรณตาง ๆ 74 สหกรณ สมาชิก 96,708 ราย

Page 11: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-11-

4.2.2 ภาคอุตสาหกรรม มีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม 235 โรงงาน เงินลงทุน 1,954,342,011 บาท จํานวนคนงาน 3,737 คน สวนมากเปนอุตสาหกรรมการเกษตร , เครื่องจักรกล อโลหะ , ขนสง , ไมและผลิตภัณฑจากไม , พลาสติก , โลหะ , อาหาร , เฟอรนิเจอร ตามลําดับ สําหรับผลิตภัณฑชุมชนมีการผลิตหมอนขวานผาขิด การแกะสลัก จักสานไมไผ ทอผาไหม ทอพรม โดยเฉพาะหมอนขวานผาขิดท่ีบานศรีฐาน อําเภอปาติ้ว สงไปจําหนายในเมืองใหญ และตางประเทศ สรางรายไดใหกับผูผลิตสินคาจํานวนมาก 4.2.3 การคาและบริการ และการทองเที่ยว 1) ดานการคา - การจดทะเบียนประกอบธุรกิจ มีผูจดทะเบียนพาณิชย 366 ราย และนิติบุคล 618 ราย การคาของจังหวัดยโสธรโดยเฉพาะการคาขาว มีหนาแนนท่ีชุมชนเทศบาลเมืองยโสธร เทศบาลตําบลกุดชุมพัฒนา เทศบาลตําบลเลิงนกทา เทศบาลตําบลคําเขื่อนแกว สินคาท่ีมีช่ือเสียง ไดแก ขาวหอมมะลิ หมอนขวานผาขิด แตงโม โดยในป 2551 จังหวัดสามารถจําหนายผลิตภัณฑชุมชนได 555,411,377 ลานบาท 2) ดานการบริการ 2.1) ดานการเงิน มีธนาคารพาณิชย 11 แหง ป 2551 เงินฝากกระแสรายวัน ฝากประจํา ฝากออมทรัพย 6,933 ลานบาท เงินใหสินเช่ือ 8,140 ลานบาท 2.2) ดานสาธารณูปโภค มีบริการไฟฟาและประปาท่ีดี ไปรษณียภัณฑขนสงทางบก แตไมมีสนามบินและรถไฟ 2.3) ดานท่ีพักโรงแรม มีโรงแรม 40 แหง จํานวน 812 หองพัก 3) ดานการทองเท่ียว 3.1) แหลงทองเท่ียว จังหวัดยโสธรมีแหลงทองเท่ียวธรรมชาติอยูทางตอนเหนือและตอนกลางของจังหวัด เชน หวยลิงโจน อางเก็บน้ํากกกุง น้ําตกนางนอน ภูถํ้าพระ ภูทางเกวียน ภูหินปูน ลําน้ําทวนและสวนสาธารณะพญาแถนในเขตเทศบาลเมืองยโสธร หวยกะหลาว ฝายยโสธร สําหรับผลิตภัณฑชุมชนท่ีมีช่ือเสียง สวนมากอยูทางตอนกลางของจังหวัด เชน หมอนขวานผาขิด จักสานไมไผ การแกะสลัก ทอผาไหม ทอพรม และแหลงทองเท่ียววัฒนธรรมอยูทางตอนกลางและตอนใตของจังหวดั เชน พระธาตุยโสธรหรือพระธาตพุระอานนท ธาตุกองขาวนอย หอพระไตรวัดสระไตรนุรักษ ดงเมืองเตย พระธาตุกูจาน วัดพระพุทธบาท แตแหลงทองเท่ียวตางๆ เหลานีมี้จุดออน คือ แตละแหลงอยูหางไกลกัน มีขนาดเล็กและไมเดนพอท่ีจะดึงดูดนักทองเท่ียวมาแวะเท่ียวชม ซ่ึงจะตองมีการปรับปรุงภูมิทัศนโครงสรางพ้ืนฐาน ถนน สรางจุดขาย และประชาสัมพันธทางส่ือตาง ๆ โดยเฉพาะใหบริษัทนําเท่ียวสงผูแทนมาเท่ียวชม

Page 12: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-12-

แหลงทองเที่ยวที่พอจะเปนจุดเดนของจังหวัด และคุณลักษณเดนที่สามารถสงเสริมเปน แหลงทองเที่ยวไดดี

ลําดับที่ ชื่อแหลงทองเที่ยว ประเภท อําเภอ คุณลักษณะของแหลงทองเที่ยว

1 ธาตุกองขาวนอย วัฒนธรรม เมืองยโสธร เปนโบราณสถาน พระธาตุเกาแกท่ีเปนตํานานคติธรรมสอนใจมนุษย

2 พระธาตุบานตาดทอง วัฒนธรรม เมืองยโสธร เปนพระธาตุท่ีสรางขึ้นในสมัยโบราณเพ่ือบรรจุวัตถุมงคลและของมีคาใหเปนท่ีเคารพสักการะของชุมชนโบราณ

3 หนองอ่ึง ธรรมชาต ิ เมืองยโสธร บริเวณหนองอ่ึง มีนกเปดน้ําอาศัยเปนจํานวนมาก สันนิษฐานวาอพยพมาจากเมืองจีน

4 กุดกะเหลิบ ธรรมชาต ิ เมืองยโสธร เปนหนองน้ําขนาดใหญอยูในเขตพ้ืนท่ีตําบลหนองหินและตําบลหนองเปด มีเนื้อท่ีประมาณ 1,500 ไร มีน้ําตลอดปพรอมทัศนียภาพท่ีสวยงามและความอุดมสมบูรณของส่ิงท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาต ิ

5 สวนปาดงมะไฟ ธรรมชาต ิ เมืองยโสธร สภาพท่ัวไปเปนพ้ืนท่ีราบลักษณะดินปนทราย มีพ้ืนท่ีปาอยูในเขตดงมะไฟและเขตปาสงวนจํานวน 3,061 ไร เปนแหลง

สมุนไพรแหลงอาหารตามธรรมชาติท่ีออกตามฤดูกาลหลายชนิด โดยสภาพเหมาะแกการเดินปาศึกษาระบบนิเวศ พักแรม สองนกและพันธุไมตาง ๆ

6 งานประเพณีบุญบ้ังไฟ วัฒนธรรม เมืองยโสธร เปนประเพณีท่ีสืบทอดกันมา ปจจุบันจัด 3 วัน โดยเริ่มจากวันศุกรเปนวนัเอบ้ังไฟ วันเสารเปนวันแหบ้ังไฟและวันอาทิตยเปนวันจุดบ้ังไฟ

7 วัดมหาธาต ุ วัฒนธรรม เมืองยโสธร มีพระพุทธบุษยรัตน หรือ พระแกวหยดน้ําคาง ทําจากแกวผลึกสีขาวใสสวนฐานบัลลังกหุมดวยทองคํา เปนพระพุทธรูปปางสมาธิ ศิลปะสมัยเชียงแสน ขนาดหนาตักกวาง 1.9 นิ้ว สูง 3.5 นิ้ว

Page 13: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-13-

ลําดับที่ ชื่อแหลงทองเที่ยว ประเภท อําเภอ คุณลักษณะของแหลงทองเที่ยว

8 พระธาตุอานนท วัฒนธรรม เมืองยโสธร เปนพระธาตุใชบรรจุอัฐิธาตุของพระอานนทสาวกเจดียมีลักษณะเปนทรงส่ีเหล่ียมสวนยอดคลายพระธาตุพนม ฐานรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส ยาวดานละ 8 เมตรสูง 25.30 เมตร มีลักษณะพิเศษแตกตางจากพระธาตุองคอ่ืน คือ มีกระเปาะยื่นออกมาท้ังส่ีดาน เบ้ืองบนสุดเปนยอดฉัตร นอกจากนี้องคท่ีอยูขางพระธาตุอานนทเปนธาตุบรรจุอัฐิของพระวิชัยราชขัติวงศา (อดีตเจาเมืองสิงหทา)

9 หอไตร วัฒนธรรม เมืองยโสธร เปนอาคารไม แนวผังเปนร ูปสี่เหลื่อมผืนผา มีทางเดินโดยรอบติดกันใตชายคา เปนท่ีเก็บรักษาคัมภีรโบราณ ตูพระธรรม หีบพระธรรม เสลียงช้ันวางคัมภีรท่ีนํามาจากเวียงจันทร มีซุมประตูและภาพท่ีประตูไมสลักลวดลายเครือเถาลงลักปดทองอยางสวยงาม มีลวดลายการตกแตงฝาผนังเปนลักษณะผสมแบบภาคกลางสันนิษฐานวาสรางขึ้นประมาณรัชกาลท่ี 4 – 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร

10 วัดสิงหทา วัฒนธรรม เมืองยโสธร วัดสิงหทาเปนโบราณสถานและรองรอยทางประวัติศาสตรภายในมีพระพุทธรูปปางมารวิชัยกออิฐฉาบปูนลงรักปดทองขนาดหนาตักกวาง 3 เมตร

11

ยานเมืองเกาสิงหทา วัฒนธรรม เมืองยโสธร สรางขึ้นเม่ือสมัยท่ีชาวจีนเขามาคาขายในยโสธรรุนแรก ๆ มีลักษณะเปนตึกอิฐ ดินเหนียว มีรูปแบบศิลปกรรมแบบจีนผสมยุโรปมีบานประตูและหนาตางเปนไมเนื้อแข็ง เขตดังกลาวเปนเขตธุรกิจเมืองเกา ซ่ึงปจจุบันยังเหลืออยูไมมากนัก

Page 14: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-14-

ลําดับที่ ชื่อแหลงทองเที่ยว ประเภท อําเภอ คุณลักษณะของแหลงทองเที่ยว

12 รอยพระพุทธบาทจําลอง วัฒนธรรม เมืองยโสธร รอยพระพุทธบาทถูกสรางขึ้นจากหินทรายสีแดงกวางประมาณ 8 เซนติเมตร ยาว 3 เมตร ตรงตัวรอยขุดเจาะหินเปนรอยเทาสวนขอบรอยมีลายแกะสลัก ลักษณะหินเปนลวดคลายกานขด ฐานดานลางเปนรอยกลีบบัวซอนเหล่ือมกัน

13 กลุมอาชีพบานนาสะไมย ผลิตภัณฑทองถ่ิน (OTOP)

เมืองยโสธร แกะสลักไมเนื้อแข็ง สังฆภัณฑทองเหลือง

14 วัดภูถํ้าพระ ธรรมชาต ิ เลิงนกทา เปนถํ้าพระ มีพระพุทธรูปปางไสยาสนขนาดใหญ นอกนั้นเปน พระพุทธรูปเกาตามขอบกําแพงเปนจํานวนมาก ตอจากถํ้าพระเปนทางเช่ือมเดินลักษณะโขดหินนอยใหญสลับกัน และมีหอระฆังเพ่ือชมทัศนียภาพดานลาง ตอจากนั้นจะเปนกําแพงหินขนาดใหญสองขางและมีทางเดินตรงกลาง เรียกวา ถํ้าลอด

15 สวนหินงามดงดอกกระเจียว ธรรมชาต ิ เลิงนกทา เปนท่ีสูงมีโขดหินนอยใหญ รูปรางแตกตางกัน เรียงรายอยูในบริเวณกวาง สลับดวยปาไผและปายางและดงดอก

กระเจียวท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเปนจํานวนมากในบริเวณดังกลาวซ่ึงมีสีขาวและชมพูสลับกันออกดอกมากในชวงตนฤดูฝน

16 อางเก็บน้ําหวยลิงโจน ธรรมชาต ิ เลิงนกทา เปนโครงการชลประทานขนาดกลางประเภทอางเก็บน้ํา มีระบบน้ําไปชวยเหลือการเพาะปลูกและเปนแหลงเพาะขยายพันธุปลาท่ีใหญแหงหนึ่งของอําเภอเลิงนกทา และเปนแหลงพักผอนหยอนใจของชาวบาน

Page 15: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-15-

ลําดับที่ ชื่อแหลงทองเที่ยว ประเภท อําเภอ คุณลักษณะของแหลงทองเที่ยว

17 น้ําตกหินขัว ธรรมชาต ิ เลิงนกทา เปนคลายสะพานหิน (ชาวบานเรียกขัว) มีน้ําตกไหลลอดผานสะพานหิน

18 ภูหินปูน ธรรมชาต ิ กุดชุม มีโขดหินรูปรางแปลก ๆ จํานวนมากตั้งตระหงานอยูเหนือบริเวณลานหินกวาง ดานหนาของวัดโขดหินท่ีพบมีรูปรางท่ีสามารถจินตนาการเปนรูปสัตวตาง ๆ เชน รูปเตา รูปไดโนเสาร รูปจระเข และมีรอยคลายรอยไดโนเสารบนโขดหินและลาน หินเปนจํานวนมาก เดินขึ้นอีกจากลานหินหนาวัดประมาณ 700 ม. เปนท่ีตั้งของลานพุทธธรรมและลานไทร ตลอดจนโขดหินขนาดใหญท่ียื่นออกไปกลางบานผาท่ีมีความสูงชันเทากับยอดไม เหมาะสําหรับชมทัศนียภาพเบ้ืองลาง

19 ภูทางเกวียน ธรรมชาต ิ กุดชุม มีลักษณะเปนภูเขาขนาดเล็กท่ีสูงชันอยูทางทิศตะวันออกของภูหินปูนติดกับอางเก็บน้ํา “อางกกกุง” และ “ผาอีดาง” เปนจุดชมวิวพระอาทิตยตกดิน ดานบนเปนวัดภูทางเกวียนมีบอน้ําหินท่ีมีน้ําตลอดท้ังป และยังเปนเขตอนุรักษพันธุสัตวปานานาชนิด

20 ภูหมากพริก ธรรมชาต ิ กุดชุม เปนเขตดูแลพันธุสัตวปา นก เปนท่ีอาศัยของหมูปาและสัตวประเภทแกง เหมาะสําหรับการทองเท่ียวแบบผจญภัยและเดินปา ซ่ึงบนเขามีลักษณะเปนปาเขตรอนมีความชุมช้ืนตลอดปเพราะมีน้ําซับบนภู เขาไหลซึมตลอดท้ังป เปนแหลงกําเนิดสมุนไพรสายพันธุตาง ๆ

21 ภูถํ้าพระ ธรรมชาต ิ กุดชุม เปนจุดเช่ือมของภูหินปูนกับน้ําตกนางนอน อางเก็บน้ําหลุบหนองนอและถํ้าจันได สภาพท่ัวไปเปนจุดต่ําสุดของภูหินปูนอยูดานทิศใตสุด

Page 16: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-16-

ลําดับที่ ชื่อแหลงทองเที่ยว ประเภท อําเภอ คุณลักษณะของแหลงทองเที่ยว

22 ปาตนน้ําภูหินปูน ธรรมชาต ิ กุดชุม ตั้งอยูบริเวณทิศตะวันตกของภูถํ้าพระ เปนตนกําเนิดของน้ําตกนางนอนระหวางทางเดินมีดอกไมปาและพันธุไมปานานาชนิดใหศึกษา

23 น้ําตกนางนอน ธรรมชาต ิ กุดชุม น้ําตกนางนอนถูกคนพบกลางปาตนน้ําภูหินปูน เสนทางการเดิน เปนปาและลานหินกวางสลับกัน ระยะแรกจะเปนปาท่ีสมบูรณตอจากนั้นเปนลานหินกวาง มีธารน้ําไหลผานตลอดระยะทางมีพันธุไม พันธุหญาท่ีแปลกตาและชวนใหคนหาอยูเปนระยะ น้ําตกมีความสูง 5 เมตร เปนน้ําตก 3 ช้ัน มีธารน้ําใสไหลเย็น เหมาะสําหรับการมาพักผอน เลนน้ํา

24 ภูถํ้าสิม ธรรมชาต ิ กุดชุม มีลักษณะเปนถํ้า และมีสํานักสงฆ อยูภายในบริเวณ มีโขดหินขนาดใหญ สลับกันมีทางเดินลงเพ่ือเช่ือมตอไปยังรองลําธารน้ําขนาดใหญคอนขาง ยาวทอดตัวไปตามแนวปาของภูถํ้าสิม และเม่ือเดินทวนรองน้ําขึ้นไปดานเหนือสุดของตนน้ําจะพบดอกกระเจียว ปาหญา และดอกไมปานานาชนิด

25 ภูหินปูน ธรรมชาต ิ กุดชุม มีโขดหินรูปรางแปลก ๆ เหนือบริเวณหินกวางดานหนาของวัด โขดหินท่ีพบมีรูปรางท่ีสามารถจินตนาการเปนรูปสัตวตาง ๆ เดินขึ้นอีก 700 เมตร เปนท่ีตั้งของลานพุทธธรรม ตลอดจนโขดหินขนาดใหญท่ียื่นออกไปกลางหนาผาท่ีมีความสูงชันเทากับยอดไม เหมาะสําหรับชมทัศนียภาพเบ้ืองลาง

26 กลุมเกษตรกรทํานาตําบลนาโส ผลิตภัณฑทองถ่ิน (OTOP)

กุดชุม ขาวสารปลอดสารพิษ

Page 17: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-17-

ลําดับที่ ชื่อแหลงทองเที่ยว ประเภท อําเภอ คุณลักษณะของแหลงทองเที่ยว

27 กลุมอาชีพปลูกหอมปลอดสารพิษ

ผลิตภัณฑทองถ่ิน(OTOP)

กุดชุม หอมปลอดสารพิษ

28 กลุมสตรีทําขาวเกรียบปลอดสารพิษ

ผลิตภัณฑทองถ่ิน(OTOP)

กุดชุม ขาวเกรียบปลอดสารพิษ

29 กลุมอาชีพเล้ียงโคขุนบานคําน้ําสราง

เกษตร กุดชุม โคขุน

30 โบสถไมคาทอลิก วัฒนธรรม ไทยเจริญ โบสถไมขนาดใหญยาว 57 เมตร กวาง 16 เมตร ถือวาเปนโบสถไมท่ีมีขนาดใหญท่ีสุดในประเทศสรางขึ้นจากความเช่ือและความศรัทธาจากชาวบานซงแย

31 วัดเทวัญภูกอย วัฒนธรรม ไทยเจริญ มีลานหินสวยงามนามวาลานล่ันทมสงบเงียบ ชมหมูปลาในสระใหญใหอาหารปลา นมัสการรอยพระบาทจําลอง ตฆีองรอยใบ ดื่มน้ําใสสะอาดท่ีบอทิพย

32 กลุมผลิตขาวกลอง ผลิตภัณฑทองถ่ิน (OTOP)

ไทยเจริญ ขาวกลอง

33 ลองแพลําเซบาย ธรรมชาต ิ ปาติ้ว จุดเริ่มของการลองแพอยูท่ี “สวนไมงาม” ซ่ึงเปนท่ีพักประเภทรีสอรทชมธรรมชาติและรานอาหาร แพท่ีใชสําหรับลองเซบายเปนแพขนาดนั่งไมเกิน 50 คนมีจุดหมายปลายทางอยูท่ีวัดภูขี้ครั่ง ซ่ึงเปนวัดท่ีมีความเกาแกและมีพระพุทธรูปเกาแกท่ีทําจากครั่งไม

34 กลุมหัตถกรรมทําหมอนขิดบานศรีฐาน

ผลิตภัณฑทองถ่ิน (OTOP)

ปาติ้ว หมอนขิด หมอนขวาน เบาะรองนั่ง หมอนหนุน

Page 18: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-18-

ลําดับที่ ชื่อแหลงทองเที่ยว ประเภท อําเภอ คุณลักษณะของแหลงทองเที่ยว

35 วัดพระพุทธบาทยโสธร วัฒนธรรม มหาชนะชัย ภายในวัดมีรอยพระพุทธบาทจําลองประดิษฐานอยูบนเนินทรายและยังมีเจดียขนาดใหญพรอมดวยพระพุทธรูปหยกขาวท่ีสวยงาม ใหบุคคลท่ีศรัทธาเขากราบไหว

36 ประเพณีแหมาลัย วัฒนธรรม มหาชนะชัย จัดขึ้นในวันขึ้น 14 ค่ํา เดือน 3 ของทุกปเพ่ือเปนการบูชาพระพุทธเจา โดยใชขาวตอกมารอยเปนมาลัยแลวแหไปถวายพระซ่ึงถือวาแทนดอกมณฑารพท่ีเช่ือกันวาเปนดอกไมสวรรคท่ีหลนมายังโลกมนุษยเม่ือพระพุทธเจาประสูติ ตรัสรู และจาตุรงคสันติบาตร

37 กลุมสตรีทอผาไหม บานหัวเมือง

ผลิตภัณฑทองถ่ิน (OTOP)

มหาชนะชัย เปนแหลงผลิตผลิตภัณฑหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑในระดับ 4 ดาว เปนองคกรท่ีรวมกลุมกันจากคนในชุมชน ปจจุบัน 150 คน ซ่ึงผลิตภัณฑ ไดแก ผาไหมมัดหม่ี ผาไหมพ้ืนเรียบ ผาฝาย ผาขาวมา ผาอเนกประสงค ผาหม และผาพ้ืนเมืองตาง ๆ เส้ือสูตร ชาย หญิง

38 เมืองโบราณดงเมืองเตย วัฒนธรรม คําเขื่อนแกว ซากดงเมืองเตย มีลักษณะเปนซากกําแพงเมือง มีสระน้ํา เปนชุมชนโบราณสมัยทาราวดีท่ีไดรับอิทธิพลของ อารยธรรมในสมัยเจนละ

39 พระธาตุโพนทันบานกูจาน วัฒนธรรม คําเขื่อนแกว เปนพระธาตุเกาแกอายุมากกวา 500 ป เปนท่ีเคารพนับถือของประชาชนในพ้ืนท่ี และพ้ืนท่ีใกลเคียงเชน ในดอนปูตาพบใบเสมาสลักดวยหินทรายแดงมีรูปดานบนคลายดอกบัว ประมาณ 10 ใบ และยังพบศาสนาสถาน

Page 19: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-19-

ลําดับที่ ชื่อแหลงทองเที่ยว ประเภท อําเภอ คุณลักษณะของแหลงทองเที่ยว

40 หอไตร วัฒนธรรม ทรายมูล เปนหอไตรกลางน้ํา มีลักษณะสถาปตยกรรมแบบพมา ตัวอาคารกอสรางดวยไม หันหนาไปทางทิศตะวันออก ขนาดกวาง 8.30 เมตร ยาว 10.50 เมตร หลังคามุงดวยไมซอนลดหล่ันกัน 4 ช้ัน มีชายคายื่นออกมาท้ัง 4 ดาน บานประตูแกะสลักลวดลายสวยงาม ตรงกลางเปนหองทึบเปนท่ีเก็บพระไตรปฎกมีทางเดินรอบนอก

3.2) งานประเพณีท่ีเปนเอกลักษณการทองเท่ียว คือ งานประเพณีบ้ังไฟ งานแหมาลัย

3.3) จํานวนผูมาเยี่ยมเยือนและรายไดจากการทองเท่ียว สรุปสถิตินักทองเที่ยวในจังหวัดยโสธร

รายการ ปงบประมาณ 2548 2549 2550

จํานวนผูเยี่ยมเยือน 235,124 236,858 239,797 - คนไทย 232,268 233,948 236,727 - ตางประเทศ 2,856 2,910 3,071 รายไดจากการทองเที่ยว (ลานบาท) 154.04 170.41 181.05 - คนไทย 152.17 168.31 178.73 - ตางประเทศ 1.87 2.09 2.31 คาใชจายเฉลี่ยตอคนตอวัน (บาท) 655.17 719.47 755.04 - คนไทย 644.21 709.34 742.93 - ตางประเทศ 1,143.33 1,172.61 1,237.16

ในป 2552 จังหวัดยโสธรมีรายไดจากการทองเท่ียว 182.34 ลานบาท (ท่ีมา : สํานักงานพัฒนาการทองเท่ียว) สรุปสถานการณในดานเศรษฐกิจและโครงสรางพ้ืนฐาน จุดแข็ง ผลิตขาวหอมมะลิจํานวนมาก ผลิตภัณฑชุมชนหลากหลาย มีแหลงน้ําเพ่ือการเกษตร เครือขายถนนเพียงพอ มีแหลงทองเท่ียวตาง ๆ สวนจุดออน ขาดน้ําเพ่ือการเกษตรและมีพ้ืนท่ีชลประทานนอย ผลผลิตต่ํา ราคาของผลผลิตไมแนนอน ปศุสัตว ประมงยังมีนอย ถนนชํารุดหลายสาย พ้ืนท่ีบางแหงประสบปญหาอุทกภัย/ ภัยแลงซํ้าซาก แหลงทองเท่ียวมีขนาดเล็กแตละแหลงตั้งอยูไกลกันและไมโดดเดน ตองสรางจุดขายฯ

Page 20: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-20-

5. สถานการณดานสังคมและคุณภาพชีวิต 5.1 การศึกษา จังหวัดยโสธร จัดการศึกษาท้ัง 2 รูปแบบ คือ การศึกษาในโรงเรียนและนอกโรงเรียน จําแนกดังนี ้ 1) การศึกษาในโรงเรียนจัดเปน 2 เขต เปนระดับสามัญ 435 โรงเรียน ในระดับอาชีวศึกษา 7 แหง มีวิทยาลัยชุมชน 1 แหง มหาวิทยาลัยสาขา 1 แหง โดยในระดับอาชีวะสามารถขยายสอนวิชาชีพในระดับปริญญาตรีไดหลายสาขา สําหรับในระดับประถม มัธยม มีนักเรียน ท้ังหมด 86,857 คน คร-ูอาจารย 5,299 คน เทียบอัตรา ครู : นักเรียนเฉล่ีย 1 : 16.39 อัตราหองเรียนตอนักเรียน 1 : 20 ซ่ึงอยูในเกณฑมาตรฐานสากล อัตราการเรียนตอช้ัน ม. 1 รอยละ 99.99 และอัตราเรียนตอช้ัน ม.4/ปวช. 1 รอยละ 93.03 สวนคุณภาพการศึกษาปการศึกษา 2550 มีหลายกลุมสาระการเรียนรูท่ีอยูในระดับท่ีต่ํากวามาตรฐานระดับประเทศ เนื่องจากมีปญหา/ขอจํากัดตางๆ ท้ังฝายบุคลากรภาครัฐ อุปกรณการเรียน สถานท่ีอาคารเรียนทรุดโทรม กระแสสังคมวัฒนธรรมใหเด็กขาดความสนใจการเรียน และฐานะเศรษฐกิจของฝายผูปกครอง ซ่ึงจะตองมีการจัดทํายุทธศาสตรดานการศึกษาอยางชัดเจน 2) การศึกษานอกโรงเรียน มีศูนยการศึกษา ฯ อยูทุกอําเภอ จัดหลักสูตรการเรียนการสอนเปนระดับพ้ืนฐาน , พัฒนาอาชีพ จํานวน 16,642 คน จากการสํารวจกลุมวัยแรงงาน พบวา ไมเรียนตอในระดับสูงขึ้น 18,855 คน 5.2 ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปญญาชาวบาน 1) วัด มีวัด 579 วัด สํานักสงฆ 215 แหง พระสงฆ 2,779 รูป มีผูนับถือศาสนาพุทธ รอยละ99 2) โบสถคริสต 28 แหง มัสยิด 1 แหง 3) วัฒนธรรมประเพณีแบบชาวอีสาน โดยมีงานประเพณีบ้ังไฟเปนเอกลักษณของจังหวัดยโสธร เปนงานระดับนานาชาติ ในเขตเทศบาลเมืองยโสธร จัดในวันเสาร-อาทิตย สัปดาหท่ี 2 ของเดือนพฤษภาคมทุกป งานแหมาลัยจัดในชวงวันมาฆะบูชาของทุกป 4) จังหวัดมีปราชญชาวบานและมีภูมิปญญาชาวบานหลากหลาย ท้ังดานเศรษฐกิจ (กลุมทํานาขาวอินทรีย) สังคม วัฒนธรรมประเพณี สามารถชวยถายทอดการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมรายไดและคุณภาพชีวิตท่ีดีไดเปนอยางมาก 5.3 การสาธารณสุข จังหวัดยโสธร มีโรงพยาบาล 10 แหง จําแนกเปนโรงพยาบาลระดับจังหวัด 1 แหง โรงพยาบาลชุมชนระดับอําเภอ 8 แหง รวมมีเตียง 650 เตียง และมีโรงพยาบาลเอกชน 1 แหง มีสถานีอนามัย 112 แหง คลินิกทุกประเภท 65 แหง บุคลากรมีแพทย 78 คน ทันตแพทย 22 คน เภสัชกร 45 คน พยาบาลวิชาชีพ 571 คน เจาหนาท่ีสาธารณสุข 543 คน และเจาหนาท่ีอ่ืน ๆ 85 คน รวม 1,468 คน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) 10,449 คน เทียบอัตราแพทย : ประชากร เฉล่ีย 1 : 6,914 , ทันตแพทย : ประชากร เฉล่ีย 1 : 24,513 , เภสัชกร : ประชากร เฉล่ีย 1 : 11,984 , พยาบาลวิชาชีพ : ประชากร เฉล่ีย 1 : 944 ป 2550 มีผูปวยนอกในสาเหตุปวย

Page 21: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-21-

21 โรค 1,622,520 ครั้ง ผูปวยในสาเหตุปวย 75 โรค 93,770 คน โรคท่ีเปนสาเหตุการตายมากไปหานอยตามลําดับ ไดแก มะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจ อุบัติเหตุและการเปนพิษ โรคเลือด วัณโรค ไตอักเสบ/ไตพิการ เบาหวาน และมีโรคสําคัญในพ้ืนท่ี เชน โรคไขหวัดนกในคน โรคไขเลือดออก ผูติดเช้ือ HIV / ผูปวยเอดส สาเหตุการเปนโรคภัยจํานวนมากสวนหนึ่งมาจากประชาชนสวนใหญยังมีพฤติกรรมสุขภาพไมดี รวมท้ังชวงป 2552 มีการแพรระบาดของไขหวัดใหญสายพันธุใหมจากตางประเทศเขามาและเม่ือเทียบจํานวนบุคลากรกับจํานวนประชากรและจํานวนผูปวยแลว เห็นวา บุคลากรทางสาธารณสุขโดยเฉพาะแพทยดานตาง ๆ มีนอยมาก แนวทางจะตองลดจํานวนผูปวยโดยการรณรงคใหความรูในการรักษาสุขภาพ ปองกันโรคภัยตางๆ จะตองมีการเนนทางการเรียนการสอนในระดับมัธยมใหนักเรียนทุกคนไดตระหนักและเห็นความสําคัญของโรคภัย และนําไปขยายผลตอผูปกครองและญาต ิ 5.4 การปองกันและปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพติด จังหวัดยโสธรมีการปองกันการเกิดอาชญากรรมและการจําหนาย / เสพยาเสพติดอยางเขมงวด แตก็มีเกิดขึ้นตามภาวะสังคมแตมีไมมาก อยูในอัตราท่ีควบคุมไดโดยในการจับกุมผูกระทําผิดคดีอาญาสําคัญ จังหวัดยโสธรโดยตํารวจภูธรจังหวัดสามารถจับกุมไดสูงกวาเกณฑมาตรฐานท่ีสํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด เชน กลุมท่ี 1 คดีอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญ มีเกณฑตองจับกุมไดไมต่ํากวารอยละ 45 ในป 2551 จับไดรอยละ 85.71 กลุมท่ี 2 คดีชีวิต รางกายและเพศ มีเกณฑรอยละ 60 แตจับกุมไดรอยละ 84.97 ดังตารางการจับกุม ดังนี ้

กลุมที่ กลุมประเภทความผิด

เกณฑจับไดไมต่ํากวารอยละ

ป 2549 ป 2550 ป 2551 เกิด จับ เกิด จับ เกิด จับ

1. คดีอุฉกรรจและสะเทือนขวัญ 45 6 6 9 8 7 6 2. คดีชีวิต รางกายและเพศ 60 172 155 233 197 173 147 3. คดีประทุษรายตอทรัพย 58 182 153 194 150 165 108 4. คดีท่ีนาสนใจ - 66 39 130 61 98 66 5. คดีท่ีรัฐเปนผูเสียหาย - 2,222 4,422 1,770 3,707 1,341 2,588

ขาราชการตํารวจ มีจํานวน 1,017 คน เทียบอัตราตํารวจ : ประชากร เฉล่ีย 1 : 525.60 อยูในอัตราต่ํา ซ่ึงทุกภาคสวนจะตองชวยกัน ฝายปกครองจะตองสนับสนุนการปองกัน จะตองรณรงคประชาสัมพันธใหประชาชนระมัดระวังการเกิดอาชญากรรม / การแพรระบาดยาเสพติด 5.5 แรงงาน จังหวัดยโสธรมีประชากรวัยแรงงาน (15-60 ป) จํานวน 373,396 คน อยูในภาคเกษตร อยูในภาคเกษตร รอยละ 60 และอยูในภาคเปนผูรับจางรอยละ 21 ในแตละปมีการอพยพแรงงานหลัง

Page 22: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-22-

ฤดูการเก็บเกี่ยว ประมาณ 100,000 คนเศษ ซ่ึงถือวามีจํานวนมาก เพ่ือไปรับจางในเมืองใหญ แตในปลายป 2551 ถึงตนป 2552 เกิดภาวะวิกฤติเศรษฐกิจท่ัวโลก ทําใหสถานประกอบการเลิกกิจการหรือไมเลิกแตก็ลดจํานวนแรงงาน ทําใหเกิดการวางงานเพ่ิมขึ้น ผูจบการศึกษาก็ไมมีสถานประกอบการวาจางจึงเกิดการวางงานมากขึ้น ดังนั้น ในชวงป 2552-2554 จะมีการวางงานจํานวนมาก จะตองมาประกอบอาชีพการเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อยางไรก็ตาม แมจะมีแรงงานมากแตแรงงานสวนมากยังขาดทักษะและวินัย เชน เม่ือถึงงานเทศกาลใหญ เชน ปใหม สงกรานต มักจะกลับบานกันหมด 5.6 ภาระหนี้สิน (สนง. สถิติแหงชาติสํารวจป 2549) มีจํานวนครัวเรือนท่ีเปนหนี้สินในระบบและนอกระบบ 108,700 ครัวเรือน เฉล่ียครัวเรือนละ 78,766 บาท และจากขอมูล จปฐ. ป 2552 ท่ีสํารวจได 100,146 ครัวเรือน พบวามีรายรับจากบัญชีครัวเรือน 17,986 บาท ตอคนตอป รายจายจากบัญชีครัวเรือน 44,506 บาทตอคนตอป หนี้สินจากบัญชีครัวเรือน 7,175 บาทตอคนตอป และเงินออมจากบัญชีครัวเรือน 3,357 บาทตอคนตอป จากตัวเลขดังกลาวจะเห็นไดวามีรายจายมากและมีหนี้สิน ท้ังนี้ สวนหนึ่งเพราะประสบปญหาตนทุนการผลิตท่ีสูง ผลผลิตยังมีอัตราต่ํา การจําหนายผลผลิตไดราคาต่ํา , ความฟุมเฟอยตามกระแสวัฒนธรรมท่ีเปล่ียนไปเปนวัตถุนิยมจากตางประเทศ ไมทําบัญชีครัวเรือนเพ่ือวิเคราะหการใชจายฯ ซ่ึงจะตองแกไขปญหาเหลานี้อยางเปนรปูธรรม 5.7 ภาวะสังคมความม่ันคงของมนุษย : ผูดอยโอกาส

ตามแผนพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยของจังหวัด ไดสรุปวา มีกลุมเปาหมายท่ีพบวามีปญหามาก ไดแก ปญหาสตรี จํานวน 7,836 คน ปญหาผูสูงอายุ 5,907 คน ปญหาครอบครัว 4,635 คน ปญหาเด็ก 4,087 คน ปญหาเยาวชน (ติดเหลา บุหรี่ สารเสพติด) 3,511 คน มีคนพิการ 6,235 คน รวมท้ังมีผูสูงอายุ จํานวน 59,571 คน หรือรอยละ 11.05 ถือวามีจํานวนมากท่ีรัฐจะตอง เขาไปชวยเหลือดูแล 5.8 คุณภาพชีวิตตามขอมูล กชช. 2 ค และขอมูล จปฐ. สภาพปญหาคุณภาพชีวิตและรายไดของประชาชน จากการสํารวจขอมูล กชช.2 ค ป 2552 (ขอมูลพ้ืนฐานระดับหมูบาน) จํานวน 31 ตัวช้ีวดั และตามขอมูล จปฐ. ป 2552 จํานวน 42 ตัวช้ีวัด สรุปสภาพปญหาคุณภาพชีวิตและรายไดของประชาชนเปนจํานวนหมูบานและจํานวนครัวเรือน ดังนี ้ 5.8.1 การสํารวจขอมูล กชช. 2 ค ป 2552 ซ่ึงเปนการสํารวจขอมูลการพัฒนาและสภาพปญหาคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับหมูบาน ในจํานวน 885 หมูบานท่ีสํารวจ มีจํานวน 31 ตัวช้ีวัด พบวาไมมีหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ 1 (บานพัฒนาลาหลัง) แตอยางใด (ตัวช้ีวัดตกเกณฑ 11-31 ตัวช้ีวัด) มีหมูบานท่ีเรงรัดพัฒนาอันดับ 2 (บานพัฒนาปานกลาง) จํานวน 100 หมูบาน (ตัวช้ีวัดตกเกณฑ 6-10 ตัวช้ีวัด) และหมูบานเรงรัดพัฒนาอันดับ 3 (บานพัฒนากาวหนา) จํานวน 785 หมูบาน (ตัวช้ีวัดตกเกณฑ 0-5 ตัวช้ีวัด)

Page 23: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-23-

โดยปญหา (ตัวช้ีวัด) ท่ีหมูบานมีปญหามาก / ตกเกณฑจํานวนมาก ไดแก 1) ปญหาดานสุขภาพขาดการแขงขันการกีฬา / ออกกําลังกาย จํานวน 402 หมูบาน 2) ปญหาการเรียนรูโดยชุมชน จํานวน 370 หมูบาน 3) ปญหาการเขาถึงแหลงเงินทุนของชุมชน จํานวน 324 หมูบาน 4) ปญหาคุณภาพของดิน จํานวน 270 หมูบาน 5) ปญหาผลผลิตจากการทําเกษตรอ่ืน ๆ จํานวน 186 หมูบาน 6) ปญหาการไดรับการศึกษา (ตอ) 184 หมูบาน 7) ปญหาน้ําเพ่ือการเกษตร จํานวน 145 หมูบาน สวนหมูบานมีปญหาน้ํากิน มีจํานวน 17 หมูบาน และมีปญหาน้ําใช มีจํานวน 18 หมูบาน 5.8.2 การสํารวจขอมูล จปฐ. ป 2552 ซ่ึงเปนการสํารวจขอมูลการพัฒนาและปญหาคุณภาพชีวิตและรายไดของประชาชนในระดับครัวเรือน ในจํานวน 100,146 ครัวเรือน มีจํานวน 42 ตัวช้ีวัด พบวามีตัวช้ีวัดท่ีตกเกณฑ จปฐ. 16 ตัวช้ีวัด โดยตัวช้ีวัดท่ีมีครัวเรือนตกเกณฑจํานวนมาก ไดแก

1) ปญหาครัวเรือนไดกินอาหารไมถูกสุขลักษณะ จํานวน 4,758 ครัวเรือน 2) ปญหาครัวเรือนไมมีความรูการใชยาอยางถูกตองเหมาะสม จํานวน 680

ครัวเรือน 3) ปญหาคนในครัวเรือนติดสุรา จํานวน 564 ครัวเรือน 4) ปญหาครัวเรือนถูกรบกวนจากมลพิษ จํานวน 267 ครัวเรือน สําหรับในเรื่องมีรายไดเฉล่ียของประชาชน พบวามีรายไดเฉล่ีย 42,818 บาท

ตอคนตอป สวนครัวเรอืนท่ีมีรายไดเฉล่ียไมต่ํากวา 23,000 บาทตอป / คน มีจํานวน 99,434 ครัวเรือน หรือรอยละ 99.29 ของจํานวนครัวเรือนท่ีสํารวจท้ังหมด และครัวเรือนท่ีตกเกณฑ (ต่ํากวา 23,000 บาทตอคนตอป) มีจํานวน 712 ครัวเรือน หรือรอยละ 0.71 สวนครัวเรือนท่ีไมมีน้ําสะอาดดื่มเพียงพอตลอดป จํานวน 84 ครัวเรือน และครัวเรือนท่ีไมมีน้ําใชเพียงพอตลอดป จํานวน 35 ครัวเรือน สรุปสถานการณในดานสังคมและคุณภาพชีวิต จุดแข็ง มีสถานศึกษาเพียงพอ บุคลากรในพ้ืนท่ีมีภูมิปญญาหลากหลาย สถานบริการสาธารณสุขมีเพียงพอ สังคมมีความสงบ มีแรงงานจํานวนมาก มีโครงสรางพ้ืนฐานอํานวยความสะดวก มีน้ํากินน้ําใชเพียงพอ สวนจุดออน ประชาชนขาดการศึกษาตอเนื่อง คุณภาพการศึกษาในระบบยัง ต่ํากวาเกณฑมาตรฐานระดับประเทศ บุคลากรทางการแพทย / สาธารณสุขมีนอย ประชาชนมีพฤตกิรรมสุขภาพอนามัยไมดี มีโรคสําคัญแพรระบาด คุณภาพชีวิตตามเกณฑ จปฐ. ตกเกณฑหลายตัวช้ีวัด มีครัวเรือนยากจนท่ีมีรายไดต่ํากวา 23,000 บาทตอคนตอป จํานวน 712 ครัวเรือน ประชาชนมีหนี้สินมาก มีการอพยพแรงงานมาก แรงงานขาดทักษะและวินัย ปญหาสตรีและเด็ก คนพิการ มีผูสูงอายุมากขึ้นเปนภาระตองดูแล

Page 24: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-24-

6. สถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 6.1 ทรัพยากรธรรมชาต ิ 1) แหลงน้ําธรรมชาติ ในพ้ืนท่ีจังหวัดยโสธรมีแหลงน้ําธรรมชาติ ไดแก แมน้ําชีไหลผานพ้ืนท่ีตอนใตของจังหวัด บริเวณอําเภอเมืองยโสธร อําเภอคําเขื่อนแกว อําเภอมหาชนะชัย และอําเภอคอวัง (ยาว 110 กิโลเมตร) ไหลไปบรรจบกับแมน้ํามูลท่ีจังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนี้ ยังมีลําหวยสําคัญ ๆ ไหลผานพ้ืนท่ีตอนเหนือและตอนกลางของจังหวัด เชน หวยสะแบก หวยลิงโจน ลําหวยโพง ลําเซบาย ลําน้ํายัง ลําน้ําทวนและแหลงน้ําอ่ืน ๆ เชน หนอง บึง มีอยูท่ัวไป ซ่ึงหลายแหงมีสภาพตื้นเขิน เก็บกักน้ําไดปริมาณนอย เปนปญหาคอนขางมาก สําหรับปรมิาณน้ําฝนตกในรอบ 5 ป (2547-2551) เฉล่ียประมาณ 1,352 ม.ม. ตอป ถือวาอยูในเกณฑด ี 2) ปาไม จังหวัดยโสธรไมมีเขตอุทยานแหงชาติ , ไมมีเขตรักษาพันธุสัตว มีพ้ืนท่ีปาสงวนแหงชาติ อยูทางตอนเหนือของจังหวัดเปนสวนมาก จํานวน 712,822 ไร คิดเปนรอยละ 27.41 ของพ้ืนท่ีจังหวัด ในจํานวนนี้เปนปาท่ีเส่ือมโทรม จํานวน 470,861 ไร คิดเปนรอยละ 18.11 ของพ้ืนท่ีจังหวัด เนื่องจากการลักลอบตัดไมทําใหสภาพปามีสภาพเส่ือมโทรม และมีการถางปาเพ่ือทําเปนพ้ืนท่ีเพาะปลูกและเพ่ือใหเกิดประโยชนจากการใชท่ีดินปาเส่ือมโทรม กรมปาไมไดมอบใหสํานักงานปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมดําเนินการออกเปนท่ีดิน สปก. 4-01 และพ้ืนท่ีปาสงวน ฯ ยังมีสภาพปาอยู 241,961 ไร คิดเปนรอยละ 33.94 ของพ้ืนท่ีปาสงวนหรือรอยละ 9.30 ของพ้ืนท่ีจังหวัด ถือวามีปาคอนขางนอย 3) ลักษณะของดิน พ้ืนท่ีในจังหวัดยโสธร มีลักษณะตาง ๆ โดยเปนดินปนทราย 306,899 ไร หรือรอยละ 11.79 ของพ้ืนท่ีจังหวัด ดินเค็ม (ปานกลางและนอย) 140,255 ไร หรือ รอยละ 5.39 เปนดินตื้นปนกรวดและดินภูเขา 68,117 ไร หรือรอยละ 2.62 และตามขอมูล กชช.2ค. มีจํานวนหมูบานท่ีมีปญหาคุณภาพดิน ระดับมาก จํานวน 270 หมูบาน ระดับปานกลาง 241 หมูบาน รวมเปน 511 หมูบาน คิดเปนรอยละ 57.74 ของจํานวนหมูบานท้ังหมด ถือวามีปญหาเรื่องคุณภาพดินคอนขางมาก 6.2 คุณภาพส่ิงแวดลอม 1) คุณภาพน้ําและปริมาณน้ําเสีย ในพ้ืนท่ีชุมชนหนาแนนในทุกเขตเทศบาลเมืองยโสธรและเทศบาลตําบลทุกแหง และ อบต. บางแหง มีน้ําเสียจากบานเรือนและสถานประกอบการตาง ๆ สําหรับแหลงน้ําในพ้ืนท่ีไรนามีลักษณะเส่ือมโทรมและน้ําเสียจาการท้ิงขยะเศษวัสดุเหลือใชลงสูแหลงน้ํา การท่ีน้ําฝนและกระแสน้ําชะลางผิวดินท่ีมีสารพิษ/สารเคมีตกคางลงสูแหลงน้ํา เกษตรกรชําระลางเครื่องมือในการฉีดสารเคมีลงสูแหลงน้ํา การจัดการน้ําเสีย ในพ้ืนท่ีเขตเทศบาลเมืองยโสธร มีระบบบําบัดน้ําเสีย สวนในพ้ืนท่ีชุมชนเทศบาลตําบลตาง ๆ ไมมีระบบบําบัดน้ําเสีย สําหรับแหลงน้ําในไรนามีสารพิษจากสารเคมีจากการเพาะปลูกขาว / พืชไรและพืชผัก และยาปราบศัตรูพืชเปนตัวกอใหเกิดน้ําเสีย ในอนาคตจะมีปญหาน้ําเสียมากขึ้นได ตองรณรงคใหเกษตรกรปลูกขาว / พืชไร และพืชผักปลอดสารพิษ

Page 25: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-25-

2) ปริมาณขยะและกากของเสีย ในพ้ืนท่ีเทศบาลเมืองยโสธร มีปริมาณขยะเฉล่ีย 25 ตันตอวัน ในเขตเทศบาลตําบล 5-10 ตันตอวัน ซ่ึงในพ้ืนท่ีชุมชนทุกแหงโดยเฉพาะในเขตเทศบาลเมืองยโสธรและเทศบาลตําบลทุกแหง รวมท้ัง อบต. บางแหง มีปริมาณขยะตกคาง เนื่องจากมีประชากรในเขตชุมชนเพ่ิมขึ้น มีจํานวนรถบรรทุกขยะไมเพียงพอและท่ีท้ิงขยะอยูไกลหรือไมเหมาะสม สําหรับในเขตเทศบาลเมืองยโสธรมีระบบกําจัดขยะและมีพันธะสัญญารับขยะจากเทศบาลตําบล และ อบต. ใกลเคียงมาจํากัดดวย ทําใหปญหาขยะลดลง แตในอนาคตจะมีปญหาหากสถานท่ีท้ิงขยะเริ่มเต็ม จะมีปญหาขยะมากขึ้นตามลําดับ 3) มลพิษทางอากาศและเสียง ในพ้ืนท่ีเทศบาลเมืองยโสธร และเทศบาลตําบลทุกแหง รวมท้ังเขตชุมชนของ อบต. มียานยนตและโรงงานอุตสาหกรรมไมมาก แมจะมีควันพิษและเสียงดังจากยานยนตและโรงงานอยูบางแตไมอยูในเกณฑอันตรายตอสุขภาพของประชาชน สรุปสถานการณในดานสังคมและส่ิงแวดลอม จุดแข็ง มีแหลงน้ําธรรมชาติเพียงพอ น้ําทาเพียงพอ น้ําฝนอยูในเกณฑดี มลพิษน้ําเสีย ขยะและกากของเสีย มลพิษทางอากาศและ ยังอยูในเกณฑปลอดภัยตอประชาชน จุดออน มีสภาพปาเหลือนอย คุณภาพดินไมดี ไรนามีสารพิษจากสารเคมีตกคาง คุณภาพน้ําจะมีปญหาในอนาคต ขยะและกากของเสียเริ่มมีปญหาเปนมลพิษตอประชาขน

7. ขอมูลการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเพ่ือทราบความตองการและศักยภาพของหมูบาน/ชุมชน จังหวัดไดแจงใหทุกอําเภอประสานใหทุกหมูบาน / ชุมชน ทบทวนแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน โดยจัดชุดปฏิบัติการประจําตําบลไปประสานทุกหมูบาน/ชุมชนดําเนินการทบทวนแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน ใหจัดทําประชาคมหมูบาน / ชุมชน เพ่ือสํารวจความคิดเห็นของประชาชนเพ่ือทบทวนความตองการและศักยภาพของหมูบาน/ชุมชน แลวกําหนดตําแหนงการพัฒนาหรือทิศทางการพัฒนาของหมูบาน / ชุมชน จากนั้น ใหทบทวนจัดทําเปนแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน ระบุปญหาความตองการ แนวทางแกไขและหนวยดําเนินการ / งบประมาณ เพ่ือเปนเครื่องมือประสานหนวยงานตาง ๆ โดยเฉพาะขอใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินและอําเภอไดประสานสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาใหเปนไปตามแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชนท่ีประชาชนในหมูบานไดรวมกันจัดทํา ตอจากนั้นจังหวัดไดแจงใหอําเภอตั้งคณะอนุกรรมการบูรณาการแผนชุมชนจัดทําประชาคมบูรณาการแผนพัฒนาหมูบาน / ชุมชน เปนแผนชุมชนระดับตําบล แลวกําหนดทิศทางการพัฒนาระดับตําบล แลวใหอําเภอจัดประชุมคณะกรรมการบริหารงานอําเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) เพ่ือบูรณาการแผนชุมชนระดับตําบลเปนแผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอสงใหจังหวัด ซ่ึงจังหวัดไดประมวลปญหาความตองการจากแผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอทุกอําเภอ ท่ีไดบูรณาการมาจากแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน โดยไดปญหาความตองการและทิศทางการพัฒนา ดงันี ้

Page 26: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-26-

7.1 ปญหาความตองการจากแผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอทุกอําเภอ สรุปไดดังนี ้ 1) แหลงน้ําเพ่ือการเกษตรและการอุปโภคบริโภคตื้นเขิน 2) การคมนาคมระหวางหมูบานตําบลไมสะดวก 3) การวางงานตามฤดูกาลและการอพยพแรงงาน 4) ดินขาดความอุดมสมบูรณ และมีสารพิษจากปุยเคมียาปราบศัตรูพืชตกคาง 5) ผลผลิตการเกษตร เชน ขาวหอมมะลิ มันสําปะหลัง ยังอยูในอัตราคอนขางต่ํา 6) ขาดตลาดรองรับสินคาท่ีผลิตออกมา 7) แรงงานขาดทักษะในการประกอบอาชีพ 8) สังคมในหมูบานชุมชนมีผูสูงอายุเพ่ิมขึ้น เปนภาระท่ีตองดูแล 9) ทัศนคติและคานิยมของประชาชนในพ้ืนท่ีเปล่ียนไปตามกระแสสังคมท่ีเปนวัตถุนิยม ฟุมเฟอย 10) พ้ืนท่ีหลายแหงประสบปญหาภัยแลงและอุทกภัยซํ้าซาก 11) ประชาชนมีรายไดนอย มีหนี้สิน 12) การบุกรุกปา ถางปา 13) มีการแพรระบาดยาเสพติดในบางพ้ืนท่ี 14) สถาบันครอบครัวยังออนแอ ปญหาเด็กเยาวชน 15) แหลงทองเท่ียวทรุดโทรมและขาดการพัฒนา 7.2 ทิศทางการพัฒนาจากแผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอ ทุกอําเภอไดประมวลปญหาและความตองการท่ีจะแกไขปญหาเพ่ือใหเกิดการพัฒนาใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีจากแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน โดยทิศทางการพัฒนาจากแผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอแตละอําเภอจะใหเปนเมืองนาอยู มีเศรษฐกิจสังคมคุณภาพชีวิตท่ีดี เศรษฐกิจแบบพอเพียง เปนแหลงผลิตสินคาเกษตรและอาหารปลอดภัย การพัฒนาเกษตรปลอดภัยและมุงการเปนเกษตรอินทรีย 7.3 แผนงานโครงการพัฒนาจากแผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอ ทุกอําเภอไดจัดทําโครงการ / งบประมาณตามแผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอจํานวนมาก เพ่ือแกไขปญหาโดยสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาอําเภอ เพ่ือใหจังหวัดจัดหาแหลงงบประมาณสนับสนุน

8. ขอมูลนโยบายรัฐและยุทธศาสตรการพัฒนาของระดับประเทศและภาค เพ่ือเปนกรอบการจัดทําแผน ฯ การจัดทําแผนพัฒนาจังหวัดตองพิจารณาจากแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน / แผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอ ขอมูลพ้ืนฐานท่ีสําคัญของจังหวัด สภาพปญหา แนวโนมความตองการของตลาด และยุทธศาสตรจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นโยบายเรงดวนของรัฐบาล / แผนการบริหารราชการแผนดิน ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณของประเทศ ยุทธศาสตรรายสาขา และยุทธศาสตรการพัฒนาของภาค/ของกลุมจังหวัด สรุปไดดังนี ้

Page 27: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-27-

8.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) โดยกําหนดวิสัยทัศน ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ ดังนี ้ 8.1.1 วิสัยทัศนการพัฒนาประเทศ มุงพัฒนาสู “สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน (Green and Happiness Society) คนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รูเทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพและเปนธรรม ส่ิงแวดลอมมีคุณภาพและทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยูภายใตระบบบริหารจัดการประเทศท่ีมีธรรมาภิบาล ดํารงไวซ่ึงระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และอยูในประชาคมโลกไดอยางมีศักดิ์ศร ี 8.1.2 ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ 1) ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทย สูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู 2) ยุทธศาสตรการสรางความเขมแขงของชุมชน และสังคมใหเปนรากฐานท่ีม่ันคงของ ประเทศ 3) ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน 4) ยุทธศาสตรการพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและการสรางความม่ันคง ของฐานทรัพยากรและส่ิงแวดลอม 5) ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ 8.2 แนวทางการพัฒนาตามนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผนดิน และยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป มีดังนี ้ นโยบายท่ี 1 : นโยบายเรงดวนท่ีจะตองดําเนินการ ซ่ึงในจังหวัดจะเนนใหกระตุนและฟนฟูเศรษฐกิจ แกไขปญหาการวางงาน สรางรายได / ลดรายจายและพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับฐานราก พัฒนาตลาด ลดคาครองชีพของประชาชน นโยบายท่ี 2 : นโยบายความม่ันคงของรัฐ นโยบายท่ี 3 : นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต นโยบายท่ี 4 : นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายท่ี 5 : นโยบายท่ีดิน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม นโยบายท่ี 6 : นโยบายวิทยาศาสตรเทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม นโยบายท่ี 7 : นโยบายการคาตางประเทศและเศรษฐกิจระหวางประเทศ นโยบายท่ี 8 : นโยบายการบริหารกิจการบานเมืองท่ีด ี 8.3 ยุทธศาสตรรายสาขา 1) ยุทธศาสตรพัฒนาการเกษตร/ขาวหอมมะลิปลอดภยัและอินทรีย 2) ยุทธศาสตรสงเสริมและพัฒนาการทองเท่ียว 3) ยุทธศาสตรแกไขปญหาความยากจนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Page 28: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-28-

8.4 ประเด็นยุทธศาสตร (กลยุทธ) จังหวัด /กลุมจังหวัดในการเสนอของบประมาณ ท่ีสอดคลองกับยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณรายจายของประเทศ (สํานักงบประมาณ) 1) ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจพ้ืนฐาน เพ่ือยกระดับรายได พัฒนาการคา การทองเท่ียวและบริการ 2) ยุทธศาสตรการเสริมสรางคุณภาพชีวิต สรางความม่ันคงของประชาชน ตลอดจน การบํารุงศาสนาและสงเสริมศิลปวัฒนธรรม 3) ยุทธศาสตรการอนุรักษปองกันและควบคุมการใชทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอมอยางเหมาะสม 4) ยุทธศาสตรการปองกัน ปราบปรามและสรางระบบการรักษาความม่ันคงของ ประเทศ 5) ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบสารสนเทศและการบริหารจัดการ 8.5 ยุทธศาสตรการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สศช. : สิงหาคม 2551) ยุทธศาสตรท่ี 1 : เพ่ิมศักยภาพการแขงขันดานเศรษฐกิจ ยุทธศาสตรท่ี 2 : สรางคนใหมีคุณภาพ ยุทธศาสตรท่ี 3 : สรางสังคมและเศรษฐกิจฐานรากใหเขมแข็ง ยุทธศาสตรท่ี 4 : ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาตแิละส่ิงแวดลอมใหสมบูรณ - ทิศทางการพัฒนากลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 2 (สศช. : สิงหาคม 2551) กลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง 2 มีศักยภาพการพัฒนาดานการเกษตร ท้ังการผลิตขาวหอมมะลิปลอดสารพิษ ไมผลไมยืนตน การผลิตและแปรรูปปศุสัตว จําพวกอาหารแปรรูป และศักยภาพการพัฒนาใหเปนประตูการคา และการทองเท่ียว เช่ือมโยงกับประเทศเพ่ือนบานท้ังลาวและกัมพูชาในลักษณะหุนสวนทางธุรกิจ และสามารถพัฒนาใหเปนศูนยผลิตและกระจายสินคาของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางเช่ือมโยงกบัประเทศเพ่ือนบาน จึงควรมีทิศทางการพัฒนา ดังนี ้ 1. ควรใหความสําคัญกับการพัฒนาแหลงน้ํา และระบบบริหารจัดการเพ่ือแกปญหา น้ําทวม และขาดแคลนน้ํา และควรเนนการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตโดยเฉพาะขาวหอมมะลิพรอมปรับระบบสูมาตรฐาน GAP 2. ควรสนับสนุนใหกลุมเปนประตู (Gate Way) การคา การลงทุน และการทองเท่ียวตอนลางของภาค เช่ือมโยงกับประเทศเพ่ือนบานดวยการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานและส่ิงอํานวยความสะดวก โดยเฉพาะศูนยบริการดานการคา การลงทุน และการทองเท่ียวแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ท่ีเมืองชายแดน และดานชายแดน 3. ควรใหความสําคัญกับการสรางงานและสรางรายไดจากการทองเท่ียวใหมากขึ้น โดยการปรับปรุงสภาพแหลงทองเท่ียวในกลุมจังหวัดใหอยูในสภาพสมบูรณ มีส่ิงอํานวยความสะดวกไดมาตรฐาน สะดวก สะอาด ปลอดภัย และจัด Loop เช่ือมโยงกบัแหลงทองเท่ียวของเพ่ือนบาน

Page 29: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-29-

8.6 ยุทธศาสตรกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางท่ี 2 (จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร และอํานาจเจริญ) 8.6.1 วิสัยทัศนกลุมจังหวัด ฯ “ขาวหอมมะลิเปนเลิศ ยกระดับการทองเท่ียวและการคาชายแดน” 8.6.2 ประเด็นยุทธศาสตรกลุมจังหวัด ฯ จัดลําดับความสําคัญแลว ดังนี ้ 1) พัฒนาคุณภาพและเพ่ิมมูลคาขาวหอมมะลิสูความตองการของตลาด 2) พัฒนาคุณภาพการทองเท่ียวใหไดระดับมาตรฐาน และยั่งยืน 3) พัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารจัดการธุรกิจการคา และเพ่ิมมูลคาการคา ชายแดนครบวงจร 8.7 การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดลอมและสถานการณเศรษฐกิจสังคมของโลกตอการพัฒนาจังหวัด สภาวะแวดลอมของโลกมีการเปล่ียนแปลงไปตามเทคโนโลยีท่ีเจริญกาวหนาใหม ๆ ท่ีไรพรมแดน การเปดใหมีการคาเสรี ภาวะน้ํามันแพงสงผลใหหลายประเทศท่ีมีพ้ืนท่ีการเกษตร มีการแสวงหาแหลงพลังงานใหมทดแทน เชน การผลิตไบโอดีเซลจากพืชตาง ๆ ชนิดพืชท่ีเปนพืชพลังงานตองปลูกพืชนี้เพ่ือผลิตแปรรูปเปนพลังงานทดแทน ปญหาก็คือ จะแยงพ้ืนท่ีปลูกพืชอาหารหรือบุกรุกปา เพ่ือไปปลูกพืชพลังงานทดแทน ฯลฯ การท่ีอาหารท่ัวโลก โดยเฉพาะขาวซ่ึงเปนอาหารหลักหรือเปนวัตถุดิบในการแปรรูปเปนอาหารตาง ๆ จะมีราคาสูงขึ้นตามราคาน้ํามัน ฯ การประกอบอาชีพอุตสาหกรรม / การใชพลังงานเพ่ิมขึ้น การมียานพาหนะตาง ๆ มาก ทําใหอากาศเปนพิษและมีการตัดไมทําลายปาเพ่ือครอบครองเปนพ้ืนท่ีเพาะปลูกหรือตัดไมไปจําหนาย ทําใหประสบภาวะ โลกรอน เกิดปญหาธรรมชาติตาง ๆ ตามมา การท่ีประชากรโลกมีการศึกษาท่ีดีมีการสาธารณสุขท่ีดี มีการคุมกําเนิดท่ีไดผล ทําใหโครงสรางประชากรโลกและของประเทศไทยเขาสูสังคมกําลังแรงงานในอนาคตนอยลง แตมีผูสูงอายุเพ่ิมขึ้นเปนภาระท่ีรัฐจะตองจัดสรรเงินและกําลังคนดูแลผูสูงอายุ จากสภาพปญหาขอจํากัดและจุดเดนของจังหวัดประกอบกับการเปล่ียนแปลงสภาวะแวดลอมของโลกดังกลาว จะทําใหมีผลกระทบท้ังดานบวกและดานลบตอการพัฒนาจังหวัด 8.8 การทําเกษตรอินทรียและพืชพลังงาน : ประเด็นทาทายทิศทางการพัฒนาจังหวัด จังหวัดยโสธรพิจารณาเห็นวา การพัฒนาอาชีพโดยการผลิตสินคาท่ีเปนความตองการของตลาดโลก เชน การทําเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ การทําเกษตรอินทรีย โดยเฉพาะขาวหอมมะลิและการปลูกพืชท่ีแปรรูปเปนพลังงานเช้ือเพลิงทดแทนเปนความทาทายตอทิศทางการพัฒนาจังหวัดโดยมีหลักการและเหตุผล ดังนี ้ 1) จังหวัดยโสธรมีศักยภาพการผลิตในภาคการเกษตรสูง คือมีพ้ืนท่ีทําเกษตรจํานวนมากถึง 1.6 ลานไร และกําลังแรงงานสวนใหญอยูในภาคการเกษตร มีการทําการเกษตรท้ัง 3 สาขา คือ กสิกรรม ปศุสัตว และประมง อยางไรก็ตามยังมีพ้ืนท่ีบางสวนมีกิจกรรมการผลิตและการลงทุนนอย เนื่องจากมีจุดออนดานการขนสง และสินคาอุตสาหกรรมประเภทแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรจําพวก

Page 30: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-30-

อาหาร ยังเปนการแปรรูปอยางงาย โดยใชเทคโนโลยีต่ํา และไมมีความหลากหลาย สวนสินคา ผลิตภัณฑชุมชน (OTOP) แมจะมีมากแตยังขาดคุณภาพและมาตรฐาน 2) กระแสท่ีท่ัวโลกกําลังตื่นตัวและระวังเรื่องสุขภาพอนามัย จะสงผลใหผลผลิตสินคาเกษตร ท่ีเปนผลผลิตแบบเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ และเกษตรอินทรยี (Organic Farming) มีอนาคตดี เนื่องจากตนทุนการผลิตต่ํา (ผลิตปุยอินทรียเอง) และเปนท่ีตองการของตลาดโลกสามารถขายไดราคาดีถือเปนการได 2 ตอ นอกจากนี้ การผลิตแบบเกษตรอินทรียยังเปนระบบการผลิตท่ีคํานึงถึงสภาพแวดลอม รักษาสมดุลของธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ หลีกเล่ียงการใชสารสังเคราะหการใชพืชหรือสัตวท่ีเกิดจากการตดัตอทางพันธุกรรม รวมถึงมีการนําเอาภูมิปญญาชาวบานมาใชประโยชนในกระบวนการผลิต ซ่ึงจะเปนการปลอดภัยตอท้ังผูผลิตและผูบริโภค รวมถึงเปนการรักษาสภาพแวดลอมลดการนําเขาปุยเคมีจากตางประเทศ ซ่ึงมีราคาสูงอีกดวย แตเนื่องจากเกษตรกรเคยชินกับการใชสารเคมีเพราะไดผลเร็ว จึงตองปรับทัศนคติเกษตรกรใหเห็นผลดีในการทําเกษตรอินทรียโดยตองใชเวลาพอสมควร และในขณะเดียวกันในดานการตลาดตางประเทศ ในบางชนิดสินคาเกษตรอินทรียตองมีมาตรฐานตรงกับผูซ้ือและอาจประสบปญหานโยบายกีดกันทางการคาหรือคูแขงทางการคาของตางประเทศได เพราะเปนเรื่องผลประโยชนของชาติตน รวมท้ังปญหาน้ํามันเช้ือเพลิงยังมีราคาสูงและอาจจะมีราคาสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทําใหเกษตรกรอาจหันไปปลูกพืชท่ีแปรรูปเปนพลังงาน เชน สบูดํา หรือนําพืชท่ีปลูกเพ่ือแปรรปูเปนอาหาร เชน น้ํามันปาลม มันสําปะหลัง ออย ไปผลิตเปนพลังงานเช้ือเพลิงทดแทนเพราะไดราคาสูงกวา อาจหันไปปลูกพืชท่ีใหพลังงานกันมากขึ้น ซ่ึงรัฐและจังหวัดยโสธรตองพิจารณาตามศักยภาพของพ้ืนท่ีและราคาผลผลิตท่ีชัดเจนเปนรูปธรรม เพ่ือสงเสริมสนับสนุนการทําเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ / เกษตรอินทรีย และพืชท่ีแปรรูปเปนพลังงานเช้ือเพลิงในพ้ืนท่ีท่ีจัดโซนไวอยางเหมาะสม เพราะการทําเกษตรอินทรียเปนการรักษาสภาพแวดลอม ลดตนทุนการผลิต ผูผลิต / ผูบริโภคมีความปลอดภยั จําหนายไดราคาดี ในขณะเดียวกันการปลูกพืชเพ่ือเปนพลังงานเช้ือเพลิงเปนท่ีตองการของตลาด ผูผลิตสามารถจําหนายผลผลิตไดราคาสูง แตตองมีการคาดการณในชวงเวลาท่ีผลผลิตออกมาจําหนายวาราคาจะสูงหรือไมดวย

Page 31: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-31-

สวนที่ 2 การวิเคราะหศักยภาพ

ดานเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของจังหวัดยโสธร การวิเคราะหศักยภาพในภาพรวม จากการประมวลขอมูลสภาพท่ัวไป ขอมูลสถานการณดานเศรษฐกิจ ดานสังคมและคุณภาพชีวิต ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ขอมูล กชช. 2 ค (ขอมูลพ้ืนฐานเพ่ือการพัฒนาระดับหมูบาน ขอมูล จปฐ. (ขอมูลความจําเปนพ้ืนฐานเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับครัวเรือน) ซ่ึงไดวิเคราะหจุดแข็ง สภาพปญหา สาเหตุ แนวทางปองกันและแกไขในแตละเรื่องไว การประมวลขอมูลปญหาความตองการของประชาชนในพ้ืนท่ีจากแผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอทุกอําเภอท่ีไดจากการบูรณาการแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชนท่ีทบทวนแลวและแผนพัฒนาทองถ่ินในพ้ืนท่ีอําเภอ ซ่ึงการทบทวนแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน เกิดจากการประชาคมแสดงความคิดเห็น และกําหนดปญหาความตองการของประชาชนในแตละหมูบาน/ชุมชน รวมท้ังนโยบายรัฐบาลเรงดวนของรัฐบาล และยุทธศาสตรการพัฒนาระดับประเทศ (แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 10) ยุทธศาสตรรายสาขา ระดับภาค และกลุมจังหวัด รวมท้ังการเปล่ียนแปลงสภาวะแวดลอมของโลกตอการพัฒนาจังหวัด ท่ีไดประมวลไวในสวนท่ี 1 จึงวิเคราะหและกําหนดปจจัยประกอบในการวิเคราะหศักยภาพเปนปจจัยภายใน (ควบคุมได พัฒนา / รุกแขงขันได) คือ จุดแข็ง/จุดออน และปจจัยภายนอก (ควบคุมไมได รับมา / ปองกันได) คือ โอกาส/ภัยคุกคาม (SWOT) ในภาพรวม ไดดังตอไปนี ้

ปจจัยภายในจังหวัด ปจจัยภายนอกจังหวัด จุดแข็ง (S=Strength) จุดออน (W=Weakness) โอกาส (O=Opportunity) ภัยคุกคาม (T=Threat)

- ดานเศรษฐกิจและโครงสรางพื้นฐาน 1. เปนแหลงผลิตขาวหอมมะลิและสินคาเกษตรและสงออกไปยังจังหวัดภาคกลาง 2. เปนแหลงผลิตสินคาหัตถกรรมพ้ืนเมืองและ นตผ. ที่มีช่ือเสียงและสงออก 3. มีกองทุนหมูบานและกองทุนตางๆ ในหมูบานที่จะสนับสนุนการประกอบอาชีพของประชาชน 4. องคกรชุมชน/เอกชนและกลุมเกษตรทํานาที่เขมแข็ง เพ่ือการสังคมและสงเสริมอาชีพมีจํานวนมากและมีความเขมแข็งที่จะสนับสนุนประชาชน 5. มีแหลงน้ําขนาดใหญไหลผาน (ลุมน้ําชีและลุมน้ํามูล) สามารถชวยการเพาะปลูกและ

- ดานเศรษฐกิจและโครงสรางพื้นฐาน 1. ประชาชนสวนใหญมีความยากจน การออมมีนอย และมีหนี้สินมาก รวมทั้งเกษตรกรบางสวนไมมีที่ดินทํากิน 2. ตลาดกลางสินคาการเกษตรยังไมมีประสิทธิภาพและการตลาดในลักษณะตาง ๆ ยังไมชัดเจน 3. เทคโนโลยีมาใชในการผลิตการเกษตรยังมีนอย 4. ขาวสารการตลาดและการกระตุนใหมีการลงทุนมีนอย 5. ปศุสัตวขนาดกลาง ขนาดเล็ก (โค, กระบือ, สุกร) และสัตวน้ํายังมีจํานวนนอย 6. ระบบชลประทานไมครอบคลุมพ้ืนที่การเกษตร

1. นโยบายสนับสนุนกองทุนหมูบานและOTOP 2. ปริมาณน้ําฝนตกเฉลีย่อยูในเกณฑดี 3. ผลผลิตทางเกษตรที่ปลอดสารพิษและเกษตรอินทรียเปนที่ตองการของตลาดายในประเทศและตางประเทศรวมทั้งนโยบายครัวไทยสูครัวโลก 4. นโยบายของรัฐบาลและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สงเสริมสนับสนุนการทําเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย 5. นโยบายโครงสรางพ้ืนฐานตางๆ ของรัฐบาลมีสวนสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมจังหวัด

1. พ้ืนที่บางสวนประสบปญหาอุทกภัยและภัยแลงซ้ําซาก 2. ราคาผลผลิตทางการเกษตรไมแนนอน ขึ้นอยูกับกลไกตลาดกลางของประเทศ 3. นโยบายการกีดกันทางการคาระหวางประเทศ 4. หางไกลเมืองทา ทําใหตนทุนการขนสงสูง 5. กระแสวัฒนธรรมตางประเทศทําใหวิถีชีวิตชุมชนเปลี่ยนไปและฟุมเฟอยจากคานิยมวัตถุนิยม 6. การแขงขันจากบริษัทขามชาติเนื่องจากนโยบายเปดเสรีทางการคา 7. น้ํามันเช้ือเพลิงมีราคาสูง รวมทั้งจะสงผลใหเกิดปญหา มีการปลูกพืชเพ่ือแปรรูปเปน

Page 32: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-32-

เปนแหลงน้ําจืด พลังงานทดแทน ไปแยง ปจจัยภายในจังหวัด ปจจัยภายนอกจังหวัด

จุดแข็ง (S=Strength) จุดออน (W=Weakness) โอกาส (O=Opportunity) ภัยคุกคาม (T=Threat) 6. มีแหลงทองเที่ยวธรรมชาติ ศาสนา วัฒนธรรม โดยเฉพาะงานประเพณเีปนงานระดับประเทศและนานาชาต ิ- ดานสังคมและคุณภาพชีวิต 7. มีวัฒนธรรมเปนเอกลักษณทองถิ่นเดนชัด โดยเฉพาะงานประเพณีบุญบั้งไฟที่มีช่ือเสียงเปนตํานานเฉพาะตัวของจังหวัดยโสธร 8. บุคลากรมีภูมิปญญาทองถิ่นหลากหลาย 9. แรงงานมีจํานวนมากและสามารถพัฒนาเปนแรงงานฝมือได

7. น้ําเพ่ือการเกษตรในฤดูแลงไมเพียงพอเนื่องจากแหลงน้ําไมสามารถเก็บกักน้ําไดนาน 8. แหลงทองเที่ยว มีขนาดเล็ก ขาดความนาสนใจ และสิ่งอํานวยความสะดวกดานการทองเที่ยวยังมีนอย 9. ถนนในชนบทสวนมากยังมีสภาพชํารุด - ดานสังคมและคุณภาพชีวิต 10. ขาดสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา และประชาชนสวนใหญขาดโอกาสในการศึกษาตอเนื่อง

6. นโยบายของรัฐบาลในการปองกันและปราบปราม ยาเสพติด 7. นโยบาย ICT ที่ทําใหประชาชนเขาถึงเทคโนโลยี

พ้ืนที่ปลูกพืชอาหาร เกิดอาหารแพงขึ้นมาได 8. ภาวะโลกรอน 9. ภาวะความผันผวนทางเศรษฐกิจระดับประเทศและ ทั่วโลก 10. ภัยคุกคามจากโรคติดตอรายแรงจากภายนอก เชน หวัด 2009 ไขหวัดนก ฯลฯ

10. สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานและระดับอาชีวะมีเพียงพอและมีมหาวิทยาลัยสาขา สําหรับระดับอาชีวะสามารถขยายเปนวิชาชีพหลายสาขาไดถึงระดับปริญญาตรี 11. สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ ทั้งระดับจังหวัด อําเภอ และตําบล มีเพียงพอ 12. สถิติอาชญากรรมในพ้ืนที่ต่ํา - ดานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม 13. สภาพแวดลอมโดยทั่วไปยังไมถูกทําลาย - ระบบบริหารงาน 14. การบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ เอื้ออํานวยตอการพัฒนา

11. ประชาชนสวนใหญยังมีพฤติกรรมสุขภาพอนามัยไมด ี12. การอพยพแรงงานหลังฤดูเก็บเกี่ยว 13. แรงงงานสวนใหญขาดทักษะและขาดวินัย 14. การเกษตรสวนใหญพ่ึงพาปุยวิทยาศาสตรและสารเคมี ทําใหดินเสีย สารพิษตกคาง ทําลายสุขภาพเกษตรกร 15. สภาพสังคมเร่ิมเขาสูสังคมสูงอายุ - ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 16. สภาพดินสวนมากขาดความอุดมสมบูรณโดยเปนดินทรายจดั เปนสวนใหญและเปนดินเค็ม 17. สภาพปาในหลายพ้ืนที่มีปริมาณลดลง เนื่องจากถูก บุกรุก ถางปาและลักลอบตัดไม 18. ประชาชนขาดจิตสํานึกการอนุรักษดินและน้ํา 19. มีขยะมูลฝอยในเขตชุมชนมากขึ้น

Page 33: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-33-

การวิเคราะหศกัยภาพดานเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของจังหวัดยโสธร จากการประมวลขอมูลสภาพท่ัวไป แผนยุทธศาสตรพัฒนาอําเภอ นโยบายหนวยเหนือทุกระดับ และการกําหนดปจจัยประกอบในการวิเคราะหศักยภาพฯ (SWOT) สามารถสรุปการวิเคราะหศักยภาพใน แตละดาน ดังนี ้

1. การวิเคราะหศักยภาพดานเศรษฐกิจ จากขอมูลสถานการณดานเศรษฐกิจของจังหวัดยโสธร เม่ือพิจารณาโครงสรางการผลิต มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) ป 2551 ในจํานวน 16 สาขา พบวา สาขาท่ีทํารายไดมากท่ีสุด คือ สาขาการขายสงขายปลีก การซอมยานยนต ฯ คิดเปนรอยละ 23.32 รองลงมาเปน สาขาเกษตรกรรม (ไมรวมการประมง) คิดเปนรอยละ 21.61 (โดยเปนรายไดจากการปลูกขาวมากท่ีสุด) จังหวัดยโสธรในดานจุดแข็งมีพ้ืนท่ีการเกษตรมาก มีแหลงน้ําตนทุนเพียงพอและแหลงกักเก็บน้ําท่ีจะชวยทําการเกษตรไดมาก มีเกษตรกรท่ีมีความรูทักษะในการประกอบอาชีพการเกษตร โดยเฉพาะการปลูกขาวหอมมะลิและผลิตภัณฑชุมชนตาง ๆ ในบางอยางเปนสินคาสงออก แรงงานมีจํานวนมาก มีแหลงทองเท่ียวธรรมชาติและวัฒนธรรม โดยเฉพาะงานประเพณีบ้ังไฟท่ีมีช่ือเสียงระดับประเทศและระดับนานาชาติ มีโครงขายถนนเพ่ือการขนสงผลผลิตและการทองเท่ียวเขาถึง ทุกหมูบาน แตในดานจุดออนพบวาประชาชนสวนใหญมีความยากจน เนื่องจากมีรายไดต่ํา คาใชจายสูง มีหนี้สินมาก ผลผลิตปศุสัตวขนาดกลาง (โค-กระบือ) ขนาดเล็ก (สุกร) และสัตวน้ํายังมีนอย เม่ือเทียบกับพ้ืนท่ีการเกษตรและจํานวนเกษตรกร การตลาดยังไมชัดเจน แรงงานสวนใหญขาดทักษะและขาดวินัย น้ําเพ่ือการเกษตรในฤดูแลงไมเพียงพอ เนื่องจากแหลงน้ําไมสามารถเก็บกักน้ําไดนาน ระบบชลประทานมีนอย สภาพดินสวนมากขาด ความอุดมสมบูรณโดยเปนดินทรายจัดและดินเค็ม ในดานโอกาส รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนกองทุนหมูบาน ผลิตภัณฑชุมชน ปริมาณน้ําฝนตกเฉล่ียอยูในเกณฑดี ผลผลิตทางการเกษตรท่ีปลอดสารพิษเปนท่ีตองการของตลาดภายในประเทศและตางประเทศ รวมท้ังนโยบายครัวไทยสูครัวโลก นโยบายการสงเสริมวิสาหกิจชุมชนและ SMEs สวนในดานอุปสรรค พบวา มีพ้ืนท่ีบางสวนประสบปญหา อุทกภัยและภัยแลงซํ้าซาก ราคาผลผลิตทางการเกษตรไมแนนอนขึ้นอยูกับกลไกตลาดกลางของประเทศ นโยบายการกีดกันทางการคาระหวางประเทศ การอยูหางไกลเมืองทาทําใหตนทุนการขนสงสูง เม่ือวิเคราะหลักษณะจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรคการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดยโสธรแลว เห็นวา ศักยภาพดานเศรษฐกิจของจังหวัด มีพ้ืนท่ีการเกษตรมาก มีน้ําตนทุน เกษตรกรมีทักษะ ฯลฯ ถามีการพัฒนาการผลิตเกษตรปลอดภัย นาจะไดผล โดยเฉพาะการผลิตขาวหอมมะลิอยางมีคุณภาพเพ่ือเพ่ิมมูลคาสินคา รองลงไปเปนการสงเสริมปศุสัตว การประมง การพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน โดยในเรื่องขาวหอมมะลิการดําเนินการตองจัดเปนโซนพ้ืนท่ีเปนรายตําบลหรืออําเภอใหชัดเจน ท่ีจะทําการเพาะปลูกขาวหอมมะลิปลอดภัยหรือขาวหอมมะลิอินทรีย สวนการทองเท่ียวในหลายจุดจะตอง

Page 34: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-34-

พัฒนา / สรางใหโดดเดน โดยบรรจกุิจกรรมตํานานท่ีเปนเอกลักษณและจัดผลิตภัณฑท่ีมีความแปลกโดดเดนมีการประชาสัมพันธทางส่ือตาง ๆ และจัดเปนวงจรการนําเท่ียว สรางรายไดใหกับประชาชนในทองถ่ินได 2. การวิเคราะหศักยภาพดานสังคม จากขอมูลสถานการณดานสังคมของจังหวัดยโสธร ในดานจุดแข็ง เม่ือพิจารณาดานการศึกษาท้ังในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน มีผูเขาเรียนตามเกณฑ การเรียนการสอนเปนไปอยางตอเนื่อง อัตราครู : นักเรียน เฉล่ีย 1 : 16.39 อยูในเกณฑมาตรฐาน มีปราชญชาวบานและภูมิปญญาหลากหลาย ดานการสาธารณสุขมีโรงพยาบาลและสถานีอนามัยเพียงพอ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินอยูในเกณฑควบคุมได ในดานจุดออน ประชาชนยังขาดการศึกษาตอเนื่อง การศึกษาในระบบยังมีคุณภาพการศึกษาและกลุมสาระการเรียนรูท่ีอยูในระดับท่ีต่ํากวามาตรฐานของประเทศ ประชาชนสวนใหญยังมีพฤติกรรมสุขภาพอนามัยไมดี จํานวนบุคลากรทางสาธารณสุขไมเพียงพอกับการปองกันและรักษาโรค แรงงานมีมากแตสวนใหญยังขาดทักษะ มีภาระหนี้สินครัวเรือน ปญหาภาวะสังคมความม่ันคงของมนุษยในกลุมตาง ๆ มีการอพยพแรงงานหลังฤดูเก็บเกี่ยวขาว และผูสูงอายุมีมากขึ้น (รอยละ 11.05 ของประชากรท้ังหมด) ในดานโอกาส รัฐบาลมีนโยบายพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน การศึกษา สาธารณสุข ชวยเหลือผูดอยโอกาส การปองกันปราบปรามยาเสพติด ในดานอุปสรรค กระแสวัฒนธรรมตางประเทศทําใหวิถีชีวิตชุมชนเปล่ียนไปและฟุมเฟอยจากคานิยมในวัตถุนิยม เม่ือวิเคราะหลักษณะจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรคการพัฒนาสังคมของจังหวัดยโสธรแลวเห็นวาศักยภาพดานสังคมของจังหวัด มีโครงสรางการศึกษา สาธารณสุขด ี เพียงพอ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินอยูในเกณฑควบคุมได แตเพ่ือใหเปนสังคมนาอยูจะตองเรงรัดพัฒนาคนใหมีคุณภาพสอดรับกับความตองการของสังคมและตลาดแรงงาน ใหมีความประหยัด มีแผนชีวิตโดยมุงเนนไปท่ีพัฒนาคนใหมีความรูและมีการศึกษาท่ีมีคณุภาพ มีความเปนอยูท่ีดตีามเกณฑ จปฐ. ใหมีความสุขในพ้ืนท่ี ไมอพยพแรงงาน ท้ังนี้ เพ่ือใหเกิดครอบครัวอบอุน สังคมชุมชนเขมแข็ง ใหเปนยโสธรนาอยูใหได

3. การวิเคราะหศักยภาพดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม จากขอมูลสถานการณดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของจังหวัดยโสธร ในดานจุดแข็งเม่ือพิจารณาจํานวนแหลงน้ําธรรมชาติและน้ําตนทุน เห็นวามีเพียงพอท่ีจะใชในการอุปโภคบริโภคและการเกษตรแตตองปรับปรุงใหแหลงน้ําสามารถเก็บกักน้ําเพ่ิมขึ้น คุณภาพดิน เนื่องจากจังหวัดไดสงเสริมและสนับสนุนวัสดุและวิธีการจัดทํา ปุยอินทรียตามงบยุทธศาสตรอยูดีมีสุขในป 2550 และ ป 2551 ใหเกือบทุกหมูบานทําใหดินบางสวนไดรับการฟนฟู สําหรับส่ิงแวดลอมในดานมลพิษทางอากาศและ เสียงในเขตชุมชนมีอยูบางแตไมอยูในเกณฑอันตรายตอสุขภาพของประชาชน ในดานจุดออน แหลงน้ําธรรมชาติบางแหงมีสภาพตื้นเขิน รับน้ําเก็บน้ําไดปริมาณนอย ทรัพยากรปาไมมีจํานวนนอยเนื่องจากถูกแผวถางเพ่ือทําเกษตรกรรมและบางสวนถูกลักลอบตัดไม ทําใหมีผลเสียตอนิเวศนและสงผลใหประสบปญหาภาวะโลกรอน คุณภาพดินสวนมากเปนดินไมอุดมสมบูรณเนื่องจากการใช

Page 35: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-35-

ปุยเคมีมานาน และลักษณะดินเปนดินทรายจัดและดินเค็ม คุณภาพน้ําและปริมาณน้ําเสียมีเพ่ิมขึ้น สวนปริมาณขยะและกากของเสียในเขตชุมชนขนาดใหญมีขยะมาก สถานท่ีท้ิงขยะกําจัดขยะทําไดยากขึ้นเพราะเปน ของเสีย ชุมชนท่ีไดรับผลกระทบไมยินยอม เม่ือวิเคราะหลักษณะจุดแข็ง จุดออน การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของจังหวัดยโสธรแลวเห็นวา ศักยภาพดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของจังหวัด มีแหลงน้ําธรรมชาติและน้ําตนทุนเพียงพอ ดังนั้น เพ่ือพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหยั่งยืนจะตองรณรงค ใหประชาชนเห็นความสําคัญ และรวมกับภาครัฐพัฒนา ฟนฟู แหลงน้ําธรรมชาติ ปาไม คุณภาพดิน เพ่ือเพ่ิมความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาต ิ การรวมกันปองกันแกไขน้ําเสีย การรวมกันกําจัดขยะ กากของเสีย และลดมลพิษจะชวยทําใหประชาชนสามารถประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตอยาง มีความสุข

ประเด็นปญหาสําคัญและโอกาสการพัฒนาของจังหวัดยโสธร จากการวิเคราะหและกําหนดปจจัยประกอบในการวิเคราะหศักยภาพเปนปจจัยภายใน ปจจัยภายนอก การวิเคราะหศักยภาพดานเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม สามารถกําหนดเปนประเด็นปญหาสําคัญและโอกาสการพัฒนาของจังหวัดยโสธร เพ่ือเปนขอมูลนําไปกําหนดวิสัยทัศนและประเด็นยุทธศาสตรท่ีเปนไปไดตามลําดับความสําคัญ ดังนี ้

ลําดับความสําคัญ ประเด็นปญหาสําคัญ โอกาสการพัฒนา

1 ผลผลิตการเกษตรโดยเฉพาะขาวหอมมะลิอยูในอัตราต่ําและราคาผลผลิตต่ํา และไมแนนอน ขึ้นกับกลไก ตลาดกลาง (ควรสรางมูลคาเพ่ิมโดยจัดทําเปนสินคาปลอดภัยหรืออินทรีย)

เพ่ือใหผลผลิตการเกษตรโดยเฉพาะขาวหอมมะลิไดผลผลิตเพ่ิมขึ้นและจําหนายไดราคาสูง สามารถสงเสริมสนับสนุนการทําเกษตรโดยเฉพาะขาวหอมมะลิปลอดสารพิษและอินทรีย เพ่ือเพ่ิมมูลคา เพ่ือเพ่ิมรายไดใหกับเกษตรกร เนื่องจากจังหวัดยโสธรเปนแหลงผลิตขาวหอมมะลิ เกษตรกรทํานาเปนจํานวนมาก มีความชํานาญในการทํานา โดยเฉพาะมีกลุมเกษตรกรท่ีปลูกขาวหอมมะลิปลอดภัย และเกษตรอินทรียจําหนายตางประเทศ ไดแก กลุมเกษตกรทํานานาโส , กลุมเกษตรกรทํานาบากเรือ , กลุมเกษตรกรรมธรรมชาติยั่งยืน เปนแกนในการดําเนินการประกอบกับการมีแหลงน้ําขนาดใหญ น้ําฝนเพียงพอ ประเทศตางๆมีความตองการขาวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรีย รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการทําเกษตรโดยเฉพาะขาวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรีย หนวยงานจังหวัด ท้ังภาครัฐ โดยมีวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตั้งอยู และภาคเอกชน(โรงสี) บูรณาการรวมมือกันดําเนินงานครบวงจร สมาชิกสภาผูแทน

Page 36: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-36-

ราษฎร สมาชิกวุฒิสภาใหการสนับสนุนวิธีการโดยจัดโซนพ้ืนท่ีเปนรายตําบลหรืออําเภอใหชัดเจน

ลําดับความสําคัญ ประเด็นปญหาสําคญั โอกาสการพัฒนา

ท่ีจะทําการเพาะปลูกขาวหอมมะลิปลอดภัย หรือขาวหอมมะลิอินทรีย แลวบูรณาการโครงการ / กิจกรรมหลัก ตั้งแตตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําลงไปในพ้ืนท่ีดังกลาว ดังนั้นโอกาสการพัฒนาผลผลิตเกษตรและขาวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรียจึงมีมาก จะทําใหไดผลผลิตท่ีสูงขึ้น ราคาท่ีแนนอน จัดเปนประเด็นยุทธศาสตรในลําดับสูงสุด

2 ขาดแหลงทองเท่ียวหลักท่ีโดดเดน และเปนเอกลักษณเพ่ือดึงดูดนักทองเท่ียวใหเขามาแวะเท่ียวและเยี่ยมชม

จังหวัดยโสธรมีแหลงทองเท่ียวท้ังแหลงธรรมชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณ ี และผลิตภัณฑ OTOP ประมาณ 160 แหง แตละแหลงทองเท่ียวดังกลาวไมโดดเดนท่ีจะดึงดูดนักทองเท่ียวใหเขามาแวะเท่ียวและเยี่ยมชม ตองปรับปรุงพัฒนาแหลงทองเท่ียว โดยปรับปรุงภูมิทัศน การคมนาคม สาธารณูปโภค การประชาสัมพันธ การพัฒนาเครือขายการทองเท่ียวแบบครบวงจร เพ่ือสรางรายไดใหกับประชาชนในทองถ่ิน และส่ิงท่ีเปนแหลงทองเท่ียวท่ีนักทองเท่ียวสนใจจะไปแวะ เยี่ยมชม มี 2 ส่ิง คือ สถานท่ีนั้นมีตํานานเปนเอกลักษณท่ีโดดเดนไมเหมือนใคร ทําใหนาสนใจ และสถานท่ีนั้นมีผลิตภัณฑท่ีจําหนายท่ีแปลกและโดดเดน ในเรื่องนี้ สามารถสงเสริมสนับสนุนแหลงทองเท่ียวหลักท่ีมีอยูใหโดดเดน เพ่ือเปนศูนยกลางการทองเท่ียวของจังหวัด ซ่ึงจังหวัดยโสธรเห็นวามีอางเก็บน้ําลําทวนในเขตเทศบาลเมืองยโสธร ซ่ึงเปนอางฯขนาดใหญ พ้ืนท่ี 900 ไรเศษ อยูในเขตชุมชน สามารถจะปรับปรุงใหเปนแหลงทองเท่ียวหลักได เนื่องจากจังหวัดยโสธรเปนเมืองท่ีมีงานประเพณ ี บุญบ้ังไฟนานาชาติดังไปท่ัวโลก โดยปรับปรุงภูมิทัศนลําน้ําทวน/ จัดทําเปนแหลงทองเท่ียวตํานานบุญบ้ังไฟและกิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรมท่ีโดดเดนของจังหวัด รวมท้ังจัดผลิตภัณฑท่ีมีช่ือเสียง หรือแปลกเปนเอกลักษณมาไวท่ีลําทวน รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุน

การทองเท่ียว ยุทธศาสตรกลุมจังหวัดมีประเด็นสงเสริมการทองเท่ียว หนวยงานในจังหวัดบูรณาการรวมมือกัน

Page 37: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-37-

ดําเนินงานครบวงจรทุกภาคสวน สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภาใหการสนับสนุน รวมท้ังพัฒนาแหลงทองเท่ียวท่ีมีศักยภาพท่ีมีท่ีตั้งอยูใกลเคียง

ลําดับความสําคัญ ประเด็นปญหาสําคัญ โอกาสการพัฒนา

ไดแก ธาตุกองขาวนอย หมูบานทองเท่ียว OTOP (บานศรีฐาน อําเภอปาติ้ว) ดงเมืองเตย , พระธาตุกูจาน (อําเภอคําเขื่อนแกว) วัดพระพุทธบาท (อําเภอมหาชนะชัย) จัดเปนวงจร (Loop) ทองเท่ียวของกลุมจังหวัด โดยจัดใหนักทองเท่ียวเดินทางจากจังหวัดอํานาจเจริญเขาบานศรีฐาน อําเภอปาติว้ แลวมาลําทวนธาตุกอนขาวนอย อําเภอเมืองยโสธร แลวไปดงเมืองเตย , พระธาตุกูจาน อําเภอคําเขือ่นแกว ออกไปจังหวัดอุบลราชธานี หรือจากอําเภอเมืองยโสธรไปวัดพระพุทธบาทอําเภอมหาชนะชัย ออกไปจังหวัดศรีสะเกษ หรือนักทองเท่ียวมาจากจังหวัดอํานาจเจริญ สามารถเดินทางไปเท่ียวหวยลิงโจน อําเภอเลิงนกทา แลวผานไปวัดพระมหาเจดียชัยมงคล (วัดผาน้ํายอย) ของจังหวัดรอยเอ็ด ซ่ึงมีเจดียสูงมาก มีนักทองเท่ียวมาเยี่ยมชมมาก แลวเขาจังหวัดมุกดาหาร ก็ได จะสงผลใหเกิดการคาการลงทุนในพ้ืนท่ีตามมา ประชาชนมีรายไดจากการทองเท่ียว ดังนั้น โอกาสการพัฒนาลําทวนและแหลงทองเท่ียวท่ีมีศักยภาพท่ีมีท่ีตั้งอยูใกลเคียง หรือเปนวงจร (Looh) ใหเปนแหลงทองเท่ียวหลักจึงมีมาก จัดเปนประเด็นยุทธศาสตรในลําดับสูงสุด ไวในแผนพัฒนาจังหวัด

3 โครงสรางพ้ืนฐานยังไมเพียงพอบริการประชาชน (ประชาชนในชนบทรองทุกข รองขอใหภาครัฐปรับปรุงแหลงน้ําและปรับถนนใหอยูในสภาพดีเปนประจําทุกป)

จังหวดัยโสธรยังมีถนนท่ีมีสภาพชํารุดเสียหายเนื่องจากมีรถสัญจรและขนสงสินคาเกษตรจํานวนมาก แหลงน้ํา/ลําหวยเพ่ือการเกษตร สวนมากตื้นเขิน ไมสามารถเก็บกักน้ําไดมาก ประชาชนรองขอใหภาครัฐชวยเหลือเปนประจํารัฐบาลมีนโยบายพัฒนาพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานเปนประจําทุกปและองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตั้งงบประมาณสนับสนุน โอกาสแกไขและพัฒนาใหโครงสรางพ้ืนฐาน ใหมีเพียงพอจึงมีคอนขางมาก จัดเปนประเด็นยุทธศาสตรในลําดับสูง ไวในแผนพัฒนาจังหวัด

4 ประชาชนสวนใหญมีรายไดต่ํา คาใชจายสูง เปนหนี้สิน

จังหวัดยโสธรเปนเมืองเกษตรกรรม เกษตรกรสวนใหญยากจน มีรายจายมากกวารายรับ เนื่องจากตนทุน

Page 38: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-38-

(ประชาชนสวนใหญยากจน การออมมีนอย มีหนี้สินมาก ไมมีท่ีดินทํากิน)

การผลิตสูง จําหนายผลผลิตไดราคาต่ํา ทําใหเปนหนี้สิน ทางแกไขเบ้ืองตนจะตองลดรายจาย โดยสงเสริมใหประชาชนดํารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ลําดับความสําคัญ

ประเด็นปญหาสําคัญ โอกาสการพัฒนา

และสงเสริมเศรษฐกิจฐานราก เพ่ือเพ่ิมรายไดใหกับ ประชาชนและพ่ึงพาตนเองไดตอไป ซ่ึงจังหวัดยโสธรมีแหลงน้ํา มีพ้ืนท่ีทําการเกษตรจํานวนมาก ประชาชนมีการประชาคมทําแผนชุมชน รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนเศรษฐกิจฐานราก หนวยงานในจังหวัดบูรณาการรวมมือกันดําเนินงานครบวงจร ทุกภาคสวนโดยเฉพาะสมาชิกสภาผูแทนราษฎรใหการสนับสนุน จะสงผลใหประชาชนลดรายจายและเพ่ิมรายไดในครัวเรือน ลดการเปนหนี้สินไดตอไป ดังนั้น โอกาสการแกไข / พัฒนา ในเรื่องดังกลาวจึงมีคอนขางมาก จัดเปนประเด็น ยุทธศาสตรในลําดับสูง ไวในแผนพัฒนาจังหวัด

5 ประชาชนขาดการศึกษาตอเนื่อง และคุณภาพการศึกษาในระบบกลุมสาระการเรียนรูยังต่ํากวามาตรฐานระดับประเทศ

จังหวัดยโสธรมีสถานศึกษาเพียงพอแตจากการสํารวจขอมูลประชากรวัยแรงงาน (อายุ 15-59 ป) พบวาประชากร 18,855 คน ไมไดศึกษาตอในระดับท่ีสูงขึ้น เนื่องจากมีปญหาเศรษฐกิจ ทางแกไขจะตองประชาสัมพันธใหกลุมประชากรดังกลาว เขาเรียนตอโดยจังหวัดสงเสริมและสนับสนุนอาชีพไปพรอมกับการเขาเรียนตอในระดับท่ีสูงขึ้น โอกาสแกไข/พัฒนาใหประชาชนศึกษาตอเนื่อง จึงมีคอนขางมาก รวมท้ังใหมีการจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จะชวยทําใหการศึกษาในระบบ มีคุณภาพไดมาตรฐานระดับประเทศได จัดเปนประเด็น ยุทธศาสตรไวในแผนพัฒนาจังหวัด

6 คุณภาพชีวิตของประชาชนยังไมด ี

จังหวัดยโสธรมีสถานบริการสาธารณสุขระดับจังหวัด อําเภอ และตําบลเพียงพอ และประชาชนไดรับสวัสดิการตามกฎหมาย แตประชาชนสวนใหญยังมีพฤติกรรมสุขภาพอนามัยไมดี ไมปองกันโรคภัย ไมตรวจสุขภาพ ทางแกไขจะตองประชาสัมพันธใหประชาชนรูขอมูลการดูแลรักษาสุขภาพใหแข็งแรง ปองกันโรคภัย ใหมีการรับสวัสดิการ

Page 39: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-39-

จากรัฐอยางท่ัวถึง ใหประชาชนมีการดําเนินการตามขอมูล จปฐ. ภาคราชการ / ทองถ่ิน สนับสนุนการดําเนินการตาม จปฐ. จะทําใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตของประชาชน ดียิ่งขึ้น โอกาสแกไข/พัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตของ

ลําดับความสําคัญ

ประเด็นปญหาสําคัญ โอกาสการพัฒนา

ประชาชนจึงมีคอนขางมาก จัดเปนประเด็นยุทธศาสตร ไวในแผนพัฒนาจังหวัด

7 ทรัพยากรธรรมชาติเส่ือมโทรม จังหวัดยโสธรมีสภาพปาทางตอนเหนือของจังหวัดและมีแหลงน้ําธรรมชาติจํานวนมาก แตยังมีปญหาการถาง การตัดไมทําลายปา การไมอนุรักษดินและน้ํา กระแสน้ําเซาะตล่ิงลําน้ํา / แมน้ําชี ทําใหทรัพยากรดังกลาว เส่ือมโทรม ทางแกไขจะตองใหทุกภาคสวนรวมกันปองกันทรัพยากรธรรมชาติดังกลาวใหอยูในสภาพดี ซ่ึงรัฐบาลมีนโยบายปองกันทรัพยากรธรรมชาติถูกทําลายและสนับสนุนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โอกาสแกไข/พัฒนาไมใหทรัพยากรธรรมชาติเส่ือมโทรม จึงมีคอนขางมาก จัดเปนประเด็นยุทธศาสตรไวในแผนพัฒนาจังหวัด

8 อาชญากรรมและการแพรระบาดของยาเสพติดในบางพ้ืนท่ี

จังหวัดยโสธร มีสถิติอาชญากรรมในพ้ืนท่ีต่ํามีปญหาอยูบางและปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดในบางพ้ืนท่ี แตเนื่องจากอาชญากรรมมีความสําคัญตอชีวิตของประชาชน จึงตองมีการปองกันอยางมาก รัฐบาลมีนโยบายรักษาความสงบและสรางความสมานฉันทท่ีส่ังการใหจังหวัดถือปฏิบัติโดยเครงครัด ประกอบกบัจังหวัดมีฝายปกครอง กํานัน ผูใหญบาน ชวยในการรักษาความสงบเรียบรอย ใหสูงขึ้น โอกาสแกไข/พัฒนาในการปองกันอาชญากรรมและการแพรระบาดของยาเสพติดจึงมีคอนขางมาก จัดเปนประเด็นยุทธศาสตรไวใน แผนพัฒนาจังหวัด

9 การบริหารกิจการบานเมืองท่ีดีทุกภาคสวนยังไมสมบูรณ

การบริหารงานของจังหวัดจะตองไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน จะตองบริหารงานดวยความโปรงใส สุจริต มีการพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) และมีการ

Page 40: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-40-

บริการประชาชนอยางสะดวกรวดเร็ว ไดรับความพึงพอใจจากประชาชน โดยจังหวัดสงเสริมและสนับสนนุใหทุกสวนราชการดําเนินการพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐอยางตอเนื่องและใหภาคสวนตางๆ เขามามีสวนรวม

ลําดับความสําคัญ

ประเด็นปญหาสําคัญ โอกาสการพัฒนา

รวมท้ังการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล โอกาสแกไขและพัฒนาใหการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี ทุกภาคสวนมีความสมบูรณ จัดเปนประเด็นยุทธศาสตรไวใน แผนพัฒนาจังหวัด

Page 41: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-41-

สวนที่ 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดยโสธร

จังหวัดยโสธรไดนําผลการวิเคราะหขอมูลสภาพท่ัวไป ปญหาและความตองการของประชาชน ตลอดจนการประเมินสถานภาพการพัฒนาในปจจุบันและโอกาสในการพัฒนาในอนาคตของจังหวัด โดยนํามาวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค (ขอจํากัด / ภัยคุกคาม) แลวประเมินศักยภาพการพัฒนารวมกับประเด็นการพัฒนาตามนโยบายของรัฐบาล / แผนบริหารราชการแผนดิน ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ยุทธศาสตรรายสาขา ยุทธศาสตร การจัดสรรงบประมาณรายจายของประเทศและยุทธศาสตรของภาค / ยุทธศาสตรกลุมจังหวัดแลวสามารถสรุปผลการวิเคราะหเปนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดยโสธร (พ.ศ. 2553 – 2556) และคณะกรรมการบริหารงานแบบบูรณาการจังหวัดยโสธร (ก.บ.จ.ยส.) ไดประชุมพิจารณาจัดทํา และใหความเห็นชอบ รวมท้ังไดนําเขาหารือภาคสวนตาง ๆ ในจังหวัดแลวได ดังนี ้

1. วิสัยทัศน เม่ือวิเคราะหศักยภาพและปญหา / โอกาสการพัฒนาในสวนท่ี 2 แลว จึงกําหนดวิสัยทัศนการพัฒนาจังหวัดยโสธร (พ.ศ. 2553 – 25556) วา

“ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกลสูสากล”

- พันธกิจ จากวิสัยทัศนการพัฒนาจังหวัดยโสธร (พ.ศ. 2553 – 2556) สามารถกําหนดพันธกิจ ซ่ึงเปนส่ิงท่ีทุกภาคสวนจะตองรวมกันดําเนินการแกไขปญหา สนองความตองการและพัฒนาจังหวัดยโสธรใหบรรลุวิสัยทัศน ได 5 พันธกิจ ดังนี ้

(1) สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารทรัพยากรการเกษตร เปนเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย ไมกระทบส่ิงแวดลอมและใหมีมูลคาเพ่ิมสอดคลองกับความตองการของตลาด

(2) สงเสริมและพัฒนา / สรางแหลงทองเท่ียวใหมีศักยภาพ มีเอกลักษณ ใหเปนแหลงทองเท่ียวหลักครบวงจรและใหสามารถเปนแหลงทองเท่ียวไดตลอดป

(3) สงเสริมปรับปรุงพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานใหเพียงพอและเศรษฐกิจฐานรากตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

(4) พัฒนาคนใหมีคุณภาพ คุณธรรม มีสุขภาวะท่ีดี สภาพแวดลอมดี มีความปลอดภัย มีความสะดวก การดํารงชีวิต การประกอบอาชีพและใหสังคมชุมชนเขมแข็ง

Page 42: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-42-

(5) สงเสริมใหทุกภาคสวนรวมกันบริหารงานตามหลักธรรมาภบิาล

2. ประเด็นยุทธศาสตร จากความสัมพันธระหวางวิสัยทัศนและพันธกิจ สามารถนํามากําหนดเปนประเด็นยุทธศาสตรของจังหวัด ซ่ึง ก.บ.จ.ยส. และผูแทนภาคสวนตาง ๆ ในจังหวัดยโสธรไดรวมกันพิจารณาจัดลําดับความสําคัญแลว ดังนี ้ ลําดับท่ี 1. ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 1 สงเสริมการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรียครบวงจร ลําดับท่ี 2. ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 2 สงเสริมการทองเท่ียว การคา และการลงทุน ลําดับท่ี 3. ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 3 พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน ลําดับท่ี 4. ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 4 เสริมสรางเศรษฐกิจฐานราก ลําดับท่ี 5. ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 5 พัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูคูคุณธรรม

และวัฒนธรรมประเพณีท่ีดีงาม ลําดับท่ี 6. ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 6 ยกระดับคุณภาพชีวิต ลําดับท่ี 7. ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 7 อนุรักษ ฟนฟู พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอม ลําดับท่ี 8. ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 8 เสริมสรางความม่ันคงและความสงบเรียบรอย ลําดับท่ี 9. ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 9 บริหารกิจการบานเมืองท่ีดีทุกภาคสวน 3. การกําหนดเปาประสงค ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย และกลยุทธของแตละประเด็นยุทธศาสตร และโครงการหลักภายใตกลยุทธ 3.1 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 : สงเสริมการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรียครบวงจร 3.1.1 เปาประสงค - เพ่ิมผลผลิตและมูลคาการจําหนายสินคาเกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย 3.1.2 ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของพ้ืนท่ีการปลูกขาวหอมมะลิปลอดภัย (GAP) รอยละ 10 ตอป 2) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของพ้ืนท่ีการปลูกขาวหอมมะลิอินทรีย รอยละ 5 ตอป 3) จํานวนผลิตภัณฑแปรรูปสินคาเกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรียใน เชิงการคาเพ่ิมขึ้น จํานวน 2 ผลิตภัณฑ ตอป 4) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของมูลคาการจําหนายขาวหอมมะลิปลอดภัย รอยละ 5 ตอป 5) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของการจําหนายขาวหอมมะลิอินทรีย รอยละ 3 ตอป 3.1.3 กลยุทธ

Page 43: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-43-

1) สงเสริมและพัฒนากระบวนการผลิต การแปรรูปสินคาเกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรียใหไดคุณภาพและมาตรฐาน 2) สงเสริมและเพ่ิมชองทางการตลาดผลิตภัณฑชุมชน สินคาเกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย 3.1.4 โครงการหลัก 1) โครงการเพ่ิมขีดความสามารถในการผลิต การแปรรูปผลผลิตการเกษตรและขาวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรียใหไดคุณภาพและมาตรฐาน (ประกอบดวยกิจกรรมหลักท่ีเช่ือมโยงกัน 10 กิจกรรม) 2) โครงการเพ่ิมขีดความสามารถในการเพ่ิมชองทางการตลาด ผลิตภณัฑชุมชน สินคาเกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย (ประกอบดวยกิจกรรมหลักท่ีเช่ือมโยงกัน 3 กิจกรรม) 3.2 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 : สงเสริมการทองเที่ยว การคา และการลงทุน 3.2.1 เปาประสงค - มูลคาการทองเท่ียว การคาและการลงทุนเพ่ิมขึ้น 3.2.2 ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1) จํานวนแหลงทองเท่ียวไดรับการพัฒนาอยางมีคุณภาพ 12 แหง 2) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของรายไดจากการทองเท่ียว รอยละ 3 ตอป 3) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของรายได GPP สาขาขายสงขายปลีก รอยละ 2 ตอป 4) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของมูลคาการลงทุนของผูประกอบการ รอยละ 1 ตอป 3.2.3 กลยุทธ 1) ปรับปรุงและสรางแหลงทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม นิเวศน การเกษตรและหมูบาน OTOP ทองเท่ียว และการประชาสัมพันธการทองเท่ียวทางส่ือตาง ๆ 2) สงเสริมและพัฒนาผูประกอบการคาและบริการใหมีความสามารถในการแขงขัน 3) เพ่ิมศักยภาพผูประกอบการและสงเสริมใหเกิดผูประกอบการใหม 3.2.4 โครงการหลัก 1) โครงการพัฒนาและกอสรางแหลงทองเท่ียวและประชาสัมพันธทางส่ือตาง ๆ ท่ีมีศักยภาพ (ประกอบดวยกิจกรรมหลักท่ีเช่ือมโยงกัน 8 กิจกรรม) 2) โครงการเพ่ิมขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจการคาและบริการ (ประกอบดวยกิจกรรมหลักท่ีเช่ือมโยงกัน 3 กิจกรรม) 3) โครงการเพ่ิมศักยภาพการลงทุนภาคอุตสาหกรรมและวิสาหกิจชุมชน (ประกอบดวยกิจกรรมหลักท่ีเช่ือมโยงกัน 3 กิจกรรม) 3.3 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 : พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน 3.3.1 เปาประสงค

Page 44: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-44-

- โครงสรางพ้ืนฐานดานแหลงน้ําเพ่ือการเกษตร การอุปโภคบริโภคเพียงพอตอความตองการ และถนนในชนบทมีสภาพใชไดดคีรอบคลุมทุกชุมชน 3.3.2 ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1) พ้ืนท่ีชลประทานและแหลงน้ําขนาดเล็กในไรนาเพ่ิมขึ้น 10,000 ไรตอป 2) แหลงน้ําชุมชนเพ่ืออุปโภคบริโภคไดรับการปรับปรุง 50 แหงตอป 3) ถนนในชนบทไดรับการปรับปรุงใหอยูในสภาพดี ระยะทาง 40 กม. ตอป 3.3.3 กลยุทธ 1) ปรับปรุงและกอสรางแหลงน้ําในและนอกเขตชลประทานเพ่ือการเกษตร และแหลงน้ําชุมชนเพ่ืออุปโภคบริโภค 2) กอสรางบํารุงรักษาและอํานวยความสะดวกสายทางครอบคลุมทุกชุมชน 3.3.4 โครงการหลัก 1) โครงการปรับปรุงและกอสรางแหลงน้ําเพ่ือการเกษตรและอุปโภคบริโภค (ประกอบดวยกิจกรรมการปรับปรุงและกอสรางแหลงน้ําหลายลักษณะ) 2) โครงการปรับปรุงและกอสรางทางในชนบท (ประกอบดวยการปรับปรุงและกอสรางถนน / สะพาน) 3.4 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 : เสริมสรางเศรษฐกิจฐานราก 3.4.1 เปาประสงค - ประชาชนมีอาชีพและรายไดท่ีม่ันคง 3.4.2 ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของรายไดของครัวเรือนตอคนตอป (จปฐ.) รอยละ 3 3.4.3 กลยุทธ 1) สงเสริมและพัฒนาอาชีพในและนอกภาคการเกษตร 2) พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารกองทุนของชุมชนและสงเสริมการเขาถึงแหลงเงินทุน 3.4.4 โครงการหลัก 1) โครงการแกไขปญหาความยากจนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเพ่ิมทักษะฝมือแรงงาน (ประกอบดวยกิจกรรมหลักท่ีเช่ือมโยงกัน 4 กิจกรรม) 2) โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนชุมชนและสงเสริมการเขาถึงแหลงทุน 3.5 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 : พัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูคูคุณธรรมและวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม 3.5.1 เปาประสงค

Page 45: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-45-

- ประชากรทุกกลุมอายุไดรับโอกาสทางการศึกษาอยางท่ัวถึงกัน มีคุณภาพการศึกษาใหไดมาตรฐานทุกระบบ สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและพัฒนาสูสังคมแหงการเรียนรูคูคุณธรรม วัฒนธรรมประเพณีท่ีดีงาม 3.5.2 ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของทุกกลุมอายุไดรับโอกาสการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในระบบและนอกระบบโรงเรียน รวมท้ังไดรับการฝกอบรมดานอาชีพ รอยละ 1 ตอป 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของวิชาหลักระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (กลุมสาระ การเรียนรู) การประเมินระดับชาติเพ่ิมขึ้น รอยละ 3 ตอป 3) คนในครัวเรือนปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียมประเพณแีละมารยาทไทย รอยละ 95 3.5.3 กลยุทธ 1) เสริมสรางโอกาสทางการศึกษาอยางท่ัวถึงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหไดมาตรฐานและสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน 2) อนุรักษวัฒนธรรมประเพณีท่ีดีงาม 3.5.4 โครงการหลัก 1) โครงการสรางโอกาสทางการศึกษาและสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน (ประกอบดวยกิจกรรมหลักท่ีเช่ือมโยงกัน 13 กิจกรรม) 2) โครงการสงเสริมอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีท่ีดีงาม (ประกอบดวยกิจกรรมท่ีเช่ือมโยงกัน 8 กิจกรรม) 3.6 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6 : ยกระดับคุณภาพชีวิต 3.6.1 เปาประสงค - ประชาชนมีสุขภาวะท่ีดี เขาถึงบริการสาธารณสุขท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานอยางเทาเทียม ไดรับสวัสดิการสังคมอยางท่ัวถึง สังคมหมูบาน / ชุมชนเขมแข็ง 3.6.2 ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1) อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดเพ่ิมขึ้นส้ินป 2556 ชาย 71.3 ป หญิง 77.5 ป 2) จํานวนสถานบริการสาธารณสุขทุกแหงและผานเกณฑรับรองมาตรฐาน 3) รอยละของผูดอยโอกาสไดรับสวัสดิการเพ่ิมขึ้น รอยละ 5 4) รอยละของหมูบานท่ีมีแผนพัฒนาสังคมและสวัสดิการชุมชน รอยละ 100 3.6.3 กลยุทธ 1) พัฒนาระบบสุขภาพ 2) พัฒนาระบบสวัสดิการสังคมและการดูแลผูดอยโอกาส 3) เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน 3.6.4 โครงการหลัก

Page 46: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-46-

1) โครงการหมูบานตนแบบพัฒนาคุณภาพชีวิต (ประกอบดวยกิจกรรมหลัก 5 กิจกรรม) 2) โครงการโลกของเด็กและเยาวชนเมืองยศ (ประกอบดวยกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม) 3) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสวัสดิการสังคมหมูบาน / ชุมชน 3.7 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 7 : อนุรักษ ฟนฟู พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 3.7.1 เปาประสงค - ส่ิงแวดลอมดี ผังเมืองดี มีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาต ิ 3.7.2 ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1) พ้ืนท่ีปาไดรับการอนุรักษฟนฟูใหมีความสมบูรณเพ่ิมขึ้น 500 ไร/ป 2) แหลงน้ําธรรมชาตตินน้ําไดรับการฟนฟูใหสมบูรณ เพ่ิมขึ้น 3 แหง / ป 3) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของทรัพยากรดินไดรับการฟนฟูใหอุดมสมบูรณ (ไร) รอยละ 10 ตอป 4) ปริมาณขยะมูลฝอยมีการนํามาใชประโยชน 100 ตัน / ป 5) อบต. มีการวางและจัดทําผังชุมชนครบทุกแหง 3.7.3 กลยุทธ 1) สงเสริมใหมีการอนุรักษฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมแบบมี สวนรวม 2) บริหารจัดการคุณภาพส่ิงแวดลอมแบบมีสวนรวม 3) สงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน วางและจัดทําผังเมืองใหเหมาะสม 3.7.4 โครงการหลัก 1) โครงการอนุรักษฟนฟูสภาพปาเพ่ือรักษาระบบนิเวศนและลดภาวะโลกรอน (ประกอบดวยกิจกรรมหลักท่ีเช่ือมโยงกัน 3 กิจกรรม) 2) โครงการอนุรักษดินและฟนฟูแหลงน้ําธรรมชาติแบบมีสวนรวม (ประกอบดวยหลายกิจกรรมท่ีเช่ือมโยงกัน 3 กิจกรรม) 3) โครงการธนาคารขยะรีไซเคิล 4) โครงการสงเสริมการวางและจัดทําผังชุมชน (อบต.) 3.8 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 8 : เสริมสรางความม่ันคงและความสงบเรียบรอย 3.8.1 เปาประสงค - สังคมมีความสงบเรียบรอย ประชาชนมีความม่ันคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 3.8.2 ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของการจับกุมผูกระทําผิดในคดีแตละกลุม รอยละ 1 ตอป

Page 47: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-47-

2) รอยละท่ีลดลงของอุบัติเหตุจราจรทางบก รอยละ 1 ตอป 3) รอยละของหมูบาน / ชุมชนเขมแข็งท่ีเอาชนะยาเสพติด รอยละ 100 3.8.3 กลยุทธ 1) เพ่ิมขีดความสามารถการรักษาความสงบเรียบรอยความม่ันคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 2) เพ่ิมขีดความสามารถในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด 3.8.4 โครงการหลัก 1) โครงการเสริมสรางความสงบเรียบรอยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และปราบปรามอาชญากรรมครบวงจร 2) โครงการปองกันอุบัติเหตุทางถนนครบวงจร 3) โครงการพัฒนาศักยภาพกํานัน ผูใหญบานในการรักษาความสงบเรียบรอยและความม่ันคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 4) โครงการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดครบวงจร 3.9 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 9 : บริหารกิจการบานเมืองที่ดีทุกภาคสวน 3.9.1 เปาประสงค - ทุกภาคสวนบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลและประชาชนไดรับการบริการท่ีด ี 3.9.2 ตัวชี้วัดและคาเปาหมาย 1) รอยละของระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ รอยละ 85 2) องคกรภาครัฐดําเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐตามเกณฑท่ีกําหนด 3.9.3 กลยุทธ 1) องคกรภาครัฐบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลและดําเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ตามเกณฑท่ีกําหนด 3.9.4 โครงการหลัก 1) โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) (ประกอบดวยกิจกรรมหลักท่ีเช่ือมโยงกัน 3 กิจกรรม)

************************

Page 48: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

วิสัยทัศนการพัฒนาจังหวดัยโสธร “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกลสูสากล”

เปาประสงค ประเด็นยุทธศาสตร 9 ประเด็นฯ

3. พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน

2. สงเสริมการทองเท่ียว การคา และการลงทุน

4. เสริมสรางเศรษฐกิจฐานราก

5. พัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูคูคุณธรรม และวัฒนธรรมประเพณีท่ีดีงาม

6. ยกระดับคุณภาพชีวิต

7. อนุรักษ ฟนฟู พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

8. เสริมสรางความม่ันคงและความสงบเรียบรอย

9. บริหารกิจการบานเมืองท่ีดีทุกภาคสวน

1. สงเสริมการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรียครบวงจร 1. เพิ่มผลผลิตและมูลคาการจําหนายสินคาเกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย

2. มูลคาการทองเท่ียว การคา และการลงทุนเพิ่มข้ึน

3. โครงสรางพื้นฐานดานแหลงน้ําเพื่อการเกษตร การอุปโภคและบริโภค เพียงพอตอความตองการและถนนในชนบทมีสภาพใชไดดี

5. ประชากรทุกกลุมอายุไดรับโอกาสทางการศึกษาอยางท่ังถึงกัน มีคุณภาพการศึกษาใหไดมาตรฐานทุกระบบ สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน และพัฒนาสูสังคมแหงการเรียนรูคูคุณธรรม ประเพณีวัฒนธรรมท่ีดีงาม

6. ประชาชนมีสุขภาวะท่ีดี เขาถึงบริการสาธารณสุขท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานอยางเทาเทียม ไดรับสวัสดิการสังคมอยางท่ัวถึง หมูบานชุมชนเขมแข็ง

7. สิ่งแวดลอมดี ผังเมืองดี มีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

8. สังคมมีความสงบเรียบรอย ประชาชนมีความม่ันคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

9. ทุกภาคสวนบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล และประชาชนไดรับบริการท่ีดี

4. ประชาชนมีอาชีพและรายไดท่ีม่ันคง

Page 49: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-49-

ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดยโสธร

วิสัยทัศนการพัฒนาจังหวัดยโสธร “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกลสูสากล”

พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร 9 ประเด็นฯ

1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารทรัพยากรการเกษตร เปนเกษตรปลอดภัย และเกษตรอินทรีย ไมกระทบสิ่งแวดลอมและใหมีมูลคาเพ่ิมสอดคลองกับความตองการของตลาด

3. พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน

2. สงเสริมการทองเที่ยว การคา และการลงทุน

1. สงเสริมการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรียครบวงจร

4. พัฒนาคนใหมีคุณภาพ คุณธรรม มีสุขภาวะท่ีดี สภาพแวดลอมดี มีความปลอดภัย มีความสะดวก การดํารงชีวิต การประกอบอาชีพและ ใหสังคมชุมชนเขมแข็ง

5. สงเสริมใหทุกภาคสวนรวมกันบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล

4. เสริมสรางเศรษฐกิจฐานราก

5. พัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูคูคุณธรรม และวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม

6. ยกระดับคุณภาพชีวิต

7. อนุรักษ ฟนฟู พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

8. เสริมสรางความมั่นคงและความสงบเรียบรอย

9. บริหารกิจการบานเมืองที่ดีทุกภาคสวน

3. สงเสริมปรับปรุงพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานใหเพียงพอและเศรษฐกิจฐานรากตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง

2. สงเสริมและพัฒนา / สรางแหลงทองเที่ยวใหมีศักยภาพ มีเอกลักษณ ใหเปนแหลงทองเที่ยวหลัก ครบวงจรและใหสามารถเปนแหลงทองเที่ยวไดตลอดป

Page 50: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-50-

1. สงเสริมการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรียครบวงจร

3. พัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน

2. สงเสริมการทองเที่ยว การคา และการลงทุน

4. เสริมสรางเศรษฐกิจฐานราก

5. พัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูคูคุณธรรม และวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม

6. ยกระดับคุณภาพชีวิต

7. อนุรักษ ฟนฟู พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

8. เสริมสรางความมั่นคงและความสงบเรียบรอย

9. บริหารกิจการบานเมืองที่ดีทุกภาคสวน

1.1 สงเสริมและพัฒนากระบวนการผลิต การแปรรูปสินคาเกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรียใหไดคุณภาพและมาตรฐาน 1.2 สงเสริมและเพ่ิมชองทางการตลาดผลิตภัณฑชุมชนสินคาเกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย

2.1 ปรับปรุงและสรางแหลงทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม นิเวศนการเกษตรและหมูบานทองเท่ียว 2.2 สงเสริมและพัฒนาผูประกอบการคาและบริการใหมีความสามารถในการแขงขัน 2.3 เพ่ิมศักยภาพผูประกอบการและสงเสริมใหเกิดผูประกอบการใหม

3.1 ปรับปรุงและกอสรางแหลงน้ําในและนอกเขตชลประทานเพ่ือการเกษตรแหลงน้ําชุมชนเพ่ืออุปโภคบริโภค 3.2 กอสรางบํารุงรักษาและอํานวยความปลอดภัยสายทางครอบคลุมทุกชุมชน

4.1 สงเสริมและพัฒนาอาชีพในและนอกภาคการเกษตร 4.2 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารกองทุนของชุมชนและสงเสริมการเขาถึงแหลงเงินทุน

5.1 เสริมสรางโอกาสทางการศึกษาอยางทั่วถึงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหไดมาตรฐานและสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน 5.2 อนุรักษวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม

6.1 พัฒนาระบบสุขภาพ 6.2 พัฒนาระบบสวัสดิการและการดูแลผูดอยโอกาส 6.3 เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน

7.1 สงเสริมใหมีการอนุรักษฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวม 7.2 บริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวม 7.3 สงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นวางและจัดทําผังเมืองใหเหมาะสม

8.1 เพ่ิมขีดความสามารถการรักษาความสงบเรียบรอยความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 8.2 เพ่ิมขีดความสามารถในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด

9.1 องคกรภาครัฐบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลและดําเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐตามเกณฑที่กําหนด

วิสัยทัศนการพัฒนาจังหวัดยโสธร “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกลสูสากล”

กลยุทธ 20 กลยุทธ ประเด็นยุทธศาสตร 9 ประเด็นฯ

Page 51: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-51-

แบบ จ. 1

แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 จังหวัดยโสธร

วิสัยทัศน : “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกสูสากล

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 : สงเสริมการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรียครบวงจร

เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด

คาเปาหมาย

กลยุทธ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2553 -พ.ศ. 2556

1.1 เพ่ิมผลผลิตและมูลคาการ 1) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของพ้ืนท่ีขาวหอม 10 10 10 10 40 1) สงเสริมและพัฒนากระบวน

จําหนายสินคาเกษตร มะลิปลอดภัย (GAP) การผลิต การแปรรูปสินคาเกษตร

ปลอดภัยและขาวหอมมะล ิ ปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย

อินทรีย ใหไดคุณภาพและมาตรฐาน

2) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของพ้ืนท่ีการปลูก 5 5 5 5 20 1) สงเสริมและพัฒนากระบวน

ขาวหอมมะลิอินทรีย การผลิต การแปรรูปสินคาเกษตร

ปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย

ใหไดคุณภาพและมาตรฐาน

3) จํานวนผลิตภัณฑแปรรูปสินคา - 2 2 2 6 1) สงเสริมและพัฒนากระบวน

เกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะล ิ การผลิต การแปรรูปสินคาเกษตร

อินทรียในเชิงการคาเพ่ิมขึ้น ปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย

ใหไดคุณภาพและมาตรฐาน

4) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของมูลคาการ - 5 5 5 15 2) สงเสริมและเพ่ิมชองทางการ

จําหนายขาวหอมมะลิปลอดภัย จําหนายผลิตภัณฑชุมชน สินคา

เกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะล ิ

อินทรีย

แบบ จ. 1 (จังหวัดยโสธร)

Page 52: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-52-

แบบ จ. 1

แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 จังหวัดยโสธร

วิสัยทัศน : “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกสูสากล”

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 : สงเสริมการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรียครบวงจร

เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด

คาเปาหมาย

กลยุทธ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2553 -พ.ศ. 2556

5) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของการจําหนาย - 3 3 3 9 2) สงเสริมและเพ่ิมชองทางการ

ขาวหอมมะลิอินทรีย จําหนายผลิตภัณฑชุมชน สินคา

เกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะล ิ

อินทรีย

Page 53: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-53-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

1) โครงการเพ่ิมขีดความสามารถในการผลิตการแปรรูปผล 1 1 28,957,300 51,500,000 51,500,000 5,500,000 สนง.เกษตรจังหวัด

ผลิตการเกษตรและขาวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรียใหได เจาภาพหลัก

คุณภาพและมาตรฐาน : ประกอบดวยกิจกรรมหลัก ดังน้ี

1.1) ฝกอบรมและสงเสริมการพัฒนากระบวนการผลิต 2,700,000 10,000,000 10,000,000 - สนง.เกษตรจังหวัด

สินคาเกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิใหไดมาตรฐาน

1.2) พัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตเมลด็พันธุขาว 2,900,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 สนง.เกษตรจังหวัด

พันธุดีของศูนยขาวชุมชน

1.3) สงเสริมการผลิตปุยอินทรียในพ้ืนท่ีปลูกขาวหอมมะล ิ 2,000,000 2,000,000 2,000,000 - สถานีพัฒนาท่ีดินยโสธร

ปลอดภัยและอินทรีย

1.4) พัฒนาแหลงนํ้าในไรนานอกเขตชลประทานในพ้ืนท่ี 2,000,000 2,000,000 2,000,000 - สถานีพัฒนาท่ีดินยโสธร

ปลูกขาวหอมมะลิปลอดภัยและอินทรีย

1.5) พัฒนาเพ่ิมพ้ืนท่ีชลประทานในพ้ืนท่ีปลูกขาวหอมมะล ิ 20,000,000 20,000,000 20,000,000 - โครงการชลประทานยโสธร

ปลอดภัยและอินทรีย

1.6) ตรวจรับรองแหลงผลิตขาวหอมมะลิปลอดภัย (GAP) 600,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 สนง.เกษตรจังหวัด

1.7) การตรวจรับรองมาตรฐานขาวหอมมะลิอินทรีย - 3,000,000 3,000,000 3,000,000 สนง.เกษตรจังหวัด

1.8) สงเสริมการเลี้ยงและการแปรรูปสินคาปศุสัตว - 9,000,000 9,000,000 - สนง.ปศุสัตวจังหวัด

ปลอดภัยและอินทรีย

1.9) สงเสริมและพัฒนาการแปรรูปผลผลิตเกษตรปลอดภัย - 2,000,000 2,000,000 - วิทยาลัยเกษตรและ

และขาวหอมมะลิอินทรีย เทคโนโลยียโสธร

1.10) ฝกอบรมและสงเสริมพัฒนาการบรรจุผลิตภัณฑ 1,457,300 1,000,000 1,000,000 - สนง.อุตสาหกรรมจังหวัด

ชุมชน ผลผลิตเกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย

Page 54: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-54-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

2) โครงการเพ่ิมขีดความสามารถในการเพ่ิมชองทางการ 1 1 - 12,000,000 12,000,000 - สนง.พาณิชยจังหวัด

ตลาดผลิตภัณฑชุมชน ที่เปนสินคาเกษตรปลอดภัยและ เจาภาพหลัก

ขาวหอมมะลิอินทรีย : ประกอบดวยกิจกรรมหลัก

2.1) เชื่อมโยงตลาดสินคาผลิตภัณฑชุมชนท่ีเปนสินคา - 10,000,000 10,000,000 - สนง.พาณิชยจังหวัด

เกษตรปลอดภัยและขาวหอมมะลิอินทรีย ท้ังในและตาง

ประเทศ

2.2) จัดงานเทศกาลผลผลิตเกษตรปลอดภัยและขาวหอม - 1,000,000 1,000,000 - สนง.เกษตรจังหวัด

มะลิอินทรีย

2.3) ฝกอบรมและสงเสริมกลุมเกษตรกร / สถาบัน - 1,000,000 1,000,000 - สนง.สหกรณจังหวัด

เกษตรกรในการจําหนายผลผลิตเกษตร / ขาวหอมมะล ิ

ปลอดภัยและอินทรีย

Page 55: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-55-

แบบ จ. 1

แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 จังหวัดยโสธร

วิสัยทัศน : “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกสูสากล”

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 : สงเสริมการทองเที่ยว การคา และการลงทุน

เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด

คาเปาหมาย

กลยุทธ พ.ศ. 2553

พ.ศ. 2554

พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2553 -พ.ศ. 2556

2.1) มูลคาการทองเท่ียว 1) จํานวนแหลงทองเท่ียวไดรับการ 1 แหง 6 แหง 4 แหง 1 แหง 12 แหง 1) ปรับปรุงและสรางแหลงทอง

การคา และการลงทุนเพ่ิมขึ้น

พัฒนาอยางมีคุณภาพ เท่ียวเชิงวัฒนธรรมนิเวศน

การเกษตรและหมูบาน OTOP

ทองเท่ียว

2) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของรายไดจากการ - 2 2 2 6 1) ปรับปรุงและสรางแหลงทอง

ทองเท่ียว เท่ียวเชิงวัฒนธรรมนิเวศน

การเกษตรและหมูบาน OTOP

ทองเท่ียว

3) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของรายได GPP - 2 2 2 6 2) สงเสริมและพัฒนาผูประกอบ

สาขาขายสงขายปลีก การคาและบริการใหมีความ

สามารถในการแขงขัน

4) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของมูลคาการ - 1 1 1 3 3) เพ่ิมศักยภาพผูประกอบการและ

ลงทุนของผูประกอบการ สงเสริมใหผูประกอบการใหม

Page 56: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-56-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

1) โครงการพัฒนาและกอสรางแหลงทองเที่ยวและประชา 1 1 13,950,000 127,560,500 80,100,000 37,800,000 สนง.การทองเท่ียวและกีฬา

สัมพันธที่มีศักยภาพ จังหวัด เจาภาพหลัก

: ประกอบดวยกิจกรรมหลัก

1.1) ปรับปรุงและกอสรางภูมิทัศนลําทวนฝงขวา (กอสราง 12,950,000 100,000,000 60,000,000 25,000,000 สํานักงานจังหวัด / โยธา

แหลงทองเท่ียวตํานานบุญบั้งไฟ) ธิการและผังเมืองจังหวัด /

วัฒนธรรมจังหวัด

1.2) ปรับปรุงภูมิทัศนวัดพระพุทธบาทยโสธร - 7,000,000 - - สนง.ทองเท่ียวและกีฬา ฯ

1.3) ปรับปรุงภูมิทัศนธาตุกองขาวนอย - 1,660,500 - - สนง.ทองเท่ียวและกีฬา ฯ

1.4) หมูบาน OTOP ทองเท่ียว (บานศรีฐาน) - 2,000,000 2,000,000 - สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด

1.5) งานประเพณีบุญบั้งไฟยโสธรและแหมาลัย 1,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 สนง.ทองเท่ียวและกีฬา ฯ

1.6) สงเสริมหมูบานวัฒนธรรมสูการทองเท่ียว - 5,000,000 5,000,000 - สนง.วัฒนธรรมจังหวัด

1.7) สงเสริมการทําโฮมสเตยในแหลงศึกษาดูงานดาน - 1,500,000 1,500,000 - สนง.ปศุสัตวจังหวัด

ปศุสัตว

1.8 จัดทําสื่อ / Road Show ประชาสัมพันธการทองเท่ียว

- 2,000,000 2,000,000 2,000,000 สนง.ทองเท่ียวและกีฬา ฯ

ของจังหวัด

2) โครงการเพ่ิมขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจการ 1 1 - 3,200,000 3,800,000 4,400,000 สนง.พาณิชยจังหวัด

การคาและการบริการ เจาภาพหลัก

: ประกอบดวยกิจกรรมหลัก

2.1) งานแสดงสินคา /ชองทางการจําหนายสินคาตาง ๆ - 1,000,000 1,500,000 2,000,000 สนง.พาณิชยจังหวัด

ผลิตภัณฑชุมชนและบริการ (ถนนคนเดิน/ตลาดนัด/มหกรรมสินคา)

Page 57: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-57-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

2.2) สงเสริมอาชีพ / มัคคุเทศก/ พนักงานบริการ / การนวด

- 200,000 300,000 400,000 สนง.พาณิชยจังหวัด

แผนไทย / แฟรนดชาย

2.3) จัดเจรจาธุรกิจท้ังในและตางประเทศ (Business - 2,000,000 2,000,000 2,000,000 สนง.พาณิชยจังหวัด

Massing) และประชาสัมพันธ

3) โครงการเพ่ิมศักยภาพการลงทุนภาคอุตสาหกรรมและ 1,2 1 2,010,000 2,350,000 2,350,000 2,350,000 สนง.อุตสาหกรรมจังหวัด

วิสาหกิจชุมชน เจาภาพหลัก

: ประกอบดวยกิจกรรมหลัก

3.1) การแปรรูปลําไมไผหวานเปนถานอัดแนนและนํ้าสม 1,030,000 - - - สนง.อุตสาหกรรมจังหวัด

ควันไม

3.2) เสริมสรางศักยภาพในการแขงขันอุตสาหกรรมเกษตร 630,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 สนง.อุตสาหกรรมจังหวัด

และประชาสัมพันธการลงทุนภาคอุตสาหกรรมและวิสาหกิจ

ชุมชน

3.3) สงเสริมการผลิตสินคาเกษตรดวยตูอบพลังงาน 350,000 350,000 350,000 350,000 สนง.อุตสาหกรรมจังหวัด

แสงอาทิตย

Page 58: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-58-

แบบ จ. 1

แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 จังหวัดยโสธร

วิสัยทัศน : “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกสูสากล”

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 : พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน

เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด

คาเปาหมาย

กลยุทธ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2553 -พ.ศ. 2556

3.1) โครงสรางพ้ืนฐานดาน 1) พ้ืนท่ีชลประทานและแหลงนํ้า 10,000 ไร 10,000 ไร 10,000 ไร 10,000 ไร 40,000 ไร 1) ปรับปรุงและกอสรางแหลงนํ้า

แหลงนํ้าเพ่ือการเกษตร การ ขนาดเล็กในไรนาเพ่ิมขึ้น ในและนอกเขตชลประทานเพ่ือ

อุปโภคบริโภคเพียงพอตอ การเกษตรและแหลงนํ้าชุมชน

ความตองการและถนนใน บริโภค

ชทบทครอบคลุมทุกชุมชน 2) แหลงนํ้าชุมชนเพ่ืออุปโภคบริโภค 50 แหง 50 แหง 50 แหง 50 แหง 200 แหง 1) ปรับปรุงและกอสรางแหลงนํ้า

ไดรับการปรับปรุง ในและนอกเขตชลประทานเพ่ือ

การเกษตรและแหลงนํ้าชุมชน

บริโภค

2) ถนนในชนบทไดรับการปรับปรุง 40 กม. 40 กม. 40 กม. 40 กม. 160 กม. 2) กอสรางบํารุงรักษาและอํานวย

ใหอยูในสภาพด ี ความสะดวกสายทางครอบคลุม

ทุกชุมชน

Page 59: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-59-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

1) โครงการปรับปรุงและกอสรางแหลงนํ้าเพ่ือการเกษตร 1,2 1 152,000,000 175,000,000 175,000,000 175,000,000 โครงการชลประทานยโสธร

และอุปโภคบริโภค เจาภาพหลัก

: ประกอบดวยกิจกรรมหลัก

1.1) ขุดลอกแหลงนํ้าตาง ๆ ขนาดเล็กและขนาดกลาง 100,000,000 100,000,000 100,000,000 100,000,000 โครงการชลประทานยโสธร

1.2) ปรับปรุง / ขยาย / กอสรางสถานีสูบนํ้าดวยระบบ 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 โครงการชลประทานยโสธร

ไฟฟาและคลองสงนํ้า

1.3) ขุดเจาะบอบาดาล 2,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 สนง.ทรัพยากรธรรมชาติฯ

1.4) ปรับปรุงและกอสรางระบบประปาหมูบาน - 20,000,000 20,000,000 20,000,000 สนง.ทรัพยากรธรรมชาติฯ

- มีองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นตั้งงบประมาณ

สนับสนุน

2) โครงการปรับปรุงและกอสรางทางในชนบท 1 1 92,000,000 100,000,000 100,000,000 100,000,000 สนง.ทางหลวงชนบทฯ

: ประกอบดวยกิจกรรมหลัก

2.1) กอสรางถนน คสล. และลาดยาง 80,000,000 100,000,000 100,000,000 100,000,000 สนง.ทางหลวงชนบท ฯ

2.2) กอสรางถนน คสล. โดยใชแรงงานเปนหลัก 12,000,000 - - - สนง.โยธาธิการและผังเมือง

จังหวัด

- มีองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นตั้งงบประมาณ

สนับสนุน

Page 60: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-60-

แบบ จ. 1

แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 จังหวัดยโสธร

วิสัยทัศน : “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกสูสากล”

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 : เสริมสรางเศรษฐกิจฐานราก

เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด

คาเปาหมาย

กลยุทธ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2553 -พ.ศ. 2556

4.1) ประชาชนมีอาชีพและ 1) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของรายไดของ 3 3 3 3 12 1) สงเสริมและพัฒนาอาชีพใน

รายไดท่ีม่ันคง ครัวเรือนตอคนตอป และนอกภาคการเกษตร

2) พัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร

กองทุนของชุมชนและสงเสริม

การเขาถึงแหลงเงินทุน

Page 61: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-61-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

1) โครงการแกไขปญหาความยากจนตามแนวทางปรัชญา 1,2 1 19,815,000 21,500,000 20,500,000 12,500,000 สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด

เศรษฐกิจพอเพียง และเพ่ิมทักษะฝมือแรงงาน เจาภาพหลัก

: ประกอบดวยกิจกรรมหลัก

1.1) พัฒนาและขยายผลโครงการอันเน่ืองมาจาก 5,000,000 5,000,000 5,000,000 - สํานักงานจังหวัด

พระราชดําริ (เกษตรผสมผสาน)

1.2) ขจัดความยากจนตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจ 2,315,000 3,000,000 3,000,000 - สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด

พอเพียง (ครัวเรือนตกเกณฑ จปฐ.)

1.3) แนะแนวอาชีพระดับหมูบานและสรางอาชีพใหมให 500,000 500,000 500,000 500,000 สนง.จัดหางานจังหวัด

คนตกงาน

1.4) พัฒนาฝมือและศักยภาพแรงงานกอนเขาสูตลาด 2,000,000 3,000,000 2,000,000 2,000,000 ศูนยพัฒนาฝมือแรงงาน

แรงงานและฝกอบรมการกรีดยางพารา จังหวัด / สนง.กองทุน

สงเคราะหการทําสวนยางฯ

- มีองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นตั้งงบประมาณ

1.5) พัฒนาอาชีพตาง ๆ เพ่ือเพ่ิมรายได 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 สนับสนุน

2) โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุน 1 1 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัด

ชุมชนและสงเสริมการเขาถึงแหลงทุน :

Page 62: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-62-

แบบ จ. 1

แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 จังหวัดยโสธร

วิสัยทัศน : “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกสูสากล”

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 : พัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูคูคุณธรรมและวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม

เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด

คาเปาหมาย

กลยุทธ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2553 -พ.ศ. 2556

5.1 ประชากรทุกกลุมอายุได 1) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของทุกกลุมอาย ุ 1 1 1 1 4 1) เสริมสรางโอกาสทางการศึกษา

รับโอกาสทางการศึกษาอยาง ไดรับโอกาสการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใน อยางท่ัวถึงและพัฒนาคุณภาพ

ท่ัวถึงกัน มีคุณภาพการศึกษา ระบบและนอกระบบโรงเรียน การศึกษาใหไดมาตรฐานและ

ใหไดมาตรฐานทุกระบบ รวมท้ังไดรับการฝกอบรมดานอาชีพ สอดคลองกับตลาดแรงงาน

สอดคลองกับความตองการ

ของตลาดแรงงาน และพัฒนา 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของวิชา 3 3 3 3 12 1) เสริมสรางโอกาสทางการศึกษา

สูสังคมแหงการเรียนรูคู หลักระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อยางท่ัวถึงและพัฒนาคุณภาพ

คุณธรรม วัฒนธรรม (กลุมสาระการเรียนรู) การประเมิน การศึกษาใหไดมาตรฐานและ

ประเพณีท่ีดีงาม ระดับชาติเพ่ิมขึ้น สอดคลองกับตลาดแรงงาน

3) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของคนใน 90 90 95 95 95 2) อนุรักษวัฒนธรรมประเพณี

ครัวเรือนปฏิบัติตนตามขนบ ท่ีดีงาม

ธรรมเนียมประเพณีและมารยาทไทย

Page 63: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-63-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

1) โครงการสรางโอกาสทางการศึกษาและสอดคลองกับ 1,2 2 31,840,000 31,840,000 31,840,000 31,840,000 สพท.เขต 1 เจาภาพหลัก

ความตองการแรงงาน : กิจกรรมหลัก

1.1) ประชาอาสาพัฒนาแหลงเรียนรู 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 สพท.เขต 1,2

1.2) จัดการศึกษาตอเน่ือง 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 กศน. จ.ยโสธร

1.3) ครูคนคนเยาวชนรักถิ่น 700,000 700,000 700,000 700,000 สพท. เขต 2

1.4) ยกระดับการศึกษาประชากรศึกษาประชากร 18,000,000 18,000,000 18,000,000 18,000,000 กศน. จ.ยโสธร

วัยแรงงาน

1.5) เรารักภาษาไทยใสใจการเรียนรู 150,000 150,000 150,000 150,000 สพท. เขต 1

1.6) แรลลี่วิชาการจักรยานสานสูฝน 300,000 300,000 300,000 300,000 สพท. เขต 2

1.7) ความรวมมือผลิตกําลังคนดานอาชีวศึกษาตอบ 400,000 400,000 400,000 400,000 อาชีวศึกษาจังหวัดยโสธร

สนองภาคการผลิต การบริการในสาขาการบริการสุขภาพ

1.8) ประชาสัมพันธและบริหารทาง 200,000 200,000 200,000 200,000 วิทยาลัยชุมชน

1.9) ศึกษาความตองการของชุมชน 60,000 60,000 60,000 60,000 วิทยาลัยชุมชน

1.10) ฟนฟูสมรรถภาพผูพิการโดยชุมชน 70,000 70,000 70,000 70,000 ศูนยการศึกษาพิเศษ

1.11) ทัศนศึกษาทางทะเลภาคตะวันออก (เปดโลกกวาง 560,000 560,000 560,000 560,000 ศูนยการศึกษาพิเศษ

สําหรับเด็กพิการยโสธร)

1.12) ขยายการเขาถึงบริการอาชีวศึกษา 400,000 400,000 400,000 400,000 อาชีวศึกษาจังหวัดยโสธร

1.13) การพัฒนาความเปนเลิศทางวิชาการ 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 อาชีวศึกษาจังหวัดยโสธร

Page 64: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-64-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ.2556

2) โครงการสงเสริมอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม 1,2 2 4,690,000 5,115,000 4,690,000 4,690,000 สนง.วัฒนธรรมจังหวัด

: กิจกรรมหลัก เจาภาพหลัก

2.1) รณรงคสงเสริมวัฒนธรรมและคานิยมท่ีดีงาม 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 วัฒนธรรมจังหวัด

2.2) พัฒนาศูนยวัฒนธรรมในสถานศึกษาสูการเรียนรูและ 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 วัฒนธรรมจังหวัด

หมูบานวัฒนธรรมนํารอง

2.3) วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 วัฒนธรรมจังหวัด

2.4) อนุรักษประเพณีงานบุญบั้งไฟ 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 วัฒนธรรมจังหวัด

2.5) พัฒนาบุคลากรเผยแพรพระพุทธศาสนา 390,000 390,000 390,000 390,000 สนง.พระพุทธศาสนาฯ

2.6) อุปสมบทเทิดไทองคราชัน 84 พรรษา - 425,000 - - สนง.พระพุทธศาสนาฯ

2.7) รูรักสามัคคีไปสูประชาธิปไตย 200,000 200,000 200,000 200,000 สพท. เขต 1

2.8) ลูกเสือ เนตรนารี นําคุณธรรมสูชุมชน 100,000 100,000 100,000 100,000 สพท. เขต 1

Page 65: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-65-

แบบ จ. 1

แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 จังหวัดยโสธร

วิสัยทัศน : “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกสูสากล”

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6 : ยกระดับคุณภาพชีวิต

เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด

คาเปาหมาย

กลยุทธ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2553 -พ.ศ. 2556

6.1 ประชาชนมีสุขภาวะท่ีด ี 1) อายุคาดเฉลี่ยชาย / หญิง เม่ือ - 69.3/75.5 70.3 / 76.5

71.3 / 77.5

71.3 / 77.5 1) พัฒนาระบบสุขภาพ

เขาถึงบริการสาธารณสุขท่ีมี แรกเกิดเพ่ิมขึ้น

คุณภาพอยางเทาเทียม ไดรับ

สวัสดิการสังคมอยางท่ัวถึง 2) จํานวนสถานบริการสาธารณสุข ทุกแหง ทุกแหง ทุกแหง ทุกแหง ทุกแหง 1) พัฒนาระบบสุขภาพ

สังคมหมูบาน/ ชุมชนเขมแข็ง ทุกแหงผานเกณฑรับรองมาตรฐาน

3) รอยละของผูดอยโอกาสไดรับ 5 5 5 ครบ ครบ 2) พัฒนาระบบสวัสดิการสังคม

สวัสดิการเพ่ิมขึ้น และการดูแลผูดอยโอกาส

4) รอยละของหมูบานท่ีมีการดําเนิน 100 100 100 100 100 3) เสริมสรางความเขมแข็งของ

การตามแผนพัฒนาสังคมและ ชุมชน

สวัสดิการสังคมชุมชน

Page 66: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-66-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

1) โครงการหมูบานตนแบบพัฒนาคุณภาพชีวิต 1,2 2 6,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 สนง.สาธารณสุขจังหวัด

: กิจกรรมหลัก เจาภาพหลัก

1.1) ตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 35 ป ขึ้นไป 500,000 500,000 500,000 500,000

เพ่ือคนหาผูปวยเร้ือรัง ฯ

1.2) จัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพในทุกกลุมอาย ุ 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000

1.3) จัดกิจกรรมปองกันโรคและการปองกันอุบัติเหต ุ 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000

อุบัติภัยในชุมชน

1.4) จัดระบบบริการรักษาและฟนฟูสภาพผูปวยและ 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000

ผูพิการในชุมชน

1.5) สงเสริมอาชีพและรายไดของคนในชุมชนผูดอยโอกาส 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000

2) โครงการโลกของเด็กและเยาวชนเมืองยศ 1,2 2 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 สนง.พัฒนาสังคมและความ

: กิจกรรมหลัก ม่ันคงของมนุษยจังหวัด

2.1) จัดเวทีการแสดงความคิดสรางสรรคของเด็กและ

เยาวชน

2.2) จัดกิจกรรมเชิดชูเกียรติเด็กและเยาวชนดีเดน

2.3) จัดถนนเด็กและเยาวชนเพ่ือเปดโอกาสใหเด็กและ

เยาวชนไดแสดงกิจกรรม

3) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสุขภาวะและสวัสดิการ 1,2 2 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 สนง.พัฒนาสังคมและความ

ชุมชนตามแผนพัฒนาสังคมและสวัสดิการชุมชน ม่ันคงของมนุษยจังหวัด

: กิจกรรมหลัก

Page 67: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-67-

แบบ จ. 1

แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 จังหวัดยโสธร

วิสัยทัศน : “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกสูสากล”

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 7 : อนุรักษ ฟนฟู พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด

คาเปาหมาย

กลยุทธ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2553 -พ.ศ. 2556

7.1) สิ่งแวดลอมดี ผังเมืองด ี 1) พ้ืนท่ีปาไดรับการอนุรักษฟนฟู 500 ไร 500 ไร 500 ไร 500 ไร 2,000 ไร 1) สงเสริมใหมีการอนุรักษ ฟนฟู

มีการอนุรักษทรัพยากร ใหสมบูรณเพ่ิมขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติและมี

ธรรมชาต ิ สวนรวม

2) จํานวนแหลงนํ้าธรรมชาติตนนํ้า 3 3 3 3 12 1) สงเสริมใหมีการอนุรักษ ฟนฟู

ไดรับการฟนฟูใหสมบูรณ ทรัพยากรธรรมชาติและมี

สวนรวม

3) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของทรัพยากรดิน 10 10 10 10 40 1) สงเสริมใหมีการอนุรักษ ฟนฟู

ไดรับการฟนฟูใหอุดมสมบูรณ ทรัพยากรธรรมชาติและมี

สวนรวม

4) ปริมาณขยะมูลฝอยมีการนํามาใช 100 ตัน 100 ตัน 100 ตัน 100 ตัน 400 ตัน 2) บริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม

ประโยชน แบบมีสวนรวม

5) อบต. มีการวางและจัดทําผังชุมชน รวม 10 แหง

รวม 30 แหง

รวม 50 แหง

รวม 73 แหง

รวม 73 แหงครบ 3) สงเสริมใหองคกรปกครองสวน ทองถิ่น วางและจัดการผังเมืองให

ครบทุกแหง เหมาะสม

Page 68: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-68-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

1) โครงการอนุรักษฟนฟูสภาพปาเพ่ือรักษานิเวศนและ 1,2 3 6,500,000 7,000,000 7,000,000 7,000,000 สนง.ทรัพยากรธรรมชาติ ฯ

ลดภาวะโลกรอน เจาภาพหลัก

: กิจกรรมหลัก

1.1)กอสรางฝายตนนํ้าตามแนวพระราชดําริ (Check Dam)

1,500,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 สนง.ทรัพยากรธรรมชาติฯ

1.2) สงเสริมการอนุรักษ ฟนฟูทรัพยากรปาไมแบบมี 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 สนง.ทรัพยากรธรรมชาติฯ

สวนรวม

1.3) ปลูกตนไมในพ้ืนท่ีตนนํ้าลําธารและพ้ืนท่ีท่ัวไป 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 ศูนยเพาะชํากลาไม

โดยเฉพาะตนสบูดํา (พืชพลังงานทดแทน)

2) โครงการอนุรักษดินและฟนฟูแหลงนํ้าธรรมชาติแบบมี 1,2 3 32,443,000 21,175,000 19,550,000 19,519,000 สนง.ทรัพยากรธรรมชาติ ฯ

สวนรวม : กิจกรรมหลัก เจาภาพหลัก

2.1) อนุรักษดินและนํ้า 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 สถานีพัฒนาท่ีดินยโสธร

2.2) พัฒนาปรับปรุงฟนฟูแหลงนํ้าธรรมชาติ / ตนนํ้า 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 สนง.ทรัพยากรธรรมชาติ ฯ

ลําธาร

2.3) กอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งริมแมนํ้าชี / ลํานํ้า (ปละ 21,443,000 10,175,000 8,550,000 8,519,000 สนง.โยธาธิการและผังเมือง

1 แหง) จังหวัด

3) โครงการธนาคารรีไซเคิล 1,2 3 500,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 สนง.ทรัพยากรธรรมชาติฯ

4) โครงการสงเสริมการวางและจัดทําผังชุมชน (อบต.) 2 3 100,000 100,000 100,000 100,000 สนง.โยธาธิการและผังเมือง

จังหวัด

Page 69: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-69-

แบบ จ. 1

แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 จังหวัดยโสธร

วิสัยทัศน : “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกสูสากล”

ประเด็นยุทธศาสตรที ่ 8 : เสริมสรางความม่ันคงและความสงบเรียบรอย

เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด

คาเปาหมาย

กลยุทธ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2553 -พ.ศ. 2556

8.1) สังคมมีความสงบ 1) รอยละท่ีเพ่ิมขึ้นของการจับกุมผู 1 1 1 1 4 1) เพ่ิมขีดความสามารถการรักษา

เรียบรอย ประชาชนมีความ กระทําผิดในคดีแตละกลุม ความสงบเรียบรอย ความม่ันคง

ปลอดภัยในชีวิตและ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

ทรัพยสิน

2) รอยละท่ีลดลงของอุบัติเหตุจราจร 1 1 1 1 4 1) เพ่ิมขีดความสามารถการรักษา

ทางบก ความสงบเรียบรอย ความม่ันคง

ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

3) รอยละของหมูบาน / ชุมชน 100 100 100 100 100 2) เพ่ิมขีดความสามารถในการ

เขมแข็งเอาชนะยาเสพติด ปองกันและแกไขปญหา

ยาเสพติด

Page 70: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-70-

บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ หนวยดําเนินการ

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

1) โครงการเสริมสรางความสงบเรียบรอยและความปลอดภัย 1,2 4 1,000,000 3,000,000 10,000,000 3,000,000 ตํารวจภูธรจังหวัด

ในชีวิตและทรัพยสินและปราบปรามอาชญากรรมครบวงจร

2) โครงการปองกันอุบัติเหตุทางถนน 1,2 4 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 สนง.ปองกันและบรรเทา

สาธารณภัยจังหวัด

3) โครงการพัฒนาศักยภาพกํานันผูใหญบานในการรักษาความ 1,2 4 - 1,500,000 10,000,000 1,500,000 ท่ีทําการปกครองจังหวัด

สงบเรียบรอยและความม่ันคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

รวมท้ังความสามัคคีปรองดอง

4) โครงการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดครบวงจร 1,2 4 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 ท่ีทําการปกครองจังหวัด

Page 71: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-71-

แบบ จ. 1

แบบฟอรมการจัดทําแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2556 จังหวัดยโสธร

วิสัยทัศน : “ยโสธรนาอยู การเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียกาวไกสูสากล”

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 9 : บริหารกิจการบานเมืองที่ดีทุกภาคสวน

เปาประสงค เชิงยุทธศาสตร ตัวช้ีวัด

คาเปาหมาย

กลยุทธ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2553 -พ.ศ. 2556

9.1) ทุกภาคสวนบริหารงาน 1) รอยละของระดับความพึงพอใจ 85 85 85 85 85 1) องคกรภาครัฐบริหารงานตาม

ตามหลักธรรมาภิบาลและ ของผูรับบริการ หลักธรรมาภิบาลและดําเนิน

ประชาชนไดรับบริการท่ีด ี การพัฒนาคุณภาพบริหาร

จัดการภาครัฐ (PMQA) ตาม

เกณฑท่ีกําหนด

2) องคกรภาครัฐดําเนินการพัฒนา ครบถวน ครบถวน ครบถวน ครบถวน ครบถวน 1) องคกรภาครัฐบริหารงานตาม

คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ตามเกณฑ ตามเกณฑ ตามเกณฑ ตามเกณฑ ตามเกณฑ หลักธรรมาภิบาลและดําเนิน

ตามเกณฑท่ีกําหนด การพัฒนาคุณภาพบริหาร

จัดการภาครัฐ (PMQA) ตาม

เกณฑท่ีกําหนด

Page 72: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-72-

โครงการ แหลง งปม. ผลผลิต พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556

1) โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 1,2 5 12,000,000 12,000,000 12,000,000 12,000,000 สํานักงานจังหวัด

(PMQA) : กิจกรรมหลัก

1.1) เพ่ิมศักยภาพการพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ 8,000,000 8,000,000 8,000,000 8,000,000 สํานักงานจังหวัด

1.2) การพัฒนาคุณภาพการบริการประชาชน / ศูนย 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 ท่ีทําการปกครองจังหวัด

บริการรวมใหไดรับความพึงพอใจ

1.3) การปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤต ิ 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 สํานักงานจังหวัด

มิชอบในราชการและภาคสวนท่ีเก่ียวของ

1.4) การบริหารความเสี่ยง 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 สนง.คลังจังหวัด

Page 73: ส วนที่ 1 สภาพทั่วไปของจังหวัด ...C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพ ฒนาจ งหว ดยโสธร\ข

C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop\แผนพัฒนาจังหวัดยโสธร\ขอมูลจัดทําแผน.doc

-73-