10
8 โรคท�งเดินห�ยใจ ติดง่�ยห�ยเอง โรคทางเดินหายใจ ทางเดินหายใจเป็นระบบที่สำาคัญของร่างกาย หากมีพยาธิสภาพเกิดขึ้น ย่อมก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย เช่น หากเกิดภาวะทางเดินหายใจถูกอุดกั้นจะ ส่งผลให้สมองขาดออกซิเจน (hypoxia) ผู้ป่วยจะมีอาการหมดสติและเสียชีวิต ในเวลาอันสั้นได้ แต่โชคดีที่ส่วนใหญ่โรคต่างๆของทางเดินหายใจมักไม่รุนแรง และบางโรคสามารถหายเองได้ ทางเดินหายใจ หมายถึง ช่องภาย ในร่างกายที่ส่งผ่านอากาศจากภายนอก เข้าสู่ร่างกายไปยังปลายทางคือถุงลม ภายในปอด ประกอบด้วย ช่องจมูก (nasal cavity) ช่องปาก (oral cavity) คอหอย (pharynx) กล่องเสียง (larynx) ท่อลม (trachea) หลอดลม (bronchus) และถุง ลมปอด (alveoli) เรียงจากภายนอกเข้าสูภายในร่างกาย รูปที่ 5 ทางเดินหายใจเริ่มจากจมูกจนถึงชายปอด ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึง โรคในระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยดังนี1. โรคไข้หวัด 2. ภาวะวัตถุแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ 3. โรคคอหอยอักเสบ และต่อมทอนซิลอักเสบ 4. โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน 5. โรคปอดอักเสบ

โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

8

โรคท�งเดินห�ยใจ ติดง่�ยห�ยเอง

โรคทางเดินหายใจ

ทางเดนิหายใจเปน็ระบบทีส่ำาคญัของรา่งกายหากมพียาธสิภาพเกดิขึน้

ย่อมก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกายเช่นหากเกิดภาวะทางเดินหายใจถูกอุดกั้นจะ

ส่งผลให้สมองขาดออกซิเจน(hypoxia)ผู้ป่วยจะมีอาการหมดสติและเสียชีวิต

ในเวลาอันสั้นได้ แต่โชคดีที่ส่วนใหญ่โรคต่างๆของทางเดินหายใจมักไม่รุนแรง

และบางโรคสามารถหายเองได้

ทางเดินหายใจหมายถึงช่องภาย

ในร่างกายที่ส่งผ่านอากาศจากภายนอก

เข้าสู่ร่างกายไปยังปลายทางคือถุงลม

ภายในปอดประกอบดว้ยชอ่งจมกู(nasal

cavity) ช่องปาก (oral cavity) คอหอย

(pharynx) กล่องเสียง (larynx) ท่อลม

(trachea)หลอดลม(bronchus)และถุง

ลมปอด(alveoli)เรียงจากภายนอกเข้าสู่

ภายในร่างกายรูปที่ 5 ทางเดินหายใจเริ่มจากจมูกจนถึงชายปอด

ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงโรคในระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยดังนี้

1. โรคไข้หวัด

2. ภาวะวัตถุแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ

3. โรคคอหอยอักเสบและต่อมทอนซิลอักเสบ

4. โรคหอบหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

5. โรคปอดอักเสบ

8

โรคทางเดินหายใจ ติดงา่ยหายเอง โรคทางเดินหายใจ

ทางเดินหายใจเป็นระบบที่ส าคัญของรา่งกาย หากมีพยาธิสภาพเกิดขึ้นย่อมก่อใหเ้กดิผลเสียตอ่ร่างกาย เชน่ หากเกิดภาวะทางเดินหายใจถูกอดุกัน้จะส่งผลเปน็ผลให้สมองขาดออกซิเจน (hypoxia) ผู้ปุวยจะมีอาการหมดสตแิละเสียชีวติในเวลาอนัสั้นได ้แต่โชคดีที่สว่นใหญ่โรคต่างๆของทางเดนิหายใจมักไม่รุนแรง และบางโรคสามารถหายเองได ้

ทางเดินหายใจ หมายถึง ช่องภายในร่างกายที่ส่งผา่นอากาศจากภายนอกเข้าสูร่่างกายไปยังปลายทางคือถุงลมภายในปอด โดยประกอบด้วย ช่องจมกู (nasal cavity) ช่องปาก (oral cavity) คอหอย (pharynx) กล่องเสยีง (larynx) ท่อลม (trachea) หลอดลม (bronchus) และถงุลมปอด (alveoli) เรียงจากภายนอกเข้าสู่ภายในร่างกาย

รูปที่ 5 ทางเดินหายใจเริ่มจากจมูกจนถึงชายปอด

ในหัวข้อนี้จะกล่าวถงึ โรคในระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยดังนี้ 1. โรคไขห้วดั 2. ภาวะวัตถุแปลกปลอมอดุกัน้ทางเดินหายใจ 3. โรคคอหอยอกัเสบ และต่อมทอนซิลอักเสบ 4. โรคหอบหืด และโรคปอดอดุกั้นเรื้อรังก าเริบเฉียบพลัน 5. โรคปอดอกัเสบ

Page 2: โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

9

โรคไข้หวัด (common cold/nasopharyngitis)

ไขห้วดัเปน็ภาวะการอกัเสบของโพรงจมกู(nasalcavity)และคอหอย

สว่นบน(nasopharynx)มสีาเหตเุกดิจากเชือ้ไวรสัเชน่ไรโนไวรสัโคโรนาไวรสั

พิโคน่าไวรัสเป็นต้นการติดต่อเกิดจากการไอจามหรือสัมผัสกับสารคัดหลั่ง

โดยตรง

อาการและอาการแสดง คือมีไข้ คัดจมูก

นำ้ามูกไหล ไอ เจ็บคอ โดยมากมักมีอาการ2-3วัน

หลังจากนั้นอาการจะค่อยๆดีขึ้นและหายไปเอง

การปฐมพยาบาลเบือ้งตน้โดยทัว่ไปไขห้วดั

จะหายเองไดห้ากพกัผอ่นใหเ้พยีงพอดืม่นำา้มากๆรบั

ประทานยาตามอาการเช่นยาลดไข้ยาลดนำ้ามูกยา

แก้ไอข้อมูลจากงานวิจัยพบว่าการใช้ยาปฏิชีวนะใน

โรคไขห้วดัไมม่ปีระโยชน์และอาจเกดิโทษเชน่แพย้า

เกดิผลขา้งเคยีงจากยากอ่ใหเ้กดิเชือ้ดือ้ยาภายในรา่งกายถา้รบัประทานยาโดย

ไม่จำาเป็นบ่อยครั้งเป็นต้นหากอาการดังกล่าวเป็นเกิน3วันร่วมกับมีอาการ

ปวดเมื่อยตามตัวมากมีท้องร่วงกินไม่ได้หายใจเร็วให้รีบมาพบแพทย์เพราะ

อาจเป็นไข้หวัดใหญ่หรือมีภาวะแทรกซ้อนของระบบทางเดินหายใจ

การป้องกันไม่สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัยและล้างมือ

ให้สะอาดด้วยสบู่เมื่อสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ป่วยทุกครั้ง

ภาวะวัตถุแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ (Foreign body

obstruction)

ภาวะการอดุกัน้ทางเดนิหายใจมหีลายสาเหตุในเดก็พบวา่สว่นใหญเ่กดิ

จากการอกัเสบตดิเชือ้ของหลอดลมฝาปดิกลอ่งเสยีงรองลงมาคอืการสำาลกัสิง่

แปลกปลอมเช่นของเล่นเศษอาหารเป็นต้นส่วนในผู้ใหญ่พบว่าเนื้องอกใน

กลอ่งเสยีงเปน็สาเหตทุีพ่บบอ่ยทีส่ดุรองลงมาคอืการบาดเจบ็บรเิวณกลอ่งเสยีง

และภาวะสำาลักสิ่งแปลกปลอมตามลำาดับ

รูปที่ 6 อาการของไข้หวัด

Page 3: โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

10

อาการและอาการแสดงคือหายใจลำาบาก หายใจเสียงดังครืดคราด

(stridor) การอุดกั้นบริเวณเหนือกล่องเสียงจะได้ยินเสียงหายใจครืดคราดใน

ช่วงหายใจเข้า แต่ถ้าการอุดกั้นนั้นอยู่ที่ระดับกล่องเสียงหรือตำ่ากว่าจะได้ยิน

เสียงหายใจครืดคราดทั้งช่วงหายใจเข้าและออก

โรคทีเ่กดิจากทางเดนิหายใจสว่นบนอดุกัน้ตอ้งรบีชว่ยเหลอืทนัทีโดย

แบ่งเป็น2กรณี

1. อุดกั้นโดยสมบูรณ์ จะมีการขาด

อากาศอย่างรวดเร็วปากมือเท้าเปลี่ยนเป็น

สเีขยีวมอืกมุรอบลำาคอ(universalsign)ดงั

รูปที่7พูดหรือร้องแต่ไม่มีเสียงและหมดสติ

ในระยะเวลาอันสั้น

2. อดุกัน้บางสว่นจะมอีาการหายใจ

ลำาบากเสียงพูดเบาและหายใจเร็วกว่าปกติ

ท่านั่งโน้มตัวไปข้างหน้าจะหายใจได้ดีที่สุด

ไม่บังคับให้นอนหงาย เนื่องจากจะหายใจ

ลำาบากจะมากขึ้น

การรักษาเบื้องต้น ถ้าผู้ป่วยรายนั้นยังมีสติให้ผู้ป่วยพยายามไอแรงๆ

ถ้าสิ่งแปลกปลอมไม่หลุดออกมาและอาการไม่ดีขึ้นเริ่มหายใจเร็วและเขียว

ให้ทำาการช่วยเหลือโดยแบ่งตามอายุเป็น2กรณีดังนี้

1. กรณเีดก็อายนุอ้ยกวา่1ปีใหใ้ชก้ารทำาbackblowchestthrust

(รปูที่8)วธิทีำาใหน้ัง่คกุเขา่อุม้เดก็ควำา่หนา้หวัตำา่ใชศ้อกหนบีลำาตวัของเดก็แนบ

ลำาตวัผูช้ว่ยเหลอืการใชส้นัมอืฟาดทีก่ลางหลงัตรงกลางระหวา่งกระดกูสะบกั5

ครั้งแรงเร็วสังเกตว่ามีสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาหรือไม่ถ้ายังไม่หลุดให้พลิก

เด็กหงายขึ้นหัวตำ่าจับบริเวณท้ายทอยของเด็กศอกหนีบลำาตัวของเด็กแนบลำา

ตัวผู้ช่วยเหลือและกดที่หน้าอกโดยใช้นิ้ว2นิ้วกดกลางหน้าอกระหว่างหัวนม

ของเดก็จำานวน5ครัง้แรงเรว็ทำาสลบัไปเรือ่ยๆถา้เหน็วตัถแุปลกปลอมเคลือ่น

รูปที่ 7 ทางเดินหายใจอุดกั้นโดยสมบูรณ์

Page 4: โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

11

ออกมาที่ช่องปากให้หยิบออกเด็กจะดีขึ้นและสามารถหายใจเองได้แต่ถ้าไม่

ดขีึน้นิง่ไปไมข่ยบัใหเ้ปลีย่นมาทำาการกดหนา้อกแทนซึง่จะพดูตอ่ไปในบทการ

ช่วยกู้ชีวิต

รูปที่ 8 การทำา back blow chest thrust

2. กรณีอายุมากกว่า 1 ปี ให้ทำาการช่วยเหลือด้วยการกดช่องท้อง

Heimlichprocedureและabdominalthrustยกเวน้ผูป้ว่ยเปน็หญงิมคีรรภ์

หรือคนอ้วนให้ใช้วิธีการกดหน้าอก(chestthrust)แทนการกดช่องท้อง

ท่าการกดท้องมีหลายวิธีเช่นท่ายืนท่านั่งท่านอนเป็นต้น

• ท่ายืนเหมาะสำาหรับผู้ป่วยที่ยังมีสติและผู้ช่วยเหลือตัวใหญ่กว่า

• ทา่นัง่เหมาะสำาหรบัสำาหรบัผูป้ว่ยทีย่งัมสีติและผูช้ว่ยเหลอืตวัเลก็กวา่

• ท่านอน(abdominalthrust)เหมาะสำาหรับผู้ป่วยหมดสติ

• กรณีอยู่คนเดียวให้ใช้พนักพิงเก้าอี้เป็นตัวดันต้านกับมือ และหา

ผู้ช่วยเหลือดังรูป

รูปที่ 9 การทำา Heimlich procedure รูปที่ 10 การทำา Abdominal thrust

Page 5: โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

12

วิธีกดท้องทำาได้โดยกำามือ ควำ่ามือ เอานิ้วหัวแม่มือเข้าด้านใน วาง

บริเวณลิ้นปี่ตรงกลางระหว่างชายโครงทั้งสองข้าง อีกมือประสานกำาปั้นไว้

ออกแรงดันขึ้น เร็วและแรงเข้าหาลำาตัวและขึ้นด้านบน จะเกิดแรงดันในช่อง

ปอดผลกัเอาวตัถแุปลกปลอมออกมาทำาซำา้หลายครัง้เรือ่ยๆจะหยดุทำาเมือ่สิง่

แปลกปลอมหลดุออกหรอืผูป้ว่ยหมดสติกรณหีลงัใหต้รวจชพีจรถา้ยงัมชีพีจร

เปลีย่นมาทำาการกดทอ้งในทา่นอน(abdominalthrust)แตถ่า้ไมม่ชีพีจรใหก้ด

หน้าอกเพื่อทำาการกู้ชีวิต(CPR)แทน

วิธีการกดหน้าอก (Chest thrust)ให้ทำาเหมือนกับการกดท้องทุก

ประการเพยีงแตเ่ปลีย่นตำาแหนง่การวางมอืจากชอ่งทอ้งมาทีช่อ่งอกโดยวางมอื

ทีต่ำาแหนง่กลางกระดกูหนา้อกระดบัราวนมและชว่ยกดหนา้อกจนกวา่สิง่แปลก

ปลอมจะหลุดหรือหมดสติ

สิ่งที่สำาคัญที่สุดนอกเหนือจากการปฐมพยาบาล คือการป้องกันการ

สูดสำาลักโดยการห้ามไม่ให้เด็กเล่นซนขณะรับประทานไม่ควรหัวเราะหรือพูด

ระหวา่งรบัประทานอาหารและหา้มกลนือาหารทีช่ิน้ใหญเ่กนิไปเมือ่มปีญัหาใน

การเคี้ยว

รูปที่ 11 การทำา Abdominal thrust

ด้วยตัวเองรูปที่ 12 การทำา Chest thrust

11

ท่าการกดท้องมหีลายวธิีเชน่ ท่ายนื ท่านั่ง ท่านอน ท าด้วยตนเอง เป็นต้น

ท่ายืนเหมาะส าหรับผู้ปวุยทีย่ังมีสต ิและผู้ช่วยเหลือตัวใหญ่กว่า

ท่านั่ง เหมาะส าหรบัส าหรับผู้ปุวยที่ยังมีสติ และผู้ช่วยเหลือตัวเล็กกว่า

ท่านอน (abdominal thrust) เหมาะส าหรับผู้ปวุยหมดสต ิ

กรณีอยู่คนเดียวให้ใช้พนักพิงเก้าอี้เป็นตวัดนัต้านกบัมือ และหาผู้ช่วยเหลือ ดงัรูป

วิธีกดท้องท าได้โดยก ามือ คว่ ามือ เอานิ้วหัวแมม่ือเข้าดา้นใน วางบริเวณลิน้ปีต่รงกลางระหวา่งชาย

โครงทั้งสองข้าง อีกมือประสานก าปั้นไว ้ออกแรงดนัขึน้ เรว็และแรงเข้าหาล าตวัและขึ้นด้านบน จะเกดิแรงดันในช่องปอด ผลักเอาวัตถุแปลกปลอมออกมา ท าซ้ าหลายครัง้เรื่อยๆ จะหยุดท าเมื่อสิ่งแปลกปลอมหลุดออก หรือผู้ปวุยหมดสติ กรณีหลงัให้ตรวจชีพจร ถ้ายังมีชีพจรเปลี่ยนมาท าการกดท้องในทา่นอน (abdominal thrust) แต่ถ้าไม่มีชีพจรให้กดหน้าอกเพื่อท าการกู้ชวีติ (CPR) แทน

วิธีการกดหน้าอก (Chest thrust)ให้ท าเหมือนกับการกดท้องทกุประการเพียงแตเ่ปลี่ยนต าแหน่งการวางมือจากช่องท้องมาที่ช่องอก โดย

รูปที่ 9 การท า Heimlich procedure รูปที่ 10 การท า Abdominal thrust

รูปที่ 11 การท า Abdominal thrust

ด้วยตัวเอง

รูปที่ 12 การท า Chest thrust

Page 6: โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

13

โรคคอหอยอักเสบ และต่อมทอนซิลอักเสบ (Pharyngitis and

tonsillitis)

สาเหตขุองโรคคอหอยอกัเสบและตอ่มทอนซลิอกัเสบเฉยีบพลนัในเดก็

กอ่นวยัเรยีนมกัเกดิจากการตดิเขือ้ไวรสัแตใ่นเดก็โตหรอืผูใ้หญม่กัมสีดัสว่นการ

ติดเชื้อของแบคทีเรียสูงขึ้น

อาการและอาการแสดงคอืเจบ็คอกลนืเจบ็ไอมเีสมหะมไีข้ปวดเมือ่ย

ตามตัว ตรวจในลำาคอพบว่าคอหอยแดง และหรือต่อมทอนซิลบวมแดง อาจ

มีหนองหรือไม่ก็ได้ ในกรณีมีแผ่นเยื่อหนอง (membranous) มาคลุมบริเวณ

คอหอยและทอนซิลอาจเป็นเชื้อแบคทีเรียทั่วไปเช่นStreptococcusเป็นต้น

หรืออาจเป็นเชื้อแบคทีเรียC.Diptheriaeซึ่งก่อโรคคอตีบก็ได้

การแยกวา่ตดิเชือ้ไวรสัหรอืแบคทเีรยีโดยมากตอ้งแยกดว้ยการเพาะเชือ้

ซึ่งไม่เป็นที่นิยมแต่นิยมใช้การแยกทางคลินิกอย่างง่ายมากกว่าดังตารางนี้

การติดเชื้อแบคทีเรีย การติดเชื้อไวรัส

- มีนำ้ามูกเขียว

- มีจุดหนองในลำาคอ

- มีจุดเลือดออกที่เพดานอ่อน

- มีต่อมนำ้าเหลืองที่คอโต

- อาจพบรว่มกบัหชูัน้กลางหรอืไซนสัอกัเสบ

- อาการทีร่ะบบอืน่ๆมากกวา่คอืนำา้มกูใส

ไอจามตาแดงเสยีงแหบและปวดเมือ่ย

ตามตัว

- คนใกลช้ดิมอีาการคลา้ยคลงึกนัเนือ่งจาก

ติดได้ง่ายจากการไอจาม

12

ต าแหนง่คือวางบนกระดูกกลางหน้าอกสว่นลา่งประมาณระดบัราวนม จนกว่าสิ่งแปลกปลอมจะหลุดหรือหมดสติ สิ่งที่ส าคัญที่สดุนอกเหนือจากการปฐมพยาบาล คือการปูองกนัการสดูส าลกั โดยการห้ามไม่ให้เดก็เล่นซนขณะรบัประทาน ไมค่วรหัวเราะหรอืพูดระหว่างรับประทานอาหาร และห้ามกลืนอาหารที่ชิ้นใหญ่เกินไปเมือ่มีปญัหาในการเคีย้ว

โรคคอหอยอกัเสบ และต่อมทอนซิลอักเสบ (Pharyngitis and tonsillitis)

สาเหตุของโรคคอหอยอักเสบและต่อมทอนซิลอักเสบเฉยีบพลันในเดก็ก่อนวัยเรียนมักเกดิจากการติดเขื้อไวรัส แต่ในเด็กโตหรอืผู้ใหญ่มกัมีสัดส่วนการตดิเชื้อของแบคทีเรียที่สงูขึน้

อาการและอาการแสดง คือเจ็บคอ กลืนเจ็บ ไอ มีเสมหะ มไีข้ ปวดเมื่อยตามตวั ตรวจในล าคอพบว่าคอหอยแดง และหรือต่อมทอนซิลบวมแดง อาจมหีนองหรอืไมก่็ได้ ในกรณีมแีผ่นเยื่อหนอง (membranous) มาคลุมบริเวณคอหอยและทอนซิลอาจเป็นเชื้อแบคทีเรียทั่วไป เชน่ Streptococcus เป็นต้น หรอือาจเป็นเชื้อแบคทีเรีย C. Diptheriae ซึ่งกอ่โรคคอตบีกไ็ด ้

การแยกว่าติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย โดยมากต้องแยกด้วยการเพาะเชื้อ ซึ่งไม่เป็นที่นิยม แต่นิยมใช้การแยกทางคลินิกอย่างง่ายมากกว่า ดังตารางนี้

การติดเชื้อแบคทีเรีย การติดเชื้อไวรัส - มีน้ ามูกเขียว - มีจุดหนองในล าคอ - มีจุดเลือดออกท่ีเพดานอ่อน - มีต่อมน้ าเหลืองโตที่คอ - อาจพบร่วมกับหูชั้นกลาง หรือไซนัสอักเสบ

- อาการที่ระบบอ่ืนๆมากกว่า คือ น้ ามูกใส ไอ จาม ตาแดง เสียงแหบ และปวดเมื่อยตามตัว

- คนใกล้ชิดมีอาการคล้ายคลึงกัน เนื่องจากติดได้ง่ายจากการไอจาม

รูปที่ 13 ลักษณะทอลซิลอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย รูปที่ 14 ลักษณะทอลซิลอักเสบจากเชื้อไวรัส รูปที่ 13 ลักษณะทอลซิลอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย รูปที่ 14 ลักษณะทอลซิลอักเสบจากเชื้อไวรัส

Page 7: โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

14

การปฐมพยาบาลเบือ้งตน้คอืพกัผอ่นมากๆดืม่นำา้ใหเ้พยีงพอใหย้า

แกป้วดลดไขต้ามอาการสว่นการใหย้าปฏชิวีนะจำาเปน็เฉพาะในกรณทีีส่งสยัวา่

ติดเชื้อแบคทีเรียโดยรับประทานยากลุ่มPenicillinsต่อเนื่อง7-10วันกรณี

แพ้ยาPenicillinsให้ใช้กลุ่มMacrolidesแทน

กรณทีีเ่ปน็คอตบีตอ้งรบัประทานยาอยา่งนอ้ย14วนัรว่มกบัใหย้าตา้น

พิษ (antitoxin) โดยโรคคอตีบอันตรายกว่าเชื้อแบคทีเรียธรรมดาคือสามารถ

ทำาให้เกิดทางเดินหายใจอุดกั้นขาดอากาศได้

ภาวะแทรกซ้อนของโรคนี้พบได้ไม่

บ่อยแต่เมื่อเกิดขึ้นมักร้ายแรงสาเหตุเกิดจาก

ไมไ่ดย้ารกัษาหรอืกนิยาไมค่รบขนาดแบง่ออก

เป็นภาวะแทรกซ้อนเฉพาะที่ (local com-

plications) เช่นเป็นฝีหนองรอบทอนซิล

(Peritonsillar abscess) (ดังรูปจะเห็นว่า

ต่อมทอนซิลด้านซ้ายแดงบวมโตจนดันลิ้นไก่

ไปทางขวา) ติดเชื้อในช่องคอลามสู่ช่องหลังคอหอย ต่อมนำ้าเหลืองบริเวณคอ

อกัเสบสว่นภาวะแทรกซอ้นเชงิระบบเชน่หลอดเลอืดฝอยไตอกัเสบเฉยีบพลนั

(glomerulonephritis)โรคไข้รูห์มาติกเฉียบพลัน(acuterheumaticfever)

โรคลิ้นหัวใจอักเสบ(endocarditis)

โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

โรคหอบหืด เป็นโรคที่เกิดจากการอักเสบของหลอดลมเป็นๆหายๆ

ทำาให้เกิดการตีบแคบของหลอดลมมักมีอาการตั้งแต่ในวัยเด็กลักษณะสำาคัญ

ของโรคมี3ส่วนคือ

1. มีการหลั่งมูกออกมาภายในหลอดลมมาก

2. กล้ามเนื้อรอบหลอดลมหดเกร็งและ

3. เยื่อบุภายในหลอดลมหนาตัว จากการอักเสบโดยสิ่งกระตุ้นจาก

ภายนอกที่ผู้ป่วยรายนั้นแพ้

13

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น คือ พักผ่อนมากๆ ดื่มน้ าให้เพียงพอ ให้ยาแกป้วดลดไขต้ามอาการ ส่วนการให้ยาปฏิชีวนะ จ าเปน็เฉพาะในกรณีที่สงสัยติดเชื้อแบคทเีรีย โดยรับประทานยากลุ่ม Penicillins ต่อเนื่อง 7-10 วัน กรณีแพ้ยา Penicillins ให้ใช้กลุ่ม Macrolides แทน

กรณีที่เปน็คอตีบต้องรับประทานยาอย่างนอ้ย 14 วนั รว่มกบัให้ยาตา้นพิษ (antitoxin) โดยโรคคอตีบอนัตรายกว่าเชื้อแบคทีเรยีธรรมดาคือสามารถท าให้เกิดทางเดนิหายใจอุดกัน้ ขาดอากาศได ้

ภาวะแทรกซ้อนของโรคนี้พบไดไ้มบ่่อย แต่เมื่อเกดิขึ้นมกัร้ายแรง สาเหตุเกดิจากไมไ่ด้ยารักษาหรอืกินยาไมค่รบขนาด แบ่งออกเปน็ภาวะแทรกซ้อนเฉพาะที่ (local complications) เช่นเป็นฝีหนองรอบทอนซิล (Peritonsillar abscess) (ดังรูปจะเห็นว่าตอ่มทอนซิลด้านซา้ยแดงบวมโตจนดนัลิ้นไก่ไปทางขวา) ติดเชื้อในช่องคอลามสู่ชอ่งหลังคอหอย ตอ่มน้ าเหลอืงบริเวณคออกัเสบ ส่วนภาวะแทรกซ้อนเชิงระบบ เช่น หลอดเลือดฝอยไตอักเสบเฉียบพลัน (glomerulonephritis) โรคไข้รหู์มาติกเฉียบพลัน (acute rheumatic fever) โรคลิน้หวัใจอักเสบ (endocarditis)

โรคหอบหืด และโรคปอดอดุกั้นเรื้อรังก าเริบเฉยีบพลนั โรคหอบหืด เปน็โรคที่เกิดจากการอักเสบของหลอดลมเป็นๆหายๆ ท าใหเ้กิดการตีบแคบของ

หลอดลม มกัมีอาการตั้งแต่ในวัยเด็ก ลกัษณะส าคัญของโรคประกอบด้วย 3 ส่วน คอื 1. มีการหลั่งมกูออกมาภายในหลอดลมมาก 2. กล้ามเนื้อรอบหลอดลมหดเกร็ง และ 3. เยื่อบุภายในหลอดลมหนาตวั จากการอักเสบโดยสิ่งกระตุ้นจากภายนอกที่ผู้ปวุยรายนั้นแพ้

peritonsillar abscess

รูปที่ 15 โรคฝีหนองรอบทอนซิล

รูปที่ 16 ลักษณะหลอดลมปกติ (ซ้าย) และหลอดลมที่ผิดปกติในโรคหอบหืด (ขวา)

รูปที่ 15 โรคฝีหนองรอบทอนซิล

Page 8: โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

15

ผูป้ว่ยหอบหดืในชว่งเวลาปกตมิกัจะไมม่อีาการแตห่ากมสีิง่กระตุน้เชน่

ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนหรือสัมผัสสิ่งที่ผู้ป่วยแพ้เช่นเกสรดอกไม้ไรฝุ่น

บา้นแมลงสาบควนัไฟและกลิน่ฉนุจากสีเปน็ตน้อาการจะกำาเรบิอยา่งรวดเรว็

อาการและอาการแสดง ในช่วงที่อาการกำาเริบ ผู้ป่วยจะมีอาการ

เหนื่อย แน่นหน้าอก หายใจติดขัด หายใจลำาบาก บางครั้งอาจได้ยินเสียงวี๊ด

ขณะหายใจออกมีไข้ไอเสมหะร่วมด้วย

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบหืด มักจะมียาพ่น

ประจำาตัวเพื่อลดอาการหอบ ดังนั้นหากอาการหอบกำาเริบสามารถสูดพ่นยา

ได้ทันที และสามารถพ่นซำ้าได้ทุก 5-15 นาที หากอาการไม่ดีขึ้นหลังจากพ่น

ยาควรรีบมาโรงพยาบาลโดยด่วนเพราะหากไม่รีบรักษาอาการหอบจะแย่ลง

จนขาดออกซิเจนหมดสติและเสียชีวิตได้ในผู้ที่ไม่มียาพ่นประจำาตัวควรรีบมา

โรงพยาบาลทันที

รูปที่ 16 ลักษณะหลอดลมปกติ (ซ้าย) และหลอดลมที่ผิดปกติในโรคหอบหืด (ขวา)

Spacer Inhalar : MDI Nebulizer

รูปที่ 17 ประเภทยาพ่นชนิดต่าง ๆ ในโรคหอบหืด

Page 9: โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

16

โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (chronic obstructive pulmonary

disease: COPD)

เป็นโรคที่เกิดจากการอักเสบของหลอดลมและถุงลมปอดทำาให้ความ

ยืดหยุ่นของปอดลดลง พบบ่อยในผู้สูงอายุ สาเหตุเกิดจากการสูบบุหรี่หรือ

ทำางานสัมผัสฝุ่นละอองเป็นเวลานาน

อาการและอาการแสดง คล้ายผู้ป่วยหอบหืด แต่จะมีลักษณะบาง

ประการของร่างกายที่เปลี่ยนไปจากการปรับตัวให้เข้ากับภาวะขาดออกซิเจน

เรือ้รงัเชน่ทรวงอกคลา้ยถงัเบยีร์นิว้ปุม้ปลายมอืปลายเทา้เขยีวในกรณกีำาเรบิ

รุนแรง

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมียาพ่นประจำาตัวเพื่อ

ลดอาการหอบเชน่เดยีวกบัโรคหอบหดืใหส้ดูจากหลอดยาMDIไดโ้ดยตรงพน่

ซำ้าทุก5-15นาทีหากอาการหอบยังไม่ลดลงควรมาโรงพยาบาลโดยโทรแจ้ง

1669เพื่อพ่นยาโดยเครื่องnebulizerที่ห้องฉุกเฉิน

โรคปอดอักเสบ (Pneumonia)

โรคปอดอักเสบหรือปอดบวม คือ โรคที่เกิดการอักเสบของเนื้อปอด

โดยมากเกิดจากการติดเชื้อจากการสูดเอาเชื้อเข้าไปทางอากาศ การสำาลัก

อาหารลงปอดหรอืการตดิเชือ้กระจายมาทางกระแสเลอืดกไ็ด้สาเหตอุืน่ๆอาจ

เกิดจากการสูดดมสารเคมีที่ระคายเคืองเป็นได้ทุกกลุ่มอายุ

อาการและอาการแสดงคอืมไีข้ไอหายใจลำาบากหอบเหนือ่ยหายใจ

เรว็มเีสมหะในบางรายทีอ่าการรนุแรงจะทำาใหท้างเดนิหายใจลม้เหลวเปน็เหตุ

ให้เสียชีวิตได้

รูปที่ 18 พยาธิสภาพในเนื้อปอด

ของโรคปอดอักเสบ

รูปที่ 19 ภาพถ่ายรังสีของผู้ป่วยปอดอักเสบ

Page 10: โรคท งเดินห ยใจ ติดง่ ยห ยเองem.kku.ac.th/myfile/a3.pdf · โรคหอบหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังกำาเริบเฉียบพลัน

17

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ควรมาพบแพทย์ทันทีหากมีอาการเข้า

ได้กับโรคปอดบวม แต่ถ้ามีอาการรุนแรง เช่น หายใจลำาบากมาก ตัวเขียว

หมดสติ ควรโทร 1669 เพื่อเรียกรถพยาบาลและเพื่อดูแลเบื้องต้นขณะนำาส่ง

โรงพยาบาล

โรคที่พบบ่อยในกิจกรรมรับน้องใหม่

อาการหายใจเร็วกว่าปกติ (Hyperventilation Syndrome)

พบได้บ่อยในผู้ป่วยหญิง วัยเรียน ถึงผู้ใหญ่ตอนต้น สาเหตุเกิดจาก

ความกังวลหรือความเครียด ทำาให้ร่างกายเกิดสภาวะที่หายใจเร็วหรือลึกเกิน

ความจำาเป็น อาการดังกล่าวทำาให้ระดับความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์

ในกระแสเลือดตำ่าลงกว่าระดับปกติส่งผลให้ค่าpHในกระแสเลือดสูงขึ้นและ

ทำาให้หลอดเลือดหดตัวจากความผิดปกติของแคลเซียมไอออนอิสระในกระแส

เลือด

อาการและอาการแสดงผูป้ว่ยจะมอีาการหายใจหอบเรว็หายใจลำาบาก

หน้ามืด เวียนศีรษะ ใจสั่น มักพบอาการเกร็งกล้ามเนื้อโดยเฉพาะกล้ามเนื้อ

มดัเลก็มอืจบีและอาจมอีาการชาบรเิวณ

รอบปากและนิ้วมือได้ อาการเหล่านี้จะ

ทำาให้ผู้ป่วยกังวลมากขึ้นและยิ่งส่งผลทำา

ให้หายใจหอบมากขึ้น

การปฐมพยาบาลเบื้องต้น

1. นำาผู้ป่วยออกจากสภาวะที่ก่อให้เกิดความเครียด โดยให้อยู่ใน

บริเวณที่อากาศถ่ายเทเย็นสบายและผ่อนคลาย

2. บอกผู้ป่วยว่าอาการของเขาเกิดจากการหายใจเร็ว ไม่ใช่โรคร้าย

แรงให้หายใจช้าลงหรือตามจังหวะของผู้ช่วยเหลือแล้วจะดีขึ้นเอง

รูปที่ 20 ลักษณะมือจีบเกร็งในผู้ป่วย