33
บทที2 การเตรียมอุปกรณ และ เรขาคณิตประยุกต ในบทนี้จะเปนการแนะนําขั้นตอนที่ควรปฏิบัติกอนเริ่มลงมือเขียนแบบ ซึ่งประกอบไป ดวยการติดตั้งกระดาษบนโตะเขียนแบบ การเตรียมดินสอ วงเวียน ตลอดจนการใชอุปกรณเขียน แบบเบื้องตน จากนั้นจะเปนการทบทวนเรื่องเรขาคณิต โดยจะนําความรูดังกลาวมาประยุกตใชใน การวาดรูปที่มีความซับซอนในงานเขียนแบบวิศวกรรม 2.1 การเตรียมอุปกรณ กอนเริ่มตนการเขียนแบบนั้นเราจําเปนที่จะตองเตรียมอุปกรณตาง ใหพรอม เสียกอน ซึ่งขั้นตอนทั้งหมดมีดังนี- การติดตั้งกระดาษบนโตะเขียนแบบ การติดตั้งกระดาษบนโตะเขียนแบบจะเริ่มจากการวางกระดาษใหชิดขอบทางดานลาง ซายของโตะเขียนแบบกอน จากนั้นวางไมทีลงบนกระดาษโดยใหหัวของไมทีวางล็อคกับขอบโตะ ทางดานซาย และอยาใหสวนหัวของไมทีเกินออกจากขอบโตะดังแสดงในรูปที2.1ขั้นตอไปให ขยับกระดาษจนกระทั่งกรอบดานลางของกระดาษเขียนแบบอยูเหนือขอบบนของไมที (รูปที2.1) จากนั้นจับกระดาษไวแลวเลื่อนไมทีขึ้นดานบนเพื่อจัดกรอบดานบนของกระดาษเขียนแบบใหได ตําแหนงที่พอดีกับขอบดานบนของไมที ( รูปที2.1) เมื่อจัดเรียบรอยแลวใหติดกระดาษกาวยึด กระดาษเขียนแบบใหติดอยูกับโตะโดยเริ่มติดที่ขอบบนซาย-ขวาของกระดาษกอน ( รูปที2.1)

บทที่ 2 การเตรียมอุป ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~kjirapon/Drawing Notes/Chapter 02.pdf · NWP June 2007 Version 0.5 32 Fundamental of Engineering

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • บทที่ 2

    การเตรยีมอุปกรณ และเรขาคณิตประยุกต

    ในบทนี้จะเปนการแนะนําขั้นตอนที่ควรปฏิบัติกอนเร่ิมลงมือเขียนแบบ ซ่ึงประกอบไป

    ดวยการติดตั้งกระดาษบนโตะเขียนแบบ การเตรียมดินสอ วงเวียน ตลอดจนการใชอุปกรณเขียน

    แบบเบื้องตน จากนั้นจะเปนการทบทวนเรื่องเรขาคณิต โดยจะนําความรูดังกลาวมาประยุกตใชใน

    การวาดรูปที่มีความซับซอนในงานเขียนแบบวศิวกรรม

    2.1 การเตรียมอปุกรณ กอนเร่ิมตนการเขียนแบบน้ันเราจําเปนที่จะตองเตรียมอุปกรณตาง ๆ ใหพรอม

    เสียกอน ซ่ึงขั้นตอนทั้งหมดมีดังน้ี

    - การติดตั้งกระดาษบนโตะเขียนแบบ การติดตั้งกระดาษบนโตะเขียนแบบจะเริ่มจากการวางกระดาษใหชิดขอบทางดานลาง

    ซายของโตะเขียนแบบกอน จากนั้นวางไมทีลงบนกระดาษโดยใหหัวของไมทีวางล็อคกับขอบโตะ

    ทางดานซาย และอยาใหสวนหัวของไมทีเกินออกจากขอบโตะดังแสดงในรูปที่ 2.1ก ขั้นตอไปให

    ขยับกระดาษจนกระทั่งกรอบดานลางของกระดาษเขียนแบบอยูเหนือขอบบนของไมที (รูปที่ 2.1ข)

    จากนั้นจับกระดาษไวแลวเลื่อนไมทีขึ้นดานบนเพื่อจัดกรอบดานบนของกระดาษเขียนแบบใหได

    ตําแหนงที่พอดีกับขอบดานบนของไมที (รูปที่ 2.1ค) เม่ือจัดเรียบรอยแลวใหติดกระดาษกาวยึด

    กระดาษเขียนแบบใหติดอยูกับโตะโดยเริ่มติดที่ขอบบนซาย-ขวาของกระดาษกอน (รูปที่ 2.1ง)

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    32  Fundamental of Engineering Drawing 

    ตอไปก็เลื่อนไมทีลงดานลางโดยขณะที่เลื่อนไมทีน้ันใหทําการรีดกระดาษใหเรียบดวย สุดทายใหทํา

    การติดกระดาษกาวบริเวณมุมที่เหลือเพ่ือยึดกระดาษเขากับโตะ (รูปที่ 2.1จ)

    อยาใหไมทีเลยขอบโตะ

    (ข) เล่ือนกระดาษจนกระทั่งกรอบดานลางของกระดาษอยูเหนือขอบดานบนของไมที

    (ก) วางกระดาษชิดขอบซายลาง แลววางไมทีลงบนกระดาษแตอยาใหหัวไมทีเลยพนขอบโตะดานลาง

    (ง) ติดกระดาษกาวเพื่อยึดมุมดานบนทั้งสองของกระดาษเขียนแบบ

    (ค) จับกระดาษไวแลวเล่ือนไมทีขึ้นดานบน จากนั้นจัดกรอบดานบนของกระดาษใหไดระดับกับขอบบนของไมที

    จัดกรอบของกระดาษใหไดระดับกับขอบไมที

    (จ) เล่ือนไมทีลงดานลางพรอมกับรีดกระดาษใหเรียบติดโตะ จากนั้นติดกระดาษกาวเพื่อยึดมุมกระดาษที่เหลือ

    รูปที่ 2.1 ขั้นตอนการติดตัง้กระดาษบนโตะเขียนแบบ

  •  

    NW

    สวย

    การ

    ควา

    ดินส

    ถาผู

    การ

    ดินส

    จะใช

    - ผูวา

    ยงาม การเหล

    เหลาดินสอก

    มยาวประมา

    สอใหหมุนดิน

    ผูวาดใชเครื่อ

    เหลาดินสอม

    สอกับกระดา

    ชดินสอแบบใ

    รู

    เหลาดินสอ

    าดจําเปนตอ

    ลาดินสอมีหล

    กอน ซ่ึงจะเริ่

    าณ 8-10 มม

    นสอไปดวยเพ

    งเหลาดินสอ

    มากเทาใดนัก

    ษเปลาอีกเล็ก

    ใดก็ตามคือต

    รปูที่ 2.2 ขั้น

    (ก) ใชมื

    (ข) ฝนปลาย

    (ค) ท

    และวงเวียน

    องเหลาดินส

    ลายวิธีดวยกั

    ริ่มจากการใช

    ม. (รูปที่ 2.2ก

    พ่ือที่ปลายดิน

    อ หรือดินสอก

    กเพราะจะไดป

    กนอยเพ่ือปรั

    องทําความส

    นตอนการเหล

    มือเหลาไมออ

    ยดินสอบนกร

    ทําความสะอา

    June 200

    อใหแหลมอ

    กัน โดยจะขอ

    ชมีดเหลาสวน

    ก) จากนั้นฝน

    นสอจะไดมีลั

    กด (แนะนําใ

    ปลายที่คอนข

    รับปลายใหค

    สะอาดปลายดิ

    ลาดินสอและ

    อกใหไดไสดิน

    ระดาษทราย

    าดปลายดินส

    07

    Prepa

    ยูเสมอเพื่อเ

    อยกตัวอยางก

    นที่เปนไมขอ

    นปลายดินสอ

    ลักษณะเปนก

    หใชไสขนาด

    ขางแหลมอยู

    คมตามความต

    ดินสอดวยกร

    8-10 มม.

    ทําความสะอ

    นสอประมาณ

    เพ่ือใหไดดิน

    สอดวยกระดา

    aring Tools &

    เสนที่วาดจะ

    กรณีที่ใชมีด

    องดินสอออก

    อบนกระดาษ

    กรวยแหลมดั

    ด 0.5 มม.) อ

    แลว แตอาจจ

    ตองการ และ

    ระดาษทิชชูก

    อาดกอนนําไป

    ณ 8-10 มม.

    นสอปลายแหล

    าษทิชช ู

    Ve

    & Applied Ge

    ไดมีความค

    และกระดาษ

    กจนกระทั่งไส

    ษทราย โดยข

    ดังแสดงรูปที่

    อาจจะไมมีปญ

    จะตองมีการ

    ะขั้นตอนสุดท

    อนเสมอ (รปู

    ปใช

    ลม

    ersion 0.5 

    33ometry 

    มชัดและ

    ษทรายใน

    สดินสอมี

    ขณะที่ฝน

    2.2ข แต

    ญหาเรื่อง

    ฝนปลาย

    ทายไมวา

    ปที่ 2.2ค)

  •  

    NWP

    34  Funda

    สวนวงเวี

    เวียนนี้ก็

    ใชวงเวีย

    รูปรางดั

    (ขั้นตอน

    กลม เป

    อุปกรณ

    การทําค

    2.2 การ

    ชนิดใชส

    วงกลมนั

    ศูนยกลา

    ขนาดขอ

    กอนเพ่ือ

    mental of En

    วียนนั้นถาใช

    ก็ควรเลือกให

    ยนที่ใชเฉพา

    ดังแสดงในรูป

    นน้ีไมจําเปนต

    - ทําคสุดทาย

    นตน ขั้นตอน

    ณเหลานี้จะถูก

    ความสะอาดอุ

    รใชอุปกรณ

    อุปกรณ

    สําหรับการเขี

    น่ันเอง ดังนั้น

    - การขั้นตอน

    างกอนดังแส

    องรัศมีที่ตอง

    อตรวจสอบว

    ngineering D

    ชแบบใสดินส

    หมีความเขมกั

    าะไสดินสอเท

    ปที่ 2.3 และ

    ตองปฏิบัตกไ็

    ความสะอาด

    เปนการทําค

    นน้ีเปนขั้นต

    กลากไปมาบ

    อุปกรณก็ใหใช

    ณเบื้องตน

    ณหลัก ๆ สําห

    ขียนเสนตรง

    นในหัวขอน้ีจะ

    รใชวงเวียน

    นการวาดวงก

    สดงในรูปที่ 2

    การโดยเทีย

    าวงกลมที่วา

    รูปที่

    J

    rawing 

    สอก็ใหเหลาดิ

    กับที่ใชในการ

    ทานั้น ก็ใหเห

    ะควรปรับให

    ได)

    ดอุปกรณ (ไม

    ความสะอาดอ

    อนที่ควรปฏิ

    บนแผนกระด

    ชกระดาษทิช

    หรับงานเขียน

    สวนวงเวียน

    ะเปนการแนะ

    ลมดวยวงเวี

    2.4ก จากนั้น

    บกับไมบรรท

    าดนั้นไดขนา

    2.3 การเหล

    une 2007

    ดินสอของวง

    รวาดรูปเพ่ือใ

    หลาปลายไส

    ดานปลายแ

    มที ไมสามเ

    อุปกรณที่ใช

    บัติทุก ๆ ครั

    ดาษ ซ่ึงถาไม

    ชชูที่เตรียมมา

    นแบบประก

    นและเทมเพ

    ะนําวิธีการใช

    ยนจะเร่ิมจาก

    นใหทําการป

    ทัด (รูปที่ 2.4

    าดรัศมีที่ถูกต

    ลาไสดินสอทีใ่

    งเวียนตามวิธี

    ใหเสนของรูป

    สดินสอโดยก

    แหลมยาวกว

    เหลี่ยม และ

    เชน ไมที ไม

    รั้งกอนการวา

    มสะอาดแลว

    าเช็ดถูใหเรยี

    อบไปดวย ไ

    ลตวงกลมก็จ

    ชอุปกรณตาง

    กการทําเครื่อ

    รับระยะระห

    4ข) แลวลอง

    ตองหรือไม ขั้

    ใชสําหรับวงเ

    ธีขางตน และ

    ปที่ไดมีความ

    ารฝนกับกร

    วาสวนของไ

    ะเทมเพลตวง

    มสามเหลี่ยม

    าดรูป เพราะ

    ก็จะทําใหรูป

    ยบรอย

    ไมที ไมสามเ

    จะใชสําหรับ

    ๆ เหลานี้อย

    องหมายแสด

    หวางขาของว

    งลากเสนโคง

    ขั้นตอไปวางข

    เวียน

    Versio

    ะดินสอสําหรั

    มสมํ่าเสมอ แ

    ะดาษทรายจ

    ไสดินสอเล็ก

    งกลม)

    และเทมเพล

    ะในขณะที่วา

    ปที่วาดสกปร

    หลี่ยม ซ่ึงทั้ง

    บวาดสวนโคง

    ยางเหมาะสม

    งตําแหนงขอ

    วงเวียนใหเท

    บนกระดาษเ

    ขาดานแหลม

    n 0.5 

    รับวง

    แตถา

    จะได

    นอย

    ลตวง

    าดรูป

    รกได

    งสอง

    งและ

    องจุด

    ทากับ

    เปลา

    มของ

  •  

    NW

    วงเวี

    มืออี

    และ

    โคง

    ควา

    ตําแ

    วาด

    ตอไ

    (ก) ทํศู

    วยีนใหไดตําแ

    อีกขางชวยปร

    น้ิวโปงจับทีด่

    - เทม

    น้ันมีขนาดรั

    ามแมนยําแล

    แหนงที่ตองก

    เสนราง (เสน

    ไปใหวางเทม

    ทําเครื่องหมายศูนยกลางวงกล

    แหนงจุดศูนย

    ระคองปลายแ

    ดามจับแลวห

    การใชเทม

    มเพลตเปนอุป

    รัศมีที่เล็ก ๆ

    ละการฝกฝน

    ารวาด สําห

    นเบามาก ๆ)

    มเพลตลงบริ

    แสดงตําแหนงลม

    ยกลางของวง

    แหลมเพ่ือคว

    หมุนดามจับจน

    มเพลตวงกล

    ปกรณเพ่ือชว

    การใชเทมเ

    นพอสมควร

    รับขั้นตอนใน

    ) สองเสนให

    เวณดังกลาว

    (ข) ปรับขรัศมีว

    (ง) จับวเพ่ือ

    รูปที่ 2.4 ก

    June 200

    งกลมตามที่ไ

    วบคุมไดแมน

    นกระทั่งไดว

    วยวาดวงกล

    พลตชวยวา

    ร มิเชนนั้นแ

    นการใชเทม

    ตั้งฉากและตั

    วแลวเลื่อนเท

    ขาวงเวียนใหไวงกลมที่ตองก

    วงเวียนที่ดามจัอสรางวงกลมต

    การวาดวงกล

    07

    Prepa

    ดทําเครื่องห

    นยํายิ่งขึ้น จา

    งกลมตามตอ

    ลมหรือสวนโค

    ดวงกลมนั้น

    แลววงกลมที

    เพลตนั้นไดแ

    ตัดกันที่จุดศูน

    ทมเพลตไปม

    ไดระยะตามาร

    จับแลวหมุนตามตองการ

    ลมโดยใชวงเวี

    aring Tools &

    มายไว (รูปที

    กนั้นใหเริ่มว

    องการ (รูปที ่

    คง โดยเฉพา

    นไมงายอยาง

    ที่ไดจะมีลักษ

    แสดงในรูปที่

    นยกลางของว

    มาจนกระทั่ง

    (ค) วางปลายตําแหนง

    วยีน

    Ve

    & Applied Ge

    ที่ 2.4ค) โดยอ

    วาดวงกลมโด

    2.4ง)

    าะเม่ือวงกลม

    งที่คิด เพราะ

    ษณะที่เยื้องศู

    2.5 โดยเริ่ม

    วงกลมที่ตอง

    งเครื่องหมาย

    ยแหลมของวงเที่ทําเครื่องหม

    ersion 0.5 

    35ometry 

    อาจใชน้ิว

    ดยใชน้ิวชี้

    มและสวน

    ะตองการ

    ศูนยจาก

    มจากการ

    งการวาด

    ยที่อยูบน

    เวียนใหไดายไว

  •  

    NWP

    36  Funda

    เทมเพล

    ดินสอให

    เพ่ือใหว

    จากนั้นเ

    (รูปที่ 2.

    ของไมที

    ขณะที่ลา

    ไมทีแลว

    กับขอบด

    จากลางขึ

    (ก) ลตว

    mental of En

    ลตทับกับเสน

    หตั้งฉากกับ

    งกลมที่ไดไม

    - การการใชไ

    ลื่อนมือไปทา

    .6ข) ตอไปก็ใ

    ทีและเอียงปล

    ากเสนใหหมุ

    - การใหดําเนิ

    วใชมือซายก

    ดานตั้งของไ

    ขึ้นบนพรอม

    ลากเสนรางใหตตัดกันที่จุดศูนยวงกลม

    ngineering D

    นรางที่ทําไวใ

    กระดาษ ขั้น

    มเยื้องศูนย

    รใชไมทีลาก

    ไมทีใหเริ่มจา

    างดานขวาโด

    ใชมือขวาจับ

    ลายดินสอเขา

    นดินสอไปดว

    รใชไมทีลาก

    นินการตามขั้น

    ดไมทั้งสองไ

    ไมสามเหลี่ยม

    ๆ กับหมุนดิ

    ตั้งฉากและยกลางของ

    รูปที่

    J

    rawing 

    ในขั้นตอนกอ

    นตอนเหลานี

    กเสนตรงใน

    กการใชมือซ

    ดยกดไมทีให

    บดินสอเพื่อเต

    าดังแสดงในรู

    วย (รูปที่ 2.6

    กเสนตรงใน

    ั้นตอนในรูปที

    ไว (รูปที่ 2.7

    มโดยเอียงปล

    ดินสอไปดวย

    (ข) เล่ือนเครื่อเพล

    2.5 การวา

    une 2007

    อน สุดทายใ

    น้ีผูวาดตองฝ

    นแนวนอน

    ซายจับหัวไม

    หเรียบติดกับก

    ตรียมลากเส

    รูปที่ 2.6ค สุ

    6ง) เพ่ือใหปล

    นแนวดิง่

    ที่ 2.6ก จากน

    ก) ตอไปก็ใช

    ลายดินสอตา

    (รูปที่ 2.7ข)

    นเทมเพลตจนกองหมายบนเทมตทับกับเสนรา

    ดวงกลมโดย

    ใหใชดินสอวา

    ฝกฝนหลาย

    ทีชนเขากับข

    กระดาษไวจน

    นโดยจรดปล

    ดทายคอย ๆ

    ลายดินสอคม

    น้ันวางไมสา

    ชมือขวาจับดิ

    ามรูปที่ 2.6ค

    )

    กระทั่งมางพอดี

    ยใชเทมเพลต

    าดวงกลมได

    ๆ ครั้งจนเกิ

    ขอบโตะดาน

    นถึงบริเวณที

    ลายดินสอเข

    ๆ ลากเสนจา

    มอยูตลอดเวล

    มเหลี่ยมจรด

    ดินสอแลวจรด

    สุดทายก็ท

    (ค) วาดวงจับดินสกระดา

    Versio

    ดโดยพยายา

    กิดความชําน

    ซาย (รูปที่ 2

    ที่ตองการลาก

    ากับขอบดา

    กซายไปขวา

    ลา

    ดขอบดานบน

    ดปลายดินส

    ทําการลากเส

    กลมโดยพยายสอใหตั้งฉากกับษ

    n 0.5 

    มจับ

    นาญ

    2.6ก)

    กเสน

    นบน

    าโดย

    นของ

    อเขา

    สนด่ิง

    ยามับ

  •  

    NW

    (ค) จรดปลปลายดิ

    (ก) จับหัวไ

    (ก) ใชมือซใหแนน

    ลายดินสอกับขดนิสอเขา

    ไมทีใหชนกับข

    รูปที่

    รูปที่ 2.7 กา

    ซายกดไมทีแลน

    ขอบไมทีโดยเอี

    อบโตะดานซา

    ที ่2.6 การลา

    ารลากเสนตร

    ะไมสามเหลี่ยม

    June 200

    อียง

    ากเสนตรงใน

    รงในแนวดิ่งด

    07

    Prepa

    (ข) เล่ือนกับก

    (ง) ลากเสน

    แนวนอนดวย

    ดวยไมทีและไ

    (ข) ลดิ

    aring Tools &

    นมือไปดานขวกระดาษ

    นจากซายไปขว

    ยไมท ี

    ไมสามเหลี่ยม

    ลากเสนดิ่งจากดนิสอไปดวย

    Ve

    & Applied Ge

    าโดยกดไมทีให

    วาโดยหมุนดินส

    กลางขึ้นบนโดย

    ersion 0.5 

    37ometry 

    หแนบ

    สอไปดวย

    ยหมุน

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    38  Fundamental of Engineering Drawing 

    - การลากเสนเอียง 45° กับแนวระดับ การลากเสนเอียง 45° สามารถทําไดโดยใชไมสามเหลี่ยม 45-45 วางไวเหนือไมที (ใช

    ไมทีเปนระดับอางอิงที่ 0° โดยวางไมทีตามขั้นตอนในรูปที่ 2.6ก) จากนั้นลากเสนไปตามขอบไม

    สามเหลี่ยมก็จะไดเสนเอียงตามมุมที่ตองการ โดยการวางไมสามเหลี่ยม 45-45 น้ีสามารถวางได

    หลายรูปแบบดวยกันดังแสดงในรูปที่ 2.8 และถาตองการลากเสน 45° ขนานกันหลาย ๆ เสนก็

    สามารถทําไดโดยเลื่อนไมสามเหลี่ยมไปบนไมทีแลวลากเสนตอไปเรื่อย ๆ ดังแสดงในรูปที่ 2.9

    - การลากเสนเอียง 30° กับ 60° กับแนวระดบั การลากเสนเอียง 30° หรือ 60° กับแนวระดับก็สามารถทําไดเชนเดียวกับการลากเสน

    เอียง 45° เพียงแตใชไมสามเหลี่ยม 30-60 เทานั้น และก็สามารถวางไมสามเหลี่ยมไดหลากหลาย

    รูปแบบเพื่อลากเสนเอียงในแนวตาง ๆ กันดังแสดงในรูปที่ 2.10

    รูปที่ 2.8 การลากเสนเอียง 45° ดวยไมทีและไมสามเหลี่ยม 45-45

    รูปที่ 2.9 การลากเสนเอียง 45° ขนานกันหลาย ๆ เสนโดยเลื่อนไมสามเหลี่ยมไปบนไมท ี

  •  

    NWP  June 2007  Version 0.5 

    39 Preparing Tools & Applied Geometry 

    - การลากเสนเอียง 15° กับ 75° กับแนวระดบั การลากเสนเอียง 15° และ 75° จะใชไมสามเหลี่ยม 45-45 กับไมสามเหลี่ยม 30-60

    รวมกัน การใชไมสามเหลี่ยมทั้งสองในการสรางมุม 15° จะเร่ิมจากการวางไมสามเหลี่ยม 30-60 บน

    ไมทีดังแสดงในรูป 2.11ก จากนั้นวางดานประกอบมุมฉากของไมสามเหลี่ยม 45-45 ใหประกบกับ

    ดานตรงขามมุมฉากของไมสามเหลี่ยม 30-60 ดังแสดงในรูปที่ 2.11ข สุดทายก็จะไดเสนเอียง 15°

    ที่ขอบไมสามเหลี่ยม 45-45 ดังแสดงในรูป

    รูปที่ 2.10 การลากเสนเอียง 30° และ 60° โดยไมทีและไมสามเหลี่ยม 30-60

    – 30°

    45°– 30° = 15° 45°

    รูปที่ 2.11 การลากเสนเอียง 15° โดยใชไมสามเหลี่ยมทั้งสอง

    (ข) วางไมสามเหล่ียม 45-45 บนไมสามเหล่ียม 30-60 เพ่ือสรางเสนเอียง 15°

    (ก) วางไมสามเหล่ียม 30-60 บนไมที

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    40  Fundamental of Engineering Drawing 

    สวนเสนเอียง 75° ก็จะเริ่มจากวางไมสามเหลี่ยม 30-60 ดังแสดงในรูปที่ 2.12ก ซ่ึงขอบของไม

    สามเหลี่ยมน้ีจะทํามุม 30° กับแนวระดับ จากน้ันวางไมสามเหลี่ยม 45-45 บนไมสามเหลี่ยม 30-60

    อีกครั้งทําใหมุมรวมที่เกิดขึ้นคือ 75° ตามตองการ

    สําหรับการสรางมุมอ่ืน ๆ ที่เปนลําดับขั้นของมุม 15° เชนมุม 105° 120° 135° 150°

    ฯลฯ ก็สามารถใชขั้นตอนดังที่แสดงมาทั้งหมดนี้มาประยุกตใชรวมกันได ซ่ึงจะไมแสดงรายละเอียด

    ณ ที่น้ีโดยจะเก็บไวใหผูเรียนไดทดลองฝกฝนในแบบฝกหัด

    - การลากเสนตรงระหวางจุดสองจุด วิธีการที่จะแสดงตอไปน้ีเปนขอแนะนําเวลาตองการลากเสนตรงเชื่อมระหวางจุดสองจุด

    ซ่ึงถาผูเรียนพบวาการปฏิบัติตามขอแนะนํานี้ไมสามารถทําไดถนัดก็ไมจําเปนตองปฏิบัติตาม โดย

    ผูเรียนสามารถใชวิธีใด ๆ ก็ไดที่คุนเคย ซ่ึงสามารถลากเสนเชื่อมระหวางจุดสองจุดไดเรียบรอยก็

    ขอใหใชวิธีน้ัน ๆ ในการลากเสน

    การลากเสนตรงเชื่อมระหวางจุดสองจุดที่จะแนะนํานี้เร่ิมจากการวางปลายดินสอจรด

    กับจุดเริ่มตนของเสน (สมมติวาเปนจุด A) จากนั้นเลื่อนไมบรรทัดเขาชิดกับปลายดินสอแลวใชปลาย

    ดินสอดังกลาวเปนจุดหมุน โดยหมุนไมบรรทัดใหดานที่จะลากเสนผานจุดที่สอง (จุด B) สุดทายให

    กดไมบรรทัดใหน่ิงแลวลากเสนจากจุด A ไปยังจุด B ก็จะไดเสนตรงตามตองการ ขั้นตอนตาง ๆ

    เหลานี้ไดแสดงไวในรูปที่ 2.13

    30°+ 45° = 75° 30°

    รูปที่ 2.12 การลากเสนเอียง 75° โดยใชไมสามเหลี่ยมทั้งสอง

    (ข) วางไมสามเหล่ียม 45-45 บนไมสามเหล่ียม 30-60 เพ่ือสรางเสนเอียง 75°

    (ก) วางไมสามเหล่ียม 30-60 บนไมที

  •  

    NWP  June 2007  Version 0.5 

    41 Preparing Tools & Applied Geometry 

    2.3 เรขาคณิตประยุกต หัวขอสุดทายจะเปนการทบทวนความรูเร่ืองเรขาคณิต เพราะจําเปนตองนําความรู

    ดังกลาวมาประยุกตใชในการวาดรูปรางที่มีความซับซอนของชิ้นงานวิศวกรรม โดยหัวขอที่จะ

    กลาวถึงมีดังตอไปน้ี

    - สรางเสนขนานกับเสนที่ใหโดยผานจุดที่กําหนด - สรางเสนขนานกับเสนที่ใหโดยมีระยะหางตามที่กําหนด - สรางเสนตั้งฉากกับเสนที่ใหโดยผานจุดที่กําหนด (จุดอยูบนเสน)

    o Revolve method

    o Adjacent-side method

    - สรางเสนตั้งฉากกับเสนที่ใหโดยผานจุดที่กําหนด (จุดอยูนอกเสน) - สรางเสนทํามุม 15 องศากับเสนที่ใหโดยผานจุดที่กําหนด - สรางเสนตรงสัมผัสกับวงกลมโดยผานจุดที่อยูบนวงกลม - สรางเสนตรงสัมผัสกับวงกลมโดยผานจุดที่อยูนอกวงกลม - สรางสวนโคงสัมผัสกับเสนตรงสองเสนที่ตั้งฉากกัน (สราง fillet & round)

    A

    B

    A

    B

    A

    B

    A

    B

    รูปที่ 2.13 การลากเสนตรงเชื่อมระหวางจุดสองจุด

    (ข) เล่ือนไมบรรทัดเขาจรดกับปลายดินสอ

    (ค) ใชปลายดินสอเปนจุดหมุนแลวหมุนไมบรรทัดจนดานที่ตองการผานจุดที่สอง

    (ก) จรดปลายดินสอเขากับจุดเริ่มตน

    (ง) กดไมบรรทัดใหแนนแลวลากเสนเชื่อมตอระหวางจุดทั้งสอง

  •  

    NWP

    42  Funda

    สรางเส

    mental of En

    - สรา- สรา- สรา- สรา

    สนขนานกับเ

    ขั้นตอนที่

    ขั้นตอนที่ 3

    ngineering D

    +C

    +C

    างสวนโคงสมั

    างสวนโคงสมั

    างสวนโคงสมั

    างสวนโคงสมั

    เสนที่ใหโดย

    +C

    1

    J

    rawing 

    มผัสกับเสนต

    มผัสดานนอก

    มผัสดานในกั

    มผัสดานในกั

    ยผานจุดที่กํา

    une 2007

    รงสองเสนทีไ่

    กกับวงกลมส

    ับวงกลมสอง

    ับวงกลมหนึง่

    าหนด

    1. วางไมฉ

    2. นําไมฉ3. เลื่อนไม

    ใชจัดระ

    4. กดไมฉกําหนด

    ไมตั้งฉากกัน

    องวง

    งวง

    งและสัมผัสน

    ฉากโดยจัดให

    ฉากอีกอนัวางร

    มฉากอนัแรกไ

    ะดับผานจุดที่

    ฉากอันแรกให

    ขั้นตอ

    +C

    +C

    นอกกับอีกวงก

    หดานหนึ่งไดร

    รองเปนฐานข

    ไปบนอันที่สอ

    กําหนด

    แนนแลวลาก

    นที่ 2

    ขั้นตอน

    Versio

    C

    กลมหนึ่ง

    ระดับกับเสนที่

    ของไมฉากอัน

    องจนกระทัง่ดา

    เสนขนานผาน

    ที ่4

    n 0.5 

    ให

    แรก

    านที่

    นจุดที่

  •  

    NW

    สรา

    างเสนขนาน

    r

    ขั้น

    ขั้นตอนที่ 3

    นกับเสนที่ให

    กําหนดร

    r

    ั้นตอนที ่1

    3

    หโดยมีระยะห

    ระยะหาง r

    r

    June 200

    หางตามที่กํ

    1. ใชว

    ศูน

    2. วาง3. นําไ4. เลื่อ

    ใชจ

    5. กดตอ

    ขั้นตอนที่

    07

    Prepa

    ําหนด

    วงเวียนลากส

    นยกลางอยูบน

    งไมฉากโดยจั

    ไมฉากอีกอนั

    อนไมฉากอนัแ

    จัดระดับผานข

    ดไมฉากอันแรก

    งการ

    ขั

    ขั้นตอนที่ 4

    5

    aring Tools &

    วนโคงที่มีรัศมี

    นเสนที่ให (ตํา

    จดัใหดานหนึ่ง

    วางรองเปนฐา

    แรกไปบนอันท

    ขอบสวนโคงที

    กใหแนนแลวล

    ขั้นตอนที่ 2

    4

    Ve

    & Applied Ge

    มเีทากับ r โด

    แหนงใดก็ได)

    งไดระดับกับเส

    านของไมฉาก

    ที่สองจนกระท

    ที่สรางไว

    ลากเสนขนาน

    ersion 0.5 

    43ometry 

    ยมี

    )

    สนที่ให

    กอันแรก

    ทัง่ดานที่

    นตาม

  •  

    NWP

    44  Funda

    สรางเส

    mental of En

    สนตั้งฉากกับ

    +C

    ขั้นตอ

    ขั้นตอ

    ngineering D

    +C

    +C

    บเสนที่ใหโด

    C

    อนที่ 1

    อนที่ 3

    J

    rawing 

    ยผานจุดทีก่

    une 2007

    กําหนด (จุด

    1. วางไม

    ระดับก

    2. นําไมฉ3. พลิกไ

    ไมฉาก

    ของไม

    4. กดไมฉตองกา

    +

    อยูบนเสน)

    มฉาก 45-45 โ

    กับเสนที่ให

    ฉากอีกอนัวาง

    มฉากอันแรก

    กอันที่สอง จา

    มฉากอนัแรกผ

    ฉากอันแรกให

    าร

    ขั้นตอ

    +C

    +C

    Revolve M

    โดยจัดดานตร

    งรองเปนฐานข

    กลับอีกดาน แ

    กนั้นจัดใหดา

    ผานจุดที่กาํหน

    หแนนแลวลาก

    อนที่ 2

    ขั้นตอนที่ 4

    Versio

    Method

    รงขามมุมฉาก

    ของไมฉากอัน

    แลววางกลับไ

    นตรงขามมุม

    นดให

    กเสนต้ังฉากต

    4

    n 0.5 

    กใหได

    นแรก

    ไปบน

    ฉาก

    ตาม

  •  

    NW

    สรา

    างเสนตั้งฉาก

    ขั้

    ขั้

    +C

    +C

    กกับเสนที่ให

    +C

    ั้นตอนที่ 1

    ั้นตอนที่ 3

    หโดยผานจดุ

    June 200

    ดที่กําหนด

    1. วา

    ระ

    2. นํ3. เลื

    ดา

    4. กต

    07

    Prepa

    (จุดอยูบนเส

    างไมฉากใดก็

    ะดับกับเสนทีใ่

    าไมฉากอีกอนั

    ลื่อนไมฉากอนั

    านประกอบมุ

    ดไมฉากอันแร

    องการ

    aring Tools &

    +C

    +C

    สน) Adjace

    ได โดยจัดดา

    ให

    นวางรองเปนฐ

    นแรกไปบนไม

    มฉากอีกดาน

    รกใหแนนแลว

    ขั้นตอนที่ 2

    ขั้นตอนท

    Ve

    & Applied Ge

    C

    ent-side Me

    นประกอบมุม

    ฐานของไมฉา

    มฉากที่เปนฐา

    นหนึ่งผานจุดที

    วลากเสนต้ังฉ

    ที่ 4

    ersion 0.5 

    45ometry 

    thod

    มฉากใหได

    ากอันแรก

    นจนกระทั่ง

    ทีก่ําหนด

    ฉากตาม

  •  

    NWP

    46  Funda

    สรางเส

    mental of En

    สนตั้งฉากกับ

    ขั้นตอ

    ขั้นตอ

    ngineering D

    +C

    +C

    บเสนที่ใหโด

    +C

    อนที่ 1

    อนที่ 3

    J

    rawing 

    C

    ยผานจุดทีก่

    une 2007

    กําหนด (จุด

    1. วางไมฉ

    ระดับกบั

    2. นําไมฉา3. เลื่อนไม

    ดานประ

    4. กดไมฉาตองการ

    อยูนอกเสน

    ฉากใดก็ได โด

    บเสนที่ให

    ากอีกอนัวางร

    มฉากอนัแรกไ

    ะกอบมุมฉาก ี

    ากอันแรกใหแ

    ขั้นตอ

    +C

    +C

    น) Adjacent-

    ยจัดดานประก

    รองเปนฐานขอ

    ปบนไมฉากที

    อีกดานหนึ่งผ

    แนนแลวลากเ

    อนที่ 2

    ขั้นตอนที่ 4

    Versio

    t-side Metho

    กอบมุมฉากให

    องไมฉากอันแ

    ที่เปนฐานจนก

    ผานจุดทีก่ําหน

    สนต้ังฉากตา

    4

    n 0.5 

    od

    หได

    แรก

    กระทั่ง

    นด

  •  

    NWP  June 2007  Version 0.5 

    47 Preparing Tools & Applied Geometry 

    สรางเสนทํามุม 15 องศากับเสนที่ใหโดยผานจุดทีกํ่าหนด

    1. วางดานตรงขามมุมฉากของไมฉาก 45 ใหไดระดับ

    กับเสนที่ให

    2. นําไมฉากอีกอนัวางรองเปนฐานของไมฉากอันแรก จากนั้นเอาไมฉากอันแรกออกแลวลากเสนสีสม

    3. นําไมฉาก 45 จัดใหไดระดับกับเสนสีสม 4. วางไมฉาก 30-60 บนไม 45 ตามลักษณะดังรูป 5. ลากเสนสีแดง ซึ่งทํามุม 15 องศากับเสนที่ใหตาม

    ตองการ

    +C

    +C +C

    +C +C

    +C

    ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที ่2

    ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

    ขั้นตอนที่ 5

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    48  Fundamental of Engineering Drawing 

    C

    C C

    C C

    สรางเสนตรงสัมผัสกับวงกลมโดยผานจุดที่อยูบนวงกลม

    1. วางดานประกอบมุมฉากของไมสามเหลี่ยม 45 ใหได

    ระดับกับเสนที่ให

    2. นําไมฉากอีกอนัวางรองเปนฐานของไมฉากอันแรก 3. เลื่อนไมฉาก 45 จนกระทั่งดานประกอบมุมฉากอีก

    ดานผานจุดศูนยกลางและจุดบนวงกลม

    4. ลากเสนสัมผัสกับวงกลมตามตองการ

    ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

    ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

  •  

    NWP  June 2007  Version 0.5 

    49 Preparing Tools & Applied Geometry 

    C

    CC

    C

    C

    สรางเสนตรงสัมผัสกับวงกลมโดยผานจุดที่อยูนอกวงกลม

    1. วางดานประกอบมุมฉากของไมสามเหลี่ยมใดก็ได

    โดยจัดใหดานนั้นผานจุดที่กาํหนดและสัมผัสกับ

    วงกลม

    2. นําไมฉากอีกอนัวางรองเปนฐานของไมฉากอันแรก 3. เลื่อนไมฉากอนัแรกจนกระทัง่ดานประกอบมุมฉาก

    อีกดานผานจุดศูนยกลางของวงกลม จากนั้นทํา

    เครื่องหมายแสดงจุดสัมผัส (เสนสีสม)

    4. ลากเสนสัมผัสจากจุดที่กําหนดไปยังจุดสัมผัสที่ไดในขั้นตอนที่ 3

    ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

    ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    50  Fundamental of Engineering Drawing 

    สรางสวนโคงสัมผัสกับเสนตรงสองเสนที่ตั้งฉากกัน (สราง fillet & round)

    กอนแสดงวิธีการสรางสวนโคงในหัวขอน้ี จะขออธิบายความหมายของ fillet และ

    round กอน พิจารณารูปที่ 2.14 รูปดานซายแสดงวัตถุที่มีขอบเปนมุมแหลม ซ่ึงโดยปกติแลววัตถุใน

    งานวิศวกรรมจะพยายามหลีกเลี่ยงมุมแหลมแบบนี้เพราะทําการผลิตไดยาก อีกทั้งการมีมุมแหลม

    อาจกอใหเกิดอันตรายในขณะใชงาน และถาวัตถุน้ันตองรับภาระแรงจากภายนอก ความเคน

    (stress) และความเครียด (strain) ที่ เกิดขึ้นในวัตถุจะมีคามากในบริเวณที่ มีมุมแหลมเชนน้ี

    กอใหเกิดการแตกหักเสียหายได ดังน้ันการผลิตในงานวิศวกรรมจะสรางวัตถุที่มีขอบมุมโคงมนดัง

    แสดงในรูปดานขวาของรูปที่ 2.14 ซ่ึงถาเปนขอบมุมที่โคงเหมือนขอบโตะจะเรียกวา round และถา

    เปนขอบมุมที่โคง ณ บริเวณที่มีลักษณะเปนขอพับจะเรียกวา fillet

    การวาดสวนโคงที่เรียกวา fillet และ round ดังที่แสดงในรูปที่ 2.14 ก็คือการวาดสวนโคง (1 ใน 4)

    ใหสัมผัสกับเสนตรงสองเสนที่ตั้งฉากกันดังแสดงในรูปที่ 2.15

    Fillet

    Round

    Roundขอบวัตถุมีมมุแหลม

    รูปที่ 2.14 ลักษณะขอบมุมที่โคงมนซ่ึงเรียกวา fillet และ round

    รูปที่ 2.15 การวาดสวนโคงสัมผัสกับเสนตรงเพ่ือสราง fillet หรือ round

  •  

    NW

    วิธกี

    การสรางสวน

    โคง (1 ใน 4)

    ขั้นตอนที่ 1

    ขั้นตอนที่ 3

    ที่มีรัศมีเทาก

    June 200

    กับ r สัมผัสกั

    1. ลา

    ระย

    2. จดุแล

    ขอ

    3. กาศูน

    จดุ

    4. สดุจะไ

    จุด

    07

    Prepa

    กับเสนตรงสอ

    กเสนขนานกับ

    ยะหางจากเสน

    ตัดที่ไดคือจดุ

    ะจุดที่เสนสีสม

    องสวนโคง

    งวงเวียนรัศมี

    นยกลาง ลากส

    สัมผัสอีกอันห

    ดทายลากเสนต

    ได fillet หรอื

    ดสัมผัส 1

    aring Tools &

    องเสนที่ตั้งฉา

    ับเสนต้ังฉากที

    นเดิมเทากับ

    ดศูนยกลางขอ

    มตัดกับเสนต้ัง

    ม ีr แลวใชจุดตั

    สวนโคงจากจุด

    หนึง่

    ตรงตอออกจา

    round ตามต

    จุดสัม

    ขั้นตอ

    ขั้นตอ

    Ve

    & Applied Ge

    ากกัน

    ที่กําหนดให โ

    r (เสนสีสม)

    องสวนโคงที่ตอ

    ั้งฉากนั้นคอืจุ

    ตัดของเสนสีส

    ดสัมผัสหนึ่งไป

    ากสวนโคงทั้ง

    องการ

    จุดศูนยกลา

    มผัส 2

    อนที่ 2

    อนที่ 4

    ersion 0.5 

    51ometry 

    ดยมี

    องการ

    ดสัมผัส

    มเปนจุด

    ปสิ้นสุดที่

    สองดานก็

    างสวนโคง

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    52  Fundamental of Engineering Drawing 

    ++

    rr

    สรางสวนโคงสัมผัสกับเสนตรงสองเสนที่ไมตั้งฉากกัน

    1. ลากเสนขนานกับเสนตรงทั้งสอง ใหมีระยะหางจาก

    เสนเดิมเทากับ r (เสนสีสม) จุดตัดที่ไดคือจุด

    ศูนยกลางของสวนโคงที่ตองการ

    2. ลากเสนตรงเสนเล็ก ๆ ตัดกับเสนที่กําหนดให โดยเสนดังกลาวตองมีแนวผานจดุศูนยกลางสวนโคงและ

    ต้ังฉากกับเสนที่ตองลากตัด

    3. กางวงเวียนรัศมี r แลวใชจุดตัดของเสนสีสมเปนจุดศูนยกลาง ลากสวนโคงจากจุดสัมผัสหนึ่งไปสิ้นสุดที่

    จุดสัมผัสอีกอันหนึง่

    4. สุดทายลากเสนตรงตอจากสวนโคงทั้งสองดานก็จะได fillet หรือ round ในอีกรูปแบบหนึง่

    จุดสัมผัส 1 จุดสัมผัส 2

    ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

    ขั้นตอนที ่3 ขั้นตอนที ่4

  •  

    NWP  June 2007  Version 0.5 

    53 Preparing Tools & Applied Geometry 

    เรขาคณิตของวงกลมสมัผัสกัน

    กอนจะอธิบายการวาดเสนแบบตอไป ขอทบทวนความรูเร่ืองเรขาคณิตเม่ือวงกลมสอง

    วงสัมผัสกัน โดยกรณีแรกคือวงกลมสัมผัสกันดานนอกดังแสดงในรูปที่ 2.16 จากรูปจะเห็นวาถา

    วงกลมสองวงสัมผัสกันดานนอก ระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของวงกลมทั้งสองจะเทากับรัศมีของ

    ทั้งสองวงรวมกัน และจุดสัมผัสของวงกลมก็จะอยูบนเสนที่ลากเชื่อมจุดศูนยกลางของวงกลมทั้งสอง

    น่ันเอง สําหรับรูปที่ 2.17 แสดงตัวอยางของรูปรางวัตถุที่เกิดจากวงกลมสัมผัสกับแบบภายนอก

    C1

    C2

    R1

    R2

    จุดสัมผัส

    รูปที่ 2.16 คุณสมบัติของวงกลมสองวงที่สัมผัสกันดานนอก

    +C2+C1

    C+

    รูปที่ 2.17 ตัวอยางของเสนโคงบนวัตถทุี่เกิดจากเสนโคงสัมผัสกันดานนอก

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    54  Fundamental of Engineering Drawing 

    +C1

    +C2

    C+

    อีกกรณีของการสัมผัสกันของวงกลมคือกรณีที่วงกลมสัมผัสกันดานในดังแสดงในรูปที่ 2.18 จากรูป

    จะเห็นวาในกรณีน้ีระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของวงกลมทั้งสองจะเทากับผลตางของรัศมี และจุด

    สัมผัสก็ยังคงอยูบนเสนที่ลากเชื่อมจุดศูนยกลางของทั้งสองวงกลมอีกเชนเดิม ซ่ึงตัวอยางของรูปราง

    วัตถุที่เกิดจากการสัมผัสกันภายในของวงกลมนี้ไดแสดงไวในรูปที่ 2.19

    C2

    R2

    C1

    R1

    จุดสัมผัส

    รูปที่ 2.18 คุณสมบัติของวงกลมสองวงที่สัมผัสกันดานใน

    รูปที่ 2.19 ตัวอยางของเสนโคงบนวัตถทุี่เกิดจากเสนโคงสัมผัสกันดานใน

  •  

    NWP  June 2007  Version 0.5 

    55 Preparing Tools & Applied Geometry 

    สรางสวนโคงสัมผัสดานนอกกับวงกลมสองวง

    + +C1 C2

    C

    + +C1 C2

    R1

    R2

    กําหนดใหสรางสวนโคงรัศมี R สัมผัส

    ดานนอกกับวงกลมสองวงที่มีรัศมี R1

    และ R2 ตามลําดับ

    + +C1 C2

    R + R1

    R + R2

    R1

    R2

    C

    + +C1 C2

    C

    ข้ันตอนที่ 1 สรางสวนโคงรัศมี R+R1 และ R+R2 โดยใชจุด C1 และ C2 เปนจุดศูนยกลางตามลําดับ ซ่ึงจุดตัดที่ไดคือจุดศูนยกลางของสวนโคงที่ตองการ (จุด C)

    ข้ันตอนที่ 2 ลากเสนตรงเล็ก ๆ แสดงจุดสัมผัสระหวางสวนโคง ซ่ึงจุดดังกลาวจะอยูบนเสนตรงที่ลากเชื่อมจุดศูนยกลางทั้งสอง

    ข้ันตอนที่ 3 ใชจุด C เปนจุดศูนยกลางลากสวนโคงรัศมี R จากจุดสัมผัสหนึ่งไปยังอีกจุดสัมผัสหนึ่ง จากน้ันลากสวนโคงทีต่อออกทั้งสองขาง ก็จะไดรูปแบบสวนโคงตามที่ตองการ

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    56  Fundamental of Engineering Drawing 

    สรางสวนโคงสัมผัสดานในกับวงกลมสองวง

    + +C1 C2

    R1R2

    กําหนดใหสรางสวนโคงรัศมี R สัมผัส

    ดานในกับวงกลมสองวงที่มีรัศมี R1

    และ R2 ตามลําดับ

    + +C1 C2

    R – R2R – R1

    R1R2

    C

    + +C1 C2

    C

    + +C1 C2

    C

    ข้ันตอนที่ 1 สรางสวนโคงรัศมี R–R1 และ R–R2 โดยใชจุด C1 และ C2 เปนจุดศูนยกลางตามลําดับ ซ่ึงจุดตัดที่ไดคือจุดศูนยกลางของสวนโคงที่ตองการ (จุด C)

    ข้ันตอนที่ 2 ลากเสนตรงเล็ก ๆ แสดงจุดสัมผัสระหวางสวนโคง ซ่ึงจุดดังกลาวจะอยูบนเสนตรงที่ลากเชื่อมจุดศูนยกลางทั้งสอง

    ข้ันตอนที่ 3 ใชจุด C เปนจุดศูนยกลางลากสวนโคงรัศมี R จากจุดสัมผัสหนึ่งไปยังอีกจุดสัมผัสหนึ่ง จากน้ันลากสวนโคงทีต่อออกทั้งสองขาง ก็จะไดรูปแบบสวนโคงตามที่ตองการ

  •  

    NWP  June 2007  Version 0.5 

    57 Preparing Tools & Applied Geometry 

    สรางสวนโคงสัมผัสดานในกับวงกลมหนึ่งและสัมผัสนอกกับอีกวงกลมหนึง่

    +C1 +C2

    R1R2

    กําหนดใหสรางสวนโคงรัศมี R สัมผัส

    ดานในกับวงกลมรัศมี R1 และสัมผัส

    นอกกับวงกลมรัศมี R2 ตามลําดับ

    +C1 +C2

    R + R2

    R – R1

    R1R2

    C

    +C1 +C2

    C

    +C1 +C2

    C

    ข้ันตอนที่ 1 สรางสวนโคงรัศมี R–R1 และ R+R2 โดยใชจุด C1 และ C2 เปนจุดศูนยกลางตามลําดับ ซ่ึงจุดตัดที่ไดคือจุดศูนยกลางของสวนโคงทีต่องการ (จุด C)

    ข้ันตอนที่ 2 ลากเสนตรงเล็ก ๆ แสดงจุดสัมผัสระหวางสวนโคง ซ่ึงจุดดังกลาวจะอยูบนเสนตรงทีล่ากเชื่อมจุดศนูยกลางทั้งสอง

    ข้ันตอนที่ 3 ใชจุด C เปนจุดศูนยกลางลากสวนโคงรัศมี R จากจุดสัมผัสหนึ่งไปยังอีกจุดสัมผัสหนึ่ง จากนั้นลากสวนโคงที่ตอออกทั้งสองขาง ก็จะไดรูปแบบสวนโคงตามที่ตองการ

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    58  Fundamental of Engineering Drawing 

    2.4 บทสรุป บทนี้อธิบายขั้นตอนตาง ๆ ที่ตองปฏิบัติตั้งแตการติดกระดาษลงบนโตะเขียนแบบซึ่ง

    ตองจัดใหไดระดับกับไมที เพ่ือที่จะไดใชไมทีเปนแนวระดับอางอิง จากนั้นเปนการเตรียมดินสอและ

    วงเวียนซึ่งตองเหลาใหปลายแหลมอยูตลอดเวลาที่ใชเขียนแบบ เพ่ือเสนที่ออกมานั้นจะไดสวยงาม

    และมีความสม่ําเสมอ รวมถึงการใชอุปกรณเขียนแบบเบื้องตน เชน การเขียนวงกลมดวยวงเวียน

    การเขียนวงกลมดวยเทมเพลต การใชไมทีในการลากเสนแนวนอน การใชไมทีและไมสามเหลี่ยมใน

    การลากเสนด่ิง การใชไมสามเหลี่ยมทั้งสองในการสรางมุมที่เปนลําดับขั้นของมุม 15 องศา เปนตน

    สุดทายคือหัวขอที่เกี่ยวกับเรขาคณิตประยุกต โดยนําเสนอหัวขอหลัก ๆ ที่ใชบอยเทานั้น ผูเรียน

    ควรกลับไปทบทวนเรื่องของเรขาคณิตอ่ืน ๆ ดวยตนเอง เชน การแบงครึ่งมุม การแบงครึ่งเสนตรง

    การสรางรูปหลายเหลี่ยมดานเทา เปนตน

    ผูเรียนควรฝกฝนหัวขอตาง ๆ ในบทนี้ใหเกิดความชํานาญเพราะสามารถชวยผูเรียนได

    เปนอยางมากเวลาทํางานในหองฝกฝนหรือทําขอสอบเนื่องจากเวลาที่มีจํากัด การฝกฝนบอย ๆ จะ

    ทําใหเกิดความมั่นใจในการเขียนแบบและสามารถทําไดรวดเร็ว แบบฝกหัดที่ใหในตอนทายของบท

    น้ีก็เปนสวนหนึ่งที่สามารถชวยผูเรียนไดมีโอกาสฝกฝนมากยิ่งขึ้น

  •  

    NW

    1. จ

    จงวาดรูปดานนลางตามขนนาดที่กําหนด

    June 200

    แบบฝกหั

    (ขนาดมีหน

    07

    Prepa

    หัด

    นวยมิลลิเมตร

    aring Tools &

    ร) และจงหาค

    Ve

    & Applied Ge

    ความยาว KA

    ersion 0.5 

    59ometry 

    A

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    60  Fundamental of Engineering Drawing 

    2. จงวาดรูปดานลางตามขนาดที่กําหนด

  •  

    NWP  June 2007  Version 0.5 

    61 Preparing Tools & Applied Geometry 

    3. จงวาดรูปดานลางตามขนาดที่กําหนด

  •  

    NWP June 2007 Version 0.5 

    62  Fundamental of Engineering Drawing 

    4. จงวาดรูปดานลางตามขนาดที่กําหนด

  •  

    NWP  June 2007  Version 0.5 

    63 Preparing Tools & Applied Geometry 

    5. จงวาดรูปดานลางตามขนาดที่กําหนด

    /ColorImageDict > /JPEG2000ColorACSImageDict > /JPEG2000ColorImageDict > /AntiAliasGrayImages false /CropGrayImages true /GrayImageMinResolution 300 /GrayImageMinResolutionPolicy /OK /DownsampleGrayImages true /GrayImageDownsampleType /Bicubic /GrayImageResolution 300 /GrayImageDepth -1 /GrayImageMinDownsampleDepth 2 /GrayImageDownsampleThreshold 1.50000 /EncodeGrayImages true /GrayImageFilter /DCTEncode /AutoFilterGrayImages true /GrayImageAutoFilterStrategy /JPEG /GrayACSImageDict > /GrayImageDict > /JPEG2000GrayACSImageDict > /JPEG2000GrayImageDict > /AntiAliasMonoImages false /CropMonoImages true /MonoImageMinResolution 1200 /MonoImageMinResolutionPolicy /OK /DownsampleMonoImages true /MonoImageDownsampleType /Bicubic /MonoImageResolution 1200 /MonoImageDepth -1 /MonoImageDownsampleThreshold 1.50000 /EncodeMonoImages true /MonoImageFilter /CCITTFaxEncode /MonoImageDict > /AllowPSXObjects false /CheckCompliance [ /None ] /PDFX1aCheck false /PDFX3Check false /PDFXCompliantPDFOnly false /PDFXNoTrimBoxError true /PDFXTrimBoxToMediaBoxOffset [ 0.00000 0.00000 0.00000 0.00000 ] /PDFXSetBleedBoxToMediaBox true /PDFXBleedBoxToTrimBoxOffset [ 0.00000 0.00000 0.00000 0.00000 ] /PDFXOutputIntentProfile () /PDFXOutputConditionIdentifier () /PDFXOutputCondition () /PDFXRegistryName () /PDFXTrapped /False

    /Description > /Namespace [ (Adobe) (Common) (1.0) ] /OtherNamespaces [ > /FormElements false /GenerateStructure true /IncludeBookmarks false /IncludeHyperlinks false /IncludeInteractive false /IncludeLayers false /IncludeProfiles true /MultimediaHandling /UseObjectSettings /Namespace [ (Adobe) (CreativeSuite) (2.0) ] /PDFXOutputIntentProfileSelector /NA /PreserveEditing true /UntaggedCMYKHandling /LeaveUntagged /UntaggedRGBHandling /LeaveUntagged /UseDocumentBleed false >> ]>> setdistillerparams> setpagedevice