29
7 บทที2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาปญหาและอุปสรรคในการนําระบบไกลเกลี่ยมาใชในศาลจังหวัดฉะเชิงเทรา มีแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของดังตอไปนี1. แนวคิดเกี่ยวกับการไกลเกลี่ย 2. ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการไกลเกลี่ยขอพิพาท .. 2544 3. ขอดี-ขอจํากัดของการไกลเกลี่ยขอพิพาท 4. แนวคิดเกี่ยวกับปญหาอุปสรรค 5. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 6. กรอบแนวคิดในการศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับการไกลเกลี่ย ความหมายของการไกลเกลี่ย คําวา การไกลเกลี่ยขอพิพาท ตรงกับภาษาอังกฤษวา “mediation” ซึ่งไดมีผูให ความหมายไวหลายทาน ดังนีภานุ รังสีสหัส (2546, หนา 1) ไดใหความหมายวา การไกลเกลี่ย คือ กระบวนการระงับ ขอพิพาทที่มีบุคคลที่สามมาชวยเหลือใหคู ความเจรจาตอรองกันไดสําเร็จ โดยเปนผลิตผลประการหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นจากความลมเหลวของการเจรจาตอรองแตมิใชเปนสิ่งที่เขามาแทนที่การเจรจาตอรอง โชติชวง ทัพวงศ (2546, หนา 45) ไดใหความหมายวา การไกลเกลี่ยหมายถึง กระบวนการ แกปญหาขอพิพาทโดยมีบุคคลที่สามที่เปนคนกลางเขาชวยเหลือแนะนําในการเจรจาตอรองของ คูความเพื่อระงับขอพิพาท ปรัชญา อยูประเสริฐ (2546, หนา 125) ไดใหความหมายวา การไกลเกลี่ยหรือการ ประนีประนอมขอพิพาท (conciliation or mediation) คือ การที่คูพิพาทตกลงยินยอมใหบุคคลที่สาม ซึ่งเปนคนกลางที่มีความอิสระและความเปนกลางแตไมมีอํานาจชี้ขาดขอพิพาททําการชวยเหลือใหการ เจรจาไกลเกลี ่ย ขอพิพาทใหทั้งสองฝายยินยอมลดหยอนผอนปรนใหแกกันจนกระทั่งสามารถตกลง ได โดยทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพื่อระงับขอพิพาทกันตอไป

บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

7

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาปญหาและอุปสรรคในการนําระบบไกลเกลีย่มาใชในศาลจังหวดัฉะเชิงเทรามีแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและผลงานวิจยัทีเ่กี่ยวของดังตอไปนี ้

1. แนวคดิเกีย่วกบัการไกลเกลีย่ 2. ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการไกลเกลี่ยขอพิพาท พ.ศ. 2544 3. ขอดี-ขอจํากัดของการไกลเกลี่ยขอพิพาท 4. แนวคดิเกีย่วกบัปญหาอุปสรรค 5. งานวิจยัที่เกี่ยวของ 6. กรอบแนวคิดในการศึกษา

แนวคิดเกี่ยวกับการไกลเกลี่ย

ความหมายของการไกลเกล่ีย คําวา “การไกล เกลี่ยขอพิพาท” ตรงกับภาษาอังกฤษวา “mediation” ซ่ึงไดมี ผูให

ความหมายไวหลายทาน ดังนี้ ภานุ รังสีสหัส (2546, หนา 1) ไดใหความหมายวา การไกลเกล่ีย คือ กระบวนการระงับ

ขอพิพาทที่มีบุคคลที่สามมาชวยเหลือใหคูความเจรจาตอรองกันไดสําเร็จ โดยเปนผลิตผลประการหนึ่ง ซ่ึงเกิดขึ้นจากความลมเหลวของการเจรจาตอรองแตมิใชเปนสิ่งที่เขามาแทนที่การเจรจาตอรอง

โชติชวง ทัพวงศ (2546, หนา 45) ไดใหความหมายวา “การไกลเกลี่ย” หมายถึง กระบวนการแกปญหาขอพิพาทโดยมีบุคคลที่สามที่เปนคนกลางเขาชวยเหลือแนะนําในการเจรจาตอรองของคูความเพื่อระงับขอพิพาท

ปรัชญา อยูประเสริฐ (2546, หนา 125) ไดใหความหมายวา การไกลเกลี่ยหรือการประนีประนอมขอพิพาท (conciliation or mediation) คือ การที่คูพิพาทตกลงยินยอมใหบุคคลที่สามซ่ึงเปนคนกลางที่มีความอิสระและความเปนกลางแตไมมีอํานาจชี้ขาดขอพิพาททําการชวยเหลือใหการเจรจาไกลเกลี่ย ขอพิพาทใหทั้งสองฝายยินยอมลดหยอนผอนปรนใหแกกันจนกระทั่งสามารถตกลงได โดยทําสัญญาประนีประนอมยอมความเพื่อระงับขอพิพาทกันตอไป

Page 2: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

8

สํานักระงับขอพิพาท (2547, หนา 10) การไกลเกลี่ยขอพิพาท ตามพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายคําวา “ไกลเกลี่ย” ไววา “พดูจาใหปรองดองกัน พูดจา ใหตกลงกนั ทาํใหเรียบรอยทําใหเสมอกนั แสดงใหเห็นวา บทบาทของผูไกลเกลี่ยหรือคนกลางนั้นไมไดเปนผูช้ีขาดตัดสินใหฝายใดฝายหนึ่งเปนฝายแพหรือฝายชนะ แตผูไกลเกลี่ยหรือคนกลางเปนเพียง ผูชวยเหลือใหคูพิพาทตกลงระงับขอพิพาทดวยตวัของคูพิพาทเอง

สรุปไดวา การไกลเกล่ียขอพิพาท หมายถึง วิธีการระงับขอพิพาทโดยบุคคลที่สาม ที่เรียกวา “ผูไกลเกลี่ย” ในการทําหนาที่ชวยเหลือเสนอแนะแนวทางและหาทางออกใหกับคูพิพาทเพื่อตกลงประนีประนอมยอมความกันนั่นเอง

การไกลเกลี่ยขอพิพาท (mediation) อาจใหความหมายไดวา หมายถึง กระบวนการแกไขปญหาขอพิพาทโดยมีบุคคลที่เปนคนกลางเขาชวยเหลือแนะนําใหคูความเจรจาตอรองเพื่อหาทางออกและระงับขอพิพาท โดยมีแนวคิด ดังนี้

1. เพื่อความสะดวกรวดเร็ว 2. เพื่อประหยัดคาใชจาย 3. เพื่อรักษาสัมพันธภาพของคูความ 4. เพื่อความพึงพอใจของคูความ 5. เพื่อลดปริมาณคดีของศาล ศาลยุติธรรมเปนสถาบันที่ใชอํานาจอธิปไตยที่สําคัญประการหนึ่งของประเทศ คือ อํานาจ

ตุลาการ โดยศาลยุติธรรมมีอํานาจหนาที่หลักในการอํานวยความยุติธรรมแกประชาชนใหประชาชนไดรับความเปนธรรมอยางเทาเทียมกันภายใตกฎหมาย เปาหมายสําคัญของศาลยุติธรรมคือ การปฏิบัติดานอํานวยความเปนธรรมแกประชาชนดวยความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ แตจํานวนคดี ที่ประชาชนและสวนราชการฟองรองตอศาลยุติธรรมที่มีจํานวนมาก ประกอบกับการดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลตามกฎหมายวิธีพิจารณาความนั้นจะมีขั้นตอนตาง ๆ มากมาย อีกทั้งยังจะตองอาศัยความพรอมและความรวมมือของทุกฝาย และพยานที่จะตองมาเบิกความตอศาล การดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลตามกฎหมายวิธีพิจารณาความนั้นจะมีขั้นตอนตาง ๆ มากมาย อีกทั้งยังจะตองอาศัยความพรอมและความรวมมือของทุกฝาย และพยานที่จะตองมาเบิกความตอศาล การดําเนินกระบวนพิจารณาดังกลาวจึงจําเปนที่จะตองใชเวลานานกวาศาลจะมีคําพิพากษา และเมื่อศาลมีคําพิพากษาแลวยังจะตองมีการบังคับคดีแกคูความที่แพคดีอีก ศาลยุติธรรมและศาลจังหวัดฉะเชิงเทราจึงไดพัฒนาระบบการระงับขอพิพาททางเลือกสําหรับเปนชองทางเพิ่มเติมใหแกประชาชนทั่วไปไดมีโอกาสเลือกใชวิธีการตาง ๆ ในการระงับขอพิพาทใหเหมาะสมกับขอพิพาทแตละเรื่องเพื่อใหการดําเนินคดีในศาลเปนไปไดอยางรวดเร็ว และเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจาก

Page 3: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

9

การไกลเกลี่ยโดยศาลเองแลวยังไดนําการไกลเกลี่ยโดยคนกลาง ซ่ึงเรียกวา “ผูประนีประนอม” มาชวยในการไกลเกลี่ยโดยเปนผูมีความรูความสามารถในเรื่องที่คูความพิพาทกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความสามารถในการจัดการหรือระงับขอพิพาทอีกดวย และอาจกลาวไดวาการไกลเกล่ียคดีในศาลเปนวิธียุติขอพิพาทอีกวิธีหนึ่งที่ศาลในประเทศตาง ๆ นํามาใชเนื่องจากเปนวิธีที่มีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพโดยที่คูความสามารถยุติขอพิพาทไดดวยความพึงพอใจรวมกัน ไมมีฝายใดแพหรือฝายใดชนะ แตถือวาคูความท้ังสองฝายตางชนะดวยกันทั้งคู (win-win situation) และทั้งสองฝาย ยังสามารถรักษาความสัมพันธกันตอไป กอใหเกิดความสงบสุขในสังคมอีกดวย

แนวความคิดพื้นฐานทางสังคมวิทยา กฎหมาย หมายถึง การอาศัยกฎหมายเพื่อเสริมสรางและจัดระเบียบภายในสังคมซึ่งเปนความจําเปนอยางยิ่งที่กฎหมายจะตองมีความสอดคลองและเหมาะสมกับสภาพของสังคมนั้น ๆ ท้ังนี้เพื่อใหเปนที่ยอมรับและปฏิบัติตามของสมาชิกในสังคมอันจะเปนการนํามาซึ่งความสุขสงบอยางแทจริง

เมื่อมีปญหาเกิดขึ้นไมวาทางแพงหรือทางอาญา นักกฎหมายซึ่งเปนเจาหนาบานเมืองจะวิเคราะหกฎหมายอยางเครงครัดถึงตัวบทกฎหมายวาการกระทําความผิดนั้น ๆ ผิดกฎหมายเรื่องอะไร มีกระบวนการฟองรองดําเนินคดีอยางไร ถาเปนคดีอาญากฎหมายไดกําหนดหลักเกณฑการสืบสวน ฟองรองคดีไวอยางไร สวนนักสังคมวิทยาจะมองปญหาขอพิพาทในทางสังคมกวางกวานักกฎหมายเนื่องจากเห็นวาการดํารงชีวิตของมนุษยนั้น มนุษยอยูภายใตอิทธิพลของสภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม ตลอดจนคานิยมของทองถ่ิน สภาวะแวดลอมตาง ๆ เหลานี้มีอิทธิพล ตอความประพฤติ การปฏิบัติของมนุษยในการดํารงชีวิตอยูในสังคมของมนุษยซ่ึงจะตองปฏิบัติตามกฎเกณฑของสังคมที่มีอยูตามธรรมชาติ ซ่ึงอาจจะเหมือนหรือแตกตางจากกฎหมายลายลักษณอักษรที่กําหนดและควบคุมพฤติกรรมของมนุษยในสังคมได

โดยเหตุนี้ เมื่อมีขอพิพาทขัดแยงในสังคมชนบท คูพิพาทหรือฝายใดฝายหนึ่งที่เกี่ยวของกับขอพิพาทมีแนวโนมที่จะดําเนินการระงับขอพิพาทตามวิธีการ และกระบวนการปฏิบัติตามที่ตามมีความคุนเคยและสะดวกในทองถ่ิน ไดแก การประนอมขอพิพาทมากกวาจะดําเนินการตามวิธีการที่กฎหมายบัญญัติไว

แนวความคิดในการประนีประนอมขอพิพาทในสังคมชนบทมีนักสังคมวิทยาและนักวิชาการอื่นไดคนควาพฤติกรรมของประชาชนในการระงับขอพิพาทไว ดังนี้

แนวความคิดของ ริกส (Riggs) ริกส (Riggs, 1964, pp. 50-220 อางถึงใน สุภัทรา กรอุไร, 2543, หนา 15-16) ไดทําการศึกษา

ถึงสาเหตุและสภาพปญหาที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการไมประสบผลสําเร็จของรัฐ ในการที่จะปองกันและปราบปรามการกออาชญากรรมในประเทศที่กําลังพัฒนา เชน ประเทศไทย จากการศึกษา

Page 4: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

10

พบวา ในประเทศเหลานี้กฎหมายรวมถึงการบังคับเพื่อใหเปนไปตามกฎหมายไมมีประสิทธิภาพและไมสอดคลองกับความเปนจริง กฎหมายกําหนดกฎเกณฑไวอยางหนึ่ง แตการปฏิบัติของประชาชนและเจาพนักงานปฏิบัติกันไปอีกอยางหนึ่ง ทั้งนี้เพราะกฎหมายไดลอกเลียนแบบกฎหมายจากประเทศตะวันตก จึงไมสอดคลองกับสภาพทองถ่ินเปนสวนใหญ ประชาชนสวนหนึ่งไมเห็นดวยกับกฎหมาย กฎเกณฑ บรรทัดฐานทางสังคมจึงมีหลายอยาง บรรทัดฐานทางสังคมจึงมี หลายอยาง บรรทัดฐานและการปฏิบัติตามกฎหมายไมแนนอน บุคคลเลือกปฏิบัติตามกฎเกณฑที่จะเปนประโยชนแกตนมากกวาที่จะคํานึงวาสอดคลองกับบทบัญญัติของกฎหมายหรือไมเพราะเจาหนาที่ เองไมมีประสิทธิภาพในการบังคับใชกฎหมาย แตเลือกปฏิบัติเพื่อสนองตอผลประโยชนของตนเองเมื่อสามารถจะทําได ลักษณะการบังคับของกฎหมายจึงขาดลักษณะเปนการทั่วไป แตเปนการกระทําเฉพาะกรณีและเลือกปฏิบัติ ในสังคมที่กําลังพัฒนาจึงมีลักษณะปนเปกันระหวางลักษณะของสังคมเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมกฎหมายแบบตะวันตกกับวัฒนธรรมประเพณีทองถ่ินจะเขามามีอิทธิพลตอการดํารงชีวิตของมนุษยในชุมชน หากอิทธิพลและวัฒนธรรมจากสวนกลางยังไปไมถึงชนบท วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมของสังคมเกษตรก็ยังคงดํารงอยูตอไป

จึงสรุปไดวา การพัฒนาการทางกฎหมายของประเทศที่กําลังพัฒนามักลอกเลียนแบบของประเทศตะวันตกมิไดคํานึงถึงวัฒนธรรมประเพณีของทองถ่ิน ทําใหการประนีประนอมขอพิพาทโดยอาศัยผูนําทองถ่ินถูกละเลยไป

แนวความคิดของแชมบลีส และไชดแมน (Chambliess & Seidman) แชมบลีส และไชดแมน (Chambliess & Seidman, 1971, pp. 2-335 อางถึงใน สุภัทรา กรอุไร,

2543, หนา 16-17) ไดคนควาเกี่ยวกับวิธีระงับขอพิพาทของชาวชนบทและในเมือง ผลการศึกษาไดขอสรุปวา ถาในสังคมใดมีชนชั้นและสถานะของสมาชิกในสังคมที่แตกตางกันนอยเทาใด สังคมนั้นก็จะระงับขอพิพาทโดยการไกลเกลี่ยและประนีประนอมมากเทานั้น แตหากสังคมใดมีชนชั้นและสถานะที่แตกตางกันมากเทาใด สังคมนั้นก็จะระงับขอพิพาทโดยกระบวนการตามบทบัญญัติของกฎหมายมากขึ้นเทานั้น ที่เปนเชนนี้เพราะในสังคมซ่ึงประชาชนมีความแตกตางกันทางเศรษฐกิจนอย เชน สังคมในชนบทประชาชนมีความคุนเคยรูจักกันหรือพึ่งพาอาศัยกัน เมื่อเกิด ขอพิพาทขึ้นตองอะลุมอลวยตอกัน หาทางปรองดองกัน การกระทําอะไรใหรุนแรงก็จะอยูรวมในสังคมนั้นยาก แตในสังคมที่ใหญโต สลับซับซอนมีการแบงชนชั้นกันในสังคมมากซึ่งเปนวิถีชีวิตของคนในเมืองใหญ ๆ นั้นเมื่อเกิดขอพิพาทขึ้นผูมีสถานภาพไดเปรียบเทียบทางเศรษฐกิจจะไดรับประโยชนจากบทบัญญัติของกฎหมายจึงสนใจที่จะใชกระบวนการทางกฎหมายเพื่อคุมครองสิทธิของตนเมื่อแพหรือชนะคดีก็ไมจําเปนตองอยูเห็นหนาหรือพ่ึงพาอาศัยกันเหมือนอยางคนในชนบท

Page 5: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

11

ดังนั้นสังคมของคนในเมืองใหญจึงนิยมที่จะบังคับการใหเปนไปตามกฎหมายยิ่งกวาการประนีประนอม

แนวความคิดของ เอ็งเจล (Engel) เอ็งเจล (Engel, 1978, pp. 55-96 อางถึงใน สุภัทรา กรอุไร, 2543, หนา 17-18) ไดสรุป

ผลการวิจัยวา พฤติกรรมในการระงับขอพิพาทในชนบททางภาคเหนือของไทยในเขตเชียงใหมวาคนไทยในชนบทนิยมระงับขอพพิาทโดยการประนีประนอมยอมความกันมากกวาการฟองรองคดี เมื่อกรณีพิพาทหากคูกรณีตกลงกันเองไมไดก็จะใหบุคคลที่เปนผูที่นาเคารพเชื่อถือในหมูบานโดยเฉพาะอยางยิ่งผูใหญบานไกลเกล่ียประนีประนอม และหากยังตกลงกันไมไดอีกก็อาจจะขึ้นไปทางกํานันหรือทางอําเภอชวยทําการไกลเกล่ียมากกวาการฟองรองคดี หรือดําเนินการโดยเครงครัดตามบทบัญญัติของกฎหมาย เวนแตจะเปนเรื่องรายแรง

ดังนั้น จึงเห็นไดวาคานิยมของคนไทยในชนบทยังคงเชื่อถือผูนําทองถ่ิน และยอมรับใหทําหนาที่ระงับขอพิพาทของคนในหมูบานมาโดยตลอด

แนวความคิดของมหาตมะคานที มหาตมะคานที เนติบัณฑิตอังกฤษและผูนําทางความคิดในเรื่องการตอสูดวยหลักอหิงสา

อันเลื่องลือชาวอินเดียเคยกลาวไววา “คาจางในการดําเนินคดีทางกฎหมายไดเพิ่มจํานวนสูงขึ้นอยางรวดเร็วจนเพียงพอตอการกลืนเอาทรัพยสมบัติของลูกความไปเสียหมด พวกเขาตางกลายเปนพอคาใหญ และตองหมกมุนอยูกับการทําคดีจนไมมีเวลาที่จะทําอะไรอื่นในขณะเดียวกัน ความรูสึกที่ไมดีตอกันของตัวความทั้งสองฝายก็เพิ่มทวีขึ้นอยางตอเนื่อง ขาพเจาเริ่มเหนื่อยหนายตออาชีพนี้ ในฐานะที่เปนนักกฎหมาย พวกเขาตางถูกผูกมัดที่จะตองคนหาใหพบขอกฎหมายเพื่อใหเปนการเขาขางลูกความของตน ขาพเจายังไดพบเห็นเปนครั้งแรกวาคูความฝายที่ชนะคดีกลับไมไดรับการชดเชยใหคุมคากับคาใชจายที่เสียไป...ขาพเจาเกิดความรูสึกวาหนาที่โดยแทจริงของขาพเจาควรที่จะเปนในรูปของการทําตัวใหเปนมิตรกับคูความทั้งสองฝาย และนําทางใหพวกเขาไดพบกัน ขาพเจาไดทุมเทพลังและประสาททุกสวนในการทําใหพวกเขาสามารถปรองดองกันได...คูความทั้งสองฝายตางก็มีความสุขจากผลลัพธแหงการนั้น...ขาพเจามีความสุขอยางเหลือที่จะพรรณนาได ขาพเจา ไดเรียนรูถึงการปฏิบัติหนาที่อันแทจริงในทางกฎหมาย ไดเรียนรูที่จะคนหาใหพบในสวนที่เปนดานดีของธรรมชาติมนุษยและเขาไปนั่งในหัวใจของผูอ่ืน ขาพเจาไดสํานึกวาหนาที่อันแทจริงของนักกฎหมายนั้นที่แทแลวก็คือการทําใหคูความที่แตกแยกกันสามารถที่กลับมาคืนดีกันไดอีกครั้งหนึ่ง บทเรียนดังกลาวไดลุกโพลงเผาไหมอยูกลางใจขาพเจาอยางยากที่จะลบเลือนออกไปไดทําใหชีวิตของขาพเจาสวนใหญตลอดระยะเวลายี่สิบปของการปฏิบัติหนาที่เปนนักกฎหมายลวนมุงอยูกับการทําใหคูความปรองดองกันนับเปนจํานวนหลายรอยคดีซ่ึงนั่นไมทําใหขาพเจาเสียอะไรไปเลย ไมเสีย

Page 6: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

12

แมกระทั่งเงินทอง และแนนอนวาไมทําใหขาพเจาเสียจิตวิญญาณของขาพเจาไปดวย” (ขอความคัดและแปลจากหนังสือชีวประวัติของ โมฮันดัส เค. คานธี (มหาตมะคานธี), ม.ป.ป., หนา 133-134, ภานุ รังสีสหัส (ผูแปล) อางถึงใน สํานักระงับขอพิพาท, ม.ป.ป.)

มีแนวคิดที่สําคัญในเรื่องของการไกลเกลี่ยโดยคนกลาง มีจุดสําคัญที่ทําใหประสิทธิภาพ ในการเพิ่มพลังความสามารถในการจัดการขอพิพาท และซึ่งมีความแตกตางจากวิธีการอื่นที่อาศัยบุคคลที่สามเขามาชวยในการจัดการความขัดแยง ดังนี้คือ (สํานักระงับขอพิพาท, 2547, หนา 5-6)

1. การไกลเกลี่ยโดยคนกลางเปนวิธีการเจรจาที่จําเปนตองรวมเอาบุคคลที่สาม ซ่ึงมีความรู ในกระบวนการเจรจาอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถชวยใหคนที่เกี่ยวของอยูในความขัดแยง ไดทํางานอยางมีประสิทธิภาพและเปดเผย การไกลเกลี่ยโดยคนกลางเปนกระบวนการที่ตอเนื่องของการเจรจา แตอยูภายในรูปแบบที่แตกตางออกมา และใชผูไกลเกลี่ยคนกลางซึ่งไดแนะนํากระบวนการใหม ๆ และตัวแปรใหม ๆ ในการที่จะมีปฏิสัมพันธกันระหวางผูเจรจาที่ขัดแยงกันอยู

2. การไกลเกลี่ยโดยคนกลางเปนกระบวนการเขาไปแทรกกลางระหวางผูขัดแยงเปนที่คาดลวงหนาวาเมื่อคนกลางที่ทําหนาที่ไกลเกลี่ยเขามาสูเวทีของการเจรจานั้น คูกรณีจะรูจักกัน มีความสัมพันธกันที่ดีหรือไมดีเรียบรอยแลว โดยไมไดตองอาศัยคนกลาง

3. การยอมรับในตัวคนกลางที่ทําหนาที่ไกลเกล่ีย โดยผูเจรจาทั้งสองเปนองคประกอบสําคัญของการไกลเกลี่ย การยอมรับไมไดหมายความวาคูกรณีจําเปนที่จะตองตอนรับคนกลางและเต็มใจที่จะทําอยางที่เขาไดบอกใหทําแตหมายถึงวาคูเจรจาไดยอมรับการมาปรากฏตัวของคนกลางและยอมรับฟงและยินดีที่จะพิจารณาอยางจริงจังในคําแนะนําของคนกลาง

4. ผูทําหนาที่ไกลเกลี่ยที่เปนกลางและไมเขากับฝายใด ความเปนกลางและความที่ไมเขากับฝายใดเปนปจจัยที่สําคัญในการไกลเกลี่ยโดยคนกลาง คําทั้งสองที่กลาวมานั้นเมื่อรวมกันก็จะหมายถึง ทัศนคติ พฤติกรรม ความสัมพันธ และอํานาจ ในการกํากับของคนกลาง ซ่ึงไมไดเขาขางหรือเห็นดวยกับฝายใดฝายหนึ่ง หรือบางสวนของคูพิพาท อยางไรก็ดีผูไกลเกลี่ยที่เปนกลางและไมเขาฝายใดฝายหนึ่งไมไดหมายความวาเขาจะไมมีความคิดเห็นสวนตัวของเขาในเรื่องดังกลาวนั้น มีความแตกตางอยูบาง ๆ ระหวางความเปนกลางและความไมเขาขางฝายหนึ่งฝายใดหรือความยุติธรรม การรักษาความเปนกลางเกี่ยวของโดยตรงกับประเด็นและความจัดการอยางยุติธรรมกับบุคคลและกลุมบุคคล การทดสอบความไมเขาขางฝายใดหรือความยุติธรรมหรือความเปนกลางขึ้นอยูกับมุมมองของคูกรณีจะยอมรับความชวยเหลือจากผูไกลเกลี่ยถาความชวยเหลือนั้นมีลักษณะที่เปนกลางและยุติธรรม

5. ไมมีอํานาจหนาที่โดยตรงในการตัดสินใจ ลักษณะเฉพาะที่ไมมีอํานาจหนาที่ในการตัดสินใจของการไกลเกลี่ยโดยคนกลาง จึงทําใหบทบาทของคนกลางตางจากผูพิพากษาหรือผูที่ทําหนาที่

Page 7: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

13

เปนอนุญาโตตุลาการ ซ่ึงในบทบาทของผูพิพากษาหรืออนุญาโตตุลาการนั้น เปนคนที่ถูกกําหนดโดยกฎหมายหรือโดยความยินยอมพรอมใจของคูกรณีที่จะทําหนาที่ตัดสินใจโดยอาศัยกฎกติกา สัญญาหรือโดยวิธีปกติที่เปนที่ยอมรับของสังคม คนกลางจึงไมเหมือนผูพิพากษาหรืออนุญาโตตุลาการ ที่เขาไมมีอํานาจที่จะตัดสินใจใด ๆ ทั้งสิ้น มีอยูหลาย ๆ กรณีเหมือนกัน ซ่ึงโดยตําแหนงนั้นมีอํานาจหนาที่ในการตัดสินใจในเรื่องดังกลาว อยางไรก็ดีเขาอาจจะมาทําหนาที่คนกลาง ทําหนาที่ไกลเกลี่ยอยางมปีระสิทธิภาพเมื่อเขาวางบทบาทหรืออํานาจของการตัดสินใจของเขาไวช่ัวคราว

6. ใหความชวยเหลือกับคูกรณีที่กําลังโตเถียงกันอยู บทบาทสําคัญอีกอยางหนึ่งของคนกลางก็คือ มีหนาที่ใหความรูความชํานาญเกี่ยวกับกระบวนการกับคูกรณีที่พิพาทกันอยูเพื่อใหเขาสามารถบรรลุขอตกลงเปนที่พึงพอใจรวมกัน คนกลางอาจจะแสดงหลายหนาที่หรือบทบาทเพื่อที่จะชวยคูกรณีในการแกปญหาขอพิพาท การชวยเหลืออาจจะพุงประเด็นความชวยเหลือไปที่คูกรณีทั้งหลาย เพื่อสรางความพึงพอใจรวมกันดานจิตใจ และดานเนื้อหาความตองการ

ประโยชนของการไกลเกล่ีย (สํานักระงับขอพิพาท, 2547, หนา 19-21) การไกลเกลี่ย ขอพิพาทกอใหเกิดประโยชนทั้งกับคูความและยังเปนการเสริมสรางประสิทธิภาพในการพิจารณาคดีของศาล ซ่ึงสรุปไดดังนี้

1. ประหยัดเวลาและคาใชจาย (saving of time and money) เทียบกับเวลาที่ใชในการดําเนินคดีในศาลทั้งสามศาลหากใชการไกลเกล่ียขอพิพาทหรือนุญาโตตุลาการแลวอาจใชเวลาเพียงสัปดาห วัน หรือช่ัวโมง อันเปนการประหยัดคาใชจายของทั้งคูความและทางราชการ

2. เปนที่ยุติ (finality) คดีที่คูพิพาทสามารถตกลงกันไดโดยวิธีการไกลเกล่ียนั้นทําใหขอพิพาทไดขอยุต ิลดปญหาของการอุทธรณตอไป

3. การยอมรับของคูพิพาท (compliance) การที่คูความสามารถหาขอยุติไดดวยตนเองมีการยอมรับปฏิบัติตามขอตกลงนั้นมากกวาการที่ศาลมีคําพิพากษาซึ่งจะตองมีการบังคับคดีตอไป

4. ขอยุติที่ไดนั้นมีความเหมาะสมกับคูพิพาท (custom mad solution) เนื่องจากคูพิพาทสามารถเลือกที่จะทําขอตกลงอยางไรก็ไดตราบเทาที่ไมขัดตอกฎหมาย

5. เปนความลับ (confidentiality) กระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทจะเปนความลับและมักมีขอบังคับใหบุคคลที่เกี่ยวของตองรักษาความลับไมเปดเผยขอมูลที่ไดรับจากกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทนั้น

6. การควบคุมกระบวนการระงับขอพิพาท (process control) คูพิพาทสามารถควบคุมกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทไดมากกวาการดําเนินคดีในศาล โดยสามารถคัดเลือกบุคคลที่เปนกลางใหมาทําหนาที่กําหนดประเด็นหรือความตองการที่แทจริงในการไกลเกล่ียขอพิพาทและแสวงหา

Page 8: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

14

ทางออกเพื่อยุติขอพิพาทโดยคูพิพาทมีโอกาสที่จะไดพูดและตัดสินวาผลที่ไดรับจะผูกพันกันหรือไม ซ่ึงจะเปนการหลีกเลี่ยงความไมแนนอนที่อาจเกิดขึ้นโดยการพิพากษาคดี

7. ขอตกลงระหวางคูพิพาทสามารถบังคับได (enforceable agreement) ผลของการระงับขอพิพาทจากวิธีการไกลเกลี่ยขอพิพาทเปนขอตกลงรวมกันอันมีลักษณะสัญญาที่คูพิพาทลงนามและมีผลผูกพันเปนสัญญาประนีประนอมยอมความ แมวาอาจมีการตรวจสอบจากศาลในบางกรณี

8. รักษาความสัมพันธระหวางกันไดหรือกอใหเกิดความสัมพันธในระยะยาว (preservation or enhancement of long-term relationships) การระงับขอพิพาทเปดโอกาสใหคูพิพาทสามารถหาขอยุติในปญหาที่แทจริงไดและคูพิพาทยอมสามารถแกไขปญหาระหวางกันได

9. ความยืดหยุน (flexibility) คูพิพาทสามารถเลือกใชการไกลเกล่ียขอพิพาททั้งหมด หรือในประเด็นใดประเด็นหนึ่งในคดีก็ได สวนที่เหลืออาจใหมีการดําเนินคดีในศาลตอไป

10. คุณภาพ (quality) บุคคลที่ทําหนาที่ในการไกลเกลี่ยขอพิพาทมักเปนบุคคลที่มีความสามารถหรือเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ โดยมีการควบคุมการทํางานโดยประมวลจริยธรรม

11. ยังคงสิทธิในการดําเนินคดีในศาล (right to trial) การไกลเกลี่ยขอพิพาทเปนเพียง สวนเสริมสําหรับการดําเนินคดีในศาลไมใชเปนการแทนที่ คูพิพาทยังคงมีสิทธิในการดําเนินคดีในศาลหากคูพิพาทมีความตองการเชนนั้น

ประเภทของการไกลเกล่ียขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ (2547, หนา 76) ไดแบงประเภทของการไกลเกล่ียขอพิพาทไว

โดยปจจุบันกระบวนการระงับขอพิพาททางแพงที่ใชในประเทศไทยมี 4 วิธีใหญ ดงันี้ 1. การเจรจาตอรอง (negotiation) เปนวิธีการระงับขอพิพาทโดยทั้งสองฝายเจรจาตกลง

กันเอง การตัดสินใจตาง ๆ ในการยุติขอพิพาท ขึ้นอยูกับการตัดสินใจของคูพิพาท 2. การไกลเกล่ียเพื่อยังใหเกิดการประนีประนอมยอมความ (conciliation or mediation)

เปนวิธีการซึ่งคูพิพาทตกลงใหบุคคลที่สามเขามาชวยไกลเกล่ียเพื่อยังใหเกิดการประนีประนอมยอมความกัน ผูที่ทําหนาที่ไกลเกลี่ยหรือประนอมขอพิพาทไมมีอํานาจบังคับใหคูพิพาทตกลงกัน ไมมีอํานาจตัดสินหรือกําหนดผลลัพธแหงการเจรจาใหแกคูความ แตอาจเสนอแนวทางในการตกลงกันใหแกคูพิพาทได

3. การอนุญาโตตุลาการ (arbitration) เปนวิธีการระงับขอพิพาท ซ่ึงคูพิพาทตกลงกันตั้งบุคคลที่สาม ซ่ึงเรียกวาอนุญาโตตุลาการขึ้นมาเพื่อวินิจฉัยช้ีขาดขอพิพาทระหวางกัน เมื่ออนุญาโตตุลาการ มีคําชี้ขาดอยางไรแลว ยอมผูกพันคูพิพาทใหปฏิบัติตาม

4. การดําเนินการพิจารณาในศาล (litigation) เปนวิธีการระงับขอพิพาทโดยผานกระบวนการยุติธรรมของศาล ซ่ึงดําเนินกระบวนพิจารณาตามบทบัญญัติแหงกฎหมายวิธีพิจารณาความ เมื่อศาลมีคําพิพากษาแลว คูพิพาทสามารถดําเนินการขอใหศาลบังคับคดีตามคําพิพากษา

Page 9: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

15

สํานักงานระงับขอพิพาท (2547, หนา 1) การระงับขอพิพาททางเลือก (alternative dispute resolution) เปนคําที่ถูกใชเรียกวิธีการระงับขอพิพาทตาง ๆ ที่ถูกนํามาใชเพื่อเปนวิธีการทดแทนหรอืวิธีการเสริมการระงับขอพิพาทโดยการดําเนินคดีในศาล โดยมีวัตถุประสงคใหปริมาณคดีที่จะตองเขาสูการสืบพยานซึ่งใชระยะเวลานาน มีจํานวนลดนอยลงตามความจําเปนและทําใหการดําเนินคดีในศาลโดยทั่วไปเปนไปอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด วิธีการตาง ๆ ดังกลาว ไดแก การเจรจาตอรอง การไกลเกลี่ยขอพิพาทและการอนุญาโตตุลาการ ซ่ึงวิธีการที่เปนที่นิยมในประเทศไทยและศาลยุติธรรมไดดําเนินการสงเสริมและเผยแพรในขณะนี้ คือ การไกลเกลี่ยขอพิพาท และการอนุญาโตตุลาการ

การไกลเกลี่ยขอพิพาท เปนอีกทางเลือกหนึ่งนอกจากการดําเนินคดีทางศาล (litigation) หรือการอนุญาโตตุลาการ (arbitration) ซ่ึงตองมีบุคคลที่สามเปนผูช้ีขาดตัดสินขอพิพาท แตสําหรับการไกลเกลี่ยขอพิพาทแมจะใชบุคคลที่สามชวยเหลือในการตกลงเจรจาเพื่อระงับขอพิพาทก็เปนเพียงผูเสนอแนะแนวทางและหาทางออกใหคูพิพาทเทานั้น ไมมีอํานาจตัดสินชี้ขาดเหมือนศาลหรืออนุญาโตตุลาการ ผลของการตกลงเจรจาก็เกิดจากการตัดสินใจของคูพิพาทเองโดยตรง

การไกลเกลี่ยขอพิพาทแบงออกไดเปน (สํานักระงับขอพิพาท, 2547, หนา 15-16) 1. การไกลเกลี่ยขอพิพาทนอกศาล คือ การไกลเกลี่ยขอพิพาทกอนมีการฟองรองคดีตอศาล

หรือแมจะฟองรองคดีตอศาลแลวแตคูความดําเนินการใหมีการไกลเกล่ียขอพิพาทกันเองโดยไมไดดําเนินการในศาลก็ได

2. การไกลเกลี่ยขอพิพาทในศาล คือ การไกลเกลี่ยขอพิพาทหรือคดีที่อยูระหวางการพิจารณาของศาลโดยศาลเปนผูดําเนินการให ซ่ึงหากคูความตกลงกันไดก็จะมีการทําสัญญาประนีประนอมยอมความและศาลจะมีคําพิพากษาไปตามที่คูความตกลงกัน โดยมีขอยกเวนเพียงบางประการเทานั้น หรือหากตกลงกันไดเพียงบางสวนศาลก็จะสืบพยานและมีคําพิพากษาในเฉพาะประเด็นที่ตกลงกันไมไดเทานั้น

แนวทางในการดําเนินงานไกลเกล่ีย หลักการทั่วไป การไกลเกลี่ยเปนการยุติขอพิพาทโดยมีผูประนีประนอมทําหนาที่เปนคนกลางชวยให

คูความสามารถตกลงประนีประนอมยอมความ โดยไมมีการชี้ผิด ช้ีถูก หรือชี้ขาดใหฝายใดแพหรือชนะ ผูประนีประนอมตองรักษาความเปนกลางในการไกลเกลี่ย และเก็บขอมูลที่ไดจากการไกลเกลี่ย เปนความลับ กระบวนการในการไกลเกล่ียตองปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการไกลเกลี่ยขอพิพาท พ.ศ. 2544 ขอ 14-23 (สํานักระงับขอพิพาท, 2547, หนา 19)

Page 10: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

16

ขั้นตอนในการไกลเกล่ีย การดําเนินการไกลเกลี่ยของผูประนีประนอมอาจแบงออกไดเปน 5 ขั้นตอน คือ (สํานัก

ระงับขอพิพาท, 2547, หนา 19) 1. การเตรียมคดีกอนการไกลเกล่ีย ผูประนีประนอมจะศึกษาขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับคดีกอน 2. การเริ่มประชุมไกลเกล่ีย ในนัดแรกผูประนีประนอม คูความ และผูที่เกี่ยวของจะตอง

แนะนําตัวเอง รวมทั้งบทบาทหนาที่ของตน ผูประนีประนอมมีหนาที่สรางบรรยากาศใหเกิดความไววางใจ เชน แจงใหคูความทราบวาผูประนีประนอมไมมีสวนไดเสียหรือสวนเกี่ยวของในคดี และจะไมเปดเผยขอมูลในคดี เปนตน และตองอธิบายกระบวนการในการไกลเกลี่ย รวมถึงกฎเกณฑและมารยาทในการประชุมใหคูความทราบ

3. การหาความตองการที่แทจริงของคูความ ผูประนีประนอมรวบรวมขอมูลท่ีไดจากคูความเพื่อหาความตองการที่แทจริงของคูความแตละฝาย นอกจากการประชุมรวมกันกับทุกฝายแลว ผูประนีประนอมอาจแยกประชุมกับคูความทีละฝายได

4. การหาทางแกปญหาความขัดแยง ผูประนีประนอมมีหนาที่ชวยลดประเด็นขอขัดแยง และเสนอทางออกในการยุติขอขัดแยง

5. การตกลงยุติขอพิพาท เมื่อคูความตกลงกันไดแลวก็จะจัดทําสัญญาประนีประนอมยอมความหรือถอนฟอง

การจัดคดีเขาสูระบบไกลเกล่ียขอพิพาทในศาล ระบบไกลเกลี่ยขอพิพาทที่ดีจะตองสนับสนุนใหคดีเขาสูระบบและสําเร็จไปโดยการไกลเกล่ีย

มากที่สุด ซ่ึงจะชวยลดปริมาณคดีที่จะเขาสูการสืบพยานโดยผูพิพากษาที่ตองนั่งพิจารณาครบองคคณะลง และทําใหประชาชนไดรับความสะดวกรวดเร็วในการดําเนินคดีนอกจากนั้นการจัดคดีเขาสูการไกลเกลี่ยโดยเร็วและสามารถยุติขอพิพาทไดในเวลาไมนานหลังจากมีการฟองจะชวยลดปริมาณคดีที่คางพิจารณาในศาลได ดังนั้นศาลจึงจําเปนตองมีการกําหนดประเภทคดีที่สามารถเขาสูระบบไกลเกลี่ย รวมทั้งวิธีการและชวงเวลาที่จัดคดีเขาสูระบบไกลเกลี่ย (สํานักระงับขอพิพาท, 2547, หนา 11-15)

วิธีการในการจัดคดีเขาสูระบบไกลเกล่ีย วิธีการจัดคดีเขาสูระบบไกลเกลี่ยทําไดหลายวิธี ไดแก 1. การสอบถามความสมัครใจของคูความ โดยทั่วไปศาลใชวิธีสอบถามความสมัครใจ

ของคูความ หากคูความทั้งสองฝายไมประสงคจะใหมีการไกลเกล่ีย ศาลก็จะสืบพยานและพิพากษาคดี แตถาคูความทั้งสองฝายประสงคจะใหมีการไกลเกล่ียศาลจึงจะจัดใหมีการไกลเกลี่ย วิธีการนี้ มีขอดีคือ โดยทั่วไปคูความที่มีความประสงคจะใหมีการไกลเกลี่ยจะใหความรวมมือเปนอยางดี

Page 11: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

17

ในการไกลเกลี่ย ทําใหการไกลเกล่ียมีโอกาสําเร็จไดมาก แตขอเสียของการใชวิธีการนี้คือ ในทางปฏิบัติจํานวนคดีที่เขาสูการไกลเกลี่ยมีไมมากนั้น

2. การกําหนดใหการไกลเกล่ียเปนขั้นตอนกอนสืบพยาน ศาลบางแหงใชวิธีจัดใหการไกลเกลี่ยเปนขั้นตอนกอนที่จะมีการสืบพยาน ศาลจะออกหมายนัดไกลเกลี่ยกอนมีการสืบพยาน โดยไมสอบถามคูความกอน แตถาคูความแจงวาไมประสงคจะใหมีการไกลเกล่ีย ศาลก็จะไมบังคับคูความใหมีการไกลเกล่ียแตอยางใด วิธีการนี้มีขอดีคือ ทําใหคดีเขาสูการไกลเกล่ียมากแตมีขอเสียคือหากคูความมิไดมีความประสงคจะไกลเกลี่ยอาจไมใหความรวมมือ ทําใหการไกลเกล่ียมีโอกาสสําเร็จนอย นอกจากนั้น หากจัดใหคดีจํานวนมากเขาสูการไกลเกล่ีย แตจํานวนผูทําหนาที่ไกลเกล่ีย เจาหนาที่ศูนยไกลเกลี่ย และหองไกลเกลี่ยไมเพียงพอที่จะรองรับก็จะกอใหเกิดปญหา ดังนั้นศาลบางแหงจึงเลือกใชวิธีดังกลาวเฉพาะกับคดีที่ตามสถิติมีแนวโนมจะไกลเกลี่ยสําเร็จมาก เชน คดีเกี่ยวกับขอพิพาททางการเงิน คดีระหวางคนในครอบครัว คดีที่มีทุนทรัพยไมสูง และคดีที่ไมมี ขอยุงยาก เปน สําหรับคดีอ่ืน ๆ ยังคงใชวิธีการแรก

3. การกลั่นกรองคดีที่เขาสูการไกลเกล่ีย การใชวิธีการตามขอ 2 แมวาจะทําใหคดีเขาสูการไกลเกลี่ยเปนจํานวนมากแตมีขอสงสัยในแงที่เปดชองใหคดีที่ไมเหมาะสมจะใชวิธีการไกลเกลี่ย เขาสูระบบการไกลเกลี่ยไดมาก ทําใหตองสิ้นเปลืองคาใชจาย เวลา และความอุตสาหะกับคดีที่มีแนวโนมจะไกลเกลี่ยไมสําเร็จโดยไมจําเปน ดังนั้นศาลบางแหงที่ตองการใหการไกลเกลี่ยเปนขั้นตอนกอนมีการสืบพยาน จึงจัดใหมีกระบวนการกลั่นกรองคดีโดยศูนยไกลเกล่ียขอพิพาทประจําศาลจะแยกคดีที่ไมสมควรเขาสูการไกลเกลี่ยออกไป

ในการดําเนินการตามวิธีนี้ศาลจะมีหนังสือเชิญชวนไปยังคูความ ใหคูความแสดงความประสงคเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยโดยใหเลือกไดเพียง 2 ทาง ทางแรก คือ เลือกที่จะเขาสูระบบไกลเกลี่ย อีกทางหนึ่งคือ ยังไมตัดสินใจที่เขาสูการไกลเกล่ีย หากคูความเลือกทางแรกศาลจะจัดใหเขาสูการไกลเกลี่ย แตถาคูความเลือกทางที่ 2 คูความจะตองติดตอศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทประจําศาล เจาหนาที่ศูนยไกลเกลี่ยฯ จะอธิบายถึงประโยชนของการไกลเกล่ียและสอบถามขอมูลจากคูความ หากเห็นวาคดีไมสมควรจะเขาสูการไกลเกล่ียหรือคูความไมประสงคจะเขาสูการไกลเกล่ียก็จะจัดใหคดีเขาสูการสืบพยาน แตถาคูความเห็นความสําคัญและตัดสินใจเขาสูการไกลเกลี่ย ทางศูนยไกลเกลี่ยก็จะดําเนินการให

ชวงเวลาในการจัดคดีเขาสูระบบไกลเกล่ีย 1. การจัดคดีเขาสูระบบไกลเกล่ียกอนวันนัด ศาลจัดใหคูความสามารถนําคดีเขาสูระบบ

ไกลเกลี่ยขอพิพาทไดในชวงเวลาตั้งแตเร่ิมตนฟองคดีและจัดใหมีการไกลเกลี่ยจนเสร็จกอนวันนัด

Page 12: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

18

คร้ังแรกของศาล ซ่ึงจะทําใหคดีจํานวนหนึ่งสามารถเสร็จไปไดในเวลาไมนานหลังจากมีการฟอง วิธีดําเนินการของระบบไดแก

1.1 สอบถามความประสงคของโจทย การสอบถามความประสงคของโจทกอาจกระทําไดโดยการสอบถามโจทกหรือทนายโจทกเมื่อมายื่นฟองคดี โดยใหกรอบแบบหนังสือเชิญชวนโจทกเขาสูการไกลเกลี่ย ซ่ึงประกอบดวย

1.1.1 ความประสงคในการไกลเกลี่ยขอพิพาท 1.1.2 ขอมูลที่เปนประโยชนในการติดตอประสานงานในการไกลเกลี่ยรวมทั้ง

การจัดสารบบไกลเกล่ียในลําดับตอไป เชน หมายเลขคดีที่ยื่นฟอง ชื่อและที่อยูติดตอโจทก และทนายความ วันและเวลาที่วางสําหรับการนัดหมายการไกลเกลี่ย

1.2 สอบถามความประสงคของจําเลย การอสอบถามความประสงคของจําเลยอาจดําเนินการโดย

1.2.1 หนังสือเชิญชวน หนังสือเชิญชวนสอบถามความประสงคของจําเลยอาจจัดสงไปพรอมหมายเรียกและสําเนาคําฟองใหแกจําเลย และอาจแนบแผนพับประชาสัมพันธที่ใหขอมูลและคําอธิบายเกี่ยวกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทใหจําเลยดวย

1.2.2 ตรายางประทับ นอกจากสอบถามโดยการสงหนังสือเชิญชวนแลว ศาลอาจใชตรายางประทับดวย โดยจัดทําตรายางที่มีขอความสอบถามความประสงคในการไกลเกล่ียขอพิพาท ระบุที่อยูและเบอรโทรศัพทติดตอของศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทประจําศาล เพื่อที่จําเลยจะสามารถสอบถามขอมูลและวิธีการไกลเกลี่ยขอพิพาท รวมทั้งนัดหมายเวลาเพื่อไกลเกล่ียขอพิพาท ศาลอาจประทับตรายางในบริเวณที่วางของหมายเรียกหรือสําเนาคําฟองที่จําเลยจะเห็นไดงาย

Page 13: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

19

คูความแสดงความประสงคที่จะใหมีการไกลเกลี่ยไปยังศูนยไกลเกลี่ยขอพพิาทประจําศาล

ศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทประจําศาลจัดทําสํานวนคดีไกลเกลี่ยกอนวันนัดและเสนอใหผูบริหาร

ศาลแตงตั้งผูประนีประนอม

ผูบริหารศาลแตงตั้งผูประนปีระนอม

ศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทประจําศาลติดตอคูความ ทนายคูความ และผูประนปีระนอมเพื่อกาํหนด

วันเวลานัดไกลเกลี่ย

ผูประนปีระนอมทําหนาที่ไกลเกลีย่

ไกลเกลี่ยสําเร็จคูความตกลงทาํสัญญาประนีประนอมยอม

ความหรือถอนฟอง ไกลเกลี่ยไมสําเรจ็

เสนอใหผูพิพากษาพิจารณาพิพากษาตามยอมหรือส่ังอนุญาตใหถอนฟอง

แจงใหผูพิพากษาทราบเพือ่ดําเนินกระบวนพจิารณา

ตอไป

ภาพที่ 1 ขั้นตอนการดําเนนิงานสําหรับคดีที่เขาสูระบบไกลเกลี่ยกอนวันนดั

(สํานักระงับขอพิพาท, 2547, หนา 63)

2. การจัดคดีเขาสูระบบไกลเกลี่ยในและหลังวันนัด ในวันนัดครั้งแรก ไดแก นัดชี้สองสถานหรือนัดพรอมเพื่อกําหนดแนวทางการพิจารณา (รวมถึงนัดชี้/สืบ และนัดพรอม/สืบ) ศาลจะสอบถามคูความวาประสงคจะใหมีการไกลเกลี่ยหรือไม โดยอธิบายถึงผลดีที่คูความจะไดรับการไกลเกลี่ยขอพิพาท หรือใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานดานการไกลเกล่ียขอพิพาทแนะนําคูความ หากคูความ

Page 14: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

20

ประสงคจะใหมีการไกลเกลี่ย ศาลจะมีคําสั่งในรายงานกระบวนการพิจารณาใหคูความติดตอศูนยไกลเกลี่ยขอพิพาทประจําศาลเพื่อนัดไกลเกลี่ย

ภาพที่ 2 ขั้นตอนการดําเนนิการสําหรับคดีที่เขาสูระบบไกลเกลี่ยในวนันัดและหลังวนันัด (สํานักระงับขอพิพาท, 2547, หนา 64)

คูความแสดงความประสงคที่จะใหมีการไกลเกลี่ยไปยังศนูยไกลเกลี่ยขอพิพาทประจําศาล

ศูนยไกลเกลี่ยขอพพิาทประจําศาลจัดทําสํานวนคดีไกลเกลี่ยกอนวันนัดและเสนอใหผูบริหารศาลแตงตั้งผูประนีประนอม

ใหผูบริหารศาลแตงตั้งผูประนีประนอม

ศูนยไกลเกลี่ยขอพพิาทประจําศาลจัดติดตอคูความ ทนายคูความ และผูประนีประนอมเพื่อกําหนดวันเวลานัดไกลเกลี่ย

ผูประนีประนอมทําหนาที่ไกลเกลี่ย

ไกลเกลี่ยสําเร็จ คูความตกลงทําสัญญาประนีประนอมยอมความหรือถอนฟอง

ไกลเกลี่ยไมสําเร็จ

เสนอใหผูพิพากษาพิจารณาพิพากษาตามยอมใหสั่งอนุญาตใหถอนฟอง

แจงผูพิพากษาทราบเพื่อดําเนินกระบวนการพิจารณาตอไป

Page 15: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

21

ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวาดวยการไกลเกลี่ยขอพิพาท พ.ศ. 2544

โดยที่การไกลเกลี่ยขอพิพาทเปนการระงับขอพิพาทที่เปนประโยชนตอคูความและกระบวนการพิจารณาของศาลยุติธรรมในขณะเดียวกัน เพราะการไกลเกลี่ยนอกจากจะเปนผลใหการดําเนินคดีเสร็จสิ้นไปไดโดยความรวดเร็วและประหยัดแลว ยังเปนผลใหขอพิพาทระงับลงดวยความพอใจของคูความอันมีสวนในการรักษาความสัมพันธท่ีดีของคูความดวย ประกอบกับปริมาณขอพิพาทที่เขาสูกระบวนพิจารณาของศาลยุติธรรมเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องอันเปนผลใหปริมาณคดีที่คางอยูในระหวางการพิจารณาสูงขึ้นเปนลําดับ การไกลเกล่ียจึงเปนทางเลือกที่สําคัญที่ศาลยุติธรรม ตองนํามาปรับใชเพื่อประโยชนในการระงับขอพิพาทที่ขึ้นสูศาล การสงเสริมใหมีเปนมาตรฐาน ดังนั้น เพื่อใหเกิดความชัดเจนแกผูเกี่ยวของทุกฝายและเพื่อใหมีหลักเกณฑที่เปนมาตรฐานเดียวกัน ควรกําหนดหลักเกณฑและวิธีการไกลเกลี่ยขอพิพาทโดยองคคณะผูพิพากษาและผูประนีประนอม จึงจําเปนตองออกระเบียบนี้ ซ่ึงประกาศใชตั้งแต วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2544 (การไกลเกลี่ย ขอพิพาท, ออนไลน, 2548)

อาศัยอํานาจตามความในมาตร 17 (1) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบรหิารราชการศาลยุติธรรม พ.ศ. 2543 คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.) จึงออกระเบยีบไว ดงัตอไปนี ้

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม วาดวยการไกลเกล่ียขอพิพาท พ.ศ. 2544”

ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนัประกาศเปนตนไป ขอ 3 ในระเบยีบนี ้ถาขอความมิไดแสดงใหเห็นเปนอยางอื่น “คดี” หมายความวา คดีแพง หรือคดีอ่ืนใดที่อาจระงับขอพิพาทไดดวยการตกลงกันของ

คูความ “ผูรับผิดชอบราชการศาล” หมายความวา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณประธาน

ศาลอุทธรณภาค อธิบดีผูพิพากษาศาลชั้นตน ผูพิพากษาหวัหนาศาลชัน้ตน และใหหมายความรวมถึงผูที่ไดรับมอบหมายจากบุคคลดังกลาวใหดําเนนิการตามระเบียบนี้ดวย

“ผูประนีประนอม” หมายความวา ผูพิพากษา ขาราชการศาลยุติธรรม บุคคลหรือคณะบุคคลที่ไดรับการแตงตั้งใหเปนผูประนีประนอมเพื่อชวยเหลือศาลในการไกลเกลี่ยใหคูความไดประนีประนอมกันตามระเบยีบนี ้

“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม ขอ 4 ใหเลขาธิการเปนผูรักษาการตามระเบียบนี ้และใหมีอํานาจตีความและวนิิจฉัย

ปญหาที่เกิดขึน้เนื่องจากการใชบังคับระเบียบนี ้

Page 16: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

22

หมวด 1 การไกลเกลี่ยโดยองคคณะพพิากษา ขอ 5 องคคณะผูพิพากษายอมมีอํานาจไกลเกลี่ยคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

ความแพง การดําเนินการอยางใด ๆ ตามระเบียบนี ้ยอมไมกระทบตออํานาจขององคคณะผูพิพากษาในการไกลเกลี่ยคดีของตน

หมวด 2 การไกลเกลี่ยโดยผูประนีประนอม สวนที่ 1 การแตงตั้งและการพนนัจากหนาที่ของผูประนีประนอม ขอ 6 เมื่อคดีขึ้นสูศาล ผูรับผิดชอบราชการศาลหรือองคคณะผูพิพากษาอาจแตงตั้งผูพพิากษา

ขอราชการศาลยุติธรรม หรือบุคคลภายนอกผูใดผูหนึ่งหรือหลายคนเปนผูประนีประนอมเพื่อชวยเหลือศาลในการไกลเกลี่ยคดีเร่ืองใดเรื่องหนึ่งกไ็ด ในกรณีเชนวานีใ้หผูประนีประนอมทีไ่ดรับการแตงตั้งนั้นดําเนินการไกลเกลี่ยขอพิพาทไปตามระเบยีบนี ้

ขอ 7 เมื่อผูรับผิดชอบการศาลเห็นสมควรหรือโดยไดรับแจงจากองคคณะผูพิพากษา ผูรับผิดชอบราชการศาลอาจแตงตั้งผูพิพากษาคนหนึง่หรอืหลายคนในศาลเปนผูประนีประนอมกไ็ด

ในกรณีที่ผูรับผิดชอบราชการศาลจัดใหมีผูพิพากษาคนหนึ่งหรือหลายคนเปนผูประนีประนอมเปนการเฉพาะในศาลนัน้ องคคณะผูพิพากษาอาจแตงตั้งผูประนีประนอมตามวิธีการที่ผูรับผิดชอบราชการศาลกําหนดก็ได

ผูรับผิดชอบราชการศาลหรือองคคณะผูพพิากษาอาจแตงตั้งใหขาราชการศาลยุติธรรมคนหนึ่งหรือหลายคนในศาลนัน้เปนผูประนปีระนอมก็ได ผูพิพากษาหรือขาราชการศาลยุติธรรมที่ไดรับการแตงตั้งเปนผูประนปีระนอมไมมสิีทธิไดรับคาปวยการและคาใชจายตามระเบียบนี ้

ขอ 8 ในกรณทีี่กระบวนไกลเกลี่ยส้ินสุดลงเพราะเหตุตามขอ 24 (1) ผูพิพากษาทีไ่ดรับแตงตั้งใหเปนผูประนีประนอมในคดีนัน้ อาจไดรับมอบหมายใหเปนองคคณะผูพิพากษาที่มีอํานาจพิจารณาพพิากษาคดีนัน้ก็ได

ขอ 9 การแตงตั้งบุคคลภายนอกคนหนึ่งหรือหลายคนเปนผูประนีประนอม ผูรับผิดชอบราชการศาลหรือองคคณะผูพิพากษาพึงคํานึงถึงความเหมาะสมของผูประนีประนอมและความพอใจของคูความทุกฝายเทาที่พึงจะกกระทําได ในกรณทีี่ประสงคจะแตงตั้งบุคคลที่มิไดขึ้นทะเบียนเปนผูประนีประนอม ผูรับผิดชอบราชการศาลหรือองคคณะผูพิพากษาจะแตงตั้งบุคคลเชนวานัน้ไดเมื่อคูความที่จะตองเขารวมในกระบวนการไกลเกลี่ยไดใหความยินยอมและตกลงทีจ่ะรับผิดชอบในคาใชจายของบุคคลเชนวานัน้แลว

Page 17: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

23

ขอ 10 หากการแตงตั้งผูประนีประนอมจะเปนเหตใุหการพิจารณาคดไีมติดตอกันหรือตองลาชาจนเกินสมควร ศาลอาจสั่งใหดําเนินกระบวนพิจารณาไปพรอมกบัการไกลเกลีย่ก็ไดทั้งนี ้ใหคํานึงถึงประโยชนของคูความทุกฝายเปนสาํคัญ

ขอ 11 เมื่อไดรับการแตงตั้งแลว ผูประนีประนอมจะตองเปดเผยขอมูลอันเกี่ยวกับสวนไดเสียหรือความเกี่ยวของเปนสวนตวักับคูความทุกฝายใหคูความทราบโดยทันท ี

ขอ 12 ในกรณดีังตอไปนี้ ใหผูประนีประนอมพนจากหนาที่ เมื่อผูประนีประนอมถูกจําหนายชื่อออกจากทะเบยีนรายชื่อ ศาลมีคําสั่งถอดถอนผูประนปีระนอมเมื่อปรากฏขอเท็จจริงวาผูประนปีระนอมนั้น กระทําการใด ๆ ในฐานะเปนตัวแทนหรือกระทําการใดแทนคูความ มีสวนไดเสียหรือเกี่ยวของกับคูความฝายใดอนัอาจกระทบกบัความเปนกลางในการไกลเกลี่ย ศาลมีคําสั่งถอดถอนเนื่องจากกระทําการบกพรองตอหนาที่ หรือละเลยไมปฏิบัติตามหนาที่ ขอ 13 เมื่อผูประนีประนอมพนจากหนาทีแ่ลว ศาลอาจมีคําสั่งใหกระบวนการไกลเกลี่ย

ส้ินสุดลงหรือแตงตั้งผูประนปีระนอมคนใหมก็ได ในกรณีที่ผูประนีประนอมพนจากหนาที่เพราะเหตุตามขอ 12 (1) และ (2) ถาคูความ

ประสงคจะใหมีการไกลเกลีย่ตอไปโดยผูประนีประนอมคนเดิม ศาลอาจใหผูประนปีระนอมคนเดิม ศาลอาจใหผูประนีประนอมนั้นดําเนินการไกลเกลี่ยตอไปก็ได

สวนที่ 2 กระบวนการไกลเกลี่ย ขอ 14 เมื่อศาลมีคําสั่งแตงตั้งผูประนีประนอมแลว การรับสงเอกสาร สํานวนคดี หรือการ

ติดตอใด ๆ ระหวางศาลกับผูประนีประนอมใหเปนไปตามที่ศาลนั้นกําหนด ขอ 15 คูความที่บุคคลธรรมดาควรเขารวมประชุมการไกลเกลี่ยดวยตนเองทั้งนี้ อาจแตงตั้ง

ผูแทนเขารวมประชุมดวยกไ็ด ถาคูความเปนนิติบุคคล คูความนั้นอาจแตงตั้งผูแทนที่มีอํานาจตัดสินใจเขารวมประชมุ

การแตงตั้งใหกระทําเปนหนงัสือยื่นตอผูประนีประนอม ขอ 16 กอนเริ่มไกลเกลี่ย ใหผูประนีประนอมจัดใหคูความลงลายมือช่ือตกลงเขาสู

กระบวนการไกลเกลี่ยและยอมรับที่จะปฏิบัติตามระเบียบนี้เปนลายลักษณอักษร ขอ 17 ผูประนีประนอมอาจหารือกับคูความ เพื่อพิจารณากําหนดขั้นตอนหรือแนวทางใน

การดําเนนิการไกลเกลี่ยกอนเริ่มตนกระบวนการไกลเกลี่ยก็ได

Page 18: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

24

ขอ 18 เพื่อประโยชนในการไกลเกลี่ย ผูประนีประนอมอาจใหคูความเสนอขอเท็จจริงหรือขอมูลเบื้องตนแหงขอพพิาท ตลอดจนขอเสนอในการระงับขอพิพาทตอผูประนีประนอมหรืออาจเสนอใหมกีารแลกเปลี่ยนขอมูลดังกลาวระหวางคูความก็ได

คูความอาจขอใหผูประนีประนอมดําเนินการตามความในวรรคกอนกไ็ด ในกรณีเชนวานี้ผูประนีประนอมจะจดัใหมกีารดําเนนิการตามที่คูความขอหรือไมก็ได

ขอ 19 การไกลเกล่ียจะกระทําดวยวิธีใด ณ วันเวลา และสถานที่ใด ใหเปนไปตามที่ผูประนีประนอมกําหนด แตผูประนีประนอมจะตองแจงใหคูความทุกฝายทราบถึงการดําเนินการไกลเกลี่ยที่คูความฝายหนึ่งฝายใดมิไดเขารวมใหคูความฝายนั้นทราบดวย

ขอ 20 ในการไกลเกลี่ยตอหนาคูความ ถาผูประนีประนอมเห็นเปนการจําเปนเพื่อประโยชนในการไกลเกลี่ย ผูประนีประนอมอาจอนุญาตใหเฉพาะแตตัวคูความทั้งสองฝายหรือเพียงแตฝายใดฝายหนึ่งอยูในการประชุมการไกลเกลี่ยกไ็ด

ความในวรรคหนึ่งใหใชบังคับแกผูแทน ผูรับมอบอํานาจ ที่ปรึกษาของคูความหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ผูประนีประนอมอนุญาตใหเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยดวย

ขอ 21 กระบวนการไกลเกลี่ยใหดําเนินการเปนการลับ โดยไมมีการบนัทึกรายละเอียดของการไกลเกลี่ยไว ไมวาบนัทึกเปนลายลักษณอักษรหรอืบันทึกในรูปแบบของการใชส่ืออิเล็กทรอนิกสหรือส่ือทางเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่น เวนแตคูความเปนผูออกคาใชจายก็ไดบันทึกการดําเนินการไกลเกลี่ยทั้งหมดหรือสวนใดสวนหนึ่ง โดยคูความเปนผูออกคาใชจายก็ได

ขอ 22 เมื่อผูประนีประนอมเห็นสมควร ผูประนีประนอมอาจจัดใหมีการยกรางสัญญาประนีประนอมยอมความใหแกคูความก็ได ในกรณีที่จะยกรางสัญญาดังกลาวมีคาใชจายที่คูความตองเปนผูจาย ผูประนีประนอมจะกระทําไดตอเมื่อไดรับความยินยอมจากคูความทุกฝายและคูความตกลงรับผิดชอบในคาใชจายนั้นแลว

ขอ 23 ผูประนีประนอมจะตองดําเนินการไกลเกลี่ยใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาที่ผูแตงตั้งกําหนด เมื่อเห็นสมควรหรือผูประนีประนอมรองขอผูแตงตั้งอาจขยายระยะเวลาในการดําเนินการไกลเกลี่ยออกไปอีกกไ็ดถาเห็นวาคูความใกลจะบรรลุความตกลงในการระงับขอพิพาทแลว

หากผูประนีประนอมเหน็วา คูความฝายหนึ่งฝายใดดําเนนิการไกลเกลี่ยโดยมีลักษณะประวิงคดใีหชักชา ใหผูประนีประนอมรายงานใหผูแตงตั้งทราบโดยเรว็

สวนที่ 3 การสิ้นสุดแหงกระบวนการไกลเกลี่ย ขอ 24 ในกรณีดังตอไปนี้ใหถือวากระบวนการไกลเกลี่ยส้ินสุดลง

Page 19: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

25

คูความสามารถระงับขอพิพาทไดดวยการถอนฟอง หรือขอใหศาลมีคําพิพากษาตามสัญญาประนีประนอมยอมความ

คูความฝายใดฝายหนึ่งถอนตัวจากการไกลเกลี่ย ผูประนีประนอมไมอาจดําเนินการไกลเกลี่ยใหเปนผลสําเร็จไดภายในระยะเวลาที่กําหนดไว ผูประนีประนอมเห็นวาขอพพิาทดังกลาวไมอาจยุติลงไดดวยวิธีไกลเกล่ีย ศาลเห็นวาขอพิพาทดังกลาวไมอาจยุติลงไดดวยวิธีไกลเกลี่ย หรือการไกลเกลี่ยไมเปน

ประโยชนแกคดอีีกตอไป ขอ 25 เมื่อกระบวนการไกลเกลี่ยส้ินสุดลง ใหผูประนีประนอมแจงผลการไกลเกลี่ยให

ศาลทราบเพื่อดําเนินการตอไปโดยเรว็ ในกรณีที่คูความตกลงระงับขอพิพาทเพียงบางสวน หรือตกลงรับขอเท็จจริงบางประการ

และยนิยอมใหนําขอตกลงเชนวานัน้ไปใชอางอิงในกระบวนการพิจารณาของศาลไดก็ใหผูประนีประนอมจัดทําบันทกึขอตกลงและแจงใหศาลทราบดวย

สวนที่ 4 การเก็บรักษาความลับ ขอ 26 เวนแตคูความจะตกลงกันเปนอยางอื่น คูความและบุคคลที่เกี่ยวของตกลงที่จะเก็บ

รักษาความลับของขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นในกระบวนการไกลเกลี่ย และตกลงที่จะไมนําขอเท็จจริงและการดําเนนิการในการไกลเกลีย่ไปใชเปนหลักฐานในการดาํเนนิกระบวนพิจารณาใด ๆ ของศาล ไมวาในสํานวนคดทีี่ทําการไกลเกลี่ยหรือคดีอ่ืน หรือในกระบวนการพจิารณาชั้นอนุญาตตุลาการ

ขอเท็จจริงตามวรรคหนึ่งใหหมายรวมถึง การติดตอระหวางคูความ หรือขอเท็จจรงิใด ๆ เกี่ยวกับการดําเนินการไกลเกลี่ย ขอเท็จจริงที่เปนเนื้อหาหรือรายละเอียดแหงการเจรจาตกลงในกระบวนการไกลเกลี่ย ขอเท็จจริงที่คูความอีกฝายหนึ่งไดยอมรับหรือปฏิเสธในกระบวนการไกลเกลี่ย ความเหน็หรือขอเสนอใด ๆ ซ่ึงไดเสนอโดยคูความอีกฝายหนึ่งในกระบวนการไกลเกลี่ยความเหน็หรือขอเสนอใด ๆ ซ่ึงไดเสนอโดยผูประนีประนอม

สวนที่ 5 การขึ้นทะเบยีนผูประนีประนอม ขอ 27 ใหเลขาธิการจัดใหมทีะเบียนผูประนีประนอมขึ้น โดยใหคํานึงถึงความจําเปนและ

ความตองการของศาล และแจงใหศาลตาง ๆ ทราบ ขอ 28 ผูขอขึ้นทะเบยีนผูประนีประนอมจะตองเปนผูมีความรูความเขาใจหรือ

ประสบการณในการไกลเกลี่ยขอพิพาท และตองมีคุณสมบัติและไมมลัีกษณะตองหามดังตอไปนี ้

Page 20: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

26

เปนผูมีความรูในสาขาวิชาตาง ๆ เชน วิทยาศาสตร เศรษฐศาสตร นิติศาสตร สังคมศาสตร เปนตน

มีอายุไมต่ํากวายี่สิบหาปบริบูรณ ไมเปนขอราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม ตามกฎหมายวาดวยระเบยีบขาราชการ

ฝายตุลาการศาลยุติธรรม ไมเปนผูมีประวัติเสื่อมเสีย ไมเปนบุคคลที่ศาลมีคําสั่งเปนคนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ ไมเคยไดรับโทษจําคกุโดยคาํพิพากษาถึงทีสุ่ดใหจําคกุ เวนแตในความผิดอันไดกระทํา

โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ขอ 29 ใหทะเบียนผูประนีประนอมสิ้นผลลงทุกสองปนับแตวนัจัดทําทะเบียนโดยไม

คํานึงวาผูมีช่ือในทะเบียนไดรับการขึ้นทะเบียนไว ณ เวลาใด ในการจดัทําทะเบียนครั้งแรก ถาวันสิ้นผลตามวรรคหนึ่งไมตรงกับวนัสิ้นปใหถือเอาวัน

ส้ินปแหงปปฏิทินนั้นเปนวนัสิ้นผล การสิ้นผลของทะเบียนรายชือ่ ไมกระทบถงึการแตงตั้งผูประนีประนอมที่ไดดําเนินการ

ไปกอนแลว และใหผูไดรับการแตงตั้งนัน้ปฏิบัติหนาที่ตอไป กับใหมีสิทธิไดรับคาใชจายตามที่กําหนดไวในระเบียบนี ้

ขอ 30 เมื่อทะเบียนผูประนปีระนอมสิ้นผลลง ใหเลขาธกิารจัดทําทะเบียนใหมทันท ีทั้งนี้ ใหนําความในขอ 27 มาใชบังคับโดยอนุโลม

ขอ 31 ใหเลขาธิการจําหนายชื่อผูประนีประนอมออกจากทะเบยีนเมื่อปรากฏขอเท็จจริงตอไปนี ้

ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัต ิหรือมีลักษณะตองหามตามขอ 23 ศาลมีคําสั่งถอดถอนตามขอ 12 (3) หรือปรากฏขอเท็จจรงิวาผูประนีประนอมประพฤติตน

ไมเหมาะสม กระทําหรือละเวนกระทําการตามหนาที่ของผูประนีประนอมโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอจนเปนเหตุใหคูความเสียหาย

ขอ 32 ผูประนีประนอมจะตอง เตรียมการไกลเกลี่ย ชวยเหลือสนับสนุนการเจรจาระหวางคูความ แนะนําแนวทางแกปญหาเพื่อการยุติขอพิพาท

Page 21: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

27

ไมออกความเห็นในลักษณะใด ๆ ที่เปนวินจิฉัยช้ีขาดขอพิพาท เวนแตคูความจะไดตกลงกันใหผูประนปีระนอมออก ความเหน็เชนวานั้น

ไมขมขู บังคับ หรือใชอิทธิพลในทางใด ๆ อันอาจกระทบกระเทือนตอความสมัครใจในการระงับขอพิพาทของคูความ

ขอ 33 ผูประนีประนอมจะตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามระเบียบ รวมท้ังประกาศ ขอบังคับ จริยธรรม หรือหลักเกณฑอยางใด ที่ออกตามระเบียบนี ้เพื่อใหการไกลเกลี่ยเปนไปดวยความเรียบรอย โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของคูความ

ขอ 34 ผูประนีประนอมไมตองรับผิดตอคูความในการกระทําใด ๆ ที่ไดดําเนินการไปเพื่อไกลเกลี่ยและระงับขอพิพาท เวนแตการกระทําหรือละเวนการกระทําของผูประนีประนอมเปนไปโดยจงใจ หรือประมาทเลินเลออยางรายแรงจนเปนเหตุใหคูความเสียหาย

สวนที่ 6 คาปวยการและคาใชจาย ขอ 35 ผูประนีประนอมที่ไดรับการแตงตัง้จากทะเบียนผูประนีประนอม ยอมมีสิทธิ

ไดรับคาปวยการและคาใชจายตามหลักเกณฑและวิธีการที่เลขาธิการกําหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม

ขอ 36 ในกรณีที่มีการแตงตั้งบุคคลที่ไมมีชื่ออยูในทะเบียนเปนผูประนีประนอมใหคูความรับผิดชอบในคาใชจายและคาปวยการของผูประนีประนอมฝายละกึ่งหนึ่ง เวนแตคูความจะตกลงกันเปนอยางอื่น

ขอ 37 ในกรณทีี่ผูประนีประนอมเห็นวาจะตองวาจางบุคคลภายนอกใหดาํเนินการอยางใด ๆ อันจะเปนประโยชนแกการไกลเกลี่ย ใหผูประนปีระนอมดําเนินการเชนวานัน้ไดตอเมือ่คูความตกลงที่จะรับผิดชอบในคาใชจายดงักลาวแลว

ขอดี-ขอจํากัดของการไกลเกลี่ยขอพิพาท

สํานักระงับขอพิพาท (2547, หนา 11-13) ไดสรุปเรียบเรียงถึงขอดี-ขอจํากัดของการไกลเกลี่ยขอพิพาทไว ดงันี้

ขอดีของการไกลเกล่ียหรือประนอมขอพิพาท 1. สะดวก การไกลเกลี่ยขอพิพาทเปนวิธีการระงับขอพิพาทที่ไมมีแบบพธีิมากนกั คอนขาง

จะยึดหยุนและเปนมิตรกันมากกวาการพิจารณาคดีในศาล สามารถดําเนินการไดที่บานผูไกลเกล่ีย โรงเรียน วัด โรงแรมหรือสถานที่ใดที่พิจารณาเห็นวาเหมาะสมก็สามารถกระทําได

Page 22: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

28

2. รวดเร็ว การไกลเกลี่ยใชเวลาในการดําเนินการไมนานนักก็สามารถที่จะทราบไดวาคูพิพาทตกลงกันไดหรือไม หากตกลงกันไดก็จะทําใหคดีเสร็จสิ้นไปโดยเร็ว ถาไมสามารถตกลงกันไดก็จะไดดําเนินการพิจารณาพิพากษาคดีตอไปโดยเร็วคูพิพาทก็ไมสามารถที่จะใชวิธีการไกลเกลี่ยเพื่อประวิงการพิจารณาคดีใหลาชาได

3. ประหยัดคาใชจาย การไกลเกลี่ยใชเวลาในการดําเนินการไมมากนักทําใหประหยัดคาใชจายในการดําเนินคดีตาง ๆ เชน คาธรรมเนียมและคาใชจายในชั้นบังคับคดี นอกจากนี้กรณีประนีประนอมยอมความหรือถอนฟองก็จะไดรับคาธรรมเนียมศาลคืน หรือไดรับสิทธิประโยชนทางภาษี เชน ไดรับยกเวนภาษีอากร ในบางกรณีลดคาอากรแสตมปในการจดทะเบียนจํานองอสังหาริมทรัพย ฯลฯ

4. รักษาสัมพันธภาพระหวางคูพิพาท เมื่อคูพิพาทสามารถตกลงระงับขอพิพาทกันไดจะทําใหลดขอขัดแยง ขอโตแยงระหวางกันสามารถอยูรวมกันในชุมชน หรือทําธุรกิจรวมกัน ตลอดจนปฏิบัติตามสัญญาตอไปจนแลวเสร็จโดยไมกลายเปนชนวนลุกลามไปสูขอพิพาทที่รุนแรงยิ่งขึ้นไปอีกซึ่งจะเปนผลดีกับทุกฝาย

5. สรางความพึงพอใจใหแกคูพิพาท การไกลเกล่ียขอพิพาทเปนวิธีการที่ใชเทคนิคการเจรจาตอรองและหลักจิตวิทยารวมทั้งหลักกฎหมายเพื่อโนมนาวใหคูพิพาทยินยอมลดหยอนผอนปรนใหแกกันโดยไมมีการชี้ขาดดังเชนการพิจารณาคดีของศาล จึงไมเกิดความรูสึกวามีฝายใดแพหรือชนะ อันทําใหเกิดความรูสึกเสียหนาหรือเสียศักดิ์ศรีจึงเปนที่พอใจของทั้งสองฝาย

6. รักษาชื่อเสียงและความลับทางธุรกิจของคูพิพาท กระบวนการไกลเกลี่ยดําเนินการเปนความลับ พยานหลักฐานที่นําเสนอในชั้นไกลเกลี่ยไมอาจจะนําไปเปดเผยหรือใชเปนพยานในชั้นอนุญาโตตุลาการหรือช้ันศาลได เวนแตคูพิพาทและยินยอม ทําใหคูพิพาทสามารถรักษาความลับหรือช่ือเสียงทางธุรกิจที่อาจจะเกิดขึ้นมิใหแพรหลายออกไปกอใหเกิดความเสียหายทางธุรกิจได

7. สรางความสงบสุขใหแกชุมชน การไกลเกลี่ยไมวาจะสําเร็จหรือไมก็ตามทําใหคูพิพาทที่ทะเลาะไมพูดคุยกันหันกลับมาเจรจากันไดเปนการลดความตึงเครียดระหวางคูพิพาท ซ่ึงรวมถึงญาติพี่นองและพรรคพวกอีกดวย ในกรณีที่สามารถยุติขอพิพาทไดอยางสันติก็สามารถกลับไปอยูรวมกันในสังคมไดอยางปกติสุขรวมกันพัฒนาสังคมของตนไดตอไป

8. ลดปริมาณคดีของศาล ขอพิพาทที่สามารถตกลงกันไดก็จะทําใหคดีไมเขาสูศาล สวนคดีที่อยูระหวางการพิจารณาของศาลก็จะเสร็จสิ้นไป คดีก็จะไมคางพจิารณาเปนจํานวนมากและทําใหผูพิพากษามีเวลาในการพิจารณาคดีที่มีปญหาขอกฎหมายยุงยากและสลับซอนมากขึ้น นอกจากนี้ ขอพิพาทบางเรื่องยังกอใหเกิดคดีเกี่ยวเนื่องกันอีกหลายคดี เชน คดีที่ดินอาจจะเกิดคดีทําใหเสียทรัพย

Page 23: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

29

บุกรุก แจงความเท็จ ฟองเท็จ เบิกความเท็จที่โจทกและจําเลยฟองกันอีกหลายคดีหากสามารถไกลเกลี่ยได ก็จะทําใหคดีเสร็จไปไดจํานวนมาก

9. สรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมใหแกประเทศชาติ เมื่อขอพิพาทเกิดขึ้นนอยลง ปริมาณคดีที่ขึ้นสูศาลก็จะลดลงสงผลใหงบประมาณในสวนนี้ลดลง สังคมก็จะอยูกันอยางสงบสุข สามารถรวมมือกันพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติไปไดอยางรวดเร็วไมกอใหเกิดปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ปญหาหนี้อันไมเกิดรายไดตามมา ซ่ึงปญหาการลมละลายจนไมอาจจะดําเนนิกิจกรรมตอไปได กอใหเกิดปญหาการวางงาน ปญหาอาชญากรรมที่ตามมา อันจะเปนปญหาของสังคมตอไป

ขอจํากัดของการไกลเกล่ียหรือการประนอมขอพิพาท 1. ไมมีสภาพบังคับตองขึ้นกับความยินยอมของทั้งสองฝาย การเขาสูกระบวนการไกล

เกล่ียเปนไปตามความยินยอมของทั้งสองฝายไมมีกฎหมายบังคับใหเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยกอนที่จะฟองศาลได หากฝายใดไมประสงคที่จะเขาเจรจาการไกลเกลี่ยก็ส้ินสุดลง

2. คูพิพาทใชเปนชองทางในการประวิงคดีใหลาชา คูพิพาทที่ไมมีเจตนาที่จะยุติขอพิพาทหรือยังไมสามารถจะชําระหนี้ไดจะใชการไกลเกลี่ยเปนชองทางในการประวิงเวลาทําใหเสียเวลาและคาใชจายเพิ่มขึ้นกอใหคูพิพาทอีกฝายหนึ่งเกิดความเบื่อหนายและไมเขารวมเจรจาดวย

แนวคิดเกี่ยวกับปญหาอุปสรรค

สภาพปญหาภายในองคการ องคการประกอบดวยสมาชิกจํานวนมากมาเกี่ยวของกันและมีกิจกรรมรวมกัน ดังนั้นไมวา

จะเปนองคการประเภทใดก็ตาม ความเขมแข็งขององคการยอมขึ้นอยูกับความผูกพันของสมาชิกที่มีตอองคการ ธงชัย สันติวงศ (2538, หนา 54-55) ไดกลาวไววา การที่สมาชิกจะผูกพันและทุมเทใหกับองคการเพียงใดนั้น ยอมขึ้นอยูกับปญหาและสภาพความเปนไปขององคการในแงตาง ๆ คือ

1. ปญหาในสวนที่เกี่ยวของกับเปาหมาย และวัตถุประสงคขององคการ 2. ปญหาที่เกี่ยวของกับงานและลักษณะของกิจกรรมที่ทําอยู 3. ปญหาของบรรยากาศขององคการวามีความสงบราบรื่นเพียงใด 4. ปญหาในแงของผลประโยชน หรือส่ิงตอบแทนที่พนักงานจะไดรับ แลกกับการทุมเท

การทํางานใหกับองคการ 5. ลักษณะของการควบคุมที่ใชวิธีกํากับโดยใกลชิด หรือใหเสรีภาพในการปฏิบัติงาน 6. วิธีการตัดสินใจตาง ๆ ที่กระทําโดยบุคคลหรือโดยกลุม และมีเสนทางจากบนลงลาง

หรืออยางไร

Page 24: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

30

7. ชองทางของบุคคลในการทํางานวามีกวางแคบอยางไร นั่นคือ ไดมีระบบการสอนและแนะนําการทํางานหรือไม หรือเปดโอกาสใหมีการเรียนรู และพัฒนาตนเองแคไหน ทั้งนี้ยอมรวมถึงระเบียบวิธีการจาง การใหออก และการเลื่อนชั้นพนักงานตาง ๆ ที่ใชอยูดวย

8. อนาคตขององคการจะเปนอยางไร ภายใตโลกที่เปล่ียนแปลง จากสภาพความเปนไปขององคการและปญหาทางการบริหารที่ไดกลาวแลวนั้นหาก

แยกแยะเปนหัวขอแลว ปญหาการบริหารองคการสวนใหญตางก็มักประสบปญหา 8 ประการ คือ 1. เปาหมายและวัตถุประสงคขององคการ (organizational goals and objectives) 2. โครงสรางองคการและการแบงงานภายใน (structure and division of labor) 3. สภาพบรรยากาศขององคการ (organization climate) 4. ระบบการจายตอบแทน (reward system) 5. ระบบการควบคุม (control system) 6. การตัดสินใจ (decision making) 7. การวางแผนและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (human resourced planning and

development) 8. ปจจัยที่มีอิทธิพลจากภายนอก (external influence) ทิพส และคณะ (Tips et al., 1987, pp. 8-9 อางถึงใน ภัทรานิษฐ กจิถา, 2544, หนา 15-16)

กลาวไววา ปญหาในการดําเนินการโครงการหรือส่ิงที่ประชาชนหรอืองคกรที่เกี่ยวของไดประสบอยูเสมอ แบงไดเปน 3 กลุมใหญ ๆ คือ

1. ปญหาที่เกิดขึ้นกับผูดําเนินการ (problems inherent in the implementer) ไดแก 1.1 ปญหาที่เกี่ยวของกับการแบงมอบความรับผิดชอบใหกับหนวยงานตาง ๆ

ที่เกี่ยวของทั้งหนวยงานหลักและหนวยงานสนับสนุน 1.2 ปญหาที่เกี่ยวของกับการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งการประสานงาน

ระหวางหนวยงานขางเคียงและหนวยงานบังคับบัญชา (horizontal and vertical) และหนวยงานภายนอกอื่น ๆ

1.3 ปญหาที่เกี่ยวของกับโครงสรางขององคการหรือหนวยงานที่ดําเนินการ 1.4 ปญหาที่เกี่ยวของกับการขาดความสามารถ (lack of capacity) ของหนวยงาน

ที่ดําเนินการ 2. ปญหาที่เกิดขึน้กับสภาพแวดลอมในการดาํเนินงาน (problems inherent in the

implementation environment) 2.1 การระบุกลุมเปาหมายผิดพลาด

Page 25: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

31

2.2 ปญหาการมีสวนรวมของกลุมเปาหมาย 2.3 ความบกพรองของนโยบาย 2.4 ความขัดแยงทางการเมือง

3. ปญหาเกี่ยวกับการบริหารและการจัดการ (administrational management problems) 3.1 ปญหาที่เกี่ยวกับขบวนการ 3.2 ปญหาที่เกี่ยวกับงบประมาณ และการบริหารงบประมาณ

กระบวนการแกปญหา เมื่อองคการประสบปญหาไมวาในดานใดก็ตาม ผูที่มีสวนเกี่ยวของจะตองหาทางแกไขปญหา

ที่เกิดขึ้น โดยจะตองมีกระบวนการแกปญหา (จินดา ซ่ือตรง, 2538, หนา 9-13) อยางถูกตอง เพื่อใหปญหาที่มีอยูนั้นหมดไปหรือใหบรรเทาเบาบางลงมากที่สุดเทาที่จะทําได โดยมีขั้นตอน ดังนี้

1. การระบุปญหา กอนอื่นเราจะตองทราบวา ปญหาคืออะไร มีองคประกอบที่สําคัญอยางไร และปญหาในการบริหารงานสามารถแบงออกไดกี่ประเภท ทั้งนี้เพื่อชวยใหเราสามารถกําหนดปญหาไดชัดเจนยิ่งขึ้น ทําใหสะดวกตอการหาสาเหตุและวิธีแกไขตอไปไดเปนอยางด ีสภาพหรือผลที่เกิดขึ้นอันจะถือไดวาเปนปญหานั้นจะตองมีลักษณะที่สําคัญ ดังนี้คือ

1.1 มีการเบี่ยงเบน คือ มีความแตกตางระหวางสภาพที่ควรจะเกิดขึ้นกับสภาพที่เกิดขึ้นจริง ๆ

1.2 เปนเรื่องที่มีอยูตอไปในอนาคต ถาไมหาทางแกไข ขนาดของปญหาที่จะขยายขอบเขตกวางขวางออกไปมากขึ้น และสงผลกระทบรายแรงยิ่งขึ้นเปนลําดับ

1.3 อยูภายใตความไมแนนอน กลาวคือ จะไมสามารถคาดการณที่ถูกตองแนนอน ไดเพราะเปนเรื่องอนาคต

2. การหาสาเหตุของปญหา วิธีการที่ใชระบุสาเหตุของปญหาที่มีประสิทธิผลนั้นจําเปนตองอาศัยความรู และประสบการณ ตลอดจนความคิดสรางสรรคของบุคคลที่เกี่ยวของหลายฝายชวยกันระดมสมอง เพื่อหาสาเหตุของปญหาใหไดมากที่สุดเทาที่จะมากได และนํามาวิเคราะหจัดหมวดหมูของสาเหตุปญหาที่มีความสัมพันธเชื่อมโยงกันเขาดวยกัน เปนสาเหตุหลักและสาเหตุยอย ซ่ึงจะสามารถทําใหเขาใจสาเหตุของปญหาไดชัดเจนยิ่งขึ้น สาเหตุของปญหาในการบริหารงาน ที่มักพบเสมอ สามารถจัดกลุมได 3 ดาน คือ

2.1 ดานบุคลากร 2.2 ดานระบบงาน 2.3 ดานสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกหนวยงาน

Page 26: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

32

3. การกําหนดจดุหมายในการแกปญหาจะตองมีความชัดเจนและสามารถวัดไดในเชิงปริมาณ โดยจะตองมุงแกทีส่าเหตุหลักและสาเหตยุอยใหหมดไปไดมากนอยเพียงใดเปนสําคัญ

4. การกําหนดทางเลือกและวิธีการแกปญหา 4.1 การระดมสมองโดยกลุมผูมีความรูความสามารถและประสบการณ เพื่อวิเคราะห

ปญหา สาเหตุ และเสนอแนะแนวทางปฏิบัติที่เปนไปได และสมเหตุสมผลใหมากที่สุดเทาที่จะทําได 4.2 การวิเคราะหและประเมินทางเลือกและเลือกแนวปฏิบัติทางใดทางหนึ่งหรือ

ผสมผสานทาวเลือกหลาย ๆ ทางที่จะสามารถแกปญหาไดดีที่สุด โดยคํานึงถึงคาใชจาย ผลประโยชน ที่จะไดรับ ระยะเวลาที่จะตองใชดําเนินการตามทางเลือกนั้น ๆ เหมาะสมทันตอสถานการณหรือไม รวมทั้งการยอมรับของผูที่เกี่ยวของในการดําเนินการแกปญหาดวย

4.3 การตัดสินใจเลือกปฏิบัติตามทางเลือกที่ดีที่สุด โดยจะตองพิจารณาแผนปฏิบัติโดยละเอียดวาใครจะเปนผูรับผิดชอบ ดําเนินการ ควรจะทําเมื่อใด ที่ไหน และอยางไรเอาไวดวย ซ่ึงเทากับเปนการวางแผนดําเนินงานเพื่อใหปญหานั้นไดรับการแกไข

4.4 การประเมินผลและติดตามผล เมื่อไดดําเนินการไปแลว ก็จะตองติดตามผลดูวา สาเหตุของปญหา และผลที่เกิดขึ้นเปนไปตามเปาหมายหรือไม รวมทั้งการปฏิบัติมีปญหาหรืออุปสรรคเกิดขึ้นอยางไร หรือไม ทั้งนี้เพื่อควบคุมดูแลใหการดําเนินงานบรรลุผลสําเร็จอยางแทจริง

สรุปเมื่อเกิดปญหาขึ้นภายในองคการ ปญหานั้น ๆ ควรไดรับการแกไขอยางถูกวิธี โดยจะตองมีการระบุปญหา การหาสาเหตุและวิธีการแกไขปญหา รวมทั้งตองมีการติดตามผลของการแกไขปญหานั้นดวย

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

นันทศักดิ์ พูลสุข (2539, หนา 47-49) ไดทําการศึกษาวิจัยเร่ืองปญหาและอุปสรรคในการนํานโยบายไปปฏิบัติตามโครงการประนอมขอพิพาทของสํานักงานอัยการสูงสุด ชวงป พ.ศ. 2535-2539 ซ่ึงไดเสนอแนวทางวิธีแกไขปญหาและอุปสรรคที่ไดจากการวิจัย ดังนี้

1. การแกไขปญหาความรวมมือและตอตานการเปลี่ยนแปลง สํานักงานอัยการสูงสุดควรอบรมขาราชการในสํานักงานอัยการสูงสุดไมวาจะเปนขาราชการธุรการ และขาราชการอัยการทุกระดับใหมีความเขาใจในการดําเนินงานตามโครงการประนอมขอพิพาท และการจัดใหมีเจาหนาที่ผูรับผิดชอบโดยตรงในการดําเนินงานประนอมขอพิพาทในสวนภูมิภาค โดยไมตองใหพนักงานอัยการในสวนภมูิภาคแบงเวลาจากงานประจํามาดําเนินการ

2. การแกไขปญหาทางดานอํานาจและความสัมพันธกับองคการอื่นที่เกี่ยวของ 2.1 ควรจัดใหมีการประชุม หรือสัมมนารวมกันในระหวางเจาหนาที่ของสํานักงาน

อัยการสูงสุด เจาหนาที่ฝายปกครอง และเจาหนาที่ในสวนราชการที่เกี่ยวของใหมีการสนับสนุนให

Page 27: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

33

ความรวมมือซ่ึงกันและกัน หรือจัดสรรงบประมาณใหแตละสวนราชการบริหารดวยตนเองในการมีสวนรวม

2.2 ควรเปดโอกาสใหสํานักงานอัยการในสวนภูมิภาคซึ่งเปนหนวยงานปฏิบัติจัดทําแผนหรือโครงการประนอมขอพิพาทตามความเหมาะสมในแตละทองถ่ินและในองคกรทองถ่ินที่มีสวนรวมในการเสนอชื่อผูทําหนาที่ประนอมขอพิพาท หรือมอบหมายใหบุคคลผูที่เหมาะสมทําหนาที่แทนคณะกรรมการหมูบาน ซ่ึงในปจจุบันมีภาระหนาที่อ่ืน ๆ มากมาย ไมอาจสนองความตองการหรือทําหนาที่ประนอมขอพิพาทไดเต็มที่

2.3 การแกไขปญหาและอุปสรรคควรใหองคกรเอกชนเขามามีสวนรวมในการปรับปรุงแกไขระเบียบขอบังคับของกระทรวงมหาดไทยใหเกิดความคลองตัวในการปฏิบัติลดความเปนราชการลง โดยเปดโอกาสในองคกรเอกชนอื่น หรือองคกรทางศาสนา หรือกลุมบุคคลที่ประชาชนในแตละทองถ่ินเคารพนับถือเขามาชวยไกลเกล่ียประนอมขอพิพาท และลดขั้นตอนในการรองขอใหมีการประนอมขอพิพาทลงเพื่อใหการประนอมขอพิพาทงายและแพรหลายมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2544) ไดทําการวิจัยเร่ืองความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานตามมาตรฐานกลาง : แนวทางการปฏิบัติงานธุรการในศาลชั้นตน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูรับบริการหรือผูมาติดตอราชการที่ศาลชั้นตน และความคิดเห็นของ ผูพิพากษาและเจาหนาที่ธุรการในศาลชั้นตนที่ปฏิบัติงานตามมาตรฐานกลางตอแนวทางการปฏิบัติงานธุรการในศาลชั้นตน ผลการวิจัยสรุปได ดังนี้

1. ผูรับบริการในศาลขนาดเล็ก กลาง และใหญ คอนขางพอใจจนถึงพอใจตอการปฏิบัติงานตามมาตรฐานกลางฯ ในกระบวนการตาง ๆ ทั้งในดานความรวดเร็ว ความสะดวก ระยะเวลาในการดําเนินการ และขั้นตอนการขอรับบริการ โดยไมมีความแตกตางในทางสถิติ

2. เจาหนาที่ธุรการ เห็นวา ผูรับบริการไดรับบริการที่สะดวก รวดเร็วขึ้น และเหมือนเดิมในกระบวนการตาง ๆ โดยระดับความรวดเร็วของการรับบริการจากศาลที่มีขนาดแตกตางกันไมมีความแตกตางในทางสถิติ

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2546) ไดทํารายงานการวิจัยเร่ือง การไกลเกลี่ยขอพิพาทในศาลกับการชวยลดภาระการบริหารจัดการคดี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) แนวโนมคดีที่เขาสูกระบวนการไกลเกล่ียในศาล 2) ความสําเร็จของการไกลเกล่ียคดีและความพึงพอใจตอการไกลเกลี่ยคดีของผูที่ เกี่ยวของทุกกลุม และ 3) ปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไขในการนํากระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทมาใชในศาล ผลการวิจัยสรุป ไดดังนี้

Page 28: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

34

1. จํานวนคดีทั้งหมดและจํานวนคดีแพงทั้งหมดในศาลที่ศึกษามีแนวโนมเพิ่มขึ้น แตคดีแพงเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยกอนวันนัดสืบพยาน ตั้งแตเร่ิมตนจนถึงส้ินเดือนธันวาคม 2545 มีเพียงรอยละ 5.50 ของคดีแพงทั้งหมดที่ศาลรับฟองและไกลเกลี่ยสําเร็จรอยละ 56.60 ของจํานวนคดีแพงที่ไกลเกลี่ยเสร็จแลว ซ่ึงคดีเหลานี้จะไมกลับเขาสูการสืบพยานจึงเปนการลดภาระการบริหาร การจัดการคดีได คดีมีแนวโนมจะเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยเพิ่มมากขึ้น เพราะทนายความเกือบทั้งหมดเห็นวาการไกลเกลี่ยมีประโยชนตอคูความและในอนาคตจะแนะนําใหคูความใชวิธีการไกลเกลี่ย รวมทั้ง คูความทั้งหมดจะใชวิธีการไกลเกลี่ยอีกหากมีคดีขอพิพาท

2. ปจจัยที่ทําใหการไกล เกลี่ยขอพิพาทสําเร็จตามความคิดเห็นของผู เกี่ยวของประกอบดวย กระบวนการไกลเกลี่ยที่ไมยุงยากซับซอนและใชเวลาไมมาก คูความตองการระงับขอพิพาทโดยวิธีการไกลเกลี่ยขอเรียกรองที่คูความแตละฝายเสนอเปนที่ยอมรับของกันและกัน รวมทั้งผูไกลเกลี่ยชวยใหคูความตกลงกันได ทุนทรัพยเปนปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการไกลเกลี่ย กลาวคือ คดีที่มีทุนทรัพยไมสูง มีโอกาสไกลเกลี่ยสําเร็จมากกวาคดีที่มีทุนทรัพยสูง สําหรับผูที่เกี่ยวของทุกกลุมมีความพึงพอใจตอการไกลเกลี่ยคดีและคูความมีความพึงพอใจตอผูไกลเกล่ียทั้งที่เปนผูพิพากษาและบุคคลภายนอกในระดับ “พอใจ”

3. การนําระบบการไกลเกลี่ยขอพิพาทมาใชในศาล มีปญหา/อุปสรรค ดานกระบวนการ/วิธีการไกลเกลี่ยคือ การเชิญชวนคูความเขาสูกระบวนการไกลเกลี่ยยังไมเพียงพอ ดังนั้น ควรประชาสัมพันธสรางความเขาใจแกฝายตาง ๆ และสรางความมั่นใจใหคูความ เห็นผลดีของการไกลเกลี่ย ในดานสถานที่ยังไมเพียงพอ บางแหงยังไมเหมาะสม ดังนั้น ควรจัดหางบประมาณเพื่อเพิ่มหองไกลเกลี่ย และปรับปรุงใหเหมาะสม ในดานผูไกลเกล่ีย ขาดบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีจํานวน ไมเพียงพอกับปริมาณคดี บุคคลภายนอกบางทานอาจขาดความเขาใจในกระบวนการพิจารณาและสวนใหญไมไดรับคาตอบแทน ดังนั้น ควรเพิ่มพูนทักษะในการไกลเกลี่ย เพิ่มจํานวน ผูพิพากษาและบุคคลภายนอก กําหนดวิธีการคัดเลือกบุคคลภายนอกใหชัดเจน ขึ้นบัญชีใหเพียงพอ ควรใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายวิธีพิจารณาความ และควรใหคาตอบแทน ใหดานคูความ คูความเขาสูกระบวนการไกลเกล่ียกอนวันนัดสืบพยานไมมาก ขาดความรูความเขาใจในระบบการไกลเกล่ีย บางรายโดยเฉพาะตัวแทนในคดีของคูความที่เปนนิติบุคคลไมมีอํานาจในการตัดสินใจ ทําใหการไกลเกลี่ยลาชา ดังนั้นควรประชาสัมพันธสรางความเขาใจแกคูความและประชาชน รวมทั้งฝกอบรมผูนําทองถ่ิน ควรประสานกับสถาบันการเงินใหมอบอํานาจใหตัวแทน ใหตัวแทนมอํีานาจในการตัดสินใจพอสมควร สวนดานจํานวนคดีที่รับผิดชอบเกินกําลังเจาหนาที่ และงานไมตอเนื่อง เพราะบุคลากรสวนใหญเปนลูกจางชั่วคราว มีการเขา-ออก ควรเพิ่มบุคลากรใหเหมาะสมกับปริมาณคดี และบุคลากรหลักควรเปนขาราชการประจํา

Page 29: บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/47930076/chapter2.pdf · 8 สํัานกระงั บขิพาทอพ (2547, หน า

35

ปจจัยสวนบุคคลของประชาชน 1. เพศ 2. อายุ 3. ระดับการศึกษา 4. อาชีพ 5. ทุนทรัพยในการเกิดขอพิพาท

ปจจัยสวนบุคคลของเจาหนาที่ (ผูประนีประนอม)

1. เพศ 2. อายุ 3. ระดับการศึกษา 4. อาชีพ

กรอบแนวคิดในการศึกษา

จากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของผูศึกษาไดนํามากําหนดกรอบแนวคิดในการศึกษา ดังนี้

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ภาพที่ 3 กรอบแนวคดิในการศึกษา

ความคิดเหน็ของประชาชนตอการดําเนินงานและปญหาอุปสรรคในการนําระบบไกลเกลี่ยมาใชในศาลจังหวัดฉะเชิงเทรา

ความคิดเหน็ของเจาหนาที่ (ผูประนีประนอม) ตอการดําเนินงานและปญหาอุปสรรคในการนาํระบบไกลเกลี่ยมาใชในศาลจังหวดัฉะเชิงเทรา