11
บทที3 ขั ้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั ้นตอนการดําเนินโครงงาน 3.1.1. ตั ้งหัวข ้อของโครงงาน โดยปรึกษากับพนักงานที่ปรึกษาและอาจารย์ทีปรึกษา 3.1.2. รวบรวมข้อมูลของโครงงาน โดยสอบถามพนักงานที่ปรึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องในสถาน ประกอบการรวมถึงการลงปฏิบัติงานในการเก็บข้อมูลในอาคาร 3.1.3.เริ่มเขียนโครงงาน เมื่อรวบรวมเอกสารเพียงพอกับการจัดทําโครงงาน 3.1.4. ตรวจสอบโครงงาน โดยส่งโครงงานให้อาจารย์ที่ปรึกษา และพนักงานที่ปรึกษา ตรวจสอบ 3.1.5. แก้ไขในส่วนที่ผิด และส ่วนต่างๆที่ยังไม่สมบูรณให้เรียบร้อย 3.1.6. โครงงานเสร็จเรียบร้อย จัดทํารูปเล่มและเรียบเรียงข้อมูลโครงงาน เรื่อง เครื่องกําเนิด ไฟฟ้ า 3.2 การศึกษาการทํางาน การศึกษาการทํางานจะแบ่งขั ้นตอนเป็นการศึกษาข ้อมูลเบื ้องต ้น และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการคํานวณภาระในระบบของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ า พร้อมทั ้งทําการตรวจสอบและดําเนินงานใน การซ่อมบํารุงให้มีความเหมาะสม และพร้อมต่อการทํางาน รวมถึงในส่วนของระบบการจัดการในการ กําหนดแผนงานการซ่อมบํารุงให้มีความเหมาะสมในช่วงเวลา เพื่อจะลดผลกระทบต่อหน่วยงานหรือ เจ้าหน้าที่พนักงาน ในอาคารสถานที่ประกอบการนั ้น 3.3 การเก็บข้อมูล การเก็บข้อมูลเพื่อมาเปรียบเทียบเครื่องกําเนิดไฟฟ้า มีการเปลี่ยนแปลงของแต่ละวันและ สัปดาห์ของแต่ละอาคาร ในระบบเครื่องกําเนิดไฟฟ้า ของแต่ละอาคารสํานักงาน และโรงงานนั ้นส่วน หนึ ่งได้อ้างอิงจากแบบแปลนของอาคารเพื่อความสะดวกและแม่นยํา โดยในส่วนที่เหลือได้ทําการวัด โดยใช้อุปกรณ์ซึ ่งเลือกใช้ให้เหมาะสมกับอาคารสํานักงานและโรงงานนั ้นๆ

บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

บทที ่3

ขั้นตอนและวธิีการปฏบิัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน 3.1.1. ตั้งหวัขอ้ของโครงงาน โดยปรึกษากบัพนกังานท่ีปรึกษาและอาจารยที์ปรึกษา

3.1.2. รวบรวมขอ้มูลของโครงงาน โดยสอบถามพนกังานท่ีปรึกษาและผูท่ี้เก่ียวขอ้งในสถานประกอบการรวมถึงการลงปฏิบติังานในการเก็บขอ้มูลในอาคาร 3.1.3.เร่ิมเขียนโครงงาน เม่ือรวบรวมเอกสารเพียงพอกบัการจดัทาํโครงงาน 3.1.4. ตรวจสอบโครงงาน โดยส่งโครงงานให้อาจารย์ท่ีปรึกษา และพนักงานท่ีปรึกษาตรวจสอบ

3.1.5. แกไ้ขในส่วนท่ีผดิ และส่วนต่างๆท่ียงัไม่สมบูรณใหเ้รียบร้อย 3.1.6. โครงงานเสร็จเรียบร้อย จดัทาํรูปเล่มและเรียบเรียงขอ้มูลโครงงาน เร่ือง เคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้า

3.2 การศึกษาการทาํงาน

การศึกษาการทาํงานจะแบ่งขั้นตอนเป็นการศึกษาข้อมูลเบ้ืองต้น และทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องเก่ียวกบัการคาํนวณภาระในระบบของเคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้า พร้อมทั้งทาํการตรวจสอบและดาํเนินงานในการซ่อมบาํรุงใหมี้ความเหมาะสม และพร้อมต่อการทาํงาน รวมถึงในส่วนของระบบการจดัการในการกาํหนดแผนงานการซ่อมบาํรุงให้มีความเหมาะสมในช่วงเวลา เพื่อจะลดผลกระทบต่อหน่วยงานหรือเจา้หนา้ท่ีพนกังาน ในอาคารสถานท่ีประกอบการนั้น 3.3 การเกบ็ข้อมูล การเก็บข้อมูลเพื่อมาเปรียบเทียบเคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้า มีการเปล่ียนแปลงของแต่ละวนัและสัปดาห์ของแต่ละอาคาร ในระบบเคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้า ของแต่ละอาคารสํานกังาน และโรงงานนั้นส่วนหน่ึงไดอ้า้งอิงจากแบบแปลนของอาคารเพื่อความสะดวกและแม่นยาํ โดยในส่วนท่ีเหลือไดท้าํการวดัโดยใชอุ้ปกรณ์ซ่ึงเลือกใชใ้หเ้หมาะสมกบัอาคารสาํนกังานและโรงงานนั้นๆ

Page 2: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

9

3.4. ขั้นตอนในการติดตั้งเคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้า (Generator)

รูปที ่3.1 การติดตั้งเคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้าสํารอง

3.4.1. ตรวจสอบพื้นท่ี และจดัเตรียมพื้นท่ีในการติดตั้ง (Generator)ใหพ้ร้อมในการติดตั้ง 3.4.2. ติดตั้ง AVR (Auto Voltage Regurator) เพื่อรักษาระดบัแรงดนัไฟฟ้า ให้เหมาะสมกบั (Generator) ท่ีเราตอ้งการจะใชง้านแต่ก่อนอ่ืนให้ดูท่ีแผน่ป้าย Name Pate ของเคร่ือง GEN วา่เคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้า ) Generator) ตวันั้นๆสามารถท่ีจะรับ Exc .Volts ไดก่ี้โวลท ์Exc .Amps ก่ีแอมป์ และโวลทท่ี์สามารถจ่ายออกไปใชง้านจริงนั้นไดก่ี้โวลท ์เช่น 220/380V 3PH. และชนิดของเคร่ืองกําเนิดไฟฟ้า………………………………………………………………………. 3.4.3. เม่ือเราทราบ Exc.Volts, Exc.Amps. แลว้ เราก็มาดู SPECE ของ AVR ท่ีเราจะใชว้่า INPUT SENSING, INPUT POWER ใชก่ี้โวลท ์ DC Output ก่ีโวลท ์DC Current Output ก่ีแอมป์ เช่น Input Sensing, Input Power 220 VAC 1 PH. DC Output 90 V.DC DC.Cueerntoutput7A.DC 3.4.4. การต่อสายไฟ AC ท่ีจะเขา้ทางดา้น INPUT ของ AVR (Auto Voltage Regurator) เราควรต่อผ่าน FUSE หรือ BREAKER ก่อน เพื่อป้องกนัไม่ให้ (Auto Voltage Regurator) เสียหายง่าย……………………………………………………………………………………

3.4.5. ก่อนการเดินเคร่ืองยนต์ตอ้งปรับ Volume Volte ให้มาทางซ้ายสุดหรือปรับทวนเข็มนาฬิกา

Page 3: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

10

3.4.6. ตอ้ง OFF ฟิวส์หรือเบรคเกอร์เสียก่อน เม่ือเราเดินเคร่ืองยนต์ไดค้วามเร็วรอบตาม ตอ้งการแลว้ ค่อย ON ฟิวส์หรือเบรคเกอร์ จากนั้นตรวจโวลท ์AC ท่ีหน้าปัทท์มิเตอร์โวลท์

3.4.7. ตรวจดูความถ่ีให้ได้ 50Hz. เพราะโดยทั่วไปบ้านเราจะใช้ความถ่ีท่ี 50 Hz.

3.4.8. เม่ือเราปรับแต่งทุกอยา่งไดต้ามตอ้งการแลว้ก็ให้ล๊อค Volume และรอบเคร่ืองยนตไ์ว ้ เม่ือเราดบัเคร่ืองยนตแ์ลว้มาเดินเคร่ืองยนตใ์ชง้านใหม่ก็จะไดโ้วลทแ์ละความถ่ีท่ีเราตอ้งการใช้ง า น ไ ด้ เ ล ย…………………………………………………………………………………….

3.4.9. เคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้าสาํรองท่ีใช ้AVR ในการควบคุมระดบัแรงดนัไฟฟ้า ไม่ควรเดินรอบเคร่ืองยนต์ให้ตํ่ากวา่ 47 Hz เพราะวา่ถา้เดินรอบเคร่ืองยนตต์ํ่ากวา่ 47 Hz นานๆ จะทาํให้ขดลวด Exc. STATOR, Exc. ROTOR, ขดลวด MAIN FIELD ROTOR ไหมไ้ด ้รวมทั้งอายุการใชง้านของ ROTATING DIODE จะสั้นดว้ย

รูปที ่3.2 ท่อไอเสีย

รูปที ่3.3 ท่อระบายควนัไอเสีย

Page 4: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

11

3.5 ขั้นตอนการตรวจเช็คแบ่งออกเป็นข้อดังนี้

1. การตรวจเช็คประจาํวนั

2. การตรวจเช็คประจาํสัปดาห์

3. การตรวจเช็คประจาํปี

1. การตรวจเช็คประจําวนั เป็นการตรวจเช็คระบบการทาํงานเบ่ืองตน้สังเกต และฟังเสียงการทาํงานของเคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้านั้นๆ พร้อมทาํความสะอาด

รูปที ่ 3.3 ตรวจเช็คแบตเตอร่ีและทาํความสะอาดแบตเตอร่ี

รูปที ่3.5 ทาํความสะอาดเคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้า

Page 5: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

12

2. ตรวจเช็คประจําสัปดาห์

- ตรวจเช็คการทาํงานโดยทัว่ไป และทาํความสะอาดภายนอก - ตรวจวดัระดบันํ้ามนั, ระดบันํ้ากลัน่, นํ้ามนัหล่อล่ืน และบนัทึกค่าความถ่วงจาํเพาะ ของแบตเตอร่ี จากนั้นทดสอบเดินเคร่ือง 10 นาทีฟังเสียงการทาํงานของเคร่ือง Generator วา่ทาํงานปกติดีหรือไม่

รูปที ่3.6 เช็คระดับนํา้หล่อเย็น

รูปที ่3.7 ตรวจเช็คระดับนํา้มันเคร่ือง

Page 6: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

13

แบบฟอร์มการตัวเช็คประจําสัปดาห์ ตารางท่ี 3.1 แบบฟอร์มการตรวจเช็ค 1.บันทกึระดบันํา้มนัโซล่าร์ เร่ิม ......................ลติร หยุด ……………..ลติร 2. ตรวจขั้วแบตเตอร่ีก่อนเดนิเคร่ือง [ ] ปกต ิ [ ] สก ปรก [ ] เปลีย่น 3. ตรวจสภาพและระดบันํา้มนัเคร่ืองก่อนเดนิเคร่ือง [ ] ปกต ิ[ ] เพิม่ [ ] เปลยีน่ 4. ตรวจสภาพและระดบันํา้ในหม้อนํา้ [ ] ปกต ิ[ ] เพิม่ [ ] เปลีย่น 5. ตรวจระดบันํา้กลัน่ ของแบตเตอร่ี [ ] ปกต ิ[ ] เพิม่ 6. ตรวจตาํแหน่งเบรกเกอร์ [ ] ถูกต้อง

7. บันทกึค่าอณุหภูมขิองเคร่ือง : _____________ ๐ C 8. บันทกึค่า VOLTAGE RS = ______ V. ST = _______ V. TR = _______ V. 9. บันทกึค่า AMPERE 1 ) = _______A. 2 ) = _______A. 3 ) = _______ A. 10. บันทกึค่าความถี่ : ________________ Hz. 11. บันทกึค่า HOURS : ______________ ช่ัวโมง 12. บันทกึค่า BATTERRY : __________ Volts.

13. บันทกึค่ากระแสไฟฟ้ าของแบตเตอร่ี :______________ Ampere. 14. บันทกึค่าความเร็วรอบ : _______________ RPM. X 100 15. บันทกึค่า OIL PRESSURE : _______________ PSI. 16. บันทกึค่า WATER

TEMPERATURE : _______________ ๐ C 17. ตรวจสภาพไส้กรองอากาศ [ ] ปกต ิ[ ] สกปรก สาเหตุ _____________________________________ การแก้ไข _____________________________________

18. การท างานของตู้ CONTROL [ ] ปกต ิ[ ] ไม่ปกต ิสาเหตุ ______________________________________ 19. ตรวจสภาพการยดึน๊อตสกรู [ ] ปกต ิ[ ] ไม่ปกต ิ20. ตรวจรอยร่ัวซึมของท่อนํา้มนัและตวัเคร่ือง [ ] ปกต ิ[ ] ร่ัวซึม 21. ทาํความสะอาดตวัเคร่ือง , แบตเตอร่ี และถังนํา้มนั [ ] ทาํความสะอาดแล้ว 22. บันทกึค่าความถ่วงจาํเพาะของแบตเตอร่ี 22.1 แบตเตอร่ีช่องที ่1 …… 2 …… 3 …… 4 …… 23. ทดลองเดนิเครือง GENERATOR ตวัเปล่า 10 นาท ี- TIME START : …………………น. - TIME STOP : …………………...น.

Page 7: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

14

รูปที ่3.8 ตัวอย่างแบบฟอร์มการเช็ค

Page 8: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

15

3. การตรวจเช็คประจําปี

- ทาํการเปล่ียนแบตเตอร่ี - เปล่ียนถ่ายนํ้ามนัเคร่ือง - เปล่ียนไส้กรองอากาศ - เปล่ียนไส้กรองนํ้ามนัเคร่ือง - เปล่ียนไส้กรองโซล่า - เปล่ียนนํ้ายาหล่อเยน็

รูปที ่3.9 ตรวจเช็คแบตเตอร่ี และเปลีย่นแบตเตอร่ีใหม่ สาเหตุท่ีทาํการเปล่ียนแบตเตอร่ีเน่ืองจากถึงกาํหนดอายุการใช้งาน 1 ปี หรือ 032 ชัว่โมง

แบตเตอร่ีน้ีเป็นแบตเตอร่ีชนิดแห่งใช่ 0 ลูกเพื่อทาํการสตาร์ท ใชไ้ฟ 02 V ในการสตาร์ทเคร่ืองกาํเนิดไฟฟ้า

Page 9: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

16

รูปที ่3.10 เปลีย่นถ่ายนํา้มันเคร่ือง สาเหตุท่ีทาํการเปล่ียนถ่ายนํ้ามนัเคร่ืองเน่ืองจากถึงกาํหนดอายกุารใช ้1 ปี หรือ 032 ชัว่โมง จะ

ถ่ายนํ้ามนัเคร่ืองดว้ยวธีิการนาํสายยางมาดูดออกโดยการใชท่ี้ป่ัน แลว้ทาํการเติมนํ้ามนัเคร่ือง 42 ลิตร

รูปที ่3.11 เปลีย่นไส้กรองอากาศ ทาํการเปล่ียนใส่กรองอากาศอนัใหม่ถา้อนัท่ีใชแ้ลว้จะสามารถสังเกตไดจ้ากฝุ่ นท่ีเกาะ

Page 10: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

17

รูปที ่3.12 เปลีย่นไส้กรองนํา้มันเคร่ือง สาเหตุท่ีเปล่ียนใส่กรองนํ้ามนัเคร่ืองเน่ืองจากถึงกาํหนดอายกุารใชง้าน 1 ปี หรือ 032 ชัว่โมง

ภาพถ่ายท่ีเห็นดงัรูปเป็นไส้กรองอนัเก่าท่ีทาํการเปล่ียนสังเกตไดว้า่จะเห็นคราบนํ้ามนัติดอยู ่

รูปที ่3.13 เปลีย่นไส้กรองโซล่า สาเหตุท่ีเปล่ียนไส้กรองโซล่าเน่ืองจากถึงกาํหนดอายกุารใชง้าน 1 ปี หรือ 032 ชัว่โมง ภาพถ่าย

ท่ีเห็นดงัรูปเป็นไส้กรองอนัเก่าท่ีทาํการเปล่ียนสังเกตไดว้า่จะเห็นคราบนํ้ามนัติดอยู ่

Page 11: บทที่ 3 - Siam University · 2018-11-01 · บทที่ 3 ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน 3.1 ขั้นตอนการดําเนินโครงงาน

18

รูปที ่3.14 ทาํการดูดนํา้ยาหล่อเยน็ สาเหตุท่ีทาํการเปล่ียนนํ้าหล่อเยน็เน่ืองจากถึงกาํหนดอายุการใชง้าน 1 ปี หรือ 032 ชัว่โมง

โดยใชส้ายยางขนาดเล็กทาํการดูดออก

รูปที ่3.15 เติมนํา้และนํา้ยาหล่อเยน็

ทาํการเติมนํ้าและนํ้ายาหล่อเยน็ใหไ้ดต้ามระดบัท่ีกาํหนดไว ้เพื่อระบายความร้อนไดเ้ต็มท่ี