29
- 45 - บทที4 แนวความคิดทางการเมือง (Political Concept) วัตถุประสงค 1. รูจักเจาของแนวความคิดทางการเมืองในยุคตาง 2. เขาใจแนวความคิดที่สําคัญของเจาของแนวความคิด 3. เขาใจบริบทของสังคมในยุคนั้น 4. ผลกระทบของแนวความคิดทางการเมือง บทนํแนวความคิด ตรงกับความหมายในภาษาอังกฤษวา COncept หมายถึงความคิด ความเขาใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ของบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคน ที่แสดงออกมาเพื่อทํ ความเขาใจวาสิ่ง นั้นคืออะไร และควรเปนไปอยางไร แนวความคิดของบุคคลจึงเกี่ยว ของกับบริบทของสังคมและวัฒนธรรมที่บุคคลนั้นอาศัยอยู ดวยเหตุนี้ในเรื่องเดียวกัน จึงมี การอธิบายไดตาง กันขึ้นอยูกับแนวความคิดของบุคคล ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไดตามกาล และบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป แนวความคิดทางการเมืองหรือ political concept สงผลใหเกิดเหตุการณตาง ได มากกวาที่เราคิด บางเรื่องทําใหเกิดความขัดแยง นําไปสูสงครามและการสูญเสีย เพราะวา ความคิดทางการเมืองจะมีอิทธิพลเหนือจิตใจมนุษย อาจทํ าใหเกลียดชังหรือเชื่อฟงอยาง ลุมหลง การตอสูกันในเรื่องแนวความคิดมีมาชานานพรอม กับอารยธรรมของมนุษย ใน สมัยกลางของยุโรปมีการตอสูกันเรื่องความแตกตางของแนวความคิดเรื่องศาสนา หรือการ ตอสูระหวางแนวความคิดระหวางกลุมที่สนับสนุนอํ านาจกษัตริยและกลุมที่สนับสนุน อํ านาจของศาสนจักร นอกจากนี้แนวความคิดชาตินิยมที่เกิดในชวงปลายศตวรรษที18 ถึงตลอดชวงศตวรรษที19 นําไปสูสงครามโลกทั้งสองครั้งในศตวรรษที20 แมกระทั่งใน ปจจุบันก็ยังเกิดการตอสูที่มาจากแนวความคิดอยูเสมอ แนวความคิดทางการเมืองบางอยางมีอิทธิพลตอจิตใจผูคนสูงมาก จนทํ าใหแนว ความคิดนั้นเปนแนวความคิดหลักในสังคม ผูคนทั่วไปเชื่อฟงและปฏิบัติตามจนกลายเปน การศึกษาแนวความคิด ทางการเมือง สามารถ ทํ าใหเราเขาใจพฤติ กรรมทางการเมืองของ มนุษยไดงายมากขึ้น

บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 45 -

บทที่ 4แนวความคิดทางการเมือง

(Political Concept)

วัตถุประสงค

1. รูจักเจาของแนวความคิดทางการเมืองในยุคตาง ๆ2. เขาใจแนวความคิดที่สํ าคัญของเจาของแนวความคิด3. เขาใจบริบทของสังคมในยุคนั้น ๆ4. ผลกระทบของแนวความคิดทางการเมือง

บทนํ า

แนวความคิด ตรงกับความหมายในภาษาอังกฤษวา COncept หมายถึงความคิดความเขาใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ของบุคคลคนหนึ่งหรือหลายคน ที่แสดงออกมาเพื่อทํ าความเขาใจวาส่ิง ๆ นั้นคืออะไร และควรเปนไปอยางไร แนวความคิดของบุคคลจึงเกี่ยวของกับบริบทของสังคมและวัฒนธรรมที่บุคคลนั้นอาศัยอยู ดวยเหตุนี้ในเรื่องเดียวกัน จึงมีการอธิบายไดตาง ๆ กันขึ้นอยูกับแนวความคิดของบุคคล ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไดตามกาลและบริบทที่เปล่ียนแปลงไป

แนวความคิดทางการเมืองหรือ political concept สงผลใหเกิดเหตุการณตาง ๆ ไดมากกวาที่เราคิด บางเรื่องทํ าใหเกิดความขัดแยง นํ าไปสูสงครามและการสูญเสีย เพราะวาความคิดทางการเมืองจะมีอิทธิพลเหนือจิตใจมนุษย อาจทํ าใหเกลียดชังหรือเชื่อฟงอยางลุมหลง การตอสูกันในเรื่องแนวความคิดมีมาชานานพรอม ๆ กับอารยธรรมของมนุษย ในสมัยกลางของยุโรปมีการตอสูกันเรื่องความแตกตางของแนวความคิดเรื่องศาสนา หรือการตอสูระหวางแนวความคิดระหวางกลุมที่สนับสนุนอํ านาจกษัตริยและกลุมที่สนับสนุนอํ านาจของศาสนจักร นอกจากนี้แนวความคิดชาตินิยมที่เกิดในชวงปลายศตวรรษที่ 18 ถึงตลอดชวงศตวรรษที่ 19 นํ าไปสูสงครามโลกทั้งสองครั้งในศตวรรษที่ 20 แมกระทั่งในปจจุบันก็ยังเกิดการตอสูที่มาจากแนวความคิดอยูเสมอ ๆ

แนวความคิดทางการเมืองบางอยางมีอิทธิพลตอจิตใจผูคนสูงมาก จนทํ าใหแนวความคิดนั้นเปนแนวความคิดหลักในสังคม ผูคนทั่วไปเชื่อฟงและปฏิบัติตามจนกลายเปน

การศึกษาแนวความคิดทางการเมือง สามารถทํ าใหเราเขาใจพฤติกรรมทางการเมืองของมนุษยไดงายมากขึ้น

Page 2: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 46 -

รูปแบบของสถาบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งสถาบันกฎหมาย เชนแนวความคิดเรื่องสิทธิเสรีภาพ ความเทาเทียม และแนวความคิดเรื่องอํ านาจทางการเมืองมาจากประชาชน ก็ไดมีการบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ เปนตน

แนวความคิดทางการเมืองในยุคกรีก

เมื่อเราพูดถึงยุคกรีก เราหมายถึงวิถีชีวิตทางการเมืองในสมัยกรีกโบราณ ซึ่งเปนระยะเวลากวาสองพันปที่ผานมาแลว โดยในที่นี้เราจะพูดถึงแนวคิดของนักคิดทางการเมือง 2 คนคือ เพลโต และอริสโตเติล กอนที่เราจะทํ าความเขาใจถึงแนวความคิดของ 2 คนนี้ จะแสดงใหเห็นถึงสภาพทางสังคมและสถาบันทางการเมืองของกรีกโบราณ ซึ่งเรียกวา city-state หรือ นครรัฐ เพื่อที่จะทํ าความเขาใจวา ภายใตสภาพแวดลอมของสังคมแบบใด ที่ทํ าใหนักปรัชญาคิดคนแนวคิดทางการเมืองออกมาแบบนั้น

1. สถาบันทางการเมืองของกรีกนครรัฐกรีก คือระบบการปกครองที่แตละนครรัฐ มีอํ านาจอธิปไตยเปนของตัวเอง

รัฐบาลมีอํ านาจที่จะดํ าเนินนโยบายทั้งภายในและภายนอกประเทศได แตละนครรัฐเขามารวมอยูดวยกันในลักษณะที่ตางฝายตางมีอํ านาจอธิปไตยเปนของตัวเอง

สภาพทางสังคมของกรีกมีลักษณะที่เปนชนชั้น ซึ่งแบงออกไดเปน 3 ประเภทคือ1. ทาส (slave) เปนชนชั้นตํ่ าสุดของสังคม ซึ่งในสมัยโบราณถือเปนเรื่อง

ธรรมดาที่ขาดไมไดของสังคม ทาสมีจํ านวนมากและทํ าหนาที่เปนผูผลิต ทํ างานหนัก โดยมากเปนงานที่ใชแรงกาย กลาวกันวาในนครรัฐใหญ ๆ เชน เอเธนส นั้น มีทาสอยูประมาณ 1 ใน 3 ของจํ านวนพลเมืองทั้งหมด ทาสในสมัยกรีกไมถือวาเปนพลเมือง (citizen) เชนเดียวกับผูหญิงก็ไมถือวาเปนพลเมืองเชนเดียวกัน

2. คนตางดาว (metics) หมายถึงคนตางแดนที่เขาไปประกอบอาชีพในรัฐอื่น และเนื่องจากเขาไปประกอบอาชีพเปนระยะเวลาหลายป บางคนแตงงานและสรางครอบครัวขึ้น แตวาถึงแมจะอยูมาหลายชั่วอายุคน แตพวกคนตางดาวก็ยังไมไดรับการยอมรับวาเปนพลเมืองของเมืองนั้น พวกนี้จึงไมมีสิทธิตาง ๆ ตามที่พลเมืองของรัฐนั้น ๆ พึงมี เชน การเขารวมปฏิบัติหนาที่ในสภาเมือง หรือสิทธิในการแตงตั้งใหทํ าหนาที่สํ าคัญ ๆ ตาง ๆ คนตางดาวพวกนี้ภายหลังเพิ่มจํ านวนมากขึ้น และไดสรางแนวความคิดทางการเมืองของตัวเองขึ้นมา (อานแนวความคิดของพวกซินนิค ในหนา ของหนังสือเลมนี้

3. พลเมือง (citizen) พวกพลเมืองถือวาเปนชนชั้นสูงสุดของสังคม ในทางการเมืองถือวาเปนบุคคล จึงมีสิทธิที่จะใชชีวิตทางการเมือง มีสิทธิในการเขารวมกิจกรรมทาง

สภาพสังคมกรีกต้ังอยูบนพื้นฐานของระบบชนช้ัน ไมใชสังคมแหงความเทาเทียม เพราะแบงคนเปนหลายชนช้ัน

Page 3: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 47 -

การเมือง ในแงนี้พวกกรีกโบราณที่เปนพลเมืองเทานั้น จึงสามารถเขาไปปฏิบัติหนาที่ในสภาเมือง (general assembly) ได

ในยุคกรีกโบราณนี้ มีความคิดวา บุคคลเกิดมาในสังคมตางกัน จึงมีหนาที่ตอสังคมตางกันไปดวย คนที่เกิดมาเปนทาสก็ตองทํ าหนาที่แบบทาส เกิดมาเปนพลเมืองก็มีหนาที่ทางการเมือง สังคมในกรีกจึงอยูบนพื้นฐานของชนชั้น การไดเปนพลเมืองจึงถือวาเปนเกียรติของชาวเอเธนส

สํ าหรับรูปแบบการปกครองในกรีกนั้น จะยกตัวอยางนครรัฐเอเธนส (athens) ซึ่งเปนนครรัฐที่มีรัฐธรรมนูญ และถือเปนรูปแบบที่ดีที่ สุดของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สถาบันทางการเมืองของกรีกประกอบดวย 4 สถาบันคือ สภาเมือง สภาหารอย, สภาสิบนายพล (council of the 10 generals) และศาล

ในนครรัฐเอเธนสนั้นพลเมืองทุกคน (เฉพาะผูชายที่มีอายุ 20 ปขึ้นไปถึงจะเปนพลเมือง ผูหญิงไมใชพลเมือง) จะมีสิทธิในเขารวมประชุมในสภาเมือง ประชาธิปไตยในกรีกจึงเปนประชาธิปไตยทางตรง คือพลเมืองเขารวมประชุมไดหมดทุกคน ไมเหมือนในปจจุบัน ซึ่งเปนระบอบประชาธิปไตยทางออมหรือระบอบประชาธิปไตยแบบมีสภาผูแทน โดยประชาชนเลือกผูแทนของตนเขาไปออกกฎหมายในรัฐสภา

องคการการปกครองที่สํ าคัญของนครรัฐเอเธนสอีกองคการคือ ฝายบริหารที่มีสมาชิก 500 คน เรียกวาสภาหารอย สมาชิกในสภานี้ไดรับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนจากเผาตาง ๆ ที่มีอยู 10 เผาในเอเธนส สมาชิกจะเขาประชุมกับสภาเมือง และแบงการทํ างานคราวละ 50 คนไปจนครบทั้ง 500 คนภายในระยะเวลา 1 ป สภาหารอยนี้ เดิมทํ าหนาที่เสมือนคณะกรรมาธิการ คือรับฟงเรื่องราวจากผูแทนของประชาชน ศึกษาและพิจารณาเพื่อนํ าเขาสภาเมือง ตอมาสภาหารอยมีอํ านาจมากขึ้นคือ มีอํ านาจในการปกครองและอํ านาจบริหารดวย นอกจากนี้สภานี้ยังทํ าหนาที่ความสัมพันธระหวางรัฐ การเงิน ภาษี อาวุธ และกํ าลังทหาร จึงกลาวไดวาสภาหารอยนี้มีอํ านาจเสมือนคณะกรรมาธิการตาง ๆ ของรัฐสภานั่นเอง

นอกจากนี้ยังมี สภาสิบนายพล ไดแกคณะกรรมาธิการเกี่ยวกับการวางนโยบาย ซึ่งประกอบดวยนายพลทหารจํ านวน 10 คน ซึ่งไดรับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน โดยจะมีผูหนึ่งทํ าหนาที่ประธานของคณะกรรมการ ซึ่งมีอํ านาจมากเทียบเทานายกรัฐมนตรีในปจจุบัน สามารถวางแผนกํ าหนดนโยบาย ตัดสินใจ และมีหนาที่เปนประมุขของรัฐ

สถาบันทางการเมืองตอไปที่จะพูดถึงคือ ศาล ซึ่งมีความแตกตางจากฐานะของศาลในปจจุบัน โดยศาลในปจจุบันศาลมีหนาที่เปนผูตัดสินและบังคับใชกฎหมายเทานั้น แตศาลในสมัยกรีกมีอํ านาจมากกวานั้น ศาลของกรีกประกอบดวยผูพิพากษาที่เปนพล

ระบอบการปกครองในสมัยกรีกเปนระบบประชาธิปไตยทางตรง

สภาเมือง มีสมาชิกคือพลเมืองทุกคน มีหนาที่ออกกฎหมายสภาหารอย คือตัวแทนจากเผาตาง ๆ ทํ าหนาที่เหมือนคณะกรรมาธิการตาง ๆ ของรัฐgouncil ทํ าหนาที่เหมือนคณะรัฐมนตรีศาล มีอํ านาจในการชี้ผิดถูก และตัดสินลงโทษ

Page 4: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 48 -

เมือง ในการตัดสินคดีจะมีผูพิพากษาที่มาจากประชาชนนี่เองที่เขามาตัดสิน ศาลจึงมีอํ านาจเด็ดขาดในการชี้ผิดถูก รวมทั้งมีอํ านาจในการตัดสินโทษอีกดวย เชนการตัดสินใหโสเครติส อาจารยของเพลโตกินยาฆาตัวตาย เพราะศาลตัดสินวาโสเครติสเปนบุคคลที่ทํ าเรื่องยุงยากใหแกนครรัฐเอเธนส นอกจากหนาที่ในการตัดสินคดีแลว ศาลยังมีอํ านาจควบคุมการปฏิบัติงานของคณะผูแทนและสภาหารอย

2. แนวคิดทางการเมืองของยุคกรีกสํ าหรับในเรื่องแนวความคิดทางการเมืองในยุคกรีกนี้ จะขอยกบุคคลซึ่งมีความ

สํ าคัญในทางความคิดทางการเมืองมา 2 คน คือเพลโต และอริสโตเติล เพลโต (Plato)เพลโตมีชีวิตอยูในชวงป 427 – 347 กอนคริสตกาล เขาเกิดในครอบครัวผูดี

(aristocracy) เพลโตเปนลูกศิษยของโสเครตีส (socrates) ซึ่งเปนนักปรัชญาที่มีชื่อเสียงมาก แตโสเครตีสถูกตัดสินประหารชีวิตจากสภาวามีความผิดในขอหาบอนทํ าลายความสงบสุขของประชาชน เขาจึงไดรับโทษโดยการใหดื่มยาพิษตาย ในการนี้จึงทํ าใหเพลโตตอตานการปกครองในลักษณะคนหมู มากหรือประชาธิปไตย เพราะเห็นวาระบอบประชาธิปไตยคือระบอบของคนหมูมาก ซึ่งคนหมูมากอาจจะเปนกลุมคนที่ไมมีความรูก็ได เขาสนับสนุนกษัตริยนักปราชญ (philosopher king)

เพลโตไดตั้งสํ านักสอนวิชาขึ้น ชื่อวาอะคาเดมี academy โดยเพลโตจะไปสนทนากับลูกศิษยของเขาใน academy นี้เปนประจํ า และมีลูกศิษยที่มีชื่อเสียงอีกคนหนึ่งคืออริสโตเติล ซึ่งเปนคนสํ าคัญที่มีอิทธิพลตอความคิดทางการเมืองในสมัยตอมา

เพลโตไดรับการยอมรับวาเปนนักอุดมคติ (idealist) เขามองวาทุกส่ิงทุกอยางควรจะดีที่สุดเทาที่มันสามารถเปนไปได ถามันเปนส่ิงที่ดีที่สุดแลวส่ิงนั้นจะกลายเปนสากล แนวความคิดทางการเมืองของเพลโตจึงเปนอุดมคตินิยม หลาย ๆ อยางอาจจะใชในโลกของความเปนจริงไมได แตก็อาจใชเปนแบบอยางของโลกแหงความจริงในการเขาใกลอุดมคตินั้น ๆ

เพลโตเขียนหนังสือไวหลายเลม ที่เดน ๆ คือ The Republic (สาธารณรัฐ), The Statesman (รัฐบุรุษ) และ The Laws (กฎหมาย) ซึ่งจุดเดนในแตละเรื่องเปนดังนี้

The Republicหนังสือเรื่อง The Republic เปนการเขียนที่ออกมาในรูปแบบของบทสนทนา

(dialogue) ซึ่งเพลโตไดแฝงความคิดของเขาไวในบทสนทนาเหลานั้น บทสรุปของ The Republic อาจจะมองไดดังนี้

เพลโตในวัยหนุมและเพลโตในวัยชรามีแนวความคิดตางกันอยางไร?

เพลโตบอกวา เฉพาะนักปราชญเทานั้น ที่รูวาความดีคืออะไร จึงเปนนักปราชญเทานั้นที่สามารถเปนผูปกครอง

Page 5: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 49 -

1. คุณงามความดีคือความรู (virtue is knowledge) ความคิดพื้นฐานของ The Republic คือความคิดที่วาคุณงามความดีคือความรู (virtue is knowledge) มนุษยจะตองเรียนรูส่ิงที่ดีเหลานี้โดยการแสวงหา สืบเสาะ สังเกต เพื่อที่จะสรางสังคมในอุดมคติ แตคนที่จะคนพบความดีงามนี้ไมใชคนธรรมดา แตเปนคนบางประเภทก็คือนักปรัชญา ซึ่งควรจะใหพวกเขาปกครองบานเมือง เพราะเขาจะคนพบความดีงามนี้ใหกับรัฐ ดังนั้น รัฐที่ดีคือรัฐที่ใหผูมีความรูปกครองรัฐ เพลโตจึงใหวิธีแกรัฐในการฝกฝนคนใหมาปกครองดวยวิธีการตาง ๆ

2. ไมสนับสนุนประชาธิปไตย เนื่องจากเพลโตเชื่อวาคนทีเปนผูปกครองควรเปนผูที่มีความรู เพลโตจึงไมสนับสนุนการปกครองแบบประชาธิปไตย ซึ่งเปนการปกครองโดยคนหมูมาก ซึ่งคนจํ านวนมากอาจจะหาคนที่มีความรูจริง ๆ ไดยาก ขาดระเบียบวินัยและไรสมรรถภาพ นอกจากนี้ระบบประชาธิปไตยยังเปนระบบที่มีการแบงพรรคเปนพวก ในรูปแบบของพรรคการเมือง ซึ่งเพลโตมองวาการแบงออกเปนพรรคการเมืองนี้ทํ าใหคนจงรักภักดีกับกลุมของตัวเองมากเกินไป

3. การแบงงานกันทํ า เพลโตเชื่อวาในสังคมมนุษย ควรจะมีการแบงงานกันทํ า ตางคนตางควรทํ างานที่ตัวเองถนัด เพื่อที่จะสามารถจัดระบบบริการใหแกกันอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด ในความคิดของเพลโต รัฐจึงมีหนาที่เปรียบเสมือนองคกรกลางที่จะจัดระบบบริการใหดีที่สุดและสอดคลองกันมากที่สุด และผูที่จะจัดระบบไดดีที่สุดนี้จึงเปนนักปราชญ ซึ่งจะไดรับการยกยองใหเปนผูปกครอง นอกจากนี้เพลโตแบงชนชั้นในรัฐอุดมคตินี้เปน 3 ชนชั้น ชนชั้นแรกเปนผูผลิต ซึ่งจะทํ างานที่ใชแรงกายเพื่อผลผลิตทางเศรษฐกิจ ชนชั้นที่สองคือกลุมทหาร ซึ่งมีความเหมาะสมกับงานจับอาวุธ ปองกันรัฐจากการรุกรานภายนอก คนกลุมที่สามคือชนชั้นปกครอง ถามีคนเดียวจะเรียกวา กษัตริยนักปราชญ ซึ่งจะตองมีคุณสมบัติพิเศษที่ตองไดรับการฝกฝนจากรัฐเปนพิเศษ โดยแยกออกมาจากพอแมตั้งแตเด็ก ๆ แลวใหรัฐส่ังสอน

4. ความกลมกลืนระหวางผลประโยชนของรัฐและผลประโยชนของบุคคล เพลโตเชื่อวาอะไรที่ดีสํ าหรับบุคคลก็เปนส่ิงที่ดีสํ าหรับรัฐ เปนเพราะบุคคลไมสามารถอยูอยางโดดเดี่ยวได รัฐจึงถูกตั้งขึ้นมาเพื่อที่จะตอบสนองความตองการของบุคคล ดังนั้นรัฐที่ดีก็คือรัฐที่มีผลประโยชนเดียวกับประชาชน ถารัฐใดที่มีผลประโยชนตางออกไปกับผลประโยชนของประชนชน รัฐนั้นจะประสบภาวะอันตราย

5. รัฐจะตองใหความยุติธรรม สํ าหรับเพลโต ความยุติธรรมก็คือ การใหทุก ๆ คนในสิ่งที่เขาควรจะได ซึ่งก็คือผลตอบแทนที่สังคมจะมอบใหแกบุคคลตามกํ าลังและความสามารถของบุคคลนั้น ๆ ดวยเหตุนี้ความยุติธรรมของเพลโตจึงไมใชความหมายของ

เพลโตไมชอบประชาธิปไตย เพราะเห็นวาเปนระบอบการปกครองที่ไรเหตุผล

เพลโตมองวาการแบงคนออกเปนพรรคการเมืองทํ าใหคนจงรักภักดีกับกลุมของตัวเองมากเกินไป

Page 6: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 50 -

ความยุติธรรมที่เราเขาใจในปจจุบัน เพราะความยุติธรรมของเพลโตก็คือความเหมาะสมของการใหและรับบริการในรัฐ

6. ลักษณะสังคมแบบคอมมิวนิสต สํ าหรับการแบงชนชั้นออกเปน 3 ชนชั้นที่ไดกลาวมา เพลโตใหความสํ าคัญกับชนชั้นทหารและผูปกครองมากเปนพิเศษ เพราะเปนผูกํ าชีวิตของความเปนรัฐ และพลเมืองทุกคนไว ในทรรศนะของเพลโต ชนชั้นเหลานี้จะดํ ารงชีวิตแบบคอมมิวนิสต คือตองไมมีทรัพยสินเปนของตัวเอง ซึ่งรวมถึงครอบครัวของตัวเองดวย ชนชั้นเหลานี้จะตองไมมีทรัพยสินสวนตัว หามมีบานหรือเงิน และตองมาอาศัยอยูรวมกัน ณ โรงทหาร และใชชีวิตเทาเทียมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งตองไมมีสามีหรือภรรยาเปนของตัวเอง เนื่องจากไมตองการใหเกิดการสะสมทรัพย อันเปนที่มาของการทุจริต ลูกที่เกิดมาภายในสังคมนี้ก็จะไมทราบวาใครเปนผูใหกํ าเนิดดวย รัฐจะเปนเจาของลูก ใหการศึกษา และอบรมอยางดีที่สุด ในความคิดของเพลโต คนที่จะเปนผูปกครองจึงไมควรมีความเห็นแกตัว คนที่จะเปนผูปกครองของรัฐตองเลิกทรัพยสินสวนตัวและสถาบันครอบครัว

The Statesman, The Lawsเพลโตเขียนหนังสือทั้งสองเลมหลังนี้ในบั้นปลายของชีวิต ถึงแมวามองดูเผิน ๆ แลว

หนังสือทั้งสองเลมนี้จะมีแนวความคิดที่แยงกับ the Republic เพราะทั้งสองเลมนี้ใหความสํ าคัญกับกฎหมาย แตเพลโตก็แสดงใหเห็นวา แนวความคิดในหนังสือทั้งสองเลมนี้ไมไดขัดแยงกับ the Republic แตเปนความพยายามในการแสวงหารัฐอุดมคติในอีกแบบหนึ่งสรุปความของหนังสือสองเลมเปนดังนี้

1. ความจํ าเปนของการใชกฎหมาย ในตอนที่เพลโตเขียนหนังสือเรื่อง The Statesman and the Laws นั้นเพลโตเขียนเมื่อเขาสูวัยชรา โลกในอุดมคติของเขาจึงดูรางเลือนไป เมื่อหาคนที่ดีที่สุดมาปกครองไมได เขาจึงเสนอใหพิจารณารัฐแบบที่สอง ที่ยกเอากฎหมายเปนส่ิงที่มีอํ านาจมากกวามนุษย เพลโตบอกวาความรูเปนส่ิงที่ดีที่สุดในการปกครองรัฐ รัฐใดที่มีความรูรัฐนั้นไมจํ าเปนตองใชกฎหมายก็ได แตในความเปนจริงเมื่อหาคนดีจริง ๆ มาปกครองไมได จึงตองใขหลักการของกฎหมายเขามาปกครอง

2. แนวความคิดคอมมิวนิสตดูออนลง ในหนังสือ The Republic นั้น เพลโตใชแนวความคิดคอมมิวนิสตรุนแรง คือหามมีสมบัติสวนตัวอยางเด็ดขาด แตใน The Laws นั้น แนวความคิดของเขาในเรื่องคอมมิวนิสตดูออนลงมาก โดยมีการแบงปนที่ดินอยางเทาเทียมกัน แตตองใชเพื่อสวนรวม ไมใชเพื่อสวนตัว และยังหามมีระบบเงินตรา สวนระบบครอบครัวนั้นสามารถมีได โดยในชวง 10 ปแรกจะตองอุทิศชีวิตครอบครัวใหกับรัฐ จากนั้น

แนวความคิดหลักของThe Republic มีความแตกตางจาก TheStatesman and theLaw อยางไร?

Page 7: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 51 -

การควบคุมโดยรัฐก็จะหมดลง สวนบุตรที่เกิดมาจะไดอยูกับพอแมจนถึงอายุ 7 ปแลวถึงจะสงตัวไปใหรัฐใหการศึกษาอบรม

3. งานศิลปะคือการปกครองรัฐ เพลโตเชื่อวาผูมีความสามารถในการปกครองรัฐก็คือศิลปนคนหนึ่ง ซึ่งจะรูดีวาอะไรคือส่ิงที่ดีงามและถูกตองสํ าหรับรัฐ ดังนั้นเพลโตจึงไมตอตานเผด็จการ และยอมรับวาผูถูกปกครองไมควรตั้งคํ าถามแกผูปกครอง เพราะผูปกครองก็เหมือนศิลปน การที่ผูถูกปกครองเขาไปกาวกายงานของผูปกครอง จึงหมายความวาเปนการกาวกายศิลปนนั่นเอง

อริสโตเติล (Aristotle)อริสโตเติลเปนลูกศิษยที่เฉลียวฉลาดที่สุดของเพลโต เขามีความสนิทสนมกับเพล

โตเปนอยางดี ถึงแมวาจะมีแนวความคิดแตกตางกับเพลโตในหลาย ๆ เรื่องก็ตาม นอกจากสาขาวิชารัฐศาสตรแลว อริสโตเติลใหความสนใจกับศาสตรหลายหลากแขนง ทั้งดานสังคมศาสตร ตรรกศาสตร วิทยาศาสตรและแพทยศาสตร เขาเคยเปนครูของลูกชายของผูปกครองรัฐมาซีโดเนีย (Macedonia) ชื่อ อเล็กซานเดอร (Alexander) ซึ่งในภายหลังไดทํ าสงครามรุกรานนครรัฐตาง ๆ ทํ าใหประชาชนในเอเธนสพากันตอตานพระเจาอเล็กซานเดอร รวมทั้งตอตานอริสโตเติลซึ่งเปนครูของพระองคไปดวย จนกระทั่งเขาตองหลบหนีไปยังเมืองเล็ก ๆ แหงหนึ่งและตองอยูที่นั่นจนวาระสุดทายของชีวิต

อริสโตเติลไดเขียนหนังสือไวหลายเลม หนังสือเลมที่เกี่ยวกับการเมืองและมีชื่อเสียงมากที่สุดของเขาก็คือหนังสือเรื่อง Politics ซึ่งสามารถสรุปแนวความคิดของเขาไดดังนี้

1. มนุษยเปนสัตวการเมือง มนุษยจึงตองมาอยูรวมกันเพื่อความปลอดภัย และตอบสนองบริการที่จํ าเปนใหแกกัน เพื่อใหชีวิตดํ ารงอยูได ซึ่งในการนี้จะตองมีการจัดระบอบการปกครองเพื่อรักษาความสงบสุขและความยุติธรรม

2. แนวคิดเกี่ยวกับรัฐ รัฐเปนประชาคมการเมืองขั้นสูงสุด ซึ่งรับรองความสงบสุขทั้งหมดของประชาชน โดยมีจุดมุงหมายอยูที่ความดีอันสูงสุดเหนือความดีทั้งมวล อริสโตเติลมองวามนุษยตางกับสัตวที่รวมอยูกันเปนกลุม ๆ เพราะนอกจากจะเพื่อปองกันอันตรายแลว มนุษยยังอยูรวมกันเพื่อสรางสิ่งดี ๆ ในสังคมอีกมาก มนุษยจึงไมอาจอยูลํ าพังในโลกได สํ าหรับอริสโตเติล ส่ิงที่ไมไดอยูในระบบการเมือง หากไมใชสัตว (beast) ก็ตองเปนเทวดา (god)

3. สนับสนุนหลักการปกครองโดยกฎหมาย อริสโตเติลมีความแตกตางจากเพลโตมากในประเด็นของการปกครองตรงที่วา อริสโตเติลเปนนักวิทยาศาสตร หรืออีกนัยหนึ่งคือเปนนักปฏิบัติ ดวยเหตุนี้เขาจึงไมเห็นดวยกับเพลโตที่เสนอใหหาคนที่มีความรูมาปก

จริงหรือไม ที่อริสโตเติลไมไดสนับสนุนการปกครองแบบประชาธิปไตยแลวเขาสนับสนุนการปกครองแบบใด ?

Page 8: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 52 -

ครองประเทศ เพราะอริสโตเติลเขาใจถึงลักษณะธรรมชาติของมนุษยวามีความเห็นแกตัวและเอารัดเอาเปรียบ เขาจึงไมเชื่อในการปกครองโดยบุคคล ไมวาบุคคลนั้นจะมีความเฉลียวฉลาดเพียงใด ดังนั้นการปกครองที่ดีจึงตองปกครองโดยกฎหมาย (rule of law) ซึ่งอริสโตเติลเห็นวากฎหมายที่ดีคือกฎหมายที่ชวยรักษาความยุติธรรมของสังคมไวได และความยุติธรรมก็จะเปนส่ิงที่ผูกพันใหมนุษยในสังคมใหอยูรวมกัน

4. สนับสนุนใหมีการถือครองสมบัติสวนตัว เปนส่ิงที่อริสโตเติลเห็นขัดแยงกับเพลโตเชนเดียวกัน เพราะอริสโตเติลคิดวามนุษยควรจะมีสมบัติสวนตัว เพราะวาเปนส่ิงที่ชวยในการดํ ารงชีพ มนุษยตองกิน ตองนุงหม และมีที่พักอาศัย ดังนั้นจึงเปนเรื่องธรรมชาติที่มนุษยตองมีสมบัติสวนตัว สวนในเรื่องคอมมิวนิสตของชนชั้นปกครองตามแนวคิดของเพลโตนั้น อริสโตเติลไมเห็นดวย เพราะเขาไมเชื่อวาจะมีมนุษยที่สามารถอุทิศใหแกรัฐไดถึงเพียงนั้น อริสโตเติลตั้งขอสังเกตวาชนชั้นปกครองเหลานี้อาจะทะเลาะเบาะแวงกันเองก็ได เนื่องจากใชของรวมกัน อยูดวยกัน หลับนอนรวมกัน และเขาไมเชื่อวาระบบคอมมิวนิสตซึ่งเปนระบบในอุดมคติจะเปนจริงได

5. อริสโตเติลเสนอรูปแบบของระบบการเมืองเปน 6 ประเภท ซึ่งแสดงเปนผังไดดังนี้

ผูปกครองคนเดียว กลุมผูปกครอง คนหมูมากระบบดี monarchy aristocracy polityระบบไมดี tyranny oligarchy democracy

หมายเหตุmonarchy = ระบบกษัตริย หรือราชาธิปไตย

aristocracy = ระบบขุนนาง หรืออภิชนาธิปไตยpolity = ระบบรัฐธรรมนูญ

tyranny = ระบบธรราชยoligarchy = ระบบพวกพอง หรือ คณาธิปไตย

democracy = ระบบประชาธิปไตย

จะเห็นไดวาอริสโตเติลมีทัศนะที่ไมดีเกี่ยวกับระบอบประชาธิปไตย เพราะเขามองวาประชาธิปไตยเปนระบอบการปกครองที่ไมคํ านึงถึงราษฎร ปลอยใหอํ านาจทางการเมืองขึ้นอยูกับกรรมการหรือสภา ซึ่งชอบใชอํ านาจอยางฟุมเฟอย หากแตการปกครองแบบรัฐธรรมนูญ (polity) นั้นคือการปกครองที่ประชาชนที่มีอํ านาจทางการเมืองจะไมมีโอกาสไดใชอํ านาจนั้น แตผูที่ใชอํ านาจคือผูบริหารที่ไมมีอํ านาจทางการเมือง

เพราะเหตุใดการปกครองโดยชนชั้นกลางจึงเปนการปกครองที่ดีที่สุดในสายตาของอริสโตเติล ?

Page 9: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 53 -

6. สนับสนุนโพลิตี้ หรือรัฐที่ปกครองโดยชนชั้นกลาง ในทัศนะของอริสโตเติล การปกครองแบบรัฐธรรมนูญ (polity) คือรูปแบบรัฐที่ปกครองโดยชนชั้นกลางโดยอาศัยรัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครอง สาเหตุที่เขานิยมชมชอบในชนชั้นกลางเนื่องจากเขาพบวา รัฐทั่ว ๆ ไปมักจะประกอบไปดวยคน 3 ชั้น คือ พวกรํ่ ารวย ซึ่งมักจะมีจํ านวนไมมาก เห็นแกตัวและขาดความเห็นอกเห็นใจและไมมีเหตุผล พวกยากจน ซึ่งมีจํ านวนมาก แตมีความตองการที่ไมส้ินสุดและมีความละโมภ จึงเปนกลุมที่ขาดเหตุผลเชนเดียวกัน ถาใหคนสองกลุมอยูรวมกันในรัฐจะเกิดการปะทะระหวางสองกลุม ดังนั้นชนชั้นกลางจึงเปนกลุมคนที่มีเหตุผลมากกวาเพื่อน เพราะไมเห็นแกตัวแบบคนมั่งมี และไมละโมภแบบพวกยากจน

แนวคิดทางการเมืองปลายยุคกรีก

ถึงแมวานครรัฐกรีกจะเสื่อมสลายไปในที่สุด แตแนวคิดทางการเมืองของเพลโตและอริสโตเติลไดถูกนํ ามากลาวถึงอยูเสมอ และมีอิทธิพลตอแนวความคิดทางการเมืองของคนในยุคตอ ๆ มาโดยตลอดเวลา แตกระนั้นก็ดีในยุคโรมันนี้ก็มีนักคิดอยูสองพวกที่ตอตานระบบนครรัฐแบบของเพลโตและอริสโตเติล และไมห็นดวยกับปรัชญาของทั้งสองคน คือ อิพิคูเรียน (Epicureans) และซินิค (Cynics) สวนกลุมสโตอิค (Stoics) ซึ่งเปนกลุมสุดทายที่จะกลาวถึงนั้น มีอิทธิพลตอการปกครองของโรมันมาก

กลุมอิพิคิวเรียนแนวความคิดนี้เกิดจากนักคิดชาวเอเธนสที่ชื่อ เอ็มพิคูรัส (Empicurus) มีแนวคิด

พื้นฐานความคิดตางกับเพลโตและอริสโตเติลอยางมาก สวนใหญเพราะพวกอีพิคูเรียนเปนกลุมที่คอนขางรํ่ ารวย วัตถุนิยม และมีทรัพยสินมาก จึงมีแนวคิดที่สํ าคัญคือ การแสวงหาความสุขและการรักษาความมั่นคงทางทรัพยสินเปนจุดประสงคทางการเมือง

1. มนุษยที่อยูรวมกันในสังคมไมจํ าเปนตองพึ่งพาอาศัยกัน เพราะมนุษยแตละคนมีทุกส่ิงทุกอยางสมบูรณ มนุษยจึงควรหลีกเลี่ยงเรื่องราวที่จะทํ าใหเกิดความเจ็บปวด กังวลใจ โดยการใชชีวิตในทางการเมือง การที่บางคนไปยุงเกี่ยวกับการเมืองนั้นเปนเพราะสถานการณบังคับ ซึ่งเปนส่ิงที่ตางจากอริสโตเติลที่บอกวาทุกคนมีสวนรวมในการเมือง แตอิพิคิวเรียนบอกวาชีวิตที่ดีงามคือชีวิตที่ตัดส่ิงยุง ๆ นี้ออกไปเสีย และหาความสุขใหแกตัวเองอยางเต็มที่

พวกอิพิคิวเรียน เปนกลุมคนรํ่ ารวย จึงมีแนวความคิดทางการเมืองที่นิยมความสุขและความมั่นคงในชีวิต

Page 10: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 54 -

2. รัฐกอตัวขึ้นมาดวยจุดประสงคที่จะรักษาไวซึ่งความมั่นคงปลอดภัยของบุคคล คือปองกันไมใหมีการแทรกแซงหรือถูกทํ ารายจากบุคคลอื่น ดังนั้นการมีกฎหมายก็คือการตกลงกันอยางเปนทางการวาจะไมทํ ารายกัน

3. นิยมระบบกษัตริย พวกอิพิคิวเรียนจะนิยมระบบกษัตริยมากกวาระบบอื่น เพราะเชื่อวาเปนระบบที่แข็งแกรงและรับประกันความปลอดภัยไดดีกวา

กลุมซินนิคนครรัฐกรีกโบราณมีการแบงชนชั้นเปน 3 ชนชั้น ซึ่งชนชั้นที่จะมีสิทธิทางการเมือง

ชนชั้นเดียวก็คือพลเมืองหรือ citizen สวนทาสและชาวตางดาวไมมีสิทธิใด ๆ ในทางการเมือง สมาชิกของพวกซินนิคประกอบไปดวยกลุมคนที่เปนคนตางดาวพวกนี้ พวกซินนิคไมไดรับการยอมรับวาเปนพลเมือง จึงถูกกดดันอยูในสังคมที่แบงเปนชนชั้นของกรีกโบราณ กลุมนี้โจมตีระบบนครรัฐของกรีกอยางรุนแรงกวากลุมแรก เราสามารถสรุปแนวความคิดไดเปนดังนี้

1. ตอตานพวกผูดี พวกซินนิคเผยแพรปรัชญาของตนใหกับพวกชนชั้นยากจน และสอนใหคนยากจนเกลียดชังตอผูดี และตอตานการแบงชนชั้นโดยมีเหตุผลวา ทรัพยสินและฐานะทางสังคมไมไดเปนตัวแบงแยกคนออกเปนชนชั้น ในทางตรงกันขามความฉลาดตางหากที่เปนการแบงแยกใหเห็นความแตกตางระหวางคนฉลาดกับคนโง

2. สรางสังคมใหม พวกซินนิคมีแนวคิดที่จะสรางสังคมใหมที่ไมมีการครอบครองทรัพยสิน ไมมีระบบครอบครัว ไมมีชาติหรือกฎหมาย เพราะมนุษยทุกคนฉลาด สามารถปกครองตัวเองไดอยูแลว แนวความคิดของพวกซินนิคจึงเปนแนวความคิดของพวกอนาธิปไตย (anarchism) คือการปกครองแบบไมมีผูปกครองหรือการปกครองแบบไรรัฐ ไมมีอํ านาจอธิปไตยนั้นเอง

พวกสโตอิค (Stoics)พวกสโตอิค เดิมเปนกลุมเดียวกับพวกซินนิค แตภายหลังมีความคิดเปนของตัวเอง

และแยกออกมาเปนอีกแนวความคิดหนึ่ง แนวคิดนี้มีอิทธิพลตอความคิดทางการเมืองของชาวโรมันและตอแนวความคิดในสมัยหลังมาก และเปนตนกํ าเนิดแนวความคิดของรัฐบาลโลก (world-state) หรือเรียกวาอาณาจักรแหงภราดรภาพ (universal of brotherhood) ในปจจุบันอีกดวย เราสามารถสรุปแนวความคิดของพวกสโตอิคไดดังนี้

1. รัฐบาลโลกและกฎของพระเจา พวกสโตอิคเชื่อม่ันในพระเจา ถือวาทุกคนเกิดมาเปนลูกของพระเจาทั้งนั้น จึงควรจะเปนพี่นองกัน จากแนวความคิดนี้ทํ าใหเกิดความคิดเรื่องรัฐบาลโลก คือทุกคนจะเปนพลเมืองดวยกันภายใตกฎหมายธรรมชาติ (natural law) ก็คือกฎที่วาดวยอะไรถูก อะไรผิด ดวยกฎอันเปนนิรันดรของพระเจา

ปจจุบันเราใชแนวความคิดของพวกสโตอิคมาสนับสนุนความคิดของการสรางองคการระหวางประเทศ

พวกซินนิคเปนคนตางดาวที่เคยถูกรัฐกดขี่มาตลอด จึงไมตองการการปกครองแบบที่ตองมีรัฐบาล

Page 11: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 55 -

2. ความเสมอภาค เนื่องจากพวกสโตอิคเชื่อวามนุษยเกิดมาเปนพี่นองกัน พวกสโตอิคจึงเชื่อในความเทาเทียมกันของมนุษยโดยไมตัดสินจากฐานะทางสังคม นอกจากนี้พวกสโตอิคยังตอตานระบบทาสอีกดวย

กลุมสโตอิค เปนกลุมปรัชญาทางการเมืองรุนสุดทายของกรีกโบราณ ที่สามารถเชื่อมโยงกับอารยธรรมโรมันตอไปได เราจะเห็นตอไปวาชาวโรมันนํ าเอาความคิดของสโตอิคไปมากมาย

ความคิดทางการเมืองยุคโรมัน

ลักษณะของแนวความคิดทางการเมืองยุคโรมันโดยทั่วไปแลวพวกกรีกจะเปนนักคิด คือ คิดหาสิ่งที่ดี ส่ิงที่ถูกตอง ดีงาม และมี

ความยุติธรรม สวนพวกโรมันจะเปนนักปฏิบัติหรือนักถายทอดความคิดมากกวา ถึงแมวาชาวโรมันจะไมสามารถคิดคนปรัชญาไดอยางเพลโตหรืออริสโตเติล แตชาวโรมันก็สามารถนํ าแนวความคิดนั้นมาอธิบาย ตีความ เผยแพรและปฏิบัติ จนประสบความสํ าเร็จ สรางจักรวรรดิ์ขนาดใหญที่มีความสลับซับซอนได ความยิ่งใหญของชาวโรมันจึงขึ้นอยูกับวาพวกเขาไดนํ าเอาแนวความคิดเหลานี้ไปปฏิบัติ และปฏิบัติไดสํ าเร็จจนกระทั่งเปนหลักปฏิบัติไปทั่วโลกจนถึงปจจุบัน

ชื่อเสียงที่สํ าคัญของชาวโรมันก็คือ การสรางสถาบันทางกฎหมายอยางสมบูรณและดีที่สุด พวกเขาพยายามดัดแปลงกฎหมายใหอยูในรูปที่สามารถนํ าไปใชไดจริง ๆ และยังมีอาณาจักรที่กวางใหญเพื่อใชในการทดสอบระบบกฎหมายและการปกครอง ซึ่งมีหลักเกณฑตาง ๆ ที่ยังคงนํ ามาใชถึงปจจุบัน เชนเรื่องสิทธิของบุคคล เรื่องอํ านาจอธิปไตย เรื่องรัฐในแงกฎหมาย เปนตน พวกเขาแสดงใหเห็นวามนุษยเปนผูมีอํ านาจทางการเมืองที่แทจริง ไมใชพระเจา ดังนั้นชาวโรมันจึงถือวาผูปกครองคือผูที่รับอํ านาจไปจากประชาชน ประชาชนจึงเปรียบเสมือนหนวย ๆ หนึ่งในทางกฎหมายที่จะถูกลวงละเมิดมิได

อีกลักษณะหนึ่งที่นาสนใจยิ่งก็คือ เนื่องจากในยุคโรมันนี้มีการติดตอกันมากขึ้นระหวางชาวโรมันกับประชาชนของรัฐอื่น ๆ โดยเฉพาะในเรื่องการคาขาย เมื่อมีการติดตอกับชาวตางประเทศมากขึ้น ความจํ าเปนในการออกกฎระเบียบเพื่อควบคุมเรื่องการคาขายจึงมีมากขึ้นตามลํ าดับ กฎหมายดังกลาวนี้คือกฎหมายระหวางประเทศ ซึ่งเปนกฎธรรมชาติวางอยูบนพื้นฐานธรรมชาติวาอะไรเปนส่ิงที่ดีหรือไมดีและเปนสากล

ระบบกฎหมายแบบโรมันที่คิดขึ้นมาตั้งแตสมัยโรมัน ไดถูกนํ ามาใชกันทั่วไป จนกระทั่งถึงปจจุบัน

Page 12: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 56 -

ชิเซโร (Cicero)ชิเซโรเกิดในยุคเดียวกับซีซาร จักรพรรดิ์ที่สํ าคัญที่สุดคนหนึ่งแหงโรม เขาเปนนักคิด

ที่มีชื่อเสียงที่สุดของยุคโรมัน นอกจากนี้ยังเปนนักการเมืองและรัฐบุรุษที่มีอิทธิพลตอชาวโรมันอีกดวย แตในชวงปลายของชีวิต เขาไดแสดงสุนทรพจนที่เปนการโจมตีมารค แอนโทนี ซึ่งมีอํ านาจสูงสุดทางการเมืองทางการเมืองขณะนั้น ชิเซโรจึงถูกจับประหารชีวิตในป 43 กอนคริสตกาล

แนวความคิดของชิเซโรปรากฎอยูในหนังสือของเขาหลายเลม ซึ่งเปนแนวความคิดที่ไดรับอิทธิพลจากพวกสโตอิคถายทอดมาให หนังสือที่สํ าคัญของชิเซโรมีอยู 3 เลมคือ De Republica (สาธารณรัฐ), De Legibus (กฎหมาย) และ De Officiis (ตํ าแหนงหนาที่) หนังสือที่มีความสํ าคัญที่สุดคือ De Republica และ De Legibus ซึ่งอาจสรุปเปนใจความสํ าคัญไดดังนี้

1. รัฐคือสมบัติของประชาชน ชิเซโรมีความคิดวารัฐคือสมบัติของประชาชน เพราะรัฐคือการอยูรวมกันของบุคคลที่มีจุดประสงครวมกันวาจะสรางชีวิตที่ดีกวา รัฐที่ดีจึงมีรากฐานที่วาทุกคนในรัฐตองมีภาระตอกัน (mutual obligation) โดยมีเงื่อนไขในการอยูรวมกันนั่นก็คือบุคคลจะตองเคารพกันซึ่งสิทธิ เสรีภาพ และกฎเกณฑของความยุติธรรมระหวางกันอีกดวย (mutual recognition of rights)

2. รัฐใชอํ านาจในนามประชาชน การที่รัฐเปนสมบัติของประชาชนดังนี้ รัฐจึงตองใชอํ านาจในนามประชาชน เพราะประชาชนเปนที่มาของอํ านาจ รัฐบาลจะเปนตัวกลางที่นํ าเอาเจตนารมณของประชาชนไปใชใหบรรลุจุดหมาย ซึ่งไดกลายเปนแนวความคิดทางการเมืองที่โลกตะวันตกไดนํ าไปใชอยางแพรหลาย

3. กฎหมายธรรมชาติ ชิเซโรเชื่อเรื่องกฎหมายธรรมชาติ (natural law)ซึ่งถือวาเปนหลักของความถูกตองที่สอดคลองกับกฎของธรรมชาติ มันจะเปนกฎที่ใชไดตลอดไป ไมเปล่ียนแปลงและจะเปนจริงอยูเชนนั้นตลอดไป การเปลี่ยนแปลงแกไขกฎนี้จะถือเปนบาปแมวาจะแกไขเพียงบางตอนก็ตาม กฎหมายนี้มาจากพระเจา ซึ่งเปนผูราง ผูประกาศ และผูบังคับใช นอกจากนี้ภายใตหลักกฎหมายนี้ทุกคนจะตองเสมอภาคกัน ซึ่งถึงแมจะไมใชความเสมอภาคในทางทรัพยสินหรือการศึกษา แตเปนความเสมอภาคในการมีเหตุผล

4. ชิเซโรไมสนับสนุนระบอบการปกครองแบบนครรัฐของกรีก และเนนวาระบอบการปกครองของโรมันเปนระบอบการปกครองที่ดีที่สุด นอกจากนี้ถึงแมวาชิเซโรจะเห็นดวยกับการแบงรัฐเปน 6 ประเภทตามอริสโตเติล แตชิเซโรเห็นวา การปกครองที่ดีที่สุดนั้นจะตองเปนการผสมผสานระหวาง ราชาธิปไตย (monarchy) อภิชนาธิปไตย

ทานคิดวาหลักใหญใจความของแนวความคิดของซิเซโรคืออะไร

Page 13: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 57 -

(aristocracy) และประชาธิปไตย (democracy) เพื่อเปนรูปแบบการปกครองที่มีเสถียรภาพและปองกันทรราชย

5. หนังสือเรื่อง De Officiis เปนหนังสือที่เขียนแบบพอเขียนจดหมายถึงลูก ซึ่งพยายามใหคํ าแนะนํ าลูกในเรื่องตาง ๆ ทางการเมือง โดยเขายํ้ าวา ผูปกครองตองใหบริการแกประชาชนและตองระลึกวาการกระทํ าตาง ๆ ตองสงผลถึงความดีงามของรัฐ ในอีกทางหนึ่งหนังสือเรื่อง De Officiis นี้จึงเปนหนังสือที่ใหแนวปฏิบัติมากกวาทฤษฎี

แนวคิดทางการเมืองยุคกลาง

สภาพสังคมและวัฒนธรรมในยุคกลางเมื่อพูดถึงยุคกลาง เราจะหมายถึงพัฒนาการของสังคมมนุษยชวงระหวางอารย

ธรรมโรมัน และกอนยุคฟนฟู (Renaissance) คือในชวงศตวรรษที่ 4 ถึง ศตวรรษที่ 16 สภาพบรรยากาศในยุคกลางนี้จะพบวาผูคนมีความเครงครัดศรัทธาในศาสนาคริสตมาก จนแทบไมมีการพัฒนาทางวัตถุเชนเดียวกับยุคที่ผานมา บางครั้งจึงมีคนเรียกยุคสมัยนี้วาเปนยุคมืด (Dark Age) คือไรซึ่งวิวัฒนาการ

เมื่อโรมันถูกทํ าลายโดยอานารยชน (คนเถื่อน) แลว กฎหมายก็ถูกทํ าลายไปพรอม กับอารยธรรมโรมันไปดวย ส่ิงที่เหลืออยูหลังการลมสลายของโรมันก็คือความปาเถื่อน โหดราย ไรกฎระเบียบ ดวยเหตุนี้ระบบสังคมจึงตองมีการจัดใหมขึ้น การจัดระเบียบสังคมใหมนี้มี 2 ส่ิงที่มีความสํ าคัญคือ ศาสนาคริสตและระบบฟวดัล

ศาสนาคริสตเขามามีอิทธิพลในยุคกลางพรอม ๆ กับความกลัวของคนในยุคนั้น ส่ิงที่พวกเขากลัวที่สุดคือความกลัวในชีวิตหลังความตาย สถาบันที่ใหคํ าตอบสํ าหรับความกลัวนี้คือศาสนาคริสต ศาสนาคริสตสอนวาคนที่ไดกระทํ าดีตลอดจนมีศรัทธาในพระเจา จะไดรับการยกเวนจากบาปและไปเสวยสุขในสวรรค

สวนระบบฟวดัลเกิดขึ้นมาจากการที่สภาพเศรษฐกิจในยุคโรมันลมสลายลง ทํ าใหเกิดสภาพวุนวาย เมื่อบานเมืองไรกฎระเบียบ เจาของที่ดินเล็ก ๆ จึงพบปญหาในเรื่องความมั่นคงปลอดภัยและหนี้สิน ดวยเหตุนี้เจาของที่ดินเล็ก ๆ จึงไปฝากความปลอดภัยของตนไวที่เจานายที่อยูเคียงขาง เปนระบบความสัมพันธแบบอุปถัมภหรือระบบศักดินาในภาษาไทย สังคมในสมัยนั้นจึงแบงเปน 3 ชนชั้นคือ

1. เจาของที่ดิน (feudal lord) คือ ผูมีอํ านาจหรือเปนเจาของที่ดินขนาดใหญ ที่ชาวนาเล็ก ๆ จะเขามาสวามิภักดิ์

บางทีก็เรียกยุคกลางวา ยุคมืด เพราะในยุคนี้ถือวาไมมีการพัฒนาความรูทางวิทยาศาสตร

Page 14: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 58 -

2. อัศวิน เปนทหารของ เจาของที่ดิน มีหนาที่พิทักษดูแลที่ดินของเจาของที่ดิน และไดรับที่ดินจํ านวนหนึ่งเปนการตอบแทนเพื่อไปใชทํ ากิน (โปรดสังเกตวา ไมไดรับเงินเดือน)

3. ชาวนา (vassal) คือชาวนาเล็ก ๆ ที่เขามาขอความอุปถัมภจากเจาของที่ดิน การที่ชาวนาเล็ก ๆ ตองเขามาขอความชวยเหลือจากเจาของที่ดินเพราะวา ไมมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน หลังจากการที่รัฐไดหมดไป จํ าเปนตองขอความชวยเหลือจากเจาของที่ดินที่มีอัศวินชวยดูแล

ในที่นี้จะพูดถึงแนวคิดของสองนักคิด ที่มีอิทธิพลตอแนวความคิดทางการเมืองในสมัยกลาง 2 คน คือ นักบุญออกัสติน และนักบุญ โทมัส อะไควนัส

นักบุญออกัสติน (St. Augustine)นักบุญออกัสติน เปนผูนํ าทางศาสนาคริสตที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในยุคกลาง เขา

เปนนักคิดและนักเขียน เขาไดเขียนหนังสือที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเลมหนึ่งซึ่งนับวาเปนผลงานชิ้นสํ าคัญของเขาเอง และแพรหลายมากที่สุดใสยุคนั้น คือ City of God ซึ่งมีอิทธิพลทํ าใหเกิดอาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (The Holy Roman Empire) ขึ้นและมีบทบาทที่สนับสนุนใหศาสนาคริสตมีความสํ าคัญที่สุด และเปนศูนยกลางของการศึกษารัฐศาสตรในโอกาสตอมา

งานเขียนนี้เกิดขึ้นหลังจากการแตกของกรุงโรม ซึ่งงานนี้มีพวกที่ไมไดนับถือคริสตศาสนาออกมาวิจารณวา สาเหตุที่อาณาจักรโรมันอันยิ่งใหญตองลมสลายลงเพราะโรมันไมสนใจซีซาร แตไปยอมรับศาสนาคริสต ศาสนาคริสตจึงถือวาเปนตัวการที่ทํ าใหเกิดความลมจมขึ้นในโรม นักบุญออกัสตินจึงไดพยายามแกขอกลาวหานี้โดยการเขียนหนังสือ City of God โดยใหเหตุผลวาการลมจมของอาณาจักรโรมันไมเกี่ยวกับศาสนา เพราะวาศาสนาไมสามารถหยุดยั้งสงครามได แตในทางกลับกันศาสนาคริสตชวยกลอมเกลาความปาเถื่อนของผูรุกรานไปไดมาก มิฉะนั้นแลวโรมอาจจะเสียหายมากกวานี้ก็ได

นอกจากจะชวยแกขอกลาวหาของศาสนาคริสตแลว หนังสือเลมนี้ยังมีแนวคิดสํ าคัญดังนี้

1. อาณาจักรของพระเจาประวัติศาสตรของมนุษยเปนการตอสูกันระหวางอาณาจักรบนพื้นโลก (earthly society) และ อาณาจักรของพระเจา (city of god) อาณาจักรบนพื้นโลกเปนเมืองของภูตผีปศาจหรือผูไมเชื่อในพระเจา โรมก็เปนเมืองประเภทนี้ดวย สวนเมืองของพระเจากอตั้งขึ้นเพื่อสรางสันติสุขถาวรขึ้น ทั้งสองเมืองนี้ขัดแยงกันเสมอมาในประวัติศาสตรของมนุษย และในที่สุดแลวเมืองของพระเจาจะเปนฝายชนะ

นักบุญออกัสตินและนักบุญอะไควนัส สนับสนุนระบอบประชาธิปไตยหรือไม เพราะเหตุใด ?

Page 15: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 59 -

2. อาณาจักรของมนุษยที่ดีตองมีความยุติธรรมซึ่งความยุติธรรมนั้นมาจากพระเจา แตเทาที่ผานมายังไมมีอาณาจักรใดที่นํ าพาความยุติธรรมมาสูมนุษยได และถึงแมวาผูปกครองจะไมมีความยุติธรรม แตมนุษยก็ไมสามารถลบลางผูปกครองได เพราะผูปกครองเปรียบเสมือนตัวแทนจากพระเจา และถือเปนการลงโทษของพระเจาตอมนุษยซึ่งเปนคนบาป

3. ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของมนุษยชาติ ในทัศนะของออกัสติน หมายความวาการที่มนุษยทุกคนนับถือศาสนาคริสตเหมือนกัน มีความเชื่อในพระเจาองคเดียวกันและพยายามไถบาบหรือทางรอดไปสูสวรรคเพื่อไปหาเมืองของพระเจา

นักบุญโทมัส อะไควนัส (St. Thomas Aquinas)นักบุญโทมัส อะไควนัส เปนนักคิดทางการเมืองที่มีชื่อเสียงในยุคกลางอีกคนหนึ่ง

งานเขียนของเขาทั้ง Summa Theologica และ Rule of the Prince มีแนวคิดสนับสนุนการปกครองอันมีศาสนจักรเปนผูนํ าอาณาจักร แนวคิดทางการเมืองของเขาสามารถสรุปจากงานเขียนของเขาไดดังนี้

1. รัฐตองอยูภายใตอํ านาจขององคการของศาสนาคริสต รัฐมีหนาที่การสนับสนุนชวยเหลือใหประชาชนสามารถดํ ารงชีวิตใหดี และชีวิตที่ดีนั้นคือการมีชีวิตอยูภายใตการนํ าของพระเจา นั่นก็คือการนับถือศาสนาคริสตนั่นเอง ในทุก ๆ กรณีศาสนจักรจะตองมีอํ านาจมากกวารัฐ เพราะศาสนจักรถือโองการพระเจาที่ใครก็ตามไมสามารถลวงละเมิดได

2. ไมสนับสนุนการปกครองแบบประชาธิปไตย แตสนับสนุนการปกครองแบบราชาธิปไตย เพราะเขาถือวาการปกครองแบบประชาธิปไตยอาจจะทํ าใหเกิดการแตกแยกได อะไควนัสเชื่อม่ันความสามารถของรัฐในการรักษาความเปนเอกภาพและการใหบริการ ดวยเหตุนี้การรักษาเอกภาพจึงเปนหนาที่สํ าคัญของรัฐบาล แตอยางไรก็ตามเขาไมสนับสนุนการสืบราชสมบัติ แตจะสนับสนุนใหเลือกตั้งคนดีเขามาปกครองประเทศ

3. ประชาชนตองเชื่อฟงผูปกครอง การปกครองแบบราชาธิปไตยที่อะไควนัสเสนอนั้นอยูภายใตเงื่อนไขที่วาประชาชนจะตองเชื่อฟงผูนํ าทุกอยาง หากผูนํ าทํ าผิดหรือกลายเปนทรราชย วิธีที่จะตอตานผูนํ าแบบนี้คือการสวดออนวอนตอพระผูเปนเจา

แนวคิดทางการเมืองของออกัสติน และอะไควนัส มีจุดรวมกันอยูหลายอยาง และไดรับการสนับสนุนอยางดีจากศาสนจักร และเปนแนวความคิดที่ปฏิบัติตอกันยาวนานตลอดยุคกลาง แนวความคิดในสมัยหลังจะเปนแนวความคิดที่ตอตานแนวความคิดของศาสนจักรอันนี้ และมุงใหความสํ าคัญกับแนวความคิดที่สนับสนุนอํ านาจเด็ดขาดของฝายกษัตริยมากกวา

เพราะเหตุใด ในแนวความคิดของนักบุญออกัสติน และนักบุญอะไควนัส จึงตองการใหประชาชนเชื่อฟงผูปกครอง

ถึงแมวาประชาชนจะตองเชื่อฟงกษัตริย แตตองเปนกษัตริยที่อยูใตพระบัญชาของพระเจาผานทางสันตปาปาที่กรุงโรมเทานั้น

Page 16: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 60 -

แนวคิดทางการเมืองในยุคฟนฟู (Renaissance)

การตอสูกันระหวางแนวความคิดทางโลก (รัฐ) และแนวความคิดทางธรรม (ศาสนา) เปนการตอสูที่มีมาตลอดยุคกลาง จนกระทั่งประมาณศตวรรษที่ 14 การคาขายนํ ามาซึ่งความเจริญทางวัตถุที่แพรสะพัดมาจากตะวันออกสูตะวันตก อันเปนสาเหตุที่ทํ าใหศาสนาถึงคราวพายแพ สภาพสังคมในสมัยปลายยุคกลางจนถึงยุคฟนฟูมีดังนี้

สภาพทางสังคมในยุคฟนฟูความเจริญทางดานวัตถุและความพยายามในการจัดระเบียบสังคมในปลายยุค

กลาง ทํ าใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในแนวความคิดของคน ซึ่งหันเหจากความศรัทธาในศาสนาไปสูความนิยมในตัวกษัตริย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในยุคฟนฟู พอสรุปไดดังนี้

1. ฟนฟูศิลปวิทยาการ เกิดแนวคิดฟนฟูความรูทางดานศิลปะและวิทยาศาสตรขึ้นมาใหม เรียกวา Renaissance ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดทางศิลปะ จากที่ผลิตขึ้นเพื่อรับใชพระเจา กลายเปนศิลปะเพื่อรับใชมนุษย มีการนํ าศิลปะกรีกและโรมันเขามาใชใหมอีกครั้ง รวมทั้งการพัฒนาวิทยาศาสตรและฟสิกสของโคเปอรนิคัสและกาลิเลโอ ซึ่งมีอิทธิพลตอแนวความคิดของคนในสมัยนั้นมากมาย

2. มีการคนพบดินแดนใหม ๆ การพัฒนาวิทยาศาสตรทํ าใหเกิดการใชประโยชนจากแรโลหะใหม ๆ มากขึ้น รวมถึงการคนพบเข็มทิศ ทํ าใหเกิดการพัฒนาการเดินเรือ คนเริ่มแลนเรือออกไปไกล ๆ มากขึ้นจนทํ าใหพบดินแดนใหม ๆ ที่ไมเคยรูกันมากอนในประวัติศาสตร ซึ่งกระตุนความอยากรูอยากเห็นของคนมากขึ้น

3. ศาสนาคริสตเริ่มเส่ือมลง ศาสนาคริสตซึ่งเคยเปนศูนยรวมจิตใจอันศักดิ์สิทธิ์ถูกมนุษยทํ าใหเส่ือมโทรมลง พระหลายคนคอรรับช่ัน พระมีฐานะรํ่ ารวย ใชชีวิตอยางสุขสบาย ทํ าใหศรัทธาในคริสตศาสนาตองส่ันคลอน นอกจากนี้การปฏิรูปศาสนา (Reformation) ยังทํ าใหศาสนาคริสตซึ่งเคยเปนสากลตองแบงเปนโรมันคาธอลิคและโปแตสเตนท ซึ่งทํ าใหศาสนาคริสตออนแอลงตั้งแตนั้นเปนตนมา

4. การขยายตัวของการคาทางไกล จากการคนพบเข็มทิศ การปรับปรุงการเดินเรือทางไกล และการติดตอกับตะวันออกใกล ทํ าใหโลกทัศนของผูนํ าและประชาชนในยุคกลางเปลี่ยนแปลง วัตถุแปลก ๆ ที่มาจากตะวันออกทํ าใหผูคนพยายามหาโอกาสที่จะเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตดั้งเดิม ชาวนาออกมาจากที่นาเพื่อเปนพอคา พอคาเริ่มขยายเสนทางการคาและหาของใหม ๆ เขามาขายมากขึ้น

ทานคิดวามีปจจัยอะไรบาง ที่ทํ าใหความรุงเรืองของคริสตศาสนาในยุคกลางตองสิ้นสุดลง ?

Page 17: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 61 -

5. การสรางระบบกฎหมายใหม และพัฒนาระบบเงินตรา เมื่อการคาขายขยายตัวขึ้นมาก ทํ าใหสังคมมีความตองการกฎหมายและระบบเงินตราเพื่อสนับสนุนระบบการคาทางไกล ซึ่งตางกับยุคกลางที่ไมมีกฎหมายและไมมีระบบเงินตรา

6. การลมสลายของอาณาจักรโรมันตะวันออก หรือกรุงคอนสแตนติโนเปล ทํ าใหนักศิลปนและนักวิทยาศาสตรหลบหนีเขามาอยูในยุโรปตะวันตกกันมากมาย พรอม ๆ กับวิทยาการและศิลปะสมัยโรมันซึ่งเนนความยิ่งใหญของมนุษย และหลักการประชาธิปไตยในสมัยกรีก

7. การเสื่อมของระบบฟวดัล เมื่อผูคนเริ่มคาขาย มีกฎหมายและเงินตรา ทํ าใหส่ิงที่สํ าคัญที่สุดของระบบฟวดัล คือระบบอุปถัมภระหวางผูดีกับชาวนาคอย ๆ ขาดสะบั้นลง ความสัมพันธของกษัตริยกับศาสนจักรก็เริ่มเปล่ียนแปลงไปเรื่อย ๆ โดยอาณาจักรคอย ๆ มีอํ านาจและทวีความสํ าคัญเหนือศาสนจักรมากขึ้น

สํ าหรับนักคิดในยุคฟนฟูนี้ จะแสดงใหเห็นถึงนักคิด 3 คนที่สํ าคัญก็คือ นิโคโล แมคเคียวเวลลี (Niccolo Machiavelli) มารติน ลูเธอร (Martin Luther) และ จัง โบแดง (Jean Bodin)

แมคเคียวเวลลีแมคเคียวเวลลีเปนชาวฟลอเรนซ อิตาเลียน เขารับราชการในสมัยที่ตระกูล

เดอ เมดิซี (De Medici) กํ าลังมีอํ านาจ ตอมารัฐบาลที่เขาสังกัดอยูไดยายตระกูลนี้ออกไปจากเมืองฟลอเรนซ ตอมาตระกูลนี้ไดอาศัยกํ าลังทัพสเปนยอนกลับมาตีเมืองฟลอเรนซไดและขับไลรัฐบาลของแมคเคียวเวลลีออกไป ตัวเขาเองถูกจับขังคุก ตอมารัฐบาลไดปลอยตัวเขาโดยมีขอแมวาเขาจะไมสามารถเลนการเมืองไดอีกตอไป เขาไดอํ าลาชีวิตราชการและไปเขียนหนังสือเลมหนึ่งชื่อ เดอะ ปรินซ (The Prince) ซึ่งมีแนวคิดทางการเมืองที่เดนชัดที่สุด โดยเสนอแนวความคิดในทางการเมืองแบบใหม สนับสนุนการใชอํ านาจและความรุนแรง (The politics of violence) หัวขอในหนังสือเลมนี้ส่ือถึงการใชความรุนแรงทางการเมือง เชน จงเตรียมพรอมเพื่อสงคราม การใหคนรักหรือคนกลัวอยางไหนดีกวากัน ทํ าไมผูปกครองควรถูกยกยองหรือถูกตํ าหนิ ผูปกครองควรรักษาสัจจะไดในลักษณะใด ผูปกครองตองพยายามไมใหคนเกลียด ทํ าอยางไรผูปกครองจึงจะสรางชื่อเสียงใหโดงดังได

สาระสํ าคัญของ The Prince1. แยกการเมืองออกจากศาสนา (secularization) สํ าหรับแมคเคียวเวลลี การ

เมืองและศาสนาเปนคนละเรื่องกัน การเลนการเมืองไมจํ าเปนตองคํ านึงถึงศีลธรรมจรรยา ซึ่งไมเคยมีใครเสนอแนวคิดแบบนี้มากอน ในขณะที่เพลโตที่บอกวาผูปกครองควรมีคุณ

ทานคิดวาการพัฒนาวิทยาศาสตรทํ าใหฟนฟูมาแทนที่ยุคกลางหรือไม ?

แมคเคียวเวลลีเปนคนแรกที่พูดถึงดานมืดของการปกครองอยางตรงไปตรงมาที่สุด

Page 18: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 62 -

ธรรม ออกัสตินบอกวากษัตริยตองเชื่อฟงพระเจา แตแมคเคียวเวลลีเปนคนแรกที่บอกวาการเมืองตองแยกจากศาสนา ศีลธรรมจรรยา และพระเจา

2. รัฐเปนส่ิงสูงสุด ความตองการของแตละคนที่เขามารวมตัวเปนรัฐคือผลประโยชน รัฐจึงเปนตัวแทนของบุคคลในการหาและรักษาผลประโยชน ดังนั้นการคงอยูของรัฐและเจตจํ านงคของรัฐจะตองอยูเหนือส่ิงอื่นใด แมกระทั่งปจเจกบุคคล

3. ตองแยกรัฐออกจากศีลธรรมจรรยา ดังนั้นจึงไมอาจพูดไดวารัฐทํ าผิดหรือทํ าถูก เชนเดียวกับบุคคลที่เปนตัวแทนของรัฐ (รัฐบาล กษัตริย ผูครองนคร) จะวินิจฉัยวาเขาทํ าผิดหรือถูกไมไดเชนกัน เพราะผลประโยชนของรัฐยอมเหนือความถูกผิดทั้งปวง

4. ผูครองนครหรือนักการเมืองเปนนักฉวยโอกาส (opportunists) ทุกคน แรงจูงใจที่ทํ าใหเกิดการเมืองคือผลประโยชน ดังนั้นนักการเมืองหรือผูครองนครตองกระทํ าการทุกอยาง เมื่อมีโอกาส เพื่อผลประโยชนของรัฐ

5. อยากลัวถาจะตองทํ าผิดบาง ผูปกครองที่ประสบความสํ าเร็จตองทํ าผิดบาง และควรใชประโยชนจากการทํ าผิดนั้นดวย เพราะบางสิ่งบางอยางที่คนภายนอกมองเห็นวาดี แตในทางปฏิบัติกับไมไดผลดีตามที่เห็น ในขณะที่ของที่ดูไมดีก็อาจจะใชการได ดังนั้นผูปกครองไมจํ าเปนตองเลือกแตส่ิงที่ดี ๆ แตควรดูวาส่ิง ๆ นั้นเมื่อนํ าไปปฏิบัติแลวไดประโยชนหรือไม เพราะเมื่อจุดหมายปลายทางหรือผลที่ไดมันไดประโยชน จะถือวาส่ิง ๆ นั้นเปนส่ิงที่ดี

6. ผูปกครองไมจํ าเปนตองเปนคนดี แตควรแสรงแสดงใหคนอื่นคิดวาเปนคนดี ดวยวิธีการตาง ๆ เพราะเปนส่ิงที่สํ าคัญกวาการเปนคนดีเสียเอง ซึ่งไมมีประโยชนอะไร

7. ผูปกครองควรใหคนเกลียดมากกวาคนรัก เพราะความรักอาจกลายเปนความเกลียดได แตความกลัวนั้นจะไมรักและไมเกลียด ผูปกครองจึงควรใชอํ านาจ (power) และความรุนแรง (violence) เพื่อใหผูอื่นกลัว

8. หลีกเลี่ยงการประจบสอพลอ เพราะการประจบสอพลอคือความออนแอและทํ าใหลุมหลง ไมอาจจะมองเห็นความจริงได ผูปกครองจึงควรสนับสนุนการพูดความจริง และตั้งคนฉลาดเปนที่ปรึกษา และรับประกันเสรีภาพของที่ปรึกษาที่จะพูดความจริงอยางตรงไปตรงมา

9. ผูมีอํ านาจยอมเปนผูถูก (might is right) เพราะคนมีอํ านาจจะทํ าอะไรก็ไดโดยไมมีใครกลาวาวาผิด จุดมุงหมาย (end) ยอมสํ าคัญกวา วิธีการ (means) หรือจุดหมายสํ าคัญกวาวิธีการ จะทํ าอะไรก็ไดเพื่อใหบรรลุจุดหมาย

ทานคิดวา ความเห็นของแม็คเคียวเวลลีเหมาะสมกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยหรือไม

Page 19: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 63 -

10. ผูมีอํ านาจไมควรอยูที่ทางสายกลาง เมื่อจะทํ าอะไรทํ าใหเต็มที่และเปดเผย แมคเคียวเวลลีกลาววา เราไมสามารถรับใชพระเจาและซีซารไดในขณะเดียวกัน หรือ เราไมสามารถถือดาบกับไบเบิลไดพรอม ๆ กัน

จากทัศนคติดังกลาวของแมคเคียวเวลลี ทํ าใหเขาถูกโจมตีวาเปน “นักคิดที่ไรศีลธรรม” อยางไมเคยมีในประวัติศาสตร แตบางคนมองวาเขาเปน “นักคิดที่กลาหาญ” เพราะเขาพูดความจริงที่ไมเคยมีใครในโลกเคยพูด คือเขาพูดถึงธรรมชาติที่แทจริงของมนุษยในทางการเมืองอยางตรงไปตรงมา แนวความคิดของเขามีสวนสํ าคัญในการผลักดันใหเกิดปรากฎการณใหมในทางการเมือง กลาวคือ การกอตั้งระบบการเมืองแบบรัฐชาติ (nation-state) อันเปนระบบการเมืองในปจจุบัน

มารติน ลูเธอร (Martin Luther)ในยุคฟนฟูนี้ นอกจากการเปลี่ยนแปลงในทางความคิดทางการเมืองของแมคเคียว

เวลลีแลว ยังเกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องศาสนา ส่ิงนั้นก็คือการปฎิรูปศาสนา (reformation) ประมาณในป 1517 สาเหตุของการปฏิรูปศาสนาอยูที่การปกครองอยางเขมงวดของคริสตจักร ความเลวรายของมนุษยที่ใชประโยชนจากความเชื่อดวยการขายใบไถบาป และในขณะนั้นเอง นักคิดแนวเสรีคนหนึ่งชื่อ มารติน ลูเธอร ทนตอการปกครองอยางเขมงวดและการกระทํ าอยางไมเหมาะสมของผูนํ าทางศาสนาไมไหวอีกตอไป ลูเธอรจึงพยายามทาทายอํ านาจของผูนํ าเหลานี้ โดยขอความรวมมือไปยังบรรดากษัตริยและอัศวินในเยอรมันนี เพื่อชวยกันปฏิรูปกฎเกณฑของศาสนาเสียใหม โดยใหสิทธิเสรีภาพแกชาวคริสตในเรื่องการนับถือพระเจาตามทัศนะของตัวเองมากขึ้น เพราะที่ผานมาโรมกุมอํ านาจในการนับถือศาสนาโดยไมใหเสรีภาพแกชาวคริสตเลย ลูเธอรไดประกาศหลักเกณฑใหมจํ านวน 95 ขอตอผูนํ าศาสนา ณ เมืองวิทเทนเบิรก (Witenburg) โดยไดรับการสนับสนุนจากกษัตริยและกลุมผูนํ าหลาย ๆ คนเชน John Calvin, John Knox เปนตน ซึ่งตอมาไดกลายเปนหัวหนากลุม โปรเตสแตนท (Protestant) และศาสนาคริสตไดแบงเปน 2 นิกายตั้งแตนั้นเปนตนมา

แนวความคิดทางการเมืองของลูเธอรและหัวหนานิกายโปรเตสแตนทมีดังนี้1. อํ านาจทางการเมืองควรแยกออกมาจากอํ านาจทางศาสนา โดยคริสเตียนทั้ง

หลายตองเคารพเชื่อฟงรัฐบาลที่ตั้งขึ้นมาอยางถูกตอง2. ประชาชนสามารถตอตานกษัตริยผูไมเปนธรรม เพราะอํ านาจตามธรรมชาติ

ของผูปกครองมาจากพระเจา เมื่อมนุษยมารวมกันเปนสังคมจึงตองยอมรับกฎธรรมชาตินี้ หากมีผูละเมิดประชาชนจึงมีสิทธิอันชอบธรรมในการตอตานผูละเมิดกฎธรรมชาติ

กษัตริยสนับสนุนแนวความคิดของลูเธอรเพราะเห็นวาเปนโอกาสที่ดีที่จะออกจากอํ านาจของกรุงโรม

Page 20: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 64 -

3. ประชาชนตองเชื่อฟงอํ านาจของกษัตริยโดยไมตองผานสันตะปาปา พระเจาเปนผูใหอํ านาจแกกษัตริยในการปกครองโดยไมผานสันตะปาปา ดังนั้นประชาชนตองเชื่อฟงกษัตริยในฐานะผูที่มีอํ านาจสูงสุด ไมจํ าเปนตองผานสันตะปาปา และกษัตริยก็ไมตองอยูใตคํ าส่ังของสันตะปะปาอยางที่เคยเปนมาในอดีต

แนวความคิดของนักปฏิรูปศาสนา ทํ าใหเกิดปรากฏการณทางการเมือง 2 อยางคือ1. ลัทธิสมบูรณาญาสิทธิราชย การแบงแยกอํ านาจที่แนนอนระหวางศาสนจักร

และอาณาจักร ทํ าใหอํ านาจของกษัตริยดูเดนชัดขึ้น นอกจากนี้กษัตริยยังมีอํ านาจอธิปไตยภายในดินแดนโดยไมตองออนนอมใหกับอํ านาจของสันตะปาปาดังที่เกิดในยุคกลาง

2. การเกิดขึ้นของรัฐชาติ (nation-state) การที่กษัตริยเปนประมุขที่เด็ดขาดของฝายอาณาจักร อํ านาจของสันตะปาปาจึงดูเรือนรางลงไปในสายตาของประชาชน ดวยเหตุนี้กษัตริยแตละคนจึงพยายามสรางรัฐชาติ อันไดแกการรวบรวมคนที่มีเผาพันธุและภาษาเดียวกันใหมาอยูรวมกัน ดวยเหตุนี้ยุโรปในชวงศตวรรษที่ 16 จึงมีการกอตัวของรัฐชาติอยางรวดเร็ว

จัง โบแดง (John Bodin)โบแดงเปนนักกฎหมายชาวฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียงมาก เขาไดรับการยอมรับวาเปนผูที่

นํ าการเมืองเขาสูหลักของเหตุผล และเปนนักคิดคนแรกที่พูดเรื่องอธิปไตยอยางจริงจัง หนังสือสองเลมของเขาคือ A Method for the Easy Understanding of History (วิธีงาย ๆ ที่จะเขาใจประวัติศาสตร) และ Six Books Concerning the States (หนังสือ 6 เลมที่เกี่ยวกับรัฐ) ไดกลายมาเปนหลักเรื่องอธิปไตยที่ยอมรับกันทั่วไปถึงปจจุบัน

โบแดง มีทรรศนะที่เกี่ยวกับการเมืองดังนี้1. รัฐเปนการรวมกันของแรงของสังคม (social force) คือการรวมของครอบ

ครัวทั้งหลาย ซึง่ปกครองโดยผูที่มีอํ านาจสูงสุดดวยหลักของเหตุผล ครอบครัวในความหมายของโบแดงคือสมาคมอาชีพตาง ๆ และกลุมศาสนา โดยกลุมที่เขามารวมกันเปนรัฐนี้ รวมกันไดโดยอาศัยอํ านาจเปนส่ิงบังคับ ซึ่งในแรงตาง ๆ เหลานี้โบแดงมองวาอํ านาจทางทหารเปนแรงที่สํ าคัญที่สุด

2. ริเริ่มแนวความคิดเรื่องอธิปไตย อํ านาจอธิปไตยคือ อํ านาจสูงสุดที่มีเหนือประชาชนทุกคนโดยไมถูกจํ ากัดโดยกฎหมาย (Sovereignty is supreme power over citizens and subjects unrestrained by laws) อํ านาจอธิปไตยมีที่มาจากประชาชน โดยมีตัวแทนคือกษัตริยหรือรัฐบาลเปนผูบังคับใชอํ านาจนี้

การตอสูทางศาสนาของลูเธอร ทํ าใหเกิดผลกระทบทางการเมืองอยางไร ?

โบแดง เปนบิดาของคํ าจํ ากัดความของคํ าวาอํ านาจอธิปไตย

Page 21: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 65 -

3. กษัตริยเปนผูมีอํ านาจสูงสุดในรัฐ อยางไรก็ตามเพื่อปองกันไมใหกษัตริยใชอํ านาจตามอํ าเภอใจ กษัตริยถูกปกครองอีกชั้นหนึ่งภายใตกฎหมายธรรมชาติ นั่นคือถูกปกครองโดยศีลธรรมและเหตุผล (morality and reason)

จะเห็นไดวาวิวัฒนาการของแนวความคิดทางการเมืองในยุคกลางและยุคฟนฟูมีการเปลี่ยนแปลงอยางมาก โดยในตอนตนของยุคกลาง อํ านาจของสันตะปาปามีลนเหลือเพราะสันตะปาปาอางวาไดรับอํ านาจมาจากพระเจา เมื่ออํ านาจของกษัตริยเริ่มเขมแข็งทาทายอํ านาจของสันตะปาปาในชวงปลายยุคกลาง ในยุคฟนฟูกษัตริยจึงถือวาตนมีอํ านาจทางการเมืองมากกวาสันตะปาปา กษัตริยใชพระเจาเปนเครื่องมือในทางการเมืองโดยอางวาตนไดรับอาณัติมาจากพระเจาใหมาปกครองแทนพระเจาบนพื้นโลก

แนวความคิดทางการเมืองยุคสมัยใหม

ในยุคกลางนั้น ศาสนามีอํ านาจมากที่สุด ในขณะที่ในยุคฟนฟูนั้นเราจะมองเห็นวา กษัตริยมีอํ านาจมากขึ้น สวนความคิดทางการเมืองในยุคสมัยใหมคือ การที่ประชาชนธรรมดา ๆ ลุกขึ้นมาตอตานอํ านาจกษัตริย

ที่มาของการตอตานอํ านาจกษัตริยนี้เกิดขึ้นอยางรุนแรงในชวงศตวรรษที่ 17 เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ ซึ่งแนวความคิดนี้ไดลุกลามจนกลายเปนสงครามกลางเมืองในชวงระหวางป ค.ศ. 1642 – 1689 เปนเวลานานถึง 47 ป โดยกษัตริยในสมัยนั้นคือ พระเจา Charles ที่ 1 มีความขัดแยงกับสภาผูแทน โดยที่ปญญาชนทั้งหลายเขาขางสภาผูแทน ในขณะที่กลุมอํ านาจเกาคือ ขุนนาง พอคาใหญ ๆ และเจาของที่ดินเขาขางกษัตริย ในที่สุดสงครามกลางเมืองก็เกิดขึ้นและเกิดอยางตอเนื่องถึง 47 ป โดยสงครามไดยุติลงไมใชเพราะฝายใดฝายหนึ่งเปนผูชนะ แตเปนเพราะโอลิเวอร ครอมเวลล Oliver Cromwell ไดเขามาแทรกแซงและเขาขางฝายประชาชนหรือฝายผูแทน กษัตริยจึงพายแพ พระเจาชารลที่ 1 ถูกจับและถูกประหารชีวิต สวนครอมเวลลถือโอกาสปกครองประเทศแบบเผด็จการอยูระยะหนึ่งจึงไดสถาปนาพระเจาชารล ที่ 2 ใหเปนกษัตริยที่อยูภายใตรัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy)

ในบรรดานักคิดที่สนับสนุนอํ านาจกษัตริยนั้น โทมัส ฮอบส (Thomas Hobbes) เปนนักคิดที่มีความสํ าคัญที่สุด โดยเขาใหแนวความคิดที่สนับสนุนอํ านาจกษัตริยไวชัดเจน ในตอนที่เกิดสงครามกลางเมืองที่อังกฤษนั้นเขาไดหนีภัยการเมืองไปอยูที่ฝร่ังเศส และไดเขียนหนังสือขึ้นมา 2 เลมคือ De Cive และ Leviathan ซึ่งเปนแนวคิดที่สนับสนุนอํ านาจกษัตริยและตอตานศาสนาอยางชัดเจน

ในยุคฟนฟู กษัตริยมีอํ านาจมากที่สุด ในขณะที่ในยุคสมัยใหมประชาชนเริ่มจะเรียกรองอํ านาจเปนของตัวเองบาง

Page 22: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 66 -

โทมัส ฮอบส (Thomas Hobbes)ฮอบสเขียนหนังสือที่ชื่อ “ลิเวียธัน (Leviathan)” แปลวาส่ิงที่นากลัว หมายถึง

อํ านาจที่เด็ดขาดของผูปกครองที่ทํ าใหผูอื่นตองเกรงกลัว สาระสํ าคัญของหนังสือเลมนี้สรุปไดวา

1. สภาพดั้งเดิมของมนุษยเปนสภาพที่วุนวาย ทุกคนจะแสวงหาประโยชนซึ่งกันและกัน ไมมีกฎระเบียบ ไมมีกฎหมายหรืออํ านาจใด ๆ ที่จะประกันความยุติธรรมของสังคม ซึ่งสภาวะเชนนี้ไมเปนที่ปรารถนาของมนุษย

2. มนุษยเขามาอยูรวมกันเปนสังคมและสละอํ านาจใหองคอธิปตย มนุษยจึงเขามาอยูรวมกันในสังคมและสละอํ านาจอธิปไตยของตน มอบใหกับองคกรกลางซึ่งจะเปนส่ิงที่มีอํ านาจสูงสุด องคกรกลางนี้เรียกวา อธิปตย (sovereign) เขามีอํ านาจสูงสุดโดยไมอยูใตกฎหมายใด ๆ จะรับผิดชอบก็แตกับพระเจาเบื้องบนเทานั้น

3. ระบบกษัตริยเปนระบบการปกครองที่ดีที่สุด เพราะสามารถสรางความสามัคคีใหเกิดกับชาติได และอํ านาจอันเด็ดขาดของกษัตริยยังเปนระบอบที่สามารถสรางรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพไดอีกดวย

4. เศรษฐกิจมีอิทธิพลตอความมั่นคงทางการเมือง ดังนั้นในสังคมการเมืองรัฐบาลควรจะมีบทบาททางเศรษฐกิจ เชนการแบงสันที่ดินใหกับคนทั่วไป ควบคุมการคาขายทั้งในและตางประเทศ เปนตน

จอนห ล็อค (John Locke)ในขณะที่ฮอบสเปนนักคิดที่สนับสนุนอํ านาจของกษัตริย จอนห ล็อค (John

Locke) เปนนักคิดที่สนับสนุนเสรีภาพของประชาชน เมื่อพูดถึงลัทธิประชาธิปไตยเรามักจะอางแนวคิดของล็อคอยูเสมอ ล็อคไดเขียนหนังสือหลายเลมที่สนับสนุนเสรีภาพทางศาสนา สวนเสรีภาพในทางการเมืองล็อคเขียนหนังสือเรื่อง Two Treaties of Government ซึ่งเปนหนังสือเกี่ยวกับแนวคิดทางการเมืองเกี่ยวกับเสรีภาพ แนวความคิดของล็อคพอสรุปไดดังนี้

1. สภาพธรรมชาติของมนุษยมีสิทธิเสรีภาพ และมีความเทาเทียมกันอยูภายใตกฎธรรมชาติ ซึ่งดวยหลักของธรรมชาติมนุษยจะไมทํ ารายชีวิตและทรัพยสินซึ่งกันและกัน ในทางตรงกันขามจะยอมรับสิทธิและเสรีภาพของคนอื่นเพื่อที่คนอื่นจะไดปฏิบัติตอตนเชนนั้น อยางไรก็ตามดวยหลักของธรรมชาติจะมีบุคคลหนึ่งที่มีอํ านาจเหนือบุคคลอื่นในฐานะนักปกครอง โดยที่จะตองใชอํ านาจอยางมีเหตุผล จะใชอํ านาจตามอํ าเภอใจไมได

2. สิทธิตามธรรมชาติที่ไดกลาวมาอยู ติดตัวมนุษยมาตั้งแตเกิด ไมมีใครสามารถละเมิดหรือถอดถอนไปได มนุษยจึงมีอิสระในการที่จะปฏิบัติชีวิตของตนในทางใด

โทมัส ฮอบส และจอนหลอค มีความคิดเห็นแตกตางกันเกี่ยวกับสภาพด้ังเดิมของมนุษยอยางไรบาง ? จงอธิบาย

Page 23: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 67 -

ก็ไดตามใจชอบโดยไมตองมีใครมากํ าหนด จึงเปนอิสระที่จะทํ าการใด ๆ ก็ไดตามหลักเสรีภาพและสามารถสะสมทรัพยสินนี้ไวไดโดยไมถูกละเมิด แนวความคิดนี้ไดถูกนํ ามาเปนกฎเกณฑทางการเมืองที่ใชจริง ๆ เขียนไวในรัฐธรรมนูญของเกือบทุกประเทศทั่วโลก

3. ผูปกครองทุกคนยอมอยูภายใตกฎหมาย (rule of law) ถึงแมวาผูปกครองไดใชอํ านาจสูงสุด แตอํ านาจนั้นตองอยูภายใตกฎหมาย เพราะการปกครองโดยกฎหมายยอมตอตานระบบทรราชย และขณะเดียวกันยอมประกันเสรีภาพ

4. การเมืองที่มีเหตุผลตองเชื่อฟงคนกลุมใหญ เมื่อคนกลุมใหญในสังคมมีความคิดเห็นเปนอยางไร คนกลุมที่เหลือที่ไมเห็นดวยกับแนวความคิดของคนสวนใหญจะตองปฏิบัติตามโดยปฏิเสธไมได

5. สนับสนุนหลักการแบงแยกอํ านาจแบบรัฐสภา ล็อคเห็นวาอํ านาจอธิปไตยตองมีการแบงสันอํ านาจในการใช จึงแบงสันเปนอํ านาจนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ แตขอสังเกตของการแบงอํ านาจของล็อคซึ่งแตกตางจากของมองเตสกิเออก็คือ ล็อคมองวาอํ านาจนิติบัญญัติจะตองมีสูงกวาอํ านาจบริหาร ดังนั้นในความคิดของล็อค รัฐบาลซึ่งมีอํ านาจบริหารตองรายงานตอรัฐสภา ซึ่งมีอํ านาจนิติบัญญัติ

6. รัฐบาลควรมีอํ านาจที่จํ ากัด คือมีอํ านาจตามที่กฎหมายกํ าหนด หากรัฐบาลทํ าอะไรที่เกินขอบเขตของกฎหมายก็เทากับรัฐบาลนั้นไดละเมิดเสรีภาพของประชาชน

7. ประชาชนสามารถใชสิทธิลบลางรัฐบาลที่ใชอํ านาจไมชอบธรรม ล็อคเสนอวาประชาชนสามารถใชสิทธินี้ไดอยางรุนแรงเพื่อพิทักษเสรีภาพไมใหถูกลวงละเมิดโดยรัฐบาล หรือสิทธิที่จะปฏิวัติ (the rights of revolution) เมื่อใดที่รัฐบาลไดทํ าผิดกฎเกณฑที่ไดตกลงกันไวกับประชาชน ถึงแมวาจะไดรับการเลือกตั้งมาตามระบบอยางถูกตองก็ตาม

8. บุคคลมีสิทธิตอทรัพยสิน ล็อคสนับสนุนใหบุคคลสามารถถือครองทรัพยสินของตัวเองได และตองพิทักษรักษาไวไมใหถูกลวงละเมิด ไมวาจะโดยระหวางบุคคลดวยกันเองหรือจากรัฐบาล ความคิดนี้นํ าไปสูแนวคิดปจเจกชนนิยม (individualism) หมายความวาบุคคลมีความสามารถเทาใดก็สามารถแสวงหาทรัพยสินมาเปนสมบัติของตนไดมากเทานั้น และทรัพยสินเหลานี้คนอื่นจะละเมิดมิได

จะเห็นวาแนวความคิดของล็อค เปนแนวความคิดมีความสํ าคัญมาก ในปจจุบันแนวความนี้ไดรับการสนับสนุนจนกระทั่งไดรับการสรางเปนสถาบันกฎหมาย คือมีการรับรองถึงสิทธิเสรีภาพสวนบุคคลไวในกฎหมายหลายฉบับ และเปนรากฐานของระบอบประชาธิปไตยที่ใชกันอยูในปจจุบัน

ยุคสมัยใหม เปนยุคเริ่มตนของคํ าวา อธิปไตยเปนของปวงชน

การแบงแยกอํ านาจในแนวความคิดของล็อคแตกตางจากของมองเตสกิเออ อยางไร ?

Page 24: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 68 -

ยุคแหงความรุงโรจน (Enlightenment)

ศตวรรษที่ 17 ผานพนไป พรอม ๆ กับชัยชนะของสิทธิสวนบุคคลเหนืออํ านาจกษัตริย สิทธิบุคคลไดถูกวางรากฐานไวอยางดีในทางการเมือง และไดมีความพยายามนํ าหลักของเหตุผลและความจริงมาใชในทางการเมืองอีกดวย ผลของสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นในชวงศตวรรษที่ผานมา ซึ่งชาวตะวันตกเรียกกันวาถึงยุคแหงความรุงโรจน (Enlightenment)

ลักษณะของยุคแหงความรุงโรจนคือ มีการศึกษาหาความจริงในสิ่งตาง ๆ ดวยการคนควา ทดลอง และพิสูจน ซึ่งเปนการศึกษาที่เรียกวาการศึกษาแนวประจักษหรือ Empirical คือมีการใชเหตุผล นอกจากนี้ยังมีการวางกฎเกณฑทางการเมือง หรือสรางแบบทางการเมืองขึ้น นักคิดที่สํ าคัญในสมัยนี้คือ มองเตสกิเออ และ รุสโซ

มองเตสกิเออ (Montesquieu)เปนนักคิดที่เรียกไดวาเปนสัญลักษณของยุครุงโรจน เปนนักกฎหมายชาวฝรั่งเศส

ที่มีอิทธิพลตอแนวความคิดทางการเมืองในสมัยตอมาเปนอยางยิ่ง เขาเขียนหนังสือออกมาหลายเลม แตที่สํ าคัญที่สุดคือเจตนารมณแหงกฎหมาย (The spirit of laws) ซึ่งมีสาระสํ าคัญดังนี้

1. ทุกส่ิงทุกอยางขึ้นอยูกับกฎเกณฑอยางใดอยางหนึ่งเสมอ มนุษยทุกคนก็อยูภายใตกฎหมายธรรมชาติ หรือกฎหมายของพระเจา ซึ่งเปนการใหหลักการเกี่ยวกับความเหมาะสมของการกระทํ าของมนุษย อยางไรก็ตามมนุษยทุกคนตองอยูภายใตกฎหมายบานเมืองอีกตอหนึ่ง เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยของสังคม

2. สนับสนุนการปกครองแบบประชาธิปไตย ถึงแมวามองเตสกิเออจะแบงระบอบการปกครองเปน 3 แบบใหญ ๆ คือ 1. แบบทรราชย (despotism) เปนการปกครองคนเดียวโดยปราศจากกฎหมาย 2. แบบกษัตริย (monarchy) เปนการปกครองคนเดียวภายใตกฎหมาย และ 3. แบบสาธารณรัฐ (republic) ซึ่งแบงเปน 3.1 อภิชนาธิปไตย(aristocracy) คือการปกครองโดยกลุมบุคคล และ 3.2 ประชาธิปไตย (democracy) คือการปกครองโดยคนกลุมใหญ มองเตสกิเออมองวาระบบประชาธิปไตยเปนการปกครองที่นาประทับใจที่สุด เพราะวาประชาชนเปนผูมีอํ านาจทางการเมืองอยางแทจริง แตประชาชนผูเปนเจาของอํ านาจทางการเมืองนี้จะตองมีคุณงามความดี ซึ่งหมายถึง 2 ส่ิงคือ ความพอดีทางเศรษฐกิจ และความเสมอภาคของประชาชน

3. การศึกษามีอิทธิพลตอการเมือง มองเตสกิเออกลาววา ระบบการศึกษามักสงผลใหเกิดผลในระบบการเมือง และระบบการเมืองก็มีแนวทางการศึกษาเพื่อปลูกฝงจิต

ลักษณะสํ าคัญของยุครุงโรจนนี้ก็คือ การศึกษาหาความจริงโดยใชหลักการทางวิทยาศาสตร

แนวความคิดของมองเตสกิเออ เปนที่มาของระบบถวงดุลอํ านาจ

Page 25: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 69 -

ใจของตนแตกตางกันไป ในระบอบประชาธิปไตย การใหการศึกษาควรยํ้ าถึงสิทธิเสรีภาพ การอุทิศตนเพื่อสวนรวม และการเคารพกฎหมายของบานเมือง

4. บุคคลพึงมีเสรีภาพตามกฎหมาย เสรีภาพทางการเมืองเปนส่ิงที่ประชาชนทุกคนมีอยู และผูใดจะละเมิดไมได ทั้งนี้ประชาชนทุกคนสามารถใชเสรีภาพไดตามตองการ ภายในขอบเขตที่กฎหมายกํ าหนด เพื่อเปนการรักษาเสรีภาพทางการเมือง มองเตสกิเออจึงสนับสนุนใหแบงแยกการใชอํ านาจอธิปไตยเปน 3 ทาง ไดแก นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ โดยอํ านาจทั้ง 3 ทางนี้จะเทาเทียมกัน ตรวจสอบถวงดุลกัน เพื่อไมใหมีอํ านาจใดเขามาริดรอนเสรีภาพของประชาชน

รุสโซ (Jean-Jacque Rousseau)รุสโซมีความแตกตางกับนักคิดทางการเมืองที่มีชื่อเสียงคนอื่น ๆ เปนอยางยิ่งทั้งใน

เรื่องฐานะชาติกํ าเนิด การใชชีวิต และแนวการเขียนงานของเขา กลาวคือเขาเกิดในครอบครัวซึ่งมีปญหา แมเสียชีวิตตั้งแตเขายังเปนทารก สวนพอตองหนีไปเมืองอื่นเนื่องจากการทะเลาะวิวาท ในวัยเด็กรุสโซจึงกลายเปนเด็กกํ าพราและมีชีวิตที่เรรอนอยูกับญาติและผูอุปถัมภหลาย ๆ คน งานเขียนที่สํ าคัญของเขาคือสัญญาประชาคม (social contract) เปนหนังสือที่มีทัศนคติที่รุนแรง และชักนํ าไปสูการปฏิวัติ แนวการเขียนของเขามีเหตุผล และแฝงไวซึ่งอารมณซึ่งมีอิทธิพลตอผูอานมากกวางานเขียนของคนอื่น ส่ิงที่สะทอนจากงานเขียนของเขามีดังนี้

1. มนุษยเกิดมากับเสรีภาพ แตเขาไดถูกพันธนาการไว (Man is born free and everywhere he is in chains) ประโยคนี้เปนประโยคขึ้นตนของหนังสือสัญญาประชาคม เขามีความคิดวามนุษยถูกพันธนาการเพราะถูกผูมีอํ านาจบังคับ มนุษยนั้นแทจริงแลวรักเสรีภาพเหนืออื่นใด มนุษยอาจจะยอมทิ้งส่ิงใด ๆ ทั้งปวงได หากยังเหลือไวซึ่งเสรีภาพ เขาจึงเรียกรองใหมนุษยกลับไปสูธรรมชาติ เพราะสภาพชีวิตในสังคมเต็มไปดวยการริดรอนเสรีภาพ การถูกกดขี่ ขมเหง และความไมยุติธรรมตาง ๆ

2. สัญญาประชาคม เนื่องจากมนุษยไมสามารถกลับไปสูธรรมชาติได และหากกลับไปสูธรรมชาติไดผลที่เกิดมาอาจจะไมดี แตมนุษยก็ยังเรียกรองเสรีภาพอยูนั่นเอง ดังนั้นสัญญาประชาคมจึงเกิดขึ้นเพื่อที่จะหาทางสายกลางระหวางสองสิ่งดังกลาว คือรักษาเสรีภาพสวนบุคคลในขณะที่ยังคงมีสังคมที่บุคคลอาศัยอยูได โดยมนุษยทุกคนจะสละเสรีภาพไปใหแกชุมชน แตการสละเสรีภาพนี้ไมใชวาเสรีภาพของแตละบุคคลจะสูญเสียไป หากแตเกิดเสรีภาพใหมขึ้นเรียกวาเสรีภาพรวม หรือ เจตนารมณรวม (general will) โดยทุก ๆ คนตองเชื่อฟงเจตนารวมนี้ เพราะการกระทํ าดังกลาวก็คือการเคารพเจตนาของตน

รุสโซมีชาติกํ าเนิดที่แตกตางจากนักปรัชญาทางการเมืองคนอื่น ๆ เกือบทั้งหมด

Page 26: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 70 -

เอง เจตนารวมเปนเจตนาของทุกคนไมใชของคนใดคนหนึ่ง เจตนารวมจึงเปนอํ านาจอธิปไตย อยูเหนือทุก ๆ คนในสังคม

3. เจตนารวมนี้เปนอันหนึ่งอันเดียว แบงแยกมิได แทนตัวกันมิได และเปนผลดีตอทุกคน เจตนารวมมาจากทุกคนและใชบังคับกับทุกคน ถึงแมวาเราจะไมมองเจตนารวมนี้ในแงของจํ านวนนอยมากของประชาชน แตรุสโซก็ยอมรับวาเจตนารวมจะเกิดกับชนสวนใหญ (majority) ของสังคม

4. กฎหมายคืออํ านาจของเจตนารวม ในการที่จะสรางแบบแผนการดํ าเนินชีวิต และบังคับใชใหตรงตามความจํ านงคของเจตนารวม

5. รัฐ และรัฐบาลมีความแตกตางกัน เพราะรัฐบาลคือตัวกลางที่มนุษยตั้งขึ้นมาระหวางรัฐกับประชาชน สวนรัฐมีอํ านาจสูงสุดคืออํ านาจอธิปไตย ดังนั้นอํ านาจในการออกกฎหมายจึงไมใชอํ านาจของรัฐบาลแตเปนหนาที่ของประชาชน ส่ิงที่รุสโซเห็นดวยที่สุดคือการที่พลเมืองทุกคนมีโอกาสรวมพิจารณาหรือออกกฎหมายพรอม ๆ กันเหมือนนครรัฐกรีก

จะเห็นไดวา แนวความคิดในยุครุงโรจนนี้สงผลมาถึงระบอบการเมืองการปกครองในสมัยปจจุบันอยางมาก โดยเฉพาะหลักการเจตนารมณรวม ของรุสโซ และหลักการแบงแยกอํ านาจของมองเตสกิเออ เปนแนวความคิดแกนหลักที่สํ าคัญที่สุดของแนวความคิดประชาธิปไตยในสมัยปจจุบัน

การปฏิวัติอุตสาหกรรม

การปฏิวัติอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 19 เปนการกาวกระโดดครั้งใหญของมนุษยอีกครั้งหนึ่ง นับเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรที่มนุษยไดนํ าความเจริญทางวิทยาศาสตร ที่ไดพัฒนามาตั้งแตยุคฟนฟู มาใชใหเปนประโยชนตอการดํ ารงชีวิตประจํ าวัน การนํ าเครื่องยนตกลไกมาชวยในการผลิต ไดชวยเพิ่มผลผลิตและรายไดใหสูงขึ้นกวาเดิม มนุษยไดสะสมสวนเกินทางการผลิตจนเกิดความมั่งคั่งใหกับตัวเองและสังคมอยางเต็มที่ ในที่สุดทํ าใหเกิดระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมขึ้นในยุโรป

การปฏิวัติอุตสาหกรรมไดสงผลกระทบตอสังคมอยางใหญหลวง โดยเฉพาะอยางยิ่งทํ าใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในวิถีการผลิต การเกิดของนายทุนและการจางงาน การเอารัดเอาเปรียบของนายทุนที่มีตอแรงงาน สํ าหรับคารล มารกซ การเอารัดเอาเปรียบเชนนี้คือความอยุติธรรมของสังคมที่เขาจะตองปฏิรูปแกไขใหได เขาเปนผูใหกํ าเนิดลัทธิปฏิวัติสังคมอยางถึงรากถึงโคนเปนคนแรกในประวัติศาสตรโลก

คารล มารกซ (Karl Marx)

ทานคิดวายุครุงโรจนใหอะไรกับแนวความคิดประชาธิปไตยในสมัยปจจุบันบาง ?

Page 27: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 71 -

มารกซ เกิดขึ้นในยุโรปในชวงของความเจริญกาวหนาของลัทธิทุนนิยม เขาไดเห็นความเอารัดเอาเปรียบของนายทุนตอชนชั้นกรรมาชีพอยางนากลัว ทฤษฎีของมารกซ ตั้งอยูบนพื้นฐานของทฤษฎีประวัติศาสตรและการคาดคะเนสังคมมนุษยในอนาคต ทํ าใหเขาไดทฤษฎีของตัวเองขึ้นมาคือ dialectic materialism ไดแก ความแตกตางทางวัตถุทํ าใหเกิดความแตกตางทางชนชั้น ที่จริงมารกซไดรับพื้นฐานของแนวความคิดนี้มาจากเฮเกล นักปรัชญาที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งของเยอรมัน

มารกซ ไดเขียนหนังสือขึ้นมาหลายเลม เชน The Poverty of Philosophy, The Critique of Political Economy, Das Capital, Value, Price and Profit และ The Communist Manifesto ซึ่งหนังสือเลมหลังนี้เปนหนังสือที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขา

เราสามารถอธิบายแนวความคิดของมารกซไดจากหนังสือเรื่องคํ าประกาศของลัทธิคอมมิวนิสต (The Communist Manifesto) ดังนี้

1. ประวัติศาสตรของมนุษยเปนการตอสูระหวางชนชั้น โดยนับตั้งแตแรกเริ่มจนถึงปจจุบันจะเห็นการขัดแยงกันเสมอ เชน นายกับทาส ผูดีกับไพร นายจางกับลูกจาง โดยจะมีคนหนึ่งเปนผูกดขี่ขมเหง (oppressor) และผูถูกขมเหง (oppressed) การตอสูระหวางชนชั้นจะยุติลงก็ตอเมื่อเกิดชนชั้นใหมขึ้นมาจากทั้งสองชนชั้น

2. โลกของนายทุน ในโลกปจจุบันเกิดชนชั้นใหมที่มีบทบาทในสังคมมาก ไดแกพวกนายทุน พวกนายทุนไดเอาเปรียบชนชั้นแรงงานทุกวิถีทาง อํ านาจของนายทุนคืออํ านาจทางเศรษฐกิจและทางการเมือง โดยกษัตริยและผูปกครองก็อยูภายใตอิทธิพลของนายทุนนี้ดวย

3. พวกนายทุนทั้งหลายมักเรียกรองเสรีภาพ เชนการคาขายอยางเสรี การแขงขันเสรี แตแทจริงแลวเปนการเรียกรองใหตัวเองมีโอกาสเอาเปรียบผูอื่นมากขึ้น

4. นายทุนเปนพวกไรศีลธรรม มองเห็นความสัมพันธของมนุษยเปนเพียงเรื่องของการสะสมเงินทอง สวนคุณคาทางจิตใจ ความเมตตาปราณีหรือมนุษยธรรมแทบจะไมมีอยูในสํ านึกของนายทุน

5. ชนชั้นกรรมาชีพจะชนะชนชั้นนายทุนในที่สุด ในตอนแรกสังคมอาจจะมีหลายชนชั้น แตในที่สุดการผลิตแบบทุนนิยมจะทํ าใหเหลือเพียง 2 ชนชั้น โดยชนชั้นกรรมาชีพ (proletariat) จะถูกกดขี่ขมเหงจากชนชั้นนายทุน (bourgeoisie) การตอสูนี้จะเกิดขึ้นตลอดเวลาจนในที่สุดชนชั้นกรรมาชีพจะรวมตัวกันเปนสหภาพกรรมกร ตอมาจะกลายเปนพรรคการเมืองที่มีนโยบายและหลักปฏิบัติอันแนวแน ตอมาพรรคกรรมกรจะมีสมาชิกและพลังเพิ่มมากขึ้นทุกที นายทุนก็จะระสํ่ าระสายและแตกแยกกันเอง ชัยชนะจะเปนของชนชั้นกรรมาชีพอยางหลีกเลี่ยงไมพน

Marx เปนนักคิดคนสํ าคัญที่มีอิทธิพลตอนักรัฐศาสตรในยุคตอ มาอีกหลายคนแมกระทั่งปจจุบันที่ประเทศที่ปกครองดวยระบอบคอมมิวนิสตสลายหายไปแลว

Marx ทํ านายวา ในที่สุดชนช้ันกรรมาชีพจะมีชัยชนะเหนือชนช้ันนายทุนในที่สุด

Page 28: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 72 -

6. คอมมิวนิสตคือกลุมผูนํ าของชนชั้นกรรมาชีพ เปนผูนํ าของการรวมตัวกันของชนชั้นโดยไมคํ านึงถึงเชื้อชาติ ชวยเปนผูนํ าการปฏิวัติและนํ าพาการปฏิวัติไปสูจุดมุงหมาย ดังนั้นคอมมิวนิสตจึงเปนทหารแนวหนา ซึ่งเขาใจอุดมการณการปฏิวัติสังคมของ Marx มากที่สุด

7. ชนชั้นกรรมาชีพจะตองรวมตัวกันเปนอันหนึ่งอันเดียว ตองปฏิบัติการพรอมกันทั่วโลก ไมมีความแปลกแยกทางเชื้อชาติศาสนา เพื่อเปนพลังอันเขมแข็งที่จะลมลางอํ านาจของพวกนายทุน

8. ไมมีทรัพยสินสวนตัว ลักษณะที่สํ าคัญที่สุดของระบอบคอมมิวนิสตคือการลมลางระบบทรัพยสินสวนตัว เพราะเปนสัญลักษณของชนชั้นนายทุน ซึ่งเปนลักษณะของความเห็นแกตัว

9. ยกเลิกสถาบันครอบครัว สถาบันครอบครัวของนายทุนเปนการเอารัดเอาเปรียบตอสตรีและเด็ก นายทุนไมไดมีความรักตอบุตรและภรรยาแตเขามองวานั่นคือเครื่องมือในการผลิต นายทุนทั้งหลายมักไรศีลธรรมมีการประพฤติผิดเรื่องชูสาวเสมอ ดังนั้นเมื่อครอบครัวเปนส่ิงที่ไรคาดังนี้ควรจะยกเลิกระบบครอบครัว

10. ยกเลิกความเปนชาติ สํ าหรับ Marx ชาติคือผลลิตของนายทุน ชาติทํ าใหคนทะเลาะเบาะแวงกัน ชาติเปนเพียงสิ่งสมมติ แตแทจริงแลวชนชั้นกรรมาชีพมีความเหมือนกันทุกอยางคือโดนกดขี่โดยนายทุน ดังนั้นชนชั้นกรรมาชีพของทุกประเทศจึงเขามารวมกันเปนอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อตอสูกับทุนนิยม

คํ าถามทบทวนความรู

1. จงวิเคราะหนักคิดหรือสํ านักคิดดังตอไปนี้ อธิบายแนวความคิดที่สํ าคัญของเขา และผลของแนวความคิดเขาตอโลกในปจจุบัน และโดยสวนตัวทานชื่นชมและเห็นดวยกับนักคิดทานใดมากที่สุด เพราะเหตุใด

เพลโต, อริสโตเติล, สโตอิค, ชิเซโร, โทมัส อะไควนัสและออกัสติน,แมคเคียวเวลลี่, ลูเธอร, โบแดง, ล็อค, ฮอบส, รุสโซ, มองเตสกิเออ, มารก

2. ทานคิดวาสภาพแวดลอมมีผลทํ าใหเกิดนักคิดในสมัยตาง ๆ หรือไม

ลักษณะที่สํ าคัญที่สุดของระบอบคอมมิวนิสตก็คือ การลมลางระบบทรัพยสินสวนตัว

Page 29: บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม ือง ... · 2014-09-13 · - 45 - บทที่ 4 แนวความคิดทางการเม

- 73 -

3. ทํ าไมเพลโตไมชอบระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และเขาสนับสนุนระบอบการปกครองแบบใด ทานเห็นดวยกับเพลโตหรือไม เพราะเหตุใด