48
บทที4 การวิเคราะหโครงการ การวิเคราะหโครงการเปนขั้นตอนที่สําคัญขั้นตอนหนึ่ง กอนที่จะนําโครงการที่เขียนไวแลว ไปปฏิบัติในภาคสนาม เพราะหากโครงการไมไดรับการพิจารณาหรือวิเคราะหอยางดีแลว ยอม กอใหเกิดปญหาในการบริหารโครงการอยางหลีกเลี่ยงไมได และอาจสงผลใหโครงการเกิดความ ลาชาหรือลมเลิกโครงการในที่สุด ดังนั้นการวิเคราะหโครงการจึงหมายถึง กระบวนการศึกษา โครงการอยางละเอียด ทั้งนี้เพื่อใหไดโครงการที่สามารถดําเนินการได และเปนประโยชนตอ องคการไดอยางแทจริง การวิเคราะหโครงการนั้น มีประโยชนอยูหลายประการ ซึ่ง ประสิทธ (2542) ไดสรุปไวดังนี1. ชวยใหผูมีอํานาจในการตัดสินใจสามารถทําการตัดสินใจไดอยางเปนระบบ และเปนกลาง 2. ชวยตัดสินเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกที่มีอยู 3. ชวยใหมีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และหามาไดยาก ถูกนําไปใช อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. ชวยใหมั่นใจวาเงินทุนและทรัพยากรอื่นๆ ไดนําไปใชตามวัตถุประสงคของ โครงการและแผนงานที่วางเอาไว 5. ชวยใหสามารถติดตามและประเมินผลการใชทรัพยากรและการดําเนินงาน ตามโครงการได ในการวิเคราะหโครงการบางครั้งอาจจะมีการพูดถึงการศึกษาความเปนไดของโครงการ (feasibility study) ซึ่ง ประสิทธิ(2542) ไดสรุปความหมายของการศึกษาความเปนไปไดของ โครงการไววา เปนการศึกษาและจัดทําเอกสารที่ประกอบไปดวยขอมูลตางๆ ที่จําเปน โดยแสดงถึง เหตุผลสนับสนุน ความถูกตองสมบูรณของโครงการ เพื่อใหไดมาซึ่งโครงการที่ดี สามารถปฏิบัติได จริง และกอใหเกิดประโยชนอยางแทจริง ดังนั้นการศึกษาความเปนไปไดของโครงการจึงมี

บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

บทที่ 4

การวิเคราะหโครงการ

การวิเคราะหโครงการเปนขั้นตอนที่สําคัญขั้นตอนหนึ่ง กอนที่จะนําโครงการที่เขียนไวแลวไปปฏิบัติในภาคสนาม เพราะหากโครงการไมไดรับการพิจารณาหรือวิเคราะหอยางดีแลว ยอมกอใหเกิดปญหาในการบริหารโครงการอยางหลีกเลี่ยงไมได และอาจสงผลใหโครงการเกิดความลาชาหรือลมเลิกโครงการในที่สุด ดังนั้นการวิเคราะหโครงการจึงหมายถึง กระบวนการศึกษาโครงการอยางละเอียด ทั้งนี้เพื่อใหไดโครงการที่สามารถดําเนินการได และเปนประโยชนตอองคการไดอยางแทจริง

การวิเคราะหโครงการนั้น มีประโยชนอยูหลายประการ ซึ่ง ประสิทธ (2542) ไดสรุปไวดังนี้

1. ชวยใหผูมีอํานาจในการตัดสินใจสามารถทําการตัดสินใจไดอยางเปนระบบและเปนกลาง

2. ชวยตัดสินเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดในบรรดาทางเลือกที่มีอยู

3. ชวยใหมีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และหามาไดยาก ถูกนําไปใชอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

4. ชวยใหมั่นใจวาเงินทุนและทรัพยากรอื่นๆ ไดนําไปใชตามวัตถุประสงคของโครงการและแผนงานที่วางเอาไว

5. ชวยใหสามารถติดตามและประเมินผลการใชทรัพยากรและการดําเนินงานตามโครงการได

ในการวิเคราะหโครงการบางครั้งอาจจะมีการพูดถึงการศึกษาความเปนไดของโครงการ (feasibility study) ซึ่ง ประสิทธิ์ (2542) ไดสรุปความหมายของการศึกษาความเปนไปไดของโครงการไววา เปนการศึกษาและจัดทําเอกสารที่ประกอบไปดวยขอมูลตางๆ ที่จําเปน โดยแสดงถึงเหตุผลสนับสนุน ความถูกตองสมบูรณของโครงการ เพื่อใหไดมาซึ่งโครงการที่ดี สามารถปฏิบัติไดจริง และกอใหเกิดประโยชนอยางแทจริง ดังนั้นการศึกษาความเปนไปไดของโครงการจึงมี

Page 2: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 81

ความหมายเชนเดียวกับการวิเคราะหโครงการ ซึ่งเปนการประเมินจุดแข็ง จุดออน ผลตอบแทนที่ไดจากการทําโครงการ แตการศึกษาความเปนไปไดโครงการจะเนนในดานความคุมคาของโครงการเปนหลัก

ในการวิเคราะหโครงการนั้น สามารถพิจารณาหรือวิเคราะหโครงการไดหลายวิธี ข้ึนกับลักษณะของโครงการ จุดมุงหมายหลักของโครงการวาโครงการมีจุดมุงหมายหลักอยางไร เชนโครงการทางดานธุรกิจการคาซึ่งมุงผลกําไรตอบแทนในรูปของตัวเงิน ดังนั้นรูปแบบการวิเคราะหก็ตองเนนเปนรูปแบบของการวิเคราะหเพื่อหาจุดคุมทุนทางธุรกิจ หรือวิเคราะหหาทางเลือกที่ใหผลตอบแทนสูงสุด เปนตน ดังนั้นในการวิเคราะหโครงการเบื้องตนจึงสามารถจําแนกโดยสรุปไดดังนี้

1. การวิเคราะหโครงการโดยพิจารณาจากโครงสรางหรือองคประกอบ

การวิเคราะหโครงการในลักษณะนี้จะตองวิเคราะหโครงสรางหรือองคประกอบของโครงการทั้ง ภายในตัวโครงการและบริบทภายนอกโครงการที่เกี่ยวของดวย

โครงสรางหรือองคประกอบภายนอกโครงการ หมายถึง ส่ิงแวดลอมซึ่งจะมีผลกระทบตอโครงการโดยตรงหรือโดยออม เชน สภาวะทางเศรษฐกิจและสังคม สถานการณทางการเมือง กลุมอิทธิพลตางๆ และรวมไปถึงสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เชน สภาพอากาศ ฤดูกาล โอกาสในการเกิดภัยธรรมชาติ ในขณะที่จะดําเนินงานโครงการนั้นดวย การวิเคราะหสภาวะแวดลอมดังกลาวเปนสิ่งที่ยาก แตก็เปนสิ่งที่ผูวิเคราะหโครงการจะตองทํา และจะตองกระทําดวยความรอบคอบเปนอยางมาก ทั้งนี้ผูทําโครงการจะตองศึกษาขอมูลทางสถิติตางๆ สามารถวิเคราะหขอมูลจากแหลงตางๆ ไดอยางแมนยํา เพราะโครงสรางหรือองคประกอบชนิดนี้มีอิทธิพลเหนือความสามารถที่ผูบริหารโครงการจะแกไขได หากวิเคราะหไมถูกตองอาจมีผลกระทบอยางรุนแรงทําใหโครงการตองไดรับการระงับหรือยกเลิกอยางกะทันหัน หรือมีผลทําใหโครงการนั้นไมบรรลุวัตถุประสงคที่ต้ังไว

การวิเคราะหโครงสรางหรือองคประกอบภายในโครงการ เปนการวิเคราะหสวนประกอบตางๆ ของตัวโครงการซึ่งจะพิจารณาจาก 3 ลักษณะหลักของโครงการคือ ความสอดคลองสมบูรณของโครงการ ความเหมาะสมและประโยชนของโครงการ และความเปนไปไดของโครงการ ซึ่งอธิบายในรายละเอียดดังนี้ (ประชุม, 2535)

Page 3: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 82

1) ความสอดคลองสมบูรณของโครงการ พิจารณาจากสวนประกอบตางๆ ของโครงการ เร่ิมต้ังแตความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคของโครงการ เปาหมาย วิธีดําเนินงาน ผูรับผิดชอบโครงการ งบประมาณ ระยะเวลาดําเนินงาน ตลอดจนวิธีการติดตามและประเมินผลวาแตละองคประกอบมีความสัมพันธและสอดคลองกันหรือไม หากวิเคราะหดูแลวปรากฎวา องคประกอบบางสวนไมสอดคลอง ก็ตองดําเนินการแกไขปรับปรุงใหเรียบรอย

2) ความเหมาะสมและประโยชนของโครงการ จะตองพิจารณาวาโครงการที่จะทํามีประโยชน และมีความเหมาะสมตอบุคคลเปาหมายอยางแทจริงหรือไม โครงการที่เขียนสามารถตอบสนองความตองการหรือแกปญหาอยางแทจริงหรือไม ในการพิจารณาความเหมาะสมและประโยชนของโครงการนั้น จะเนนพิจารณาในสวนของ เหตุผลและความจําเปน ระยะเวลาในการดําเนินงาน ความคุมคาในเชิงเศรษฐกิจและสังคม

3) ความเปนไปไดของโครงการ จะแบงพิจารณาวาโครงการดังกลาวสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง โดยคํานึงถึงความเปนไปไดทางเศรษฐกิจ ฐานะการเงินของโครงการ ความสามารถของผูดําเนินงานและหนวยงาน ความพรอมทางดานเทคนิค และขอจํากัดตาง ๆ

ในการเขียนโครงการผูเขียนหรือผูจัดทําโครงการจะตองคํานึงถึงคําถาม 6 ประการ ในขณะเดียวกันการวิเคราะหโครงการหนึ่งโครงการใด ผูวิเคราะหโครงการจําเปนที่จะตองวิเคราะหตามคําถามทั้ง 6 ประการเชนเดียวกัน โดยคําถามดังกลาวใชสัญลักษณยอวา W5H ซึ่งคําอธิบายแตละคําถามดังนี้ (ประชุม, 2535)

What (จะทําอะไร): จะตองวิเคราะหวาโครงการนั้นมีวัตถุประสงคหรือเปาหมาย ชัดเจนหรือไม วัตถุประสงคมีความสอดคลองกับนโยบายหลักมากนอยเพียงใด การจัดกิจกรรม สามารถจัดไดสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการหรือไม

Why (จะทําไปทําไม): จะตองวิเคราะหวาโครงการนั้นทําไปเพื่ออะไร มีเหตุผลและความจําเปนอยางไรจึงตองทําโครงการนี้ ทําแลวมีผลกระทบทางบวกและทางลบอยางไรบาง

Page 4: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 83

When (จะทําเมื่อใด): จะตองวิเคราะหวาโครงการนั้นจะเริ่มตนดําเนินการและส้ินสุดเมื่อใด ระยะเวลาและชวงการดําเนินงานเหมาะสมหรือไม มีชวงเวลาอื่นๆ ที่เหมาะสมกวาหรือไม

Where (จะทําที่ไหน): จะตองวิเคราะหวาสถานที่ของการปฏิบัติงานโครงการอยูที่ใด เปนแหลงหรือสถานที่ที่เหมาะสมหรือไมตอการดําเนินโครงการหรือกิจกรรม มีทางเลือกอื่นที่ดีกวาหรือไม

Who, Whom (ทําเพื่อใคร): จะตองวิเคราะหวาใครเปนผูทําโครงการนั้น เปนบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมหรือไม และผูที่ไดรับผลประโยชนจากโครงการอยางแทจริงหรือไม เปนคนสวนใหญที่ไดรับผลกระทบจากการดําเนินโครงการหรือไม เปนตน

How (ทําอยางไร): จะตองวิเคราะหวามีวิธีในการดําเนินงานหรือบริหารโครงการอยางไร จึงจะบรรลุเปาหมาย หรือวัตถุประสงคที่กําหนดไว อยางมีประสิทธิภาพ มีทางเลือกอื่นที่เหมาะสมและดีกวาหรือ มีปญหาและอุปสรรคในการทําหรือไมอยางไร

การวิเคราะหโครงสรางหรือองคประกอบของโครงการแตละสวนจะตองดําเนินการอยางละเอียดรอบคอบ และจะตองทําใหแตละองคประกอบมีจุดเดนที่เห็นโดยแจมชัด ทั้งนี้เพื่อใหโครงการที่กําหนดขึ้นงายตอการพิจารณาและมีเหตุผล ควรแกการอนุมัติดําเนินการ โดยจะตองเนน ความชัดเจนของวัตถุประสงค คุณคาและประโยชนของโครงการตอสวนรวม มีชวงเวลาที่เหมาะสมในการดําเนินงาน ผูดําเนินโครงการจะตองมีความรูอยางชัดเจน มีข้ันตอนและวิธีการดําเนินงานที่ชัดเจนและเขาใจงาย

ดังนั้นถาผูวิเคราะหโครงการสามารถวิเคราะหคําถามทั้ง 6 ประการอยางละเอียดและไดคําตอบทุกคําถามดวยความพึงพอใจ ยอมถือไดวาโครงการนั้นควรไดรับการพิจารณาวาเปนโครงการที่สามารถดําเนินการได หรือเปนโครงการที่ควรสนับสนุน

2. การวิเคราะหโครงการโดยระบบ

การวิเคราะหโครงการโดยระบบนั้น จะตองวิเคราะหทุกสวนของระบบ อันไดแก

- ปจจัยนําเขา (Inputs) ซึ่งไดแก ทรัพยากรตางๆ เชน คน เงิน วัสดุอุปกรณ และการจัดการ เปนตน

Page 5: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 84

- กระบวนการ (Process) ซึ่งไดแก วิธีการในการดําเนินโครงการ เชน กิจกรรม วิธีการ กฎ ระเบียบ ขอบังคับ เปนตน

- ผลงาน (Output) ซึ่งไดแก ผลผลิตที่เปนทั้งปริมาณ และคุณภาพ เมื่อเทียบกับเปาหมายหรือเกณฑที่ไดกําหนดไว

- ผลกระทบ (Impact) ของโครงการที่มีตอกลุมบุคคลเปาหมาย หรือประชาชนจะตองพิจารณา คือประโยชนที่แทจริงที่กลุมเปาหมายจะไดรับ

3. การวิเคราะหโครงการในเชิงเศรษฐศาสตรหรือเชิงการบริหาร

ในการวิเคราะหโครงการโดยใชหลักการทางดานเศรษฐศาสตรหรือเชิงการบริหารนั้น จะมุงเนนในเรื่องผลตอบแทนในรูปของตัวเงิน (Money profit) หรืออาจเนนถึงผลกําไรทางสังคม (Social profit) ในกรณีที่เปนองคการที่ไมมีจุดมุงหมายเพื่อแสวงหากําไร เชน สถาบันการศึกษาของรัฐ องคการพัฒนาเอกชน (NGOs) เปนตน

หากเปรียบโครงการเปนเสมือนหนวยผลิตที่ทําการแปรรูป หรือเปล่ียนปจจัยที่ใสเขาไป (Input) ใหเกิดเปนผลผลิตออกมา (Output) แลว การวิเคราะหโครงการก็เปรียบเสมือนการประเมินรายละเอียดกิจกรรมตางๆ ของหนวยผลิตวา จะสามารถทําการผลิตไดคุมคามากนอยเพียงใด แลวจึงตัดสินใจวาจะดําเนินการจัดทําโครงการนั้นๆ หรือไม โดยพิจารณาทั้งในรูปตัวเงินที่เปนผลกําไร หรือพิจารณาในแงผลตอบแทนทางสังคมขึ้นอยูกับจุดมุงหมายขององคการที่จัดทําโครงการ ดังนั้นการวิเคราะหโครงการในลักษณะดังกลาวนี้ จึงหมายถึงการประเมินโครงการแบบ Ex-ante evaluation study) หรืออาจกลาวไดวาพิจารณาโดยยึดหลักของการวางโครงการที่ดี มีความเปนไปได สมจริงสมจัง และมีความยืดหยุนในการดําเนินงาน

อยางไรก็ตามการวิเคราะหดานเศรษฐศาสตร มองในแงมุมโดยสวนรวมของระบบเศรษฐกิจ ไมใชการมองสวนบุคคล ดังนั้นการวิเคราะหโครงการในลักษณะนี้จึงมองวา ผลกระทบที่เกิดจากโครงการมีสวนชวยในการเพิ่มรายไดของชาติหรือไม

4. การวิเคราะหโครงการทางดานการเงิน การวิเคราะหทางดานการเงินนั้นสามารถพิจารณาได 2 ประเด็นหลักคือ 1) กรณีที่โครงการนั้นเปนโครงการลงทุนเพื่อแสวงหากําไร การพิจารณาความเปนไปไดของโครงการจะพิจารณาทางเลือกที่ใหผลตอบแทนตอโครงการดีที่สุด 2) กรณีของโครงการที่ไมไดแสวงหากําไร

Page 6: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 85

เชน โครงการทางดานการศึกษา โครงการวิจัย การพิจารณาความเปนไดของโครงการจะพิจารณาวามีแหลงทุนสนับสนุนเพียงพอหรือไมตอการดําเนินโครงการใหสําเร็จ ทั้งนี้ ประสิทธิ์ (2542) ไดสรุป วัตถุประสงคของการวิเคราะหโครงการทางดานการเงินไวดังนี้

1) เพื่อประเมินความเปนไปไดทางดานการเงิน วาโครงการสามารถดําเนินการไดหรือไม มีผลกําไรหรือไม

2) เพื่อประเมินแรงจูงใจของผูเขารวมโครงการวาจะไดรับผลประโยชนจากโครงการมากนอยเพียงใด

3) เพื่อใหมีการจัดแผนการเงินที่ดี โดยวางแผนการจัดหาแหลงเงินทุนที่ดี 4) เพื่อประเมินขีดความสามารถในการบริหารการเงิน โดยเฉพาะการควบคุมและตรวจสอบการเงิน

5. การวิเคราะหโครงการทางดานการตลาดหรืออุปสงค

การวิเคราะหหรือคาดคะเนถึงอุปสงคของผลผลิตของโครงการเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งตอการวางแผนและวิเคราะหโครงการ ทั้งนี้เพราะถาหากผลิตหรือใหบริการในสิ่งที่ตลาดหรือสังคมสวนรวมไมตองการแลว ก็ไมมีเหตุผลอันใดที่จะทําการผลิตหรือจัดบริการนั้นๆ ประเด็นนี้สามารถมองไดทั้งโครงการที่จัดการผลิตเพื่อตอบสนองกับตลาดสินคาทั่วไป และโครงการที่จัดทําขึ้นแลวมองถึงความตองการดานอื่น เชน หลักสูตรการเรียนการสอนตองมองวามีผูตองการเรียนหรือไม นอกจากนี้ ขนาดของอุปสงคยังเปนเครื่องชี้ถึงขนาดของการผลิตหรือขนาดของโครงการอีกดวย การวิเคราะหอุปสงคนี้สวนใหญจะเกี่ยวของกับ ความพยายามที่จะตอบปญหาสําคัญๆ 3 ประการคือ

1) อุปสงคในการผลิตของโครงการมีมากนอยเพียงใด 2) อุปสงคในผลผลิตของโครงการมีแนวโนมจะเพิ่มข้ึนหรือลดลงและในอัตรามากนอยเพียงใด

3) โครงการที่กําลังพิจารณาอยูนี้ จะสนองความตองการไดมากนอยเพียงใด

เพื่อตอบคําถาม 3 ประการดังกลาวนี้ นักวิเคราะหโครงการจะตองเริ่มเก็บและวิเคราะหขอมูลที่ เกี่ยวของทั้งในอดีตและปจจุบัน เชน ขอมูลดานเวลา ปริมาณการผลิต ปริมาณกลุมเปาหมาย สภาพการแขงขัน ฯลฯ ในกรณีที่เปนโครงการที่จัดบริการใหแกสังคม ซึ่งสวนมากจะเปนโครงการของรัฐบาล เชน โครงการทางดานการศึกษา สาธารณสุข พัฒนาชุมชน ฯลฯ อุปสงค

Page 7: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 86

ของการจัดบริการเหลานี้จะขึ้นอยูกับ จํานวนประชากรที่อยูในเกณฑจะเขารับบริการ ระดับความตองการ การใชบริการ และขีดความสามารถในการจัดบริการของรัฐ เปนตน

6. การวิเคราะหโครงการทางดานเทคนิคหรือวิศวกรรม

การวิเคราะหทางดานเทคนิคหรือวิศวกรรมนั้นมีจุดมุงหมายเพื่อกําหนดวาโครงการนั้น จะเปนโครงการที่ดีทางวิศวกรรมทุกดาน ไมวาจะเปนเรื่องเครื่องจักร เครื่องมือ ขนาด สถานที่ต้ัง และเปนโครงการที่นําเอาเทคนิคตางๆ มาใชไดอยางเหมาะสม ซึ่งครอบคลุมไปถึงการวิเคราะหผลกระทบ (Impact) ของโครงการที่จะมีตอสภาพแวดลอม เชน จะกอใหเกิดผลเสียหายตอสภาพแวดลอมทางนิเวศนวิทยาหรือไม อยางไร และถาเกิดมีผลเสียจะมีมาตรการและวิธีการที่จะใชในการปองกันแกไขอยางไร

ประเด็นสําคัญของการวิเคราะห ก็เพื่อจะเลือกหาเทคนิคที่เหมาะสมถูกตอง กับปญหาที่เปนอยูและวัตถุประสงคของโครงการ เชน เลือกเมล็ดพันธุปุยและยาฆาแมลง ในสัดสวนที่ถูกตองเหมาะสมตามโครงการปลูกพืชที่กําหนดไว การเลือกเทคนิคในการผลิตพืชเพื่อใหเขากับมาตรฐานของ GAP เปนตน

การวิเคราะหดานเทคนิคนั้น จะตองอาศัยความรู และความเชี่ยวชาญของเจาหนาที่ ใหเปนผูทําการวิเคราะหและพิจารณา หากเปนโครงการทางดานการกอสรางก็จําเปนตองอาศัยวิศวกรเปนผูวิเคราะห โครงการทางการเกษตรก็ตองใหผูมีความรูทางดานการเกษตรเปนผูวิเคราะห เปนตน นอกจากนั้นการวิเคราะหดานนี้ ยังเปนฐานที่ดีของการประมาณการดานคาใชจายของโครงการอีกดวย

7. การวิเคราะหโครงการทางดานสิ่งแวดลอม

การพัฒนาประเทศไทยที่ผานมาสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมเปนอยางมาก ทําใหมีการตระหนักถึงเรื่องผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมข้ึน ดังนั้นโครงการขนาดใหญที่เกิดขึ้นจึงจําเปนตองมีการวิเคราะหโครงการทางดานสิ่งแวดลอม หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาเปนการประเมินผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม (Environmental impact assessment) ซึ่งประสิทธิ์ (2542) ไดอธิบายการวิเคราะหส่ิงแวดลอมไววา เปนกระบวนการรวบรวม วิเคราะห และประเมินการเปลี่ยนแปลงในส่ิงแวดลอมอันเปนผลมาจากโครงการหรือกิจกรรมของมนุษย โดยมีประเด็นในการวิเคราะหที่เกี่ยวของและครอบคลุมดังนี้

Page 8: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 87

1. ทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพของสิ่งแวดลอม จะเปลี่ยนแปลงไปอยางไรเมื่อมีการจัดโครงการ สงผลกระทบอยางไรบาง

2. ระบบเศรษฐกิจของทองถิ่นและประเทศจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไร 3. มีผลกระทบของโครงการในทองถิ่นและชุมชนที่ดําเนินโครงการ และชุมชนรอบขาง

ไดรับผลกระทบจากโครงการนั้นอยางไรบาง

สําหรับในประเทศไทย การวิเคราะหโครงการทางดานสิ่งแวดลอมนั้นจะตองดําเนินการในโครงการใหญๆ เนื่องจากโครงการเหลานี้สงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมอยางรุนแรง ทั้งนี้ตาม พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติฉบับใหม พ.ศ. 2535 และประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และส่ิงแวดลอม ไดกําหนด ประเภท ขนาดของโครงการที่ตองวิเคราะหผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม โดยไดกําหนดแนวทางวิธีการปฏิบัติตลอดจนการจัดทํารายงานผลการวิเคราะหไวในประกาศ ดังกลาว ซึ่งประเภทและขนาดของโครงการที่ตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ตามประกาศ ณ วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2535 และวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2535 มีจํานวนทั้งสิ้น 19 ประเภทดังนี้

ลําดับที่ ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ขนาด

1. เขื่อนเก็บกักน้ําหรืออางเก็บน้ํา ที่ มี ป ริ ม า ต ร กั ก เ ก็ บ น้ํ า ตั้ ง แ ต 100,000,000 ลูกบาศกเมตรขึ้นไป หรือมีพื้นเก็บกักน้ําตั้งแต 15 ตารางกิโลเมตรขึ้นไป

2. การชลประทาน มีพื้นการชลประทานตั้งแต 80,000 ไร ข้ึนไป

3. สนามบินพาณิชย ทุกขนาด

4. โรงแรมหรือสถานที่พักตากอากาศที่ต้ังอยูริมฝงทะเล ทะเลสาบ หรือชายหาด หรือที่อยูใกลหรือในอุทยานแหงชาติ หรือในอุทยานประวัติศาสตร ซึ่ ง เ ป น บ ริ เ ว ณ ที่ อ า จ ก อ ใ ห เ กิ ด ผ ลกระทบกระเทือนตอคุณภาพสิ่งแวดลอม

ที่มีจํานวนหองพักตั้งแต 80 หองขึ้นไป

Page 9: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 88

ลําดับที่ ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ขนาด

5. ระบบทางพิเศษตามกฎหมายวาดวยการทางพิเศษ หรือโครงการที่มีลักษณะเชนเดียวกับทางพิเศษ หรือระบบขนสงมวลชนที่ใชราง

ทุกขนาด

6. การทําเหมืองตามกฎหมายวาดวยแร ทุกขนาด

7. นิ คมอุ ต ส าหก ร รมตามกฎหมายว า นิ คมอุตสาหก ร รม ห รื อ โ ค ร ง ก า รที่ มี ลั กษณะเชนเดียวกับนิคมอุตสาหกรรม

ทุกขนาด

8. ทาเรือพาณิชย ที่สามารถรองรับเรือขนาดตั้งแต 500 ตันกรอส ข้ึนไป

9. โรงงานไฟฟาพลังงานความรอน ที่มีกําลังผลิตกระแสไฟฟาตั้งแต 10 เมกกะวัตต ข้ึนไป

10. การอุตสาหกรรม

1) อุตสาหกรรมเปโตรเคมี

ที่ใชวัตถุดิบซึ่งไดจากการกลั่นน้ํามันปโตรเลียม และ /หรือการแยกกาซธรรมชาติในกระบวนผลิตตั้งแต 100 ตันตอวันขึ้นไป

2) อุตสาหกรรมกลั่นน้ํามันปโตรเลียม ทุกขนาด

3) อุตสาหกรรมแยกหรือแปรสภาพกาซธรรมชาติ ทุกขนาด

4 ) อุ ตสาหกร รมคลอ -แอลคา ไลน (Chlor alkaline industry) ที่ใชโซเดียมคลอไรด (NaCl) เปนวัตถุ ดิบในการผลิตโซเดียมคารบอเนต (Na2Co3) โซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) กรดไฮโดรคลอริค (HCl) คลอรีน (Cl2) โซเดียมไฮโพคลอไรด (NaOCl) และปูนคลอรีน (Bleaching power)

ที่มีกําลังผลิตสารดังกลาวแตละชนิดหรือรวมกันตั้งแต 100 ตัน ตอวันขึ้นไป

Page 10: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 89

ลําดับที่ ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ขนาด

5) อุตสาหกรรมเหล็ก และ/หรือเหล็กกลา ที่มีกําลังผลิตตั้งแต 100 ตันตอวันขึ้นไป (กําลังผลิตใหคํานวณโดยใชกําลังเตาเปนตัวตอชั่ ว โมงคูณดวย 24 ชั่วโมง)

6) อุตสาหกรรมผลิตปูนซิเมนต ทุกขนาด

7) อุตสาหกรรมถลุงแรหรือหลอมโลหะ ซึ่งมิใชอุตสาหกรรมเหล็กหรือเหล็กกลา

ที่มีกําลังผลิตตั้งแต 50 ตันตอวันขึ้นไป

8) อุตสาหกรรมผลิตเยื่อกระดาษ ที่มีกําลังการผลิตตั้งแต 50 ตันตอวันข้ึนไป

11. โครงการทุกประเภทที่อยูในพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบกําหนดใหเปนพื้นที่ลุมน้ําชั้น 1 บี

ทุกขนาด

12. การถมที่ดินในทะเล ทุกขนาดโครงการ

13. อาคารที่ต้ังอยูริมแมน้ํา ฝงทะเล ทะเลสาบ หรือชายหาด หรือที่อยูใกล หรือในอุทยานแหงชาติ หรืออุทยานประวั ติศาสตร ซึ่ ง เปนบริเวณที่อาจจะกอใหเกิดผลกระทบ กระเทือนตอคุณภาพส่ิงแวดลอม

อาคารที่มีขนาด

1. ความสูงตั้งแต 23.00 เมตรขึ้นไป หรือ

2. มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันตั้งแต 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป

14. อาคารชุดพักอาศัยตามกฎหมายวาดวยอาคารชุด

ที่มีจํานวนหองชุดตั้งแต 80 หองชุดขึ้นไป

15. การจัดสรรที่ ดินเพื่อเปนที่อยูอาศัย หรือเพื่อประกอบการพาณิชย

จํานวนที่ดินแปลงยอยตั้งแต 500 แปลงขึ้นไป หรือเนื้อที่เกินกวา 100 ไร

Page 11: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 90

ลําดับที่ ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ขนาด

16. โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล

1) กรณีต้ังอยูริมแมน้ํา ฝงทะเล ทะเลสาบ หรือชายหาด ซึ่งเปนบริเวณที่อาจจะกอใหเกิดผลกระทบกระเทือนตอคุณภาพสิ่งแวดลอม

ที่มี เตียงผูปวยไวคางคืน ต้ังแต 30 เตียงขึ้นไป

2) กรณีโครงการที่ไมอยูในขอ 1) ที่มีเตียงสําหรับผูปวยคางคืนตั้งแต 60 เตียงขึ้นไป

17. อุตสาหกรรมผลิตสารออกฤทธิ์ หรือสารที่ใชป อ ง กั น ห รื อ กํ า จั ด ศั ต รู พื ช ห รื อ สั ต ว โ ดยกระบวนการทางเคมี

ทุกขนาด

18. อุตสาหกรรมการผลิตปุยเคมีโดยกระบวน การทางเคมี

ทุกขนาด

19. ทางหลวงหรือถนน ซึ่ งมีความหมายตามกฎหมายวาดวยทางหลวงที่ตัดผานที่ดังตอไปนี้

1) พื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาและเขตหามลาสัตวปาตามกฎหมายวาดวยการสงวนและคุมครองสัตวปา

2) พื้นที่เขตอุทยานแหงชาติตามกฎหมายวาดวยอุทยานแหงชาติ

3) พื้นที่เขตลุมน้ําชั้น 2 ตามที่คณะ รัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแลว

4) พื้นที่เขตปาชายเลนที่เปนปาสงวนแหงชาติ

5) พื้นที่ชายฝงทะเลในระยะ 50 เมตร หางจากระดับน้ําทะเลขึ้นสูงสุด

ทุกขนาดที่ เ ที ยบ เท าหรื อ สู งกว า มาตรฐานต่ําสุดของทางหลวงชนบทข้ึนไป โดยรวมความถึงการสรางคันทางใหมเพิ่มเติมจากคันทางที่มีอยู

ที่มา: ทวีวงศ ศรีบุรี. 2541. EIA การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม.

Page 12: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 91

ขั้นตอนการวิเคราะหผลกระทบทางสิ่งแวดลอม

ในการวิเคราะหผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม เพื่อจัดทําเปนรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมนั้น กนกพร (2545) ไดแบงขั้นตอนการ วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมเปน 10 ข้ันตอน ดังนี้

1. การกําหนดขอบเขตของการศึกษา จะตองคํานึงถึงขนาดของโครงการ และขอบเขตของผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นเปนสําคัญ

2. การเก็บขอมูล จะตองเก็บรายละเอียดขอมูลจากทุกสวนที่เกี่ยวของกับโครงการ เปนขอมูลต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน ขอมูลที่ เก็บมานั้นตองสามารถอธิบายสภาพแวดลอมปจจุบันของโครงการได อธิบายการเปลี่ยนแปลงของโครงการ บอกถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการทําโครงการ และสามารถเสนอแนะแนวทางในการลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม

3. การสํารวจภาคสนาม เปนการเก็บขอมูลจริงในพื้นที่โครงการ ทําใหผูประเมินไดเห็นสภาพที่แทจริงของโครงการ ซึ่งจะมีประโยชนในการวิเคราะหโครงการตอไป

4. การวิเคราะหโครงการ เปนขั้นที่นําเอาขอมูลตางๆ ที่เก็บไดนํามาวิเคราะหทั้งดานเนื้อหาสาระ และการใชวิธีการวิเคราะหทางสถิตเขามาชวย

5. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม โดยแยกพิจารณาออกเปน 3 สวน คือการศึกษารายละเอียดของตัวโครงการ การศึกษารายละเอียดของสิ่งแวดลอมที่มีผลกระทบจากโครงการ และการจําแนกผลกระทบที่เกิดขึ้นกับส่ิงแวดลอมอันเนื่องมาจากการทําโครงการ

6. การประเมินคา เปนการพิจารณาขอมูลที่ไดศึกษามาโดยผูเชี่ยวชาญแตละสาขา เพื่อประเมินหาแนวทางที่เหมาะสมในการดําเนินโครงการใหลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม

7. การจัดการและการควบคุมผลกระทบที่เกิดตอส่ิงแวดลอม เปนเรื่องของการกําหนดมาตรการในการลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม การชดเชยผลเสียที่เกิดตอส่ิงแวดลอม และการติดตามเฝาระวังสภาพแวดลอม

8. การทําแผนทางเลือกของโครงการ และการจัดทําขอเสนอแนะ 9. การจัดเตรียมรายงาน เพื่อจะนําเสนอผลการศึกษามาแลวทั้งหมดในรูปของ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม อันจะเปนเครื่องมือชวยในการส่ือสารกับผูที่ไดรับผลกระทบจากโครงการ

Page 13: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 92

10. การตัดสินโครงการ เปนการพิจารณาใหความเห็นชอบของหนวยงานที่รับผิดชอบ

8. การวิเคราะหโครงการทางดานสังคม

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 เปนแผนพัฒนาที่ใหความสําคัญกับทรัพยากรมนุษยเปนอยางมาก ดังนั้นการวิเคราะหโครงการในชวงหลังจากมีการใชแผนพัฒนาฉบับนี้ โครงการสวนใหญจึงมุงใหความสนใจเกี่ยวกับสังคมมากขึ้น ซึ่ง ประสิทธิ์ (2542) ไดสรุปความสําคัญและวัตถุประสงคของการวิเคราะหโครงการทางดานสังคมไวดังนี้

1. เพื่อวิเคราะหผลกระทบของโครงการที่มีตอสวัสดิการทางสังคม ในรูปของการกระจายรายได และการแกไขปญหาความยากจน ทั้งเนนการกระจายโอกาสของผูมีรายไดนอยใหสามารถมีโอกาสเขาถึงโครงการไดมากกวา

2. เพื่อชวยกําหนดความเหมาะสมของโครงการ โดยใชขอมูลทางสังคมมาเปนขอมูลพื้นฐานในการวางโครงการ

3. เพื่อประเมินผลกระทบทางสังคมของโครงการ โดยลดผลกระทบทางลบ และเพิ่มผลกระทบทางบวก

เพื่อใหนิสิตไดมีทักษะในการวิเคราะหโครงการเพิ่มมากข้ึน ตอจากนี้ไปจะเปนตัวอยางโครงการตางๆ ที่สมมุติข้ึน ใหนิสิตนําความรูจากภาคทฤษฎีที่ไดเรียนมากอนหนานี้ ใชเปนแนวทางในการวิเคราะหโครงการตัวอยาง เพื่อวิเคราะหขอบกพรองตางๆ ที่ปรากฎในโครงการนั้น พรอมกันนี้ ใหนิสิตเสนอแนะแนวทางการแกไขโครงการเหลาใหสามารถนําไปปฏิบัติไดจริงตอไป

Page 14: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 93

กรณีตัวอยางเพ่ือการวิเคราะหโครงการ

ตัวอยางท่ี 1

ช่ือโครงการ คายอาสายุวเกษตรไทยใสใจสิ่งแวดลอม

ช่ือองคกร สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

ผูรับผิดชอบโครงการ 1. ผศ.ดร.ประสงค ตันพิชัย อาจารยที่ปรึกษาโครงการ 2. ผศ.สันติ ศรีสวนแตง อาจารยที่ปรึกษาโครงการ

3. นายชาติชาย อ่ิมเกษรรุงเจริญ หัวหนาโครงการ 4. นายปองพล พฤกษภากรณ รองหัวหนาโครงการ 5. นางสาวนุจรีย กัลยาประสิทธิ์ เหรัญญิก 6. นางสาวมัทยา กลิ่นหวล กรรมการ 7. นางสาวทัศนีย วิสุทธิรังสรรค กรรมการ 8. นางสาวปยะภรณ วรประโยชน กรรมการ 9. นางสาวชนกนันท อุตทาพงษ กรรมการและเลขานุการ

ผูเขารวมโครงการ 1. นิสิตคณะศึกษาศาสตร จํานวน 40 คน 2. นักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 40 คน รวมจํานวนผูเขารวมโครงการ จํานวนทั้งสิ้น 80 คน

หลักการและเหตุผล สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน มีจุดมุงหมายพัฒนาศักยภาพนิสิตทางดานความรูและการจัดการบริการสาธารณประโยชนใหแกนิสิต สังคมและสิ่งแวดลอมจึงไดมีการจัดโครงการเพื่อใหนิสิตไดมีโอกาสแสดงออกในดานกิจกรรมเสริมหลักสูตรในทุกๆ ดานใหคิดเปนทําเปน นําวิชาการ ทักษะดานสาขาวิชาชีพ ออกไปเผยแพร ถายทอดและพัฒนาสังคมอยางมีคุณภาพ ทั้งนี้ยังสงเสริมสนับสนุนใหนิสิตมีความสามัคคีและมีจิตสํานึกเพื่อสวนรวม

Page 15: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 94

เพื่อใหจุดมุงหมายดังกลาวบรรลุผลทางสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน จึงมีความประสงคที่จะนําความรูทักษะดานวิชาชีพเกษตรออกเผยแพรใหกับเยาวชนบริเวณใกลเคียงมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษาตอนตน เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกดานวิชาการเกษตรเพื่อส่ิงแวดลอม ตลอดจนกิจกรรมที่สงเสริมใหเยาวชน มีความรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอม ทางสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน จึงจัดตั้งโครงการคายยุวชนเกษตรไทยใสใจส่ิงแวดลอมข้ึน เพื่อใหเยาวชนไดรับความรูดานการเกษตรเพื่อส่ิงแวดลอมที่ถูกตอง

วัตถุประสงค 1. เพื่อใหนิสิตนําความรู และทักษะดานวิชาชีพไปสรางสรรคใหบริการและพัฒนาความรู

ความสามารถแกเยาวชน 2. เพื่อสรางความรวมมือ สามัคคี รับผิดชอบ และเสียสละเพื่อสวนรวมฝกใหรูจักการวาง

แผนการดําเนินงาน และขั้นตอนการทํางานรวมกันเปนกลุมคณะ 3. เพื่อใหเยาวชนไดรับความรูดานการเกษตรและสิ่งแวดลอมที่ถูกตอง 4. เพื่อปลุกจิตสํานึกใหแกเยาวชนในการอนุรักษส่ิงแวดลอม 5. เพื่อสงเสริมใหนิสิตและเยาวชนใชเวลาวางใหเกิดประโยชน

เปาหมาย นักเรียนจากโรงเรียนในอําเภอกําแพงแสนเขารวมโครงการ ไมนอยกวา 40 คน

วิธีดําเนินการ 1. การเตรียมงาน 1.1 สํารวจความรูพื้นฐานดานการเกษตรและสิ่งแวดลอมของเยาวชน 1.2 ประชุมผูรับผิดชอบโครงการเพื่อแบงหนาที่ปฏิบัติงาน 1.3 ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการเกษตรเพื่อส่ิงแวดลอมที่ถูกตอง 2. การเริ่มงาน 2.1 ติดตอประสานกับโรงเรียนที่เขารวมโครงการ 2.2 จัดเตรียมสถานที่ที่ใชในการจัดคายอาสายุวเกษตรไทยใสใจส่ิงแวดลอม

2.3 จัดเตรียมกิจกรรมเผยแพรความรูที่ใชในการจัดคายอาสายุวเกษตรไทยใสใจส่ิงแวดลอม

Page 16: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 95

3. การปฏิบัติงาน 3.1 รับลงทะเบียนเยาวชนที่เขารวมโครงการ 3.2 จัดกิจกรรมคายตามแผนงานที่วางไว 4. ประเมินผลสรุปผลการดําเนินโครงการ

แผนการปฏิบัติงาน

งาน สถานที่ วัน เดือน ป ผูรับผิดชอบ 1. สํารวจความรูพื้นฐานดานการเกษตรและสิ่งแวดลอมของเยาวชน

โรงเรียนเปาหมายบริเวณใกลเคียง

16-21 มกราคม 2548

นายชาติชาย

2. ประชุมเพื่อกําหนดกิจกรรมการดําเนินโครงการ

สโมสรนิสิต คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน

26 มกราคม 2548

นายชาติชาย และคณะกรรมการ

4. ติดตอประสานงานกับโรงเรียนที่เขารวมโครงการ

โรงเรียนเปาหมายบริเวณใกลเคียง

1- 2 กุมภาพันธ 2548

นางสาวปยะภรณ นางสาวทัศนีย

5. จัดเตรียมสถานที่และกิจกรรมในการจัดคายอาสาฯ

ชุมนุมฟารมนิสิตคณะศึกษาศาสตร

3-4 กุมภาพันธ 2548

นางสาวชนกนันท นางสาวมัทยา

6. ปฏิบัติงานคายอาสาฯ ตามแผนที่วางไว

ชุมนุมฟารมนิสิตคณะศึกษาศาสตร

5-6 กุมภาพันธ 2548

นายชาติชาย และคณะกรรมการ

7. สรุปและประเมินผลการดําเนินงาน

สโมสรนิสิตคณะ ศึกษาศาสตร กําแพงแสน

6 กุมภาพันธ 2548

นายชาติชาย และคณะกรรมการ

ระยะเวลาในการดําเนินโครงการ

เร่ิมต้ังแต วันที่ 5 กุมภาพันธ 2548 ส้ินสุด วันที่ 6 กุมภาพันธ 2548 รวมทั้งสิ้นเปนเวลา 2 วัน

Page 17: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 96

งบประมาณและทรัพยากรที่ตองใช 1. คาอาหารสําหรับนิสิตและนักเรียน

จํานวน 80 คน คนละ 4 มื้อๆ ละ 15 บาท เปนเงิน 4,800 บาท 2. คาอาหารวางและเครื่องดื่ม

จํานวน 80 คน คนละ 3 มื้อๆ ละ 10 บาท เปนเงิน 2,400 บาท 3. คายานพาหนะ เปนเงิน 800 บาท 4. คาวัสดุการจัดปายนิเทศและกิจกรรม เปนเงิน 3,600 บาท 5. คาตอบแทนวิทยากร 4 ชั่วโมงๆละ 600 เปนเงิน 2,400 บาท 6. คาใบประกาศนียบัตรและการประเมินผล เปนเงิน 1,000 บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 15,000 บาท

หมายเหตุ คาใชจายในโครงการขอถัวเฉลี่ยทุกรายการ

การติดตามและประเมินผลโครงการ

รายละเอียดการประเมินผล ผูรับผิดชอบ ชวงเวลาประเมินผล 1. จํานวนผูเขารวมโครงการ

น.ส.ชนกนันท น.ส.มัทยา

ขณะดําเนินการ

2. ผลการทดสอบจากแบบทดสอบวัดความรูดานการเกษตรและสิ่งแวดลอม

นายปองพล น.ส.นุจรีย

กอนและหลังการดําเนินโครงการ

3. ความเหมาะสมในการดําเนินโครงการ นายชาติชาย และ คณะกรรมการ

หลังการดําเนินโครงการ

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. นิสิตนําความรูและทักษะดานวิชาชีพไปสรางสรรคใหบริการและพัฒนาความรู

ความสามารถแกเยาวชน 2. นิสิตที่เขารวมโครงการมีความสามัคคี รับผิดชอบ และเสียสละเพื่อสวนรวมและรูจักฝก

การวางแผนงานและปฏิบัติงานรวมกัน 3. เยาวชนที่เขารวมโครงการไดรับความรูพื้นฐานดานการเกษตรและสิ่งแวดลอมที่ถูกตอง 4. เยาวชนมีจิตสํานึกในการอนุรักษส่ิงแวดลอม 5. นิสิตและเยาวชนที่เขารวมโครงการไดใชเวลาวางใหเปนประโยชน

Page 18: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 97

เมื่อนิสิตไดวิเคราะหโครงการคายอาสายุวเกษตรไทยใสใจสิ่งแวดลอมแลว มีความคิดเห็นอยางไร

1. ไมอนุมัติ เพราะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. อนุมัติโดยไมมีขอแกไขใดๆ

3. อนุมัติโดยมีขอแกไขดังตอไปนี้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 19: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 98

………………………………………………………………………………………………………………………

Page 20: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 99

ตัวอยางท่ี 2

1. ช่ือโครงการ โครงการปลูกพืชผักสวนครัว

2. สวนราชการ ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรวิทยาเขตกําแพงแสน

3. ผูรับผิดชอบโครงการ

♦ นางสาว เปรมฤดี ทับปง หัวหนาโครงการ

♦ นางสาว พนารัตน นาคศรี ผูรวมโครงการ

♦ นางสาว ภัทรา จันทสาร ผูรวมโครงการ

♦ นายดุสิทธิ์ จันทรกระจาง ผูรวมโครงการ

4. ระยะเวลา

♦ โครงการนี้เร่ิมต้ังแตวันที่ 8 มิถุนายน 2548

♦ ส้ินสุดวันที่ 30 กันยายน 2548

♦ รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 115 วัน

5. สถานที่

พื้นที่วางบริเวณใกลแปลงชบา ของฟารมผสมผสานคณะศึกษาศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

6. หลักการและเหตุผล

ในสภาวะปจจุบันราคาสินคาอุปโภคและบริโภคตางๆ มีราคาสูงขึ้น ทําใหผูมีรายไดนอยเดือดรอนเปนอยางมาก เพราะรายจายตางๆ เพิ่มมากขึ้นดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งรายจายคาอาหาร ซึ่งเปนสิ่งจําเปนมากที่สุดในครอบครัว ถาครอบครัวใดสามารถประหยัด คาใชจายดานอาหารไดมาก ครอบครัวนั้นจะเหลือเงินเก็บไวใชจายในคราวที่จําเปนหรือเก็บไวเปนทุนการศึกษาใหบุตรหลานไดมากข้ึน การปลูกพืชผักสวนครัวไวใชบริโภคในครอบครัวจึงเปนการชวยลด

Page 21: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 100

คาใชจายดานอาหารลงบาง อีกทั้งยังไดบริโภคพืชผักสวนครัวที่ปราศจากพิษภัยของสารเคมีตางๆ ดวย เพราะผูบริโภคเปนผูปลูกและดูแลรักษาดวยตนเอง ดังนั้นผูบริโภคจึงมั่นใจไดวาปลอดภัยอยางแนนอน สําหรับนิสิตคณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาศึกษาศาสตร-เกษตร ซึ่งจะตองฝกงานดานการเกษตรตามหลักสูตรของภาควิชาอาชีวศึกษา เพื่อเพิ่มความรูและประสบการณใหตนเอง โครงการปลูกพืชผักสวนครัวนี้ นอกจากจะเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชนแลว นิสิตที่เขาไปดูและชวยงานของโครงการนี้จะไดรับความรูเกี่ยวกับชนิดของพืชผักสวนครัวที่ควรปลูก รวมทั้งการบํารุงรักษาใหไดผลผลิตที่ดีและพอเพียงตลอดป นอกจากนี้ยังสามารถจําหนายผลผลิตใหแกนิสิตที่ตองการนําไปประกอบอาหาร โดยเฉพาะในวันหยุดที่รานอาหารภายในวิทยาเขตไมเปดบริการ นิสิตสามารถใชพืชผักสวนครัวเหลานี้ประกอบอาหารรับประทานรวมกัน เปนการกระชับความสัมพันธใหแนนแฟนขึ้น และยังประหยัดรายจายไดเมื่อเทียบกับการออกไปรับประทานที่ตลาดบานยาง ดังนั้นจึงควรใหมีการจัดตั้งโครงการปลูกพืชผักสวนครัวนี้ เพื่อเพิ่มประสบการณใหนิสิตและชวยประหยัดรายจายสําหรับนิสิตที่ทําอาหารรับประทานเองดวย อีกทั้งยังเปนการหารายไดเสริมใหกับนิสิตอีกดวย

7. วัตถุประสงค 7.1 เพื่อใหนิสิตไดรับความรูและประสบการณในการปลูกพืชผักสวนครัวในบริเวณ จํากัด

และสามารถปลูกไวบริโภคเองได

7.2 เพื่อใหนิสิตรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน

7.3 เพื่อใหนิสิตสามารถประหยัดคาใชจายในดานอาหารไดบาง

7.4 เพื่อใหนิสิตมีรายไดเสริมจากการจําหนายผลผลิต

8. เปาหมาย

เมื่อโครงการนี้ส้ินสุดลงในวันที่ 30 กันยายน 2548 คาดวาสามารถปลูกพืชผักสวนครัวไวบริโภคไดอยางนอย 15 ชนิด

9. การดําเนินงาน

เพื่อใหโครงการนี้บรรลุวัตถุประสงคที่ต้ังไว จึงดําเนินการเปนขั้นตอน ดังนี้

9.1 แจงใหผูเกี่ยวของทราบ

Page 22: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 101

9.2 ข้ันเตรียมงาน

- นัดประชุมผูรวมงานเพื่อตกลงเลือกชนิดพืชผักที่จะปลูก และแบงงานกันทํา

9.3 ข้ันการเริ่มงาน - ปรับพื้นที่ และกําจัดวัชพืช - จัดเตรียมทอนพันธุ และเมล็ดพันธุ

9.4 ข้ันปฏิบัติงาน - เตรียมดินในแปลงปลูก และยกแปลง - ปลูกดวยเมล็ด หรือทอนพันธุ ที่หาได - ดูแล บํารุงรักษา โดยการ รดน้ํา ใสปุย และกําจัดวัชพืช - เก็บผลผลิตที่ได - จําหนายผลผลิต

9.5 ประเมินผล และจัดทํารายงาน

10. แผนปฏิบัติงาน

รายละเอียดเกี่ยวกับการดําเนินการใน ขอ 9 มีดังในตารางตอไปนี้

งาน วิธีการและสถานที่ เวลา ผูรับผิดชอบ หมายเหตุ

1. แจงใหผูเกี่ยวของทราบ

- แจงใหอาจารยที่ปรึกษาของฟารมฯทราบ และแนบโครงการ เพื่อขออนุมัติจากคณบดี

8-15 มิ.ย. 2548

เปรมฤดี

2 . นั ด ป ร ะ ชุ มผูรวมงาน

- นัดประชุมผูรวมงานเพื่อแจงใหทราบ ให ไปศึกษาเรื่องการปลูกพืชผักสวนครัวจาก หนังสือในหองสมุด และรับสมัครผูที่สนใจ ประชุมวันที่ 16 มิ.ย.2548 ที่อาคารกิจการนิสิตเวลา 19.00 น. และนัดประชุมคร้ังตอไป

16 ม.ิย. 2548 เวลา

19.00 น.

เปรมฤดี

Page 23: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 102

งาน วิธีการและสถานที่ เวลา ผูรับผิดชอบ หมายเหตุ

- ประชุมผูรวมงานทั้งหมดเพื่อตกลงเลือก สถานที่ (ขนาดและแผนผังในการปลูก) และชนิดของพืชผักที่จะปลูกที่ฟารมผสมผสานคณะฯ และแบงงานกันทํา

19 มิ.ย 2548 เวลา

16:00 น.

พนารัตน

3. ปรับพื้นที่ และกําจัดวัชพืช

- กําจัดวัชพืชโดยการถากหญา ขุดและ พรวนดิน (พลิกดินเพื่อตากแดด) ในแปลงบริเวณใกลแปลงชบาในฟารมฯ

20 มิ.ย. 2548

ดุสิทธิ์ ใชเวลาที่วางจากการเรียน

4. จัดเตรียมทอนพันธุและเมล็ดพันธุ

- ขอเมล็ด และทอนพันธุ จากศูนยวิจัยฯ และจัดซื้อใหไดครบทุกชนิดที่ตองการ

25 มิ.ย. 2548

ภัทรา

Page 24: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 103

งาน วิธีการและสถานที่ เวลา ผูรับผิดชอบ หมายเหตุ

5. ข้ันปฏิบั ติการปลูก

- ยกแปลง และเตรียมดิน ใหพรอมตามแผนผังที่วางไว

- ปลูกโดยใชเมล็ด และทอนพันธุ ที่หาได ตามแผนผังที่กําหนดไว - ดูแล และบํารุง โดยทําสิ่งตอไปนี้เมื่อถึงเวลาเริ่มต้ังแตปลูก

1. รดน้ํา 2. ใสปุย อยางนอยเดือนละ 1 คร้ัง 3. พรวนดิน 4. ทําโครงพรางแสงใหพืชบางชนิด ขณะที่ยังเปนตนกลา

5. ทําคางสําหรับไมเลื้อย 6. กําจัดวัชพืช

- เก็บผลผลิตที่ไดไปบริโภค หรือจําหนายในราคาถูก

25-30 มิ.ย. 2548

1-2 มิ.ย.2548

ต้ังแตเร่ิมปลูก

เมื่อเหมาะสม

ดุสิทธิ์

เปรมฤดี

สมาชิกทุก

คน

ภัทรา

6. ประเมินผล - นําขอมูลที่ไดทั้งหมดมาประเมินผลและจัดทํารายงานสําหรับเก็บไวเปนขอมูลในการทําครั้งตอไป

29-30ก.ย. 2548

เปรมฤดีพนารัตน

Page 25: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 104

11. งบประมาณ โครงการปลูกพืชผักสวนครัวตองใชงบประมาณในการลงทุน ดังนี้

11.1 คาเมล็ดพันธุ และทอนพันธุ เปนเงิน 150 บาท

11.2 คาวัสดุ และอุปกรณในการทําโครงพรางแสง ทําคาง และอื่น ๆ เปนเงิน 150 บาท

รวมเปนเงิน 300 บาท

12. วัสดุและอุปกรณ ในการดําเนินงานตามโครงการจะตองเตรียมวัสดุ และอุปกรณตอไปนี้ใหพรอม

12.1 เมล็ดพันธุ และทอนพันธุ พืชผักสวนครัวชนิดตางๆ อยางนอย 15 ชนิด 12.2 ปุยคอก (ใชมูลสัตวที่มีอยูในฟารมคณะฯ) 1 ลูกบาศกเมตร 12.3 จอบ ชอนปลูก และสอมพรวน 4 ชุด 12.4 บัวรดน้ํา 4 ใบ 12.5 ไมทําคาง และวัสดุในการทําโครงพรางแสง 1 ชุด

13. ผลที่คาดวาจะไดรับ

13.1 ไดพืชผักสวนครัวอยางนอย 15 ชนิด

13.2 ไดสมุดบันทึกการปฏิบัติงาน สามารถนําไปใชในการวางแผนดําเนินงานครั้งตอไป

Page 26: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 105

เมื่อนิสิตไดวิเคราะหโครงการปลูกพืชผักสวนครัวแลว มีความคิดเห็นอยางไร

1. ไมอนุมัติ เพราะ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. อนุมัติโดยไมมีขอแกไขใดๆ

3. อนุมัติโดยมีขอแกไขดังตอไปนี้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 27: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 106

………………………………………………………………………………………………………………….......................................................................................……………

Page 28: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 107

ตัวอยางท่ี 3

1. ช่ือโครงการ การเผยแพรความรูและการสาธิตการเพาะเห็ดฮังการีสําหรับนักเรียน

2. หนวยงานที่รับผิดชอบ ฟารมนิสิตคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน จ.นครปฐม

3. ผูรับผิดชอบ ผศ.ดร.ประสงค ตันพิชัย อาจารยที่ปรึกษาโครงการ นางสาวจิรารัตน ประวัง หัวหนาโครงการ นางสาวสาพร โคตรทา เหรัญญิก นาวสาววรรณสิริ สายใหญ ผูรวมโครงการ นายดนัย สมฤทธิ์ ผูรวมโครงการ นางสาวพรพรรณ ภูแกว เลขานุการ

4. หลักการและเหตุผล ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตรมีหนาที่ ในการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาศึกษาศาสตร-เกษตร เพื่อเปนครูเกษตรหรือผูนําในการประกอบอาชีพเกษตรที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในการเรียนการสอนจึงมีการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมในดานการถายทอดความรูและเกษตรกรควบคูกันไป ซึ่งเปนการฝกฝนใหนิสิตมีความรู ทักษะและประสบการณมากยิ่งขึ้นเพื่อกระจายความรูที่มีสูชุมชน

ดังนั้น ฟารมคณะศึกษาศาสตร ไดเห็นความสําคัญของการเกษตรในดานการผลิตเห็ด ซึ่งเปนผลิตภัณฑทางการเกษตรที่คนสวนใหญนิยมบริโภคและสามารถสาธิตและถายทอดขั้นตอนการผลิตไดในระยะเวลาอันสั้น ข้ันตอนการทํางายตอการเขาใจและเกิดทักษะไดดีโดยเฉพาะกับเด็กซึ่งเปนวัยที่เรียนรูไดอยางรวดเร็ว ผลผลิตที่ไดนั้นสามารถขายไดราคาดี ใหผลผลิตเร็วจึงทําใหมีรายไดสม่ําเสมอ ซึ่งฟารมคณะศึกษาศาสตรมีความพรอมทั้งดานสถานที่ วัสดุและอุปกรณเครื่องมือตางๆ ที่ใชประกอบการผลิต ดังนั้นจึงไดจัดทําโครงการเผยแพรหรือการสาธิตการเพาะเห็ดสําหรับนักเรียนขึ้น เพื่อถายทอดความรูทางดานการเพาะเห็ดสูชุมชน นอกจากนี้นิสิตที่เขารวมโครงการยังไดนําเอาความรูทางดานศึกษาศาสตรที่เรียนมาเพื่อทดลองฝกประสบการณจริง อันจะทําใหเกิดประโยชนตอนิสิตในอนาคตได

Page 29: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 108

5. วัตถุประสงค 5.1 เพื่อเปนการฝกทักษะการถายทอดความรูทางการเกษตรใหกับนิสิตสาขาศึกษาศาสตร-

เกษตร 5.2 เพื่อเปนการเผยแพรความรูและทักษะในการผลิตเห็ดฮังการีใหแกนักเรียนที่สนใจ

6. เปาหมาย 6.1 มีจํานวนผูสนใจเขารวมโครงการไมนอยกวา 50 คน 6.2 มีผูเขารวมโครงการไมนอยกวารอยละ 80 ไดรับความรูในดานการผลิตเห็ดฮังการี

7. วิธีดําเนินการ 7.1 การเตรียมงาน 7.1.1 ติดตอประสานงานกับกลุมโรงเรียนในพื้นที่อําเภอกําแพงแสน 7.1.2 ติดตอวิทยากรพิเศษ 7.1.3 แจงคณะกรรมการและสมาชิกเพื่อวางแผนดําเนินโครงการ 7.1.4 ชี้แจงรายละเอียดตางๆ ของการดําเนินโครงการ 7.1.5 ศึกษาการเพาะเห็ดฮังการีจากผูรู หองสมุด ฟารมเอกชน จนเปนที่เขาใจ 7.2 การเริ่มงาน 7.2.1 เตรียมสถานที่และอุปกรณในการดําเนินโครงการ 7.2.2 เตรียมเนื้อหาในการสาธิต 7.2.3 เชิญวิทยากรใหความรู 7.2.4 จัดซื้อวัสดุ-อุปกรณตางๆ ที่จะใชในการเพาะเห็ด 7.3 ปฏิบัติการเพาะเห็ด 7.3.1 ใหความรูเร่ืองเห็ดโดยวิทยากร 7.3.2 สาธิตการเพาะเห็ดและปฏิบัติ 7.3.3 การดูแลรักษาในขณะรอเก็บผลผลิตหรือขณะเก็บผลผลิต 7.4. ประเมินผลและจัดทํารายงาน

Page 30: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 109

8. แผนการปฏิบัติงาน

7 ธันวาคม 2547

เวลา กิจกรรม 9.00-9.30 น. นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5-6 ของโรงเรียนในพื้นที่อําเภอ

กําแพงแสนเดินทางมาถึงฟารมคณะศึกษาศาสตร 9.45-12.00 น. เปดงานพรอมฟงคําบรรยายความรูจากวิทยากรเกี่ยวกับเห็ด 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. ทํากอนเชื้อเห็ด 14.30-14.45 น. รับประทานอาหารวาง 14.45-16.00 น. ทํากอนเชื้อเห็ด

8 ธันวาคม 2547

เวลา กิจกรรม 8.30-10.00 น. หยอดเชื้อเห็ด 10.00-10.15 น. รับประทานอาหารวาง 10.15-12.00 น. การเปดดอกและการดูแล รักษา 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

9. ระยะเวลาในการดําเนินโครงการ วันที่ 7-8 ธันวาคม 2547

10. งบประมาณและทรัพยากรที่ตองการใช 10.1 วัสดุอุปกรณ

ข้ีเลื่อย 5,000 บาท รําละเอียด 500 บาท ยิปซั่ม 200 บาท ปูนขาว 100 บาท ถุงพลาสติก 500 บาท ยางรัด 100 บาท

Page 31: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 110

ฝาย(อุดคอขวด) 300 บาท เชื้อเห็ดฮังการี 1,200 บาท คอขวด 600 บาท แกส 550 บาท 10.2 คาวิทยากร 1,000 บาท

10.3 คาอาหารกลางวัน 2 มื้อๆ ละ 15 บาท/คน จํานวน 70 คน 2,100 บาท

10.4 คาอาหารวาง 4 มื้อๆ ละ 10 บาท/คน จํานวน70 คน 2,800 บาท

รวมทั้งสิ้น 14,950 บาท หมายเหตุ คาใชจายในโครงการขอถัวเฉลี่ยทุกรายการ

11. การติดตามและประเมินผลโครงการ 11.1 ใชแบบสอบถาม 11.2 ดูจากผลงานและปริมาณกอนเชื้อเห็ดที่ทําได

12. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 12.1 นักเรียนสามารถทํากอนเชื้อไดอยางถูกวิธี 12.2 นักเรียนนําความรูที่ไดรับไปประกอบอาชีพได 12.3 นักเรียนสามารถนําความรูไปถายทอดใหผูปกครองไปประกอบเปนอาชีพเสริมได

12.4 นิสิตสาขาศึกษาศาสตร-เกษตรมีประสบการณถายทอดความรูและทักษะทางการเกษตรมากขึ้น

12.5 เผยแพรกิจกรรมทางการเกษตรของสโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร

Page 32: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 111

เมื่อนิสิตไดวิเคราะหโครงการการเผยแพรความรูและการสาธิตการเพาะเห็ดฮังการีสําหรับนักเรียนแลว มีความคิดเห็นอยางไร

1. ไมอนุมัติ เพราะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. อนุมัติโดยไมมีขอแกไขใดๆ

3. อนุมัติโดยมีขอแกไขดังตอไปนี้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......................................................................................……………

Page 33: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 112

Page 34: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 113

ตัวอยางท่ี 4

1.ช่ือโครงการ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อวางแผนการทําโครงการเกษตร

2. สวนราชการ ภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

3. ผูรับผิดชอบโครงการ

3.1 นายพีรพงศ ทิพนาค หัวหนาโครงการ 3.2 นายสงวน แกวมรกต ผูรวมโครงการ 3.3 นางผองพรรณ ตรัยมงคลกูล ผูรวมโครงการ 3.4 นายประสงค ตันพิชัย ผูรวมโครงการ 3.5 นายสันติ ศรีสวนแตง ผูรวมโครงการ

4. ระยะเวลา โครงการนี้จะเริ่มต้ังแตวันที่ 27 พฤษภาคม 2548

และสิ้นสุดโครงการในวันที่ 28 พฤษภาคม 2548 รวมระยะเวลาดําเนินการ 2 วัน

5. สถานที่ คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

6. หลักการและเหตุผล

การจัดการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิชาศึกษาศาสตร -เกษตร คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2542 ไดมีการปรับปรุงในสวนของการฝกงานจากเดิมซึ่งนับเปนหนวยชั่วโมง การฝกงานมาเปนหนวยกิต โดยแบงออกเปน 7 รายวิชา รายวิชาละ 1 หนวยกิต รวมเปนหนวยกิตทั้งหมด 7 หนวยกิต และไดเปลี่ยนวิชาโครงการและองคการทางการศึกษาเกษตรจากวิชาเลือกใหเปนวิชาบังคับในหลักสูตร การจะใหนิสิตไดรับความรูทักษะและประสบการณมากยิ่งๆ ข้ึนในรายวิชาดังกลาวนั้น จึงนาจะไดมีการผสมผสานนําวิชาตางๆ ที่ไดเรียนมาแลวนําไปใช ประโยชนในทางปฏิบัติได ดังนั้น เมื่อนิสิตไดเรียนวิชาโครงการและองคการทางการศึกษาเกษตรในสวนของทฤษฎีและหลักการแลว ก็ควรที่จะไดนําเอาความรูตางๆ ที่เรียนมาเขียน โครงการเพื่อปฏิบัติงานจริง ประกอบกับการฝกงานเกษตรเฉพาะอยาง I (178365) นิสิตจะตองมีการวางแผนการทํางานในโครงการที่ตนเองสนใจเพื่อใหไดประโยชนสูงสุดกับการเรียน ทั้ง

Page 35: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 114

สองรายวิชาดังกลาว จึงเห็นสมควรที่จะไดจัดดําเนินการใหมีการประชุมเชิงปฏิบัติการใน การวางแผนทําโครงการเกษตรที่นิสิตจะตองปฏิบัติงานในชวงเปดภาคเรียนปการศึกษา 2548 นี้

7. วัตถุประสงค

7.1 เพื่อใหนิสิตมีความตระหนักและเห็นความสําคัญในการทําโครงการเกษตร

7.2 เพื่อใหนิสิตสามารถวางแผนและเขียนโครงการได 7.3 เพื่อใหนิสิตนําความรูและประสบการณที่ไดรับไปใชประโยชนในการประกอบอาชีพในโอกาสตอไป

8. เปาหมาย

เมื่อส้ินสุดโครงการคาดวานิสิตที่เขารวมโครงการทั้งหมดไดรับความรูและประสบการณ ในการเขียนโครงการ และไดโครงการเกษตรที่สามารถดําเนินงานภายในฟารมไดอยางนอย 10 โครงการ

9. การดําเนินงาน

เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ จะดําเนินการเปนขั้น ๆ ดังนี้

9.1 การเตรียมงาน • แจงใหนิสิตและผูเกี่ยวของทราบ • เชิญอาจารยพิเศษ • ชี้แจงรายละเอียดตาง ๆ และขอตกลงรวมกันใหนิสิตทราบ • จัดเตรียมเอกสารสําหรับการจัดการประชุม

9.2 การเริ่มงาน

• วิทยากรบรรยายปลุกจิตสํานึกใหตระหนักถึงคุณคาในการเขียนโครงการ

• บรรยายสรุปเกี่ยวกับการเขียนโครงการ • ปฏิบัติการเขียนโครงการ

• รายงานเสนอโครงการตอที่ประชุม

Page 36: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 115

9.3 ประเมินผลและจัดทํารายงาน

10. แผนปฏิบัติงาน

รายละเอียดเกี่ยวกับการดําเนินงานในขอ 10 มีดังนี้

11. แผนปฏิบัติงาน

งาน วิธีการและสถานที่ เวลา ผูรับผิดชอบ หมายเหตุ

1. แจงใหนิสิตและผูเกี่ยวของทราบ

แจงใหนิสิตทราบโดยปดประกาศ ไวที่คณะศึกษาศาสตร วิทยาเขตกํ าแพงแสน พร อมตารางการประชุม

15 พ.ค. 48

ประสงค ไดแจงนิสิตไวลวงหนา

2. เชิญอาจารยพิเศษ

ขออนุมัติเชิญอาจารยพิเศษเพื่อบรรยายเรื่องเกี่ยวกับการเขียนโครงการเกษตร

18 พ.ค. 48

พีรพงศ

3. ชี้แจงรายละเอียดใหนิสิตทราบ

นัดประชุมนิสิตชั้นปที่ 3 สาขาวิชาศึกษาศาสตร-เกษตร ทั้งหมดเพื่อตกลงในรายละเอียดตางๆที่หองประชุมคณะศึกษาศาสตร

25 พ.ค. 48

สงวน

4. จัดเตรียมเอกสารสําหรับจัดงานประชุม

จัดพิมพเอกสารที่จะตองใช เปนคูมือประกอบการประชุม

25-26

พ.ค. 48

สันติ

5. จัดประชุม ประชุมเชิงปฏิบัติการเขียนโครงการตามกําหนดการสัมมนาที่แนบไว

27-28

พ.ค. 48

พีรพงศ

Page 37: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 116

งาน วิธีการและสถานที่ เวลา ผูรับผิดชอบ หมายเหตุ

6. ประเมินผลและจัดทํารายงาน

ประเมินผลและจัดทํารายงานเสนอภาควิชาเพื่อเก็บไวเปนขอมูลในการดําเนินโครงการตอไป

1-2 มิ.ย. 48

ผองพรรณ

12. งบประมาณ

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการตองใชงบประมาณของภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร ในการดําเนินงาน ดังนี้

11.1 คาอาหารวางและเครื่องดื่มนิสิต จํานวน 120 คนๆ ละ4 มื้อๆ ละ 15 บาท เปนเงิน 7,200.- บาท

11.2 คาวัสดุสํานักงาน เปนเงิน 2,000.- บาท รวม 9,200.- บาท

หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยคาใชจายตางๆ ทุกรายการ

13. ผลที่คาดวาจะไดรับ

ไดโครงการเกษตร จํานวนไมนอยกวา 10 โครงการ ใชในการดําเนินกิจกรรมงานฟารมคณะศึกษาศาสตร ปการศึกษา 2549

Page 38: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 117

กําหนดการจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อวางแผนการทําโครงการเกษตร วันที่ 27 พฤษภาคม 2548

08.00-08.30 น. - ลงทะเบียน 08.30-10.00 น. - เปดการสัมมนาและบรรยายเรื่องการทํา

โครงการเกษตรภายในสถานศึกษา 10.00-10.30 น. - พักรับประทานอาหารวาง

10.30-12.00 น. - บรรยายเรื่องการทําโครงการเกษตรภายในสถานศึกษา(ตอ)

12.00-13.00 น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. - อภิปรายเรื่องปญหาและขอสังเกตในการ

เขียนโครงการ 14.30-15.00 น. - พักรับประทานอาหารวาง 15.00-16.30 น. - บรรยายเรื่องการเขียนโครงการเกษตรและ

แบงกลุมเขียนโครงการ 16.30-19.00 น. - พักรับประทานอาหารเย็น 19.00-22.00 น. - แนวทางการทําโครงการเกษตรแยกตามกลุม

วันที่ 28 พฤษภาคม 2548

08.30-10.00 น. - ปฏิบัติการเขียนโครงการ 10.00-10.30 น. - พักรับประทานอาหารวาง 10.30-12.00 น. - ปฏิบัติการเขียนโครงการและเตรียมรายงาน

เสนอที่ประชุม 12.00-13.00 น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. - รายงานเสนอโครงการตอที่ประชุม 14.30-15.00 น. - พักรับประทานอาหารวาง 15.00-16.30 น. - รายงานเสนอโครงการตอที่ประชุม 16.30-17.30 น. - สรุปการประชุมและปดการประชุม

Page 39: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 118

เมื่อนิสิตไดวิเคราะหโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อวางแผนการทําโครงการเกษตรแลว มีความคิดเห็นอยางไร

1. ไมอนุมัติ เพราะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. อนุมัติโดยไมมีขอแกไขใดๆ

3. อนุมัติโดยมีขอแกไขดังตอไปนี้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......................................................................................……………

Page 40: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 119

ตัวอยางที่ 5

ช่ือโครงการ เรียนรูแบบบูรณาการสรรคสรางส่ิงแวดลอม

หนวยงานที่รับผิดชอบ สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

ผูรับผิดชอบโครงการ 1. ผศ.ดร.ประสงค ตันพิชัย อาจารยที่ปรึกษา 2. ผศ.สันติ ศรีสวนแตง อาจารยที่ปรึกษา 3. นายธีรวัฒน สมเพาะ หัวหนาโครงการ

4. นางสาวพัดชา เอี่ยนวิไล กรรมการ 5. นางสาวศรารักษ เชื้อเจริญ กรรมการ 6. นางสาวกรรณิการ ทองดารา กรรมการ 7. นางสาวชลธิชา พรหมติ๊บ กรรมการ 8. นางสาวนิษา บุญศรี กรรมการ 9. นายวิโรชน หมื่นเทพ กรรมการ 10. นางสาวมะลินี นาคสงา กรรมการ 11. นางสาวศิริลักษณ ชูชื่น กรรมการ 12. นางสาวศิวนาถ ไทยภักดี กรรมการ 13. นางสาวอรวรรณ บุญทัน กรรมการและเลขานุการ

ผูเขารวมโครงการ 1. นิสิตคณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา จํานวน 70 คน

2. เจาหนาที่เขตอนุรักษพันธุสัตวปาหวยขาแขง จํานวน 10 คน

หลักการและเหตุผล ระบบการศึกษาของไทยจากอดีตจนถึงปจจุบันนั้นมุงเนนที่ตัวผูสอนมากกวาผูเรียน การที่

จะเรียนรูไดมากนอยเพียงใด สวนหนึ่งจึงขึ้นอยูกับวาผูสอนจะสอนอะไร หรือผูสอนจะสอนไดมากนอยแคไหน แตในปจจุบันความกาวหนาทางวิทยาการและสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป จึงทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญในระบบการศึกษาของไทย เพื่อใหสามารถทัดเทียมกับหลายประเทศที่พัฒนาแลว แนวทางของการปฏิรูปการศึกษาระบบใหมคือ จะเนนตัวผูเรียนเปน

Page 41: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 120

ศูนยกลางของการเรียนรู จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ซึ่งจะทําใหผูเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ทั้งทางสติปญญา ทักษะ และความคิด

จากเหตุผลดังกลาว นิสิตคณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา จึงไดเล็งเห็นถึงการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ไมใชเรียนรูในชั้นเรียนเทานั้นและเพื่อเปนการพัฒนาศักยภาพของนิสิตทั้งดานสติปญญา บุคลิกภาพของการเปนผูนํา มีคานิยมในการบริโภคส่ิงแวดลอมอยางมีคุณคา วิเคราะหปญหาและแกปญหาที่เกิดขึ้น นอกจากนี้จะไดฝกความรับผิดชอบการทํางานรวมกันและความสามัคคีในหมูคณะ จึงเห็นสมควรที่จะจัดโครงการเรียนรูแบบบูรณาการสรรคสรางสิ่งแวดลอมข้ึน ซึ่งจะเปนประโยชนตอนิสิต ทําใหการเรียนรูเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด และนิสิตมีความพรอมที่จะออกไปเปนผูนําดานการบริโภคสิ่งแวดลอมในโอกาสตอไป

วัตถุประสงค 1. เพื่อใหนิสิตมีความรูพื้นฐานการสรางคานิยม และบริโภคนิสัยที่ไมสงผลกระทบทางส่ิงแวดลอม

2. เพื่อใหนิสิตมีความตระหนักเห็นความสําคัญของสิ่งแวดลอม 3. เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ ความเปนผูนํา กลาคิด กลาแสดงออก และยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน

4. เพื่อเสริมสรางจิตสํานึก และความรับผิดชอบของนิสิต ที่มีตอสังคมและประเทศชาติเมื่อสําเร็จการศึกษา

5. เพื่อใหนิสิตสามารถวิเคราะหสภาพปญหาและการแกปญหา ทั้งทางระบบนิเวศและการดําเนินชีวิต

เปาหมาย

เมื่อส้ินสุดโครงการ คาดวานิสิตคณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ที่เขารวมโครงการรอยละ 80 ไดรับความรูและประสบการณเกี่ยวกับส่ิงแวดลอม รวมถึงทรัพยากรปาไมและสัตวปาเพิ่มเติมจากในชั้นเรียน นิสิตทุกคนตระหนักถึงคุณคาของสิ่งแวดลอม รูจักวิเคราะหปญหาและการแกปญหาที่เกิดขึ้น มีความพรอมที่จะนําความรูและประสบการณที่ไดรับมาใชใหเกิดประโยชนทั้งตอตนเอง สังคม และประเทศชาติ

Page 42: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 121

วิธีการดําเนินการ 1.การเตรียมงาน

1.1 ขออนุมัติโครงการจากผูเกี่ยวของ 1.2 สํารวจขอมูลพื้นฐานของสถานที่จัดทําโครงการ 1.3 ติดตอหนวยงานและสถานที่ที่เกี่ยวของ 1.4 แจงใหนิสิตคณะศึกษาศาสตร สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาและ

ผูเกี่ยวของทราบ 1.5 ชี้แจงรายละเอียดตางๆ และขอตกลงรวมกันใหผูรวมโครงการทราบ 1.6 จัดเตรียมเอกสารสําหรับการจัดโครงการ 1.7 เตรียมความพรอมของสถานที่

2. การเริ่มงาน 2.1 ปฐมนิเทศและการแนะนําสถานที่แกผูเขารวมโครงการ 2.2 กิจกรรมสรางความสัมพันธของผูเขารวมโครงการและวิทยากรเจาหนาที่ 2.3 อบรมความรูเกี่ยวกับลักษณะของปาไมและชนิดของสัตวปา

2.4 กิจกรรมรอบกองไฟ 2.5 ฟงบรรยายการเกิดไฟปาและการปองกัน พรอมทั้งรวมกันสรางแนวกันไฟ 2.6 ฟงบรรยายเสนทางศึกษาธรรมชาติภายในเขตอนุรักษพันธุสัตวปาหวยขา

แขง 2.7 อบรมวิธีการเดินปาและการปฏิบัติงานในการศึกษาธรรมชาติ 2.8 กิจกรรมนันทนาการ 2.9 เดินทางตามเสนทางศึกษาธรรมชาติ 2.10 ประชุมกลุมวางแผนงานปฏิบัติกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน 2.11 ปฏิบัติกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนของผูเขารวมโครงการ

3. ประเมินผล

Page 43: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 122

ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. นิสิตตระหนักถึงความสําคัญของสิ่งแวดลอม 2. นิสิตสามารถวิเคราะหสภาพปญหาและวิธีการแกปญหาที่เกิดขึ้นกับระบบนิเวศรวมถึงการดําเนินชีวิต

3. นิสิตมีความพรอมที่จะนําประสบการณและความรูที่ไดรับไปเผยแพรและนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวันได

4. นิสิตเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดในการเรียนรู

งบประมาณ จํานวนทั้งสิ้น 50,000 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้

ลําดับ รายการ จํานวนเงิน

1 คาพาหนะเหมาจาย 16,000 2 คาเอกสารการอบรม 500 3 คาตอบแทนวิทยากร 1,500 4 คาอาหารจํานวน 10 มื้อๆ ละ 20 บาท จํานวน 80 คน 16,000 5 คาอาหารวางและเครื่องดื่ม จํานวน 8 มื้อๆ ละ15 บาท

จํานวน 80 คน 9,600

6 คาที่พัก 4,400 8 คาวัสดุสํานักงาน 1,000 9 คาบํารุงสถานที่ 1,000 ขอถัวเฉลี่ยคาใชจายทุกรายการ ระยะเวลาการดําเนินงาน 11 ตุลาคม 2547 ถึง 14 ตุลาคม 2547 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 4 วัน

Page 44: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

แผนการปฏิบัติงาน

งาน วิธีการและสถานที่ เวลา สถานที่ ผูรับผิดชอบ 1. ขออนุมัติโครงการจาก ผูเกี่ยวของ

สงหนังสือขออนุมัติงบประมาณการจัดทํา โครงการ

1 ส.ค. 47 คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน

สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร

2. สํารวจขอมูลพื้นฐานของสถานที่จัดทําโครงการ

- สอบถามขอมูลและสํารวจสถานที่จัดทําโครงการโดยมีเจาหนาที่เขตอนุรักษสัตวปาหวยขาแขงเปนผูคอยดูแลใหคําแนะนําอยางใกลชิด

10 ก.ย. 47 เขตอนุรักษพันธุสัตวปาหวยขาแขง

สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตรและเจาหนาที่ประจําเขตอนุรักษพันธุสัตวปาหวยขาแขง

3. แจงใหนิสิตและผูที่เกี่ยวของทราบ

แจงใหนิสิตที่เขารวมโครงการทราบโดยการติดประกาศไวที่คณะศึกษาศาสตร

10 ก.ย. 47 คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน

สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร

4. ชี้แจงรายละเอียดตางๆ ใหนิสิตทราบ

- นัดประชุมนิสิตที่เขารวมโครงการเกี่ยวกับรายละเอียดและขอตกลงตางๆ

15 ก.ย. 47 คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน

สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร

5. จัดเตรียมเอกสาร - จัดทําเอกสารการฝกอบรม และการประเมินผล 20 ก.ย. 47 คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน

สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร

6. เชิญวิทยากร ขออนุมัติเชิญวิทยากรเพื่อบรรยายเรื่อง - ลักษณะของปาไมและชนิดของสัตวปาภายในเขตอนุรักษพันธุสัตวปาหวยขาแขง - ระบบนิเวศและการฟนฟูระบบนิเวศ - การเกิดไฟปาและการปองกัน

21 ก.ย. 47 คณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน

สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร

120

Page 45: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

งาน วิธีการและสถานที่ เวลา สถานที่ ผูรับผิดชอบ 7. เตรียมความพรอมของสถานที่

- เตรียมอุปกรณที่จะใชในการจัดโครงการ - จัดเตรียมตนกลาที่จะปลูก - จัดเตรียมบริเวณที่จะทํากิจกรรม - จัดเตรียมสถานที่พักและอาหารเครื่องดื่ม

22 ก.ย. 47 เขตอนุรักษพันธุสัตวปาหวยขาแขง

สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร

8. ดําเนินการ จัดกิจกรรมตามที่ไดวางแผนไว 11-14 ต.ค. 47

เขตอนุรักษพันธุสัตวปาหวยขาแขง

สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร

9. ประเมินผล นําขอมูลที่ไดทั้งหมดมาประเมินผลและจัดทํารายงานสําหรับเก็บไวทําโครงการครั้งตอไป

30 ต.ค. 47 สโมสรนิสิตคณะศึกษาศาสตร

121

Page 46: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 122

กําหนดการ วันที่ 11 ตุลาคม 2547

07.00 น. ออกเดินทางจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

12.00 น. เดินทางถึงเขตอนุรักษพันธุสัตวปาหวยขาแขง 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 15.00 น. กิจกรรมสรางความสัมพันธ 15.00 - 15.15 น. รับประทานอาหารวาง 15.15 - 16.00 น. อบรมความรูเกี่ยวกับลักษณะของปาไมและชนิดของสัตวปา

สงวนภายในเขตอนุรักษพันธุสัตวปาหวยขาแขง 16.00 - 18.00 น. จัดเตรียมที่พักและจัดเก็บสัมภาระพรอมทั้งปฏิบัติภารกิจสวนตัว 18.00 - 19.00 น. รับประทานอาหารเย็นรวมกัน 19.00 – 21.00 น. กิจกรรมรอบกองไฟ 21.00 น. กลับเขาที่พัก

วันที่ 12 ตุลาคม 2547 06.00 น. ต่ืนรับอรุณยามเชาและกิจกรรมกายบริหาร 06.30 - 08.00 น. ปฏิบัติภารกิจสวนตัว 08.00 - 09.00 น. รับประทานอาหารเชารวมกัน

09.00 - 10.00 น. รับการฟงการบรรยายการเกิดไฟปาและการปองกัน 10.00 - 10.15 น. รับประทานอาหารวาง 10.15 - 12.00 น. ปฏิบัติการสรางแนวกันไฟ 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันรวมกัน 13.30 - 15.00 น. รับฟงการบรรยายเสนทางการศึกษาธรรมชาติภายในเขตอนุรักษ 15.00 - 15.15 น. รับประทานอาหารวาง 15.15 - 16.00 น. อบรมวิธีการเดินปาและการปฏิบัติตนในการศึกษาธรรมชาติ 16.00 - 17.00 น. ประชุมกลุมเพื่อวางแผนกิจกรรมศึกษาธรรมชาติในวันตอไป 18.00 - 19.00 น. รับประทานอาหารเย็นรวมกัน 19.00 - 20.00 น. กิจกรรมนันทนาการ 20.00 น. กลับเขาที่พัก

Page 47: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 123

วันที่ 13 ตุลาคม 2547 07.00 - 08.00 น. รับประทานอาหารเชา

08.00 - 12.00 น. ออกเดินทางตามเสนทางศึกษาธรรมชาติ (รับประทานอาหารวางระหวางทาง)

12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารระหวางทาง 13.00 - 17.00 น. ออกเดินทางตอและปฏิบัติกิจกรรมที่วางแผนไว

(รับประทานอาหารวางระหวางทาง) 17.00 - 18.30 น. เดินทางกลับถึงที่พักและแยกยายกันปฏิบัติภารกิจสวนตัว 18.30 - 19.30 น. รับประทานอาหารเย็นรวมกัน

19.30 - 20.30 น. ประชุมกลุมเพื่อวางแผนงานปฏิบัติกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนในวันตอไป

20.30 น. กลับเขาที่พัก

วันที่ 14 ตุลาคม 2547 07.00 - 08.00 น. รับประทานอาหารเชา 08.00 - 10.00 น. ปฏิบัติกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนที่ไดวางแผนไว

10.00 - 10.15 น. รับประทานอาหารวาง 10.15 - 12.00 น. ทําความสะอาดบริเวณที่พักใหเรียบรอยและเก็บสัมภาระ 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 น. กลาวขอบคุณและมอบของที่ระลึกใหกับเจาหนาที่เขตอนุรักษฯและ เดินทางกลับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (อาหารวางมีบริการไวบนรถระหวางเดินทาง)

16.00 น. เดินทางถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรโดยสวัสดิภาพ

Page 48: บทที่ 4 - Kasetsart Universitypirun.ku.ac.th/~fedupst/Book181441-4.pdf · 2007-02-07 · การวิเคราะห โครงการ L:\book181441\Book181441-4.doc

การวิเคราะหโครงการ

L:\book181441\Book181441-4.doc 124

เมื่อนิสิตไดวิเคราะหโครงการเรียนรูแบบบูรณาการสรรคสรางส่ิงแวดลอมแลว มีความคิดเห็นอยางไร

1. ไมอนุมัติ เพราะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. อนุมัติโดยไมมีขอแกไขใดๆ

3. อนุมัติโดยมีขอแกไขดังตอไปนี้

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......................................................................................……………