89
บทที6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพื่อปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง บริษัท สยาม - เทค กรุจํากัด 6 - 1 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย บทที6 วิสัยทัศน เปาหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผังทางเลือก 6.1 วิสัยทัศน ลุมน้ํายมเปนแหลงตนน้ําลําธารที่สําคัญของประเทศและเปนที่ตั้งของชุมชนโบราณ ที่มี ความสําคัญในฐานะแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรที่สําคัญของประเทศ ปญหาสําคัญประการหนึ่ง ของลุมน้ํายมก็คือปญหาอุทกภัยซึ่งมีมาแตโบราณ ประกอบกับผลของการพัฒนาประเทศและพื้นทีจังหวัดตาง ในลุมน้ํายมตลอดชวงเวลาที่ผานมา ไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสะทอนออกมาในรูปแบบวิถีชีวิตและการใชประโยชนที่ดินที่เปลี่ยนแปลงไปจาก อดีต ซึ่งมีผลใหปญหาอุทกภัยรุนแรงขึ้น แมวารัฐบาลจะมีนโยบายการพัฒนาพื้นที่ใหเชื่อมโยงกับ ประเทศเพื่อนบาน เพื่อศักยภาพในการแขงขันทางเศรษฐกิจ ผานระบบโครงขายการคมนาคมทางบกซึ่ง ผานเขามาในพื้นที่ลุมน้ํายม แตพื้นที่ลุมน้ํายมก็ยังมีเงื่อนไขในการพัฒนาที่จะตองอนุรักษความเปนแหลง ตนน้ําลําธารที่สําคัญของประเทศ แหลงเกษตรกรรม และเมืองมรดกโลก โดยปญหาสําคัญในลําดับ แรก ที่ควรแกไขก็คือ ปญหาอุทกภัย ดังนั้น วิสัยทัศนในการจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสราง พื้นฐานลุมน้ํายมเพื่อปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมืองของลุมน้ํายม ควรเปนดังนีลุมน้ํายม มีการใชประโยชนที่ดินอยางถูกตองเหมาะสม เปนแหลงตนน้ําลําธารอุดม สมบูรณ ดํารงความเปนแหลงเกษตรกรรมและแหลงประวัติศาสตร ทุกฝายมีจิตสํานึกในการรักษา สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน และมีการบริหารจัดการอุทกภัยอยางมีประสิทธิภาพ6.2 วัตถุประสงค 1) เพื่อใหจังหวัด ทองถิ่นมีมาตรการผังเมืองเปนเครื่องมือและกลไกในการบริหารจัดการ การใชประโยชนที่ดินเมืองและชุมชน การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อบรรเทาอุทกภัยใหดียิ่งขึ้น สามารถสงเสริมการเศรษฐกิจและสังคม มรดกที่มีคุณคาทางศิลปกรรม ประวัติศาสตรและดํารงรักษาภูมิ ประเทศที่งดงามและมีคุณคาดานทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม

บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 1 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

บทที่ 6

วิสัยทัศน เปาหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผงัทางเลือก

6.1 วิสัยทัศน

ลุมน้ํายมเปนแหลงตนน้ําลําธารที่สําคัญของประเทศและเปนที่ตั้งของชุมชนโบราณ ที่มีความสําคัญในฐานะแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรที่สําคัญของประเทศ ปญหาสําคัญประการหนึ่งของลุมน้ํายมกค็ือปญหาอุทกภัยซ่ึงมีมาแตโบราณ ประกอบกับผลของการพัฒนาประเทศและพื้นที่จังหวดัตาง ๆ ในลุมน้ํายมตลอดชวงเวลาที่ผานมา ไดกอใหเกดิการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสะทอนออกมาในรูปแบบวิถีชีวติและการใชประโยชนที่ดนิที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต ซ่ึงมีผลใหปญหาอุทกภยัรุนแรงขึน้ แมวารัฐบาลจะมีนโยบายการพัฒนาพื้นที่ใหเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบาน เพื่อศักยภาพในการแขงขันทางเศรษฐกิจ ผานระบบโครงขายการคมนาคมทางบกซึ่งผานเขามาในพื้นที่ลุมน้ํายม แตพืน้ที่ลุมน้าํยมกย็ังมีเงื่อนไขในการพฒันาที่จะตองอนุรักษความเปนแหลงตนน้ําลําธารที่สําคัญของประเทศ แหลงเกษตรกรรม และเมืองมรดกโลก โดยปญหาสําคัญในลําดับแรก ๆ ที่ควรแกไขก็คือ ปญหาอุทกภยั

ดังนั้น วิสัยทศันในการจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดนิ และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพื่อปองกนัอุทกภัยดวยมาตรการผังเมืองของลุมน้ํายม ควรเปนดังนี ้

“ลุมน้ํายม มีการใชประโยชนที่ดนิอยางถูกตองเหมาะสม เปนแหลงตนน้ําลําธารอุดมสมบูรณ ดํารงความเปนแหลงเกษตรกรรมและแหลงประวัติศาสตร ทุกฝายมีจติสํานึกในการรกัษาส่ิงแวดลอมอยางยั่งยืน และมกีารบริหารจัดการอุทกภยัอยางมีประสิทธิภาพ”

6.2 วัตถุประสงค

1) เพื่อใหจังหวัด ทองถ่ินมีมาตรการผังเมืองเปนเครื่องมือและกลไกในการบริหารจัดการการใชประโยชนที่ดินเมืองและชุมชน การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อบรรเทาอุทกภัยใหดยีิ่งขึ้นสามารถสงเสริมการเศรษฐกิจและสังคม มรดกที่มีคุณคาทางศิลปกรรม ประวัติศาสตรและดํารงรกัษาภูมิประเทศที่งดงามและมีคุณคาดานทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม

Page 2: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 2 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

2) จัดทําแผนผังเมืองรวมนโยบายมาตรการและโครงการจัดระเบยีบการใชประโยชนที่ดินและทรัพยสิน เพื่อการบรรเทาอุทกภยั บริเวณลุมน้ํายม และเปนกรอบในการวางและปรับปรุงผังเมืองรวมชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากน้ําทวมและการบริหารโครงการบรรเทาอุทกภยัสามารถแปลงนโยบายรัฐบาลลงสูการปฏิบัติตามแผนผัง และสนับสนุนใหประชาคมมสีวนรวมในการบริหารจัดการการใชประโยชนที่ดนิและทรัพยสินบรรเทาอุทกภัยอยางยั่งยืน

3) เพื่อใหจังหวัดและทองถ่ินบริเวณลุมน้ํายม มีแผนผังเมืองเปนกรอบในการจัดทําแผนปฏิบัติการ แผนงานการบริหารจัดการการใชประโยชนทีด่ินและทรัพยสิน โครงการดําเนินการพัฒนาทองถ่ินเพื่อบรรเทาอุทกภยั สามารถสรางการยอมรับและลดความขัดแยงของประชาคมเพื่อผลประโยชนโดยรวมของชาติไดอยางมีประสิทธิผล

6.3 เปาหมาย

1) จัดทําแผนผังเมืองรวม นโยบาย มาตรการและโครงการจัดระเบยีบการใชทีด่ินและทรัพยสิน โครงสรางพื้นฐาน เพื่อบรรเทาอุทกภัยระยะยาวอยางยั่งยนืบริเวณพืน้ที่ลุมน้ํายม รวมทั้งเปนเครื่องมือในการสนับสนุนและติดตามผลการใชบังคับกฎกระทรวงผังเมืองรวม และอาคาร การบริหารจัดระเบยีบการใชประโยชนที่ดินและทรัพยสิน การบริหารโครงการบรรเทาอุทกภัยในระดบัลุมน้าํ

2) ใหจังหวดัและทองถ่ินมเีครื่องมือกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดนิและทรัพยสิน การกําหนดเขตทีด่นิเสีย่งภยัน้ําทวม การตดิตามและประเมนิผลลัพธการจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดนิ การกําหนดพืน้ที่เปาหมายที่จะพฒันาฟนฟูพืน้ที่และผูมีสวนไดเสีย รวมทัง้การกาํหนดหลักการและแนวทางการนําไปปฏิบัติหรือใชบังคับใหเปนไปตามกฎกระทรวงผังเมืองรวม กฎกระทรวงควบคุมอาคาร หรือกฎกระทรวงการขุดดนิและถมดิน

3) ใหจังหวดัและทองถ่ินมีกรอบในการวางและปรับปรุงผังเมืองรวม พื้นที่เศรษฐกิจ การพัฒนาพื้นทีเ่พือ่รองรับการขยายตวัของชุมชนบริเวณที่เหมาะสม

4) จัดทําแผนงานโครงการการจัดระเบียบการใชที่ดินและทรัพยสิน โครงการปองกันบรรเทาอุทกภยั โครงการสนับสนุนการพัฒนาและฟนฟูแหลงน้ํา พื้นที่ลุมรับน้ําและทางระบายน้ํารวมทั้งปฏิบัติการและการจดัลําดับความสาํคัญของแผนงานและโครงการ

Page 3: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 3 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

5) จัดระบบขอมลูสารสนเทศทางภูมิศาสตร เพื่อการวางและจัดทําแผนผัง การติดตามและประเมินผลการแปลงนโยบายการบริหารจดัการน้ําลงสูการปฏิบัติ ใหสอดรับกับความตองการของจังหวดัและทองถ่ิน

6) เสนอรูปแบบของการมีสวนรวมในการบริหารจัดการการใชประโยชนทีด่ินและทรัพยสินการบริหารโครงการพัฒนาพืน้ที่ และการแปลงแผนผังไปสูการปฏิบัติ รวมทั้งการอุทธรณตามพระราชบัญญัติการผังเมือง

6.4 แนวความคิดในการวางผัง

จากการวางนโยบายการพัฒนาประเทศ ตามกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุมแมน้ําโขง 6 ประเทศ หรือ หกเหลี่ยมเศรษฐกิจ เพื่อใหการสงเสริมเกิดความรวมมือและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อันนําไปสูการพฒันาระบบการคมนาคมเพื่อเชื่อมโยงพื้นทีภ่ายในอนภุาค ทั้งในแกนเหนือ-ใต จากตอนลางของประเทศจีนถึงกรุงเทพมหานคร และในแนวตะวันตก-ตะวนัออก จากชายฝงทะเลอันดามัน ประเทศสหภาพพมา จนถึงชายฝงมหาสมุทรแปซิฟกในสาธารณรฐัสังคมนิยมเวยีดนาม ผลจากการพัฒนาพื้นทีด่ังกลาว ทําใหพืน้ที่ภาคเหนือตอนลางเปน “ศูนยกลางของสี่แยกอินโดจนี” ฉะนัน้ จงึควรอาศัยความไดเปรียบ ในการเปนศูนยกลางดังกลาว โดยการพัฒนาโครงขายการคมนาคมติดตอของพื้นที่ลุมน้ํายมใหสามารถเชื่อมโยงพื้นที่ไดทัว่ถึงทั้งในระดับภมูิภาค ระดับเมือง และระดับชุมชน มีการกําหนดรูปแบบการพัฒนาพืน้ที่ใหใชประโยชนไดอยางเหมาะสมกับศกัยภาพของพืน้ที่ ทั้งพื้นทีอ่นุรักษและคุมครองสิ่งแวดลอม เชน พื้นที่แหลงทองเที่ยว แหลงโบราณสถานและประวัตศิาสตรที่สําคัญ พื้นที่เกษตรและอุตสาหกรรมรวมทั้งพื้นที่ตั้งถ่ินฐาน เพือ่ใหสอดรับกบัการพัฒนา และสงเสริมขีดความสามารถในการแขงขนัของชุมชนเมือง ซ่ึงจะเปนฐานในการพฒันาพื้นที่ลุมน้ํายมตอไปในอนาคต โดยส่ิงที่ตองคํานึงถึงก็คือการแกปญหาสําคัญภายในลุมน้ํายมก็คือ ปญหาอุทกภยั ซ่ึงเปนอุปสรรคสําคัญในการที่จะพฒันาพื้นที ่

นอกจากนั้น ยังไดพิจารณาศักยภาพของลุมน้ํายม โดยเฉพาะอยางยิ่งในความไดเปรียบของแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรที่สําคัญของประเทศ และการเปนพื้นที่อันเหมาะสมในการประกอบเกษตรกรรม และสภาพแวดลอมที่มีความหลากหลาย ทั้งภูเขา แมน้ําและพืน้ทีร่าบลุม ซ่ึงสามารถตอบสนองการพัฒนาในอนาคต ประกอบกับการรับฟงความเหน็จากประชาชนในพื้นที่ เพื่อรวบรวมปญหาและแสวงหาแนวทางในการแกไข ตลอดจนแนวทางในการพัฒนาพื้นทีอั่นเหมาะสมกบัความ

Page 4: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 4 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ตองการและสอดคลองกับรูปแบบของการดําเนินชวีิตของตนเอง แลวนํามาบูรณาการเขาดวยกัน จึงไดแนวความคิดการพัฒนาลุมน้ํายม ดังนี ้

6.4.1 แนวความคิดดานการใชประโยชนท่ีดิน

แนวความคิดดานการใชประโยชนทีด่ิน เปนแนวทางในการวางแผนพัฒนาและจดัการเชิงพื้นที่ลุมน้ํายมใหใชประโยชนที่ดนิอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพสูงสุดโดยใชประโยชนทีด่ินในลักษณะที่ไมกอใหเกดิความเสียหายตอระบบนิเวศ ตลอดจนการปรบัปรุงสภาวะแวดลอมที่เสื่อมโทรมใหกลับคืนสูสภาพธรรมชาติอยางเดิม เพื่อใชรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ เพี่อปองกันและบรรเทาอุทกภัยและมุงสนับสนุนพืน้ที่ที่สามารถพัฒนาได เพื่อสงเสริมระบบเศรษฐกิจ สังคม ของลุมน้ํายม ดังนี ้

1) การใชประโยชนท่ีดินพืน้ท่ีเมืองและชุมชน

มีวัตถุประสงคเพื่อจัดระบบชุมชนและกาํหนดเขตการใชประโยชนทีด่ินบริเวณพืน้ที่ลุมน้ํายม ใหตั้งอยูในพื้นทีท่ี่เหมาะสม โดยกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินเมืองใหสอดรับกับบทบาทของระบบชุมชนเมืองและชนบท กําหนดแหลงที่ตั้งถ่ินฐาน ชุมชนเศรษฐกิจ แหลงที่อยูอาศัย แหลงประกอบกิจการดาน พานิชยกรรม อุตสาหกรรม ศูนยการปกครอง แหลงบริการสาธารณะของชุมชน โดยจดัเตรียมพืน้ที่รองรับการขยายตวัของกจิกรรมตางๆ และสงเสริมใหอยูในที่ที่เหมาะสม ปลอดจากอุทกภยัในระยะยาว การใชประโยชนทีด่ินของพื้นที่ตองมีการวางแผนและหลีกเลี่ยงการทําลายทรัพยากรและรักษาสภาพแวดลอม โดยกาํหนดใหมีการพฒันาภายใตกรอบของมาตรการทางกฎหมายดานผังเมือง

2) การใชประโยชนท่ีดินนอกเมอืง

กําหนดเขตการใชประโยชนที่ดิน เพื่อรองรับการฟนฟูพฒันา อนุรักษและดํารงรักษาตามศักยภาพของพื้นที่เพื่อปองกันและลดความเสียหายอันเกิดจากอุทกภยั ทั้งทางดานทรพัยากร-ธรรมชาติ สภาพแวดลอม สังคมและประวตัิศาสตร ดังนี้

Page 5: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 5 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

(1) เขตสงวนสภาพธรรมชาติ ปาไม สัตวปา และตนน้ําลําธาร

มีวัตถุประสงคเพื่อดํารงรักษาและอนุรักษปาตนน้ําลําธาร การอนุรักษดินและน้ํา รักษาระบบนิเวศลุมน้ํา เพื่อรักษาระบบการไหลเวยีนของระบบธาตุอาหารและระบบระบายน้ําผิวดิน และรักษาสภาพแหลงน้ําใตดินโดยธรรมชาติ บริเวณทีล่าดชันสูง รวมทั้งการไหลเวียนของระบบธาตุอาหารพืช เปนพื้นที่ประกาศตามพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาต ิ อุทยานแหงชาต ิ เขตรักษาพนัธุสัตวปา ช้ันคุณภาพลุมน้ําชั้นที่ 1 ทรัพยากรดนิที่มีขอจํากัดสงู และเขตพืน้ที่อันควรสงวนตามกฎหมายอื่น ๆ

พื้นที่แหลานี้จาํเปนตองสงวนไวใหคงอยูในสภาพธรรมชาติตลอดไป มิใหถูกทําลายหรือเปลี่ยนแปลงไป ไมสงเสริมและอนุญาตใหมีการพัฒนาใด ๆ ที่จะนําไปสูการเปลี่ยนแปลง นอกจากกิจกรรมบางประเภท อาทิเชน กิจกรรมเพื่อการทองเที่ยว เสนทางเขาชมปา เสนทางศึกษาธรรมชาติ และการศึกษาวจิยั

(2) เขตฟนฟูสภาพธรรมชาติ ปาไม สัตวปา และตนน้ําลําธาร

พื้นที่ไดประกาศเขตสงวนตามกฎหมายแลวหรือพื้นทีเ่ตรียมประกาศหรือพื้นที่อันควรจะสงวนรักษาธรรมชาติไว แตปจจบุันพื้นที่มีสภาพธรรมชาติเสื่อมโทรม เนื่องจากการถูกบุกรุกทําลายโดยการตัดไมหรือนาํพื้นที่ปามาใชประโยชนเพื่อการเกษตรหรือกิจกรรมอื่นๆ ทั้งๆที่ศักยภาพของพื้นที่โดยทั่วไปไมเหมาะสมในการนํามาใชประโยชน สภาพพื้นที่เปนภูเขาสูงชันและกอใหเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและระบบนิเวศ จึงควรพจิารณาฟนฟูสภาพธรรมชาติโดยการปลูกปาทดแทนเพื่อกลับคืนสูสภาพธรรมชาติดังเดิม

(3) ท่ีดินประเภทอนุรักษปาไม และวนเกษตร

มีวัตถุประสงคเพื่อการดํารงรักษาและฟนฟูที่สูงและที่ลาดชันสูง ใหเปนปาหรือตนน้ําลําธาร และใหใชประโยชนที่ดินเพือ่เกษตรกรรมอนุรักษดนิและน้ํา วนเกษตรหรือรักษาสภาพที่โลงใหมีสภาพเปนทุงหญาเพื่อการปศุสัตว ในดานการใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมหรือปาไม หรือวนเกษตรเปนการใชประโยชนทีด่ินระหวางระบบเกษตร-ปาไม-ปศุสัตวหรือระบบปาไม พืชสวน เนนการอนุรักษดินและน้ํา พื้นที่สวนใหญเปน ปาสงวนแหงชาติสวนที่เปนปา เพื่อเศรษฐกจิ ช้ันคุณภาพลุมน้ําชั้นที่ 2 เนื่องจากการบังคับใชกฎหมายเพื่อปองกันรักษาพื้นที่ มีความเขมแข็งนอยกวา ทําใหพื้นที่ถูกบุกรุกเขามาใชประโยชนมากบางแหงไมมีสภาพปาธรรมชาติหลงเหลืออยูเลย หรือหลงเหลือ

Page 6: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 6 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

อยูเพียงสวนนอย จึงควรกําหนดใหเปนพืน้ที่อนุรักษ (Conservation Areas) ที่ยอมใหมีการพัฒนาไดบางแตไมมากนัก เนื่องจากมีขอจํากัดดานใดดานหนึ่งที่มีผลใหเกดิผลเสียตอระบบนเิวศ โดยมีแนวทางในการจัดการ คอื การรักษาพืน้ที่ปาดั้งเดิม การปองกันการบุกรุกทําลายเพิ่มเติม การเพิ่มความเขมงวดในการบังคับใชกฎหมาย และการฟนฟูสภาพปาที่ถูกทําลาย

(4) ท่ีดินประเภทอนรัุกษชนบทและเกษตรชลประทาน

มีวัตถุประสงคเพื่อดํารงรักษาและอนุรักษพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเพือ่การเกษตร พื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทาน พฒันาโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวก สนับสนุนการเกษตรกรรม หรือพื้นทีเ่กษตรกรรมในเขตชลประทาน รวมทั้งบริเวณที่มีสภาพและลักษณะดินทีม่ีความเหมาะสม เพื่อการเกษตรกรรมและมาตรการสนับสนุนใหทองถ่ินดํารงรักษาพื้นที่เกษตรกรรมและสนับสนุนใหสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและมูลคาการผลิตดานเกษตรกรรมและยกระดับการพฒันาชุมชนเศรษฐกิจแบบพอเพียง

(5) ท่ีดินประเภทพื้นท่ีลุมรับน้ําและทางน้ําหลากทวม

มีวัตถุประสงคเพื่อเพื่อดํารงรักษาและสงเสริมแหลงปลูกขาว และที่ลุมรับน้ําหรือแหลงนิเวศวิทยาพืช และสัตวปาบริเวณพื้นที่ลุมของลุมน้ํา ซ่ึงมีบทบาทเปนทางน้าํหลากจากภูเขาลงสูที่ลุม และระบายน้ําจากที่ลุมผานที่ลุมต่ําและกําหนดที่ราบน้ําทวมถึงใหเปนเขตเสี่ยงภัยน้ําทวม เพื่อปองกันและบรรเทาอุทกภัยที่มีตอการประกอบกิจการและโครงสรางพื้นฐานในเขตทีด่ินประเภทอืน่ ๆ รวมทั้งไมสงเสริมใหมีการจดัตั้งชุมชนเมืองและการกอสรางอาคารขนาดใหญในบริเวณดังกลาว เพือ่ใหสัมพันธกับสภาพพื้นที่ที่ลุมเสี่ยงภยัน้ําทวม การประกอบกิจการและกอสรางอาคารที่ไมกีดขวางทางน้ํา เพื่อใหมพีื้นทีร่องรับน้ําหลากทวมไดอยางเพียงพอ รวมทั้งสงเสริมใหทองถ่ินสามารถรักษาพื้นที่ไวเปนแหลงปลูกขาวและเพาะเลี้ยงสัตวเพื่อการคาที่ไมมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอม การเพิ่มศักยภาพการผลิต และการแปรรปูผลผลิต การเกษตรแบบครบวงจร และสงเสริมใหพฒันาโครงสรางพื้นฐาน สนบัสนุนการเกษตรกรรมใหมีประสิทธิภาพ

(6) ท่ีดินประเภทอนุรักษแหลงประวัติศาสตรโบราณคดี

มีวัตถุประสงคเพื่ออนุรักษพื้นที่ที่มีทรัพยากรทางโบราณคดีที่ทรงคุณคาและความสําคัญในระดับนานาชาติ ระดับชาติ หรือระดับสงูสําหรับทองถ่ิน จําเปนตองรักษาสภาพทรัพยากร

Page 7: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 7 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ทางโบราณคดแีละธรรมชาติใหคงอยู หรือบูรณปฏิสังขรณฟนฟใูหกลับคืนสูสภาพเดิมมีลักษณะหรือองคประกอบบางอยางที่มีความสําคัญตอระบบนิเวศ และวัฒนธรรมที่มีคุณคา เปนพืน้ทีท่ี่สามารถดําเนินการพัฒนาทรัพยากรทางโบราณคดีและพื้นที่แวดลอมเพื่อประโยชนทางการเรียนรู และการทองเที่ยวได โดยที่ไมกอใหเกิดความเสียหายตอทรัพยากรทางโบราณคดีและประวัติศาสตร

(7) เขตชนบทและเกษตรกรรมทั่วไป

มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาพืน้ที่เหมาะสมสําหรับการเกษตร เนือ่งจากภาคการเกษตรคงเปนสัดสวนทีสํ่าคัญของประเทศไทยและลุมน้ํายม ดังนัน้พื้นที่ที่มีศักยภาพเพื่อการเกษตรกรรม หรือพื้นที่ที่จดัเตรียมไวเพื่อการเกษตร หรือเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ซ่ึงสวนใหญเปนพื้นทีเ่กษตรกรรมทีอ่ยูอาศัยน้ําฝนเปนหลัก จําเปนตองมแีนวทางสนับสนุนสงเสริมการผลิต การเพิ่มประสทิธิภาพการผลิต การพัฒนาน้ําใตดนิเพื่อเสริมศักยภาพการเกษตร การลดตนทุนการผลิตดวยเกษตรอินทรีย การสนับสนุนดานการสินเชื่อ การตลาด การพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรปู การสรางความมั่นคงดานที่ดินดวยการจัดสรรกรรมสิทธิ์ที่ดิน ซ่ึงสนับสนุนใหภาคการเกษตรมีความยั่งยืนสามารถแขงขันกับภูมภิาคทีม่ีการเปดตลาดการคาแบบเสรีได

(8) เขตอุตสาหกรรมคลังสินคา

มีวัตถุประสงคเพื่อจัดระเบยีบแหลงอุตสาหกรรมใหตัง้อยูในพืน้ที่เหมาะสม เตรียมที่ดินรองรับการแปรรูปผลผลิตการเกษตร และการสงเสริมใหโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยูในเขตอุตสาหกรรมที่กําหนดตามผังเมือง เชื่อมโยงกับศูนยกลางการขนสงตอเนื่องหลายรปูแบบและการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐาน สนับสนุนการผลิตและการแปรรูป การรวบรวมและการกระจายสินคาใหมีเครือขายเชื่อมโยงอยางเปนระบบ โดยเฉพาะเรื่องอุตสาหกรรมแปรรูปจากวัตถุดบิในทองถ่ิน เปนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการผลิตและการแปรรูปผลผลิตที่เกี่ยวเนื่องกับพืชเศรษฐกิจ โดยเนนอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานมาก และไมมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมของชุมชน

แนวความคิดดานการใชประโยชนทีด่ิน แสดงดังแผนที่ท่ี 6.4-1

Page 8: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 8 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

Page 9: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 9 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

6.4.2 แนวความคิดดานระบบชุมชนเมือง

ระบบชุมชนเมืองบริเวณลุมน้ํายมจัดระเบียบการตั้งถ่ินฐานใหอยูในบริเวณที่เหมาะสมเพื่อบรรเทาอุทกภัยอยางยั่งยืนเพื่อใหสามารถแปลงยุทธศาสตรการพัฒนาภาคเหนือ และแผนผังภาคเหนือลงสูการปฏิบัติ นโยบายจัดระเบียบการใชที่ดินและโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการจัดระเบียบ การพัฒนาทางหลวงแผนดินทําใหการขนสงทางบกมีบทบาท โดยระบบชุมชนในพื้นที่ของลุมน้ํายมเดิม เปนชุมชนที่พัฒนาตามลําน้ํายม ตอการเจริญของชุมชนเมืองโดยเฉพาะชุมชนเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี ชุมชนเทศบาลเมืองสวรรคโลก ชุมชนเทศบาลเมืองแพร และชุมชนเทศบาลตําบลเดนชัย โดยชุมชนเทศบาลเมืองสุโขทัยธานี และชุมชนเทศบาลเมืองแพร ซ่ึงเปนศูนยกลางการบริหารและการปกครอง การคาและการขนสง สวนชุมชนเทศบาลเมืองสวรรคโลกและชุมชนเทศบาลตําบลเดนชัย ทั้งสองแหงมีสถานีรถไฟจึงเปนศูนยกลางการคาและขนสงที่สําคัญในอดีต สามารถแบงกลุมชุมชนออกเปน 3 กลุม ประกอบดวย กลุมชุมชนเมืองตอนลางมีเทศบาลเมืองสุโขทัย-ธานีเปนเมืองศูนยกลางการปกครองการบริการทางดานการคาและบริการแกชุมชนโดยรอบ การที่ชุมชนมีที่ตั้งบริเวณจุดตัดของถนนสายประธานที่เชื่อมโยงเมืองศูนยกลางของภาค กลุมที่สองไดแก ชุมชนที่ตั้งอยูบริเวณตอนกลางลุมน้ํา ไดแก เมืองสวรรคโลกมีบทบาทเปนชุมชนศูนยบริหารราชการและการคาบริการ มีพื้นที่บริการครอบคลุมชุมชนเมืองที่ตั้งอยูโดยรอบ และเปนชุมชนระดับรอง ไดแก ชุมชนทุง-เสลี่ยม ศรีสัชนาลัย และศรีนคร กลุมที่สาม ไดแก กลุมชุมชนที่ตั้งอยูตอนบนของลุมน้ํามีเทศบาลเมืองแพรเปนเมืองศูนยกลางเศรษฐกิจและการปกครอง ลุมน้ํายมที่มีบทบาทในการใหบริการทางดานการคาและการขนสง ไดแก ชุมชนเมืองพิษณุโลก ชุมชนเมืองนครนครสวรรค ชุมชนเมืองพะเยา ชุมชนเมืองพิจิตร ชุมชนเมืองอุตรดิตถ และชุมชนเมืองนาน แสดงในแผนที่ 6.4-2

Page 10: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 10 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

Page 11: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 11 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

6.4.3 แนวความคิดดานระบบคมนาคม

แนวคดิดานระบบคมนาคม ควรสงเสริมการพัฒนาโครงขายทางถนนใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น เพื่อรองรับการเดินทางไมวาจะเปนคนหรือสินคาที่จะเกดิขึ้นในอนาคต การพัฒนาควรเพิ่ม/ขยายเสนทางสายหลักในการขนสงระหวางภาคหรือระหวางจังหวัด และเพิ่มเสนทางเลี่ยงเมืองเพือ่การสรางความสะดวกและปลอดภัยในการเดนิทาง การขยายถนนและจัดระบบการจราจรในเขตพื้นที่ชุมชนเมืองที่ตองมีการควบคมุดวย Road safety system รวมทั้งการออกแบบถนนทีส่ามารถใหบริการแกผูใชรถใชถนนทุกประเภท โดยเฉพาะคนเดนิเทาและผูขับขี่จักรยาน เนื่องจากระบบโครงขายการคมนาคมภายในพื้นที่ลุมน้ํายมในระดับภูมภิาคเปนเพียงเสนทางสายรอง โดยเสนทางการติดตอระหวางภาคเหนือและภาคกลาง ทาํใหการเขาสูพืน้ที่ลุมน้ํายมไมสะดวก และถูกลดความสําคัญในการใชเปนเสนทางเชื่อมผานระหวางภมูิภาค แมวามีโครงการพัฒนาเสนทางการเชื่อมโยงโครงขายคมนาคมของภาคกลางและตะวนัออกเฉยีงเหนือ (ส่ีแยกอินโดจนี) ไปสูกลุมประเทศเพื่อนบานในแถบอินโดจนี โดยเชื่อมโยงจากประเทศสหภาพพมา ผานจังหวัดตาก สุโขทัย ไปพิษณโุลก ตอเนื่องไปจนถึงสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและสาธารณรัฐสังคมนิยมเวยีดนาม แตพืน้ที่ลุมน้ํายม จะไดรับประโยชนเพียงบรรเทาความหนาแนนของปริมาณการสัญจรระหวางจังหวดัในแนวตะวันออก-ตะวนัตกใหสะดวกมากขึ้น แตการสัญจรในแนวเหนือ-ใต ไมสะดวกและไดรับประโยชนเทาที่ควร ยกเวนพืน้ที่ทางตอนเหนือในเขต จ.แพรตั้งแต อ.เดนชัยซ่ึงมีถนนสายอินโดจนีผาน

การพิจารณาระบบโครงขายการคมนาคม เพื่อเพิ่มความสะดวกในการเขาถึงพื้นที่สวนใหญ โดยเฉพาะพื้นที่ทางตอนบน จึงควรพัฒนาระบบโครงขายการคมนาคมใหเชื่อมโยงพื้นทีใ่นแนวเหนือ-ใต คือเสนทางจากกําแพงเพชร-สุโขทัย-แพร-พะเยา และในแนวตะวันออก-ตะวนัตก จากลาํปาง-ทุงเสลี่ยม-สวรรคโลก-อุตรดิตถใหเปนถนนสี่ชองจราจร แตการพฒันาระบบถนนในเสนทางศรีสัชนาลัย-แพร และเสนทางทางตอนเหนืออาจจะไมเหมาะสมในการพัฒนา ดวยขอจํากัดของพื้นทีจ่งัหวัดที่ทางตอนบนเปนภเูขา และเสนทางจากสวรรคโลก-อุตรดิตถ เปนเสนทางที่เชื่อมโยงระหวางชุมชนเมืองขนาดเล็กทั้งของจังหวดัสุโขทัยและอุตรดติถ อีกทั้งปริมาณการจราจรที่ไมหนาแนนมาก จึงไมมีความจําเปนเรงดวนการพัฒนา

ดังนั้น จึงควรปรับปรุงถนนใหเปนถนนสี่ชองจราจรในเสนทางกาํแพงเพชร-สุโขทัย-สวรรคโลก-ศรีสัชนาลัย-อุตรดิตถ และในเสนทางจากเถนิ-อําเภอทุงเสลี่ยม-สวรรคโลก ใหเปนเสนทางสายหลัก ซ่ึงนอกจากจะเพิม่ชองทางการสัญจร แลวยงัเปนการเพิ่มทางเลือกในการเดินทางโดยระบบ

Page 12: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 12 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ถนนของนักทองเที่ยวทั้งจากดานจังหวดักําแพงเพชรโดยผานอําเภอคีรีมาศ หรือจากจังหวัดพษิณุโลกโดยผานอําเภอกงไกรลาศ ตลอดจนนักทองเที่ยวทีเ่ดินทางมาจากภาคเหนือตอนบนผาน อําเภอเถิน จังหวดัลําปาง สามารถเดินทางมาทองเที่ยวในจังหวดัสุโขทัย โดยผานมาทางอําเภอทุงเสลี่ยมได ซ่ึงจะเพิ่มศักยภาพการทองเที่ยวของจังหวดัสุโขทัย และสามารถเชื่อมโยงการทองเที่ยวกับจังหวดัอื่น ๆ ที่อยูในพื้นที่โดยรอบของจังหวดัสุโขทัยได และเพื่อความสะดวกในการสัญจรระหวางพื้นที่จังหวดัสุโขทัยและจังหวัดโดยรอบแลว ควรจะมกีารปรับปรุงถนนสายรองภายในพืน้ที่ลุมน้ํายม โดยเฉพาะเสนทางภายในชุมชนตลอดจนเสนทางเขาแหลงทองเที่ยวตาง ๆ ใหสามารถเชื่อมโยงถึงกนัไดสะดวก ปลอดภัย และมีภูมิทัศนที่สวยงามและเหมาะสม โดยควรมกีารปรับปรุงถนนในบางเสนทางใหมีเสนทางเดินเทาและเสนทางจกัรยานแยกสวนจากเสนทางเดินรถเพื่อความปลอดภัย อาจกลาวโดยสรุป คือ ทําการปรับปรุงเสนทางคมนาคมภายในลุมน้ํายมใหสามารถใชสัญจรและเชือ่มโยงภายในพื้นที่ไดในชวงฤดูน้ําหลาก แตในขณะเดียวกันควรทําการกอสรางทอลอดถนนในบางสายที่กีดขวางทางน้ํา เพื่อใหน้ําสามารถไหลผานไดสะดวก และหากในอนาคตมีการกอสรางถนนเพิ่มเติม ควรมีการคํานึงถึงการวางตัวของถนนไมใหกีดขาวงทางน้ําไหล ดังเชนถนนหลายสายในปจจุบัน

สวนโครงขายเสนทางรถไฟ ซ่ึงในภาคเหนือจะมีเสนทางรถไฟสายหลักอยูเพยีงสายเดียว ซ่ึงผานพื้นที่ลุมน้ํายม ที ่ อ.สวรรคโลก อ.เดนชัย อ.ศรีนคร และ อ.ลอง ควรมีการกอสรางวางคูขนาน (Double Track) ตามโครงการพัฒนาระบบรถไฟทั่วประเทศใหเปนระบบรถไฟรางคู เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการใหบริการ และแผนการกอสรางทางรถไฟสายใหมชวงเดนชัย-เชียงราย เพื่อเชื่อมตอระบบรางใหมีความสามารถในการเขาถึงมากขึ้น และสามารถชวยเพิ่มศกัยภาพในการพัฒนาดานตางๆโดยเฉพาะดานเศรษฐกิจไดอีกดวย โดยแนวความคิดดานระบบคมนาคม แสดงในแผนที่ 6.4-3 และรูปท่ี 6.4.3-1 ถึงรูปท่ี 6.4.3-3

Page 13: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 13 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

แผนที่ คมนาคม

Page 14: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 14 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

รูปท่ี 6.4.3-1การปรับปรงุและเพิ่มจํานวนทอน้ําลอดและสะพานในแนวถนนที่วางตัวกีดขวางทางน้ําไหล

รูปท่ี 6.4.3-2 ตัวอยางการขยายชองทางจราจรเปน 4 ชองทาง ท่ีมีเกาะกลางถนนขนาดเล็กและขนาดใหญรวมถึงระบบไฟทางที่เปนแบบกลางถนนและแบบชิดขอบทาง

รูปท่ี 6.4.3-3 ตัวอยางการขยายชองทางจราจร การเพิ่มเสนทางเดินเทาและเสนทางจักรยาน

Page 15: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 15 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

6.4.4 แนวความคดิดานสาธารณปูโภคสาธารณปูการ

1) แนวความคดิดานสาธารณปูโภค

(1) ระบบการประปา

เชื่อมโยงทอบริการครอบคลุมชุมชนหลัก ของพื้นที่สนับสนุนใหมกีารอนุรักษและดํารงรักษาแหลงน้ําดิบเพื่อการผลิตประปา การวางระบบทอสงน้ํากับแหลงน้าํสํารอง การฟนฟูน้ําตนทุนเพื่อการผลิตประปา การพัฒนาแหลงน้ําเพือ่การเกษตรและการทองเทีย่วใหเพยีงพอตอการใชประโยชนอนาคต พัฒนาแหลงน้ําเพื่อการผลิตประปาจากแหลงน้ําผิวดินขนาดใหญและอางเก็บน้าํขนาดเล็กใหเชื่อมโยงเครือขายทอสงน้ําภายในพืน้ที่ เพื่อสามารถเพิ่มปริมาณน้ําตนทนุโดยการฟนฟูสภาพปาตนน้ํา ปาชุมชน โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบการประปาที่ตัง้โรงกรองน้ําที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริการจัดการน้ําใหสอดรับแหลงชุมชน และกบัแหลงประกอบกิจการตามแผนผังการใชประโยชนที่ดนิ โดยแนวคดิเกีย่วกับดานการประปาประกอบดวย 3 สวน คือ สวนของแหลงน้ําที่ใชผลิต สวนของระบบทําความสะอาดน้ํา หรือโรงประปา และสวนสดุทายคือระบบขนสงและแจกจายน้าํ และในการพิจารณาออกแบบระบบประปา ตองดําเนนิถึงระบบที่มีคุณภาพดีและมีความประหยดัมากที่สุด เชนแหลงน้ําดิบตองอยูไมไกล และมีมลพิษนอยที่สุด โดยมาตรฐานทีใ่ชในการออกแบบ ใชมาตรฐานเหลานี้

1) มาตรฐานการประปานครหลวง (กปน.)

2) มาตรฐานการประปาภูมภิาค (กปภ.)

3) มาตรฐานวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย (วสท.)

4) มาตรฐานนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.)

(2) ระบบสงน้ําเพือ่การเกษตร

พัฒนาแหลงน้าํดิบ อางเก็บน้ําบริเวณลุมน้ําทาโดยรอบเพื่อใชประโยชนเปนแหลงน้ําตนทนุของโครงขายระบบสงน้ําเพื่อเกษตรกรรมพรอมระบบระบายน้ําใชเพื่อการเกษตร โดยระบบทอเพื่อปองกันการรั่วซึม และการระเหยของน้าํและใหใชน้ําเพื่อการเกษตรมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยการพัฒนาแหลงน้ําตนทนุบริเวณเขตภเูขา และใหความสําคัญกับการพัฒนาโครงขายระบายน้าํและ

Page 16: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 16 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

แหลงเก็บน้ําเหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ําไดสอดรับกับระบบการตั้งถ่ินฐานการผลิตในที่ดินแตละประเภท

(3) ระบบระบายน้าํรวบรวมและบําบัดน้าํเสีย

ในเขตชุมชนหลักจัดใหมีระบบทอรวบรวม และบําบัดน้ําเสียในแตละชุมชน และบําบัดแบบเบ็ดเสร็จของแหลงประกอบกิจการในแตละประเภทการใชประโยชนที่ดินหรือการประกอบกิจการแตละยาน และจดัใหมีระบบรวบรวมน้ําเสียเชื่อมโยงระหวางชุมชนหลักเพื่อการประหยดัออกแบบระบบรวบรวมน้ําเสียใหสามารถระบายน้ําโดยธรรมชาติและเนนระบบบําบัดแบบธรรมชาติโดยจดัหาแหลงทีต่ั้งบอบําบัดและบอเก็บกกัน้ําเสียกอนระบายลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ โดยเฉพาะการระบายน้ําลงสูพื้นที่ชุมน้ําที่มคีวามสําคัญในดานนเิวศสงเสริมใหใชน้ําที่เหลือจากการบําบัดกลับมาใชประโยชนใหมได

1) พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.2535

2) ขอกําหนดเกีย่วกับการจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2535

(4) ระบบไฟฟา

ระบบไฟฟาภายในพื้นที่พืน้ทีลุ่มน้ํายม ในภาพรวมของแนวคดิดานระบบไฟฟา คือ ภายในพืน้ที่ลุมน้ํายม ตองมีกระแสไฟฟาใชทั้งในฤดูที่ไมมีน้ําทวม และในชวงฤดูน้ําหลาก หากในปจจุบันสถานไีฟฟาที่มีระบบไฟฟาแรงสูงอยูในพืน้ที่เสี่ยงภัยน้าํทวม ในอนาคตควรหาพื้นที่เหมาะสม ดวยการยายไปสูพืน้ที่ที่ปลอดภัยมากขึ้น โดยลุมน้ํายมควรมสีถานีสงไฟฟาขนาดใหญที่ใชรองรับความตองการไฟฟา 2 แหง คือ ในพื้นที่ลุมน้ํายมตอนบนควรมีสถานีอยูที่ จ.แพรโดยทําเลที่ตั้งไมควรอยูในพื้นทีน่้ําหลากหรือพื้นที่น้ําทวมถึง สวนในพื้นที่ลุมน้ํายมตอนลางควรมีสถานีสงไฟฟาตั้งอยูที่จังหวัดสุโขทัย โดยสถานที่ตั้งก็ไมควรอยูที่พื้นที่ทีมนี้ําทวมเชนเดียวกนั โดยแนวคดิดานระบบฟา มีองคประกอบที่สําคัญคือ สถานีไฟฟายอย ระบบไฟฟาแรงสูง และระบบไฟฟาแรงต่ํา ในสวนของการออกแบบระบบไฟฟาของพื้นทีลุ่มน้ํายมใชมาตรฐานของหนวยงานตางๆ ดังนี ้

1) การไฟฟานครหลวง (กฟน.)

2) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.)

Page 17: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 17 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

3) วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย (ว.ส.ท.)

4) การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.)

(5) ระบบโทรศัพท และระบบโทรคมนาคม

ในการกําหนดความตองการการใชโทรศัพทตองคํานึงถึงความตองการใชโทรศัพทของพื้นที่พาณิชยกรรมที่พักอาศัย สวนราชการ และศูนยบริการเพื่อรองรับกับประชากรที่เพิ่มขึ้นในอนาคต โดยในการออกแบบระบบโทรศัพทและระบบโทรคมนาคม มีเกณฑการออกแบบโดยใชมาตรฐานดังนี ้

1) องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย

2) การสื่อสารแหงประเทศไทย

3) วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย (ว.ส.ท.)

4) การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.)

2) แนวความคดิดานสาธารณปูการ

จัดหาบริการสาธารณะใหสอดรับกับบทบาทของชุมชน และมีจํานวนเพียงพอตอการใชประโยชนในอนาคตและมีมาตรฐานสากล

(1) ชุมชนหลักภายในลุมน้ํายม ใหมีบทบาทเปนศูนยบริการสาธารณะใหมีความสมบูรณในตวัเอง

(ก) สถาบันการศึกษา สงเสริมใหมีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา วิทยาลัยการอาชีพและสถาบันพัฒนาฝมอืแรงงานเพื่อพัฒนาอาชีพ โรงเรียนมัธยมศึกษา โรงเรียนประถมศกึษา โรงเรียนอนุบาล และศูนยเดก็ปฐมวยั

(ข) สถานพยาบาล สงเสริมใหมีโรงพยาบาลขนาดไมต่ํากวา 300 เตียง และสถานีอนามัยชุมชนยอยเพื่อใหประชาขนเขาถึงบริการดานสุขอนามัยไดสะดวก

Page 18: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 18 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

(ค) สถาบันราชการ ประกอบดวย ศนูยบริหารราชการและศูนยบริการประชาชนและศูนยปฏิบัติการของหนวยงานราชการระดบัอําเภอ ศูนยบริการของหนวยงานทองถ่ิน และหนวยงานราชการที่เกี่ยวของกับการบริการประชาชนใหกระจายอยูในแหลงชุมชนเพื่อความสะดวก

(ง) สถาบันศาสนา ใหวัดและศาสนสถานที่สําคัญมีที่ตั้งในเขตศูนยกลางชุมชน ยกเวนวัดหรือศาสนสถานที่ฌาปนสถาน

(จ) ท่ีโลงเพื่อนันทนาการ ใหมทีี่โลงหรือลานโลง ลานชุมชน สวนสาธารณะ สนามกีฬา และสนามเดก็เลน เพื่อเปนแหลงนนัทนาการการพักผอนหยอนใจ และดํารงเอกลักษณ วัฒนธรรม และความเชื่อมโยงทางสังคมของชุมชนไทยชนบทและเกษตรกรรม

(2) ชุมชนรอง ใหมีบทบาทเปนที่พักอาศยั จัดใหมีบริการสาธารณะที่มีมาตรฐานและมีปริมาณเพียงพอตอความจําเปนพืน้ฐาน เนนความปลอดภัยและเขาถึงบริการดวยการเดินเขาถึงบริการสาธารณะสําคัญ ประกอบดวย

(ก) สถาบันการศึกษา สนับสนนุใหสถาบันระดับมัธยมศึกษาเปนสถาบันหลักของชุมชนมีโรงเรียนประถมศึกษา เปนศูนยกลางการบริการหลักของชุมชนยอย และศูนยเดก็ปฐมวยักระจายอยูในยานที่อยูอาศยัของชุมชนหรือละแวกบาน

(ข) สถานพยาบาล ใหมีโรงพยาบาลขนาดไมต่ํากวา 100 เตียง เปนสถานพยาบาลหลักของชุมชน

(ค) ศาสนสถาน ใหมีวดัและศาสนสถานอื่น ๆ ที่ประชาชนในทองถ่ินใหความสําคัญตั้งอยูในศนูยเขตชุมชนเขาถึงสะดวก ยกเวนศาสนสถานที่มีการฌาปนสถานหรือสุสาน

(ง) ใหชุมชนมีลานโลงเพื่อนันทนาการ ลานโลงชุมชนและพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนและริมฝงแมน้ําคูคลอง และปาชุมชน เพื่อเปนแหลงฟอกอากาศและรักษาพันธไมประจําถ่ิน

Page 19: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 19 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

(3) ชุมชนยอย พัฒนาบริการสาธารณะใหเพียงพอตอความตองการของยานตาง ๆ ในชุมชน

(ก) สถาบันการศึกษา สนับสนุนใหสถาบนัระดับมัธยมศึกษาเปนสถาบันหลักของชุมชนมีโรงเรียนประถมศึกษา เปนศูนยกลางการบริการหลักของชุมชนยอย และศูนยเดก็ปฐมวัยกระจายอยูในยานที่อยูอาศัยชุมชนหรือละแวกบาน

(ข) สถานพยาบาล ใหมีโรงพยาบาลไมต่ํากวา 50 เตียง เปนสถานพยาบาลหลักของชุมชน

(ค) ศาสนสถาน ใหมีวัดและศาสนสถานอื่น ๆ ที่ประชาชนในทองถ่ินใหความสําคัญตั้งอยูในศนูยเขตชุมชนที่เขาถึงสะดวก ยกเวนศาสนสถานที่มีการฌาปนสถานหรือสุสาน

(ง) ใหชุมชนมีลานโลงเพื่อนันทนาการ ลานโลงชุมชนและพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนและริมฝงแมน้ําคูคลอง และปาชุมชน เพื่อเปนแหลงฟอกอากาศและรักษาพันธไมประจําถ่ิน

แนวความคิดดานสาธารณปูโภคและสาธารณูปการแสดงดังแผนท่ีท่ี 6.4-4

Page 20: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 20 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

Page 21: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 21 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

แผนที่สาธารณูปการ

Page 22: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 22 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

6.4.5 แนวความคิดดานการปองกันและบรรเทาอุทกภัย

การปองกันและบรรเทาอุทกภัย ควรมีเปาหมายดังตอไปนี้

1) ลดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพยสินจากการเกิดอุทกภยั

2) มีแผนการปองกันแกไขปญหาน้ําทวมอยางเปนระบบ

3) ใหประชาชนและองคกรทองถ่ินทราบบริเวณที่มีความเสีย่งตออุทกภัย และมีความรูความเขาใจในการบริหารจัดการ

4) มีการเตือนภยัลวงหนากอนเกิดอุทกภัยอยางมีประสิทธิภาพและทันเวลา

5) มีกลไกบรรเทาทุกขจากอุทกภัยอยางเปนระบบ

6) ทองถ่ินมีสวนรวมในการบริหารจัดการแกไขปญหาน้ําทวม

การปองกันและบรรเทาอุทกภัย โดยหลักการแลวจะมวีิธีการหลายแบบดวยกัน การเลือกใชวิธีแบบใดจะขึ้นอยูกับสาเหตุการเกิดอุทกภัย ความเหมาะสมทางสภาพภมูิประเทศของพื้นที่ในบริเวณนั้น ๆ การปองกันและบรรเทาอุทกภัย แบงออกเปนมาตรการหลักได 2 มาตรการ คือ มาตรการไมใชส่ิงกอสราง (Non – Structural Measures) และมาตรการที่ใชส่ิงกอสราง (Structural Measures)

1) มาตรการไมใชสิ่งกอสราง

(1) การปรับปรุงเกณฑการจัดการน้ําของอางเก็บน้ําที่มีอยู

(2) การควบคุมและกําหนดแนวทางการใชที่ดนิในพืน้ที่ที่เกดิน้ําทวม

(3) จัดตั้งคณะกรรมการลุมน้ําในสวนของการบรรเทาอุทกภัย เพื่อใหมีการใชมาตรการไดอยางมีประสิทธิภาพ

(4) การคาดการณและเตือนภัยน้าํทวม เปนวธีิการที่เสียคาใชจายในการดาํเนินการไมมาก (เมื่อเทียบกับมาตรการอื่น) และใหผลในการลดความเสียหายทั้งตอชีวิตและทรัพยสินไดมาก

Page 23: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 23 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

2) มาตรการที่ใชสิ่งกอสราง

(1) การสรางอางเก็บน้ําดานตนน้ํา

(2) การขุดลอกขยายขนาดและความลึกของลําน้ํา

(3) การขุดคลองลัดน้ํา

(4) การขุดคลองผันน้ํา

(5) การกอสรางคันกั้นน้ําริมตลิง่

(6) การกอสรางพื้นที่ปดลอม (Polder)

(7) การกอสรางพื้นที่แหลงพกัน้าํหรือชะลอน้ํา (แกมลิง)

(8) การแกไขปญหาอุปสรรคสิ่งกีดขวางทางน้ํา

ลุมน้ํายมเปนลุมน้ําที่เกิดปญหาน้ําทวมเปนประจําทุกป มีสาเหตุเนื่องมาจากลําน้ํายมตอนบนของลุมน้ํา ฝนตกหนักไมมีพื้นที่เก็บกักน้ําเพือ่ชะลอการไหลบาของน้ําหลาก สวนพืน้ที่ลุมน้ําตอนลางชวงตั้งแตอําเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย ลงไปลําน้ํามีขนาดแคบ ไมสามารถระบายน้ําที่มาจากตอนบนและตอนกลางของลุมน้ําไดทัน ทําใหปริมาณน้ําไหลเออลนตลิ่งกระจายไปตามสองฝงของลําน้ําซ่ึงเปนพื้นที่ราบลุม พื้นที่ใชทําการเกษตร และพื้นทีเ่ขตชุมชนอยูเปนประจําทุกป และพื้นที่สวนใหญที่แมน้ํายมไหลผาน เปนชุมชนเมืองที่สําคัญ และมีลักษณะเปนแองกนกระทะ จึงทําใหเกิดน้ําทวมในพื้นที่ชุมชนเมอืงซึ่งเปนแหลงที่ตั้งถ่ินฐานและศูนยกลางทางเศรษฐกิจ

ปจจุบันลักษณะทางกายภาพภายในลุมแมน้ํายม มีการเปลี่ยนแปลงจากอดีตเปนอยางมาก ทั้งในดานทรัพยากรปาไมที่ถูกทําลาย การขาดแคลนแหลงกกัเก็บน้ําในพืน้ที่ตอนบนของลุมน้าํ เพื่อชวยชะลอการไหลของน้ําในฤดนู้ําหลาก แมน้ําลําคลองตื้นเขิน ถูกบุกรุกทําใหประสิทธิภาพของการระบายน้ําลดลง การกอสรางถนน หรือคนัดินกดีขวางทางน้ํารวมทั้งการเปลี่ยนแปลงพื้นที่รับน้ําใหเปนชุมชน ลวนทาํใหปญหาน้ําทวมในลุมน้ํายมทวีความรุนแรงมากยิ่งขึน้ แนวความคดิในการแกไขปญหาอุทกภัยในพืน้ที่ลุมน้ํายมควรแยกเปน 2 สวนคือ ลุมน้าํยมตอนบน ควรกอสรางฝายเก็บกักน้ําปดกั้นลําน้ํายม และลําน้ําสาขา พรอมผันน้ําบางสวนไปยังเขื่อนสิริกิติ์ ลุมน้ํายมตอนกลาง ตั้งแตบริเวณใตจังหวดั

Page 24: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 24 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

แพรจนถึงตอนบนของจังหวัดสุโขทัย จะมีปริมาณน้ําทีไ่หลบาจากจังหวัดแพรและฝนที่ตกในพื้นที่ และควรกอสรางฝายปดกัน้ลําน้ํายมที่บริเวณอําเภอวังชิน้ จังหวัดแพร และอําเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสโุขทัย เพื่อเก็บกกัน้ําและชะลอปรมิาณน้ําไหลบา การลดปริมาณน้ําหลากในพื้นที่ลุมน้ําตอนกลาง และการเก็บกักไวใชบรรเทาปญหาภัยแลง โดยการกอสรางอางเก็บน้ําขนาดกลางเพิ่มเติมในพื้นที่บริเวณตอนลางของจังหวดัแพรและบรเิวณตอนบนของจงัหวัดสุโขทัยดวย สวนลุมน้ํายมตอนกลางและตอนลาง ควรมีการขุดลอกลําน้ําเพื่อไมใหน้าํไหลบาเขาอําเภอเมืองสุโขทัยโดยตรง เชน ขุดลอกลําน้ํายมสายเกา และคลองธรรมชาติฝงขวาของลําน้ํายม และเพิม่ขีดความสามารถในการระบายน้ําของลําน้ําชวงอําเภอสําโรง ถึงปากคลองธรรมชาติฝงซายที่บริเวณบานบางคลอง ตําบลปากแคว อําเภอเมืองสุโขทัย ปริมาณน้ําที่ไหลมาจากอําเภอศรีสําโรง ยังมีปริมาณมากลําน้ํายมชวงผานอําเภอเมอืงสุโขทัยมีขนาดเล็ก จึงควรมีการขุดลอกคลองฝงซายลําน้ํายมเพื่อระบายน้าํสวนเกนิไปลงที่อําเภอบางระกํา จังหวัดพิษณุโลก และใชคลองที่ขุดลอกนี้เปนทีเ่ก็บน้ําเพื่อการเพาะปลูกของพื้นที่ดานขางสองฝงคลอง พื้นที่อําเภอบางระกําซึ่งรับน้ําที่ระบายมาจากจังหวดัสุโขทัยทั้งหมด ควรปรับปรุงพื้นที่ลุมและหนองน้ําใหเปนแกมลิงที่มีประสิทธิภาพเพื่อชะลอน้ําหลากมิใหสงผลกระทบตอพื้นที่ในเขตจังหวดัพิจิตรตอไป จากที่กลาวมาสามารถสรุปแนวความคดิดานการปองกันและบรรเทาอุทกภยั ดังนี้

1) การกอสรางเขื่อนหรือฝายเกบ็กักน้ําขนาดใหญในพืน้ที่ลุมน้ํายมตอนบน ซ่ึงนอกจากจะชวยปองกันและบรรเทาอุทกภยัแลว ยังสามารถเก็บกักน้ําไวใชในฤดแูลงไดดวย โดยรัฐบาลควรใหความสําคัญตอการแกไขปญหาผลกระทบตอส่ิงแวดลอม และการแกไขปญหาความเดือนรอนของเกษตรกรและผูที่ไดรับผลกระทบจากโครงการใหมคีวามชัดเจน

2) การกอสรางเขื่อนหรือฝายเกบ็กักน้ําขนาดกลางในลําน้ําสาขา ซ่ึงจะชวยลดปริมาณน้ําหลากจากลําน้ําสาขาที่จะไหลลงมาเพิ่มปริมาณน้ําหลากในลําน้ํายม และจะชวยเก็บกกัน้ําไวใชในฤดแูลง

3) การขุดลอกขยายขนาดลําน้ํายมเพื่อใหน้ําไหลผานไดสะดวกโดยไมถูกบีบกั้นในบางชวง รวมทั้งการขุดทางน้ําที่ชวยผันน้ําออกไปจากการไหลผานตวัเมืองที่มีชุมชนอยูหนาแนน เชน การขุดลอกลําน้ํายมสายเกาและคลองธรรมชาติอ่ืน ๆ

4) การกอสรางพื้นที่แกมลิง เพื่อชวยรับปริมาณน้ําหลากในชวงที่เกดิอุทกภยัขึ้นและสามารถนําปริมาณน้ําที่เก็บไวกลับมาใชในภายหลัง ดังเชนแกมลิงทะเลหลวง ใกลตัวเมืองสโุขทัย แกมลิงบางระกํา บริเวณ อ.บางระกํา จ.พิษณุโลก และแกมลิงชุมแสง บริเวณ อ.ชุมแสง จ.นครสวรรค

Page 25: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 25 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

5) แนวทางการผันน้ําที่หลากในลําน้ํายมออกไปเก็บไวในบริเวณอืน่ เชน บึงมาย หรือในลุมน้ํานาน โดยผันน้าํไปเก็บไวในเขื่อนสิริกิติ์ แลวผันกลับมาใชในภายหลัง

6) การติดตั้งระบบโทรมาตรและระบบเตือนภยั เพื่อการเฝาระวังและเตือนภยัสถานการณน้าํในจดุสําคัญ ๆ เพื่อใหชุมชนตาง ๆ มีเวลาเตรียมตัวเพิ่มขึ้นในการรับมือกับน้ําทวม

7) กอสรางระบบปองกันพื้นทีเ่ศรษฐกิจโดยสรางคนักั้นน้ําโอบลอมเฉพาะพื้นที่ที่ตองการปองกนัพรอมระบบสูบน้ําเพื่อระบายน้ําออกจากพื้นที่ภายในดวย

8) ใชมาตรการผังเมืองโดยการกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินเพื่อคํานึงถึงการอนุรักษดนิและน้ํา กําหนดทีด่ินประเภทอนุรักษปาไมบริเวณตนน้ําลําธาร การกําหนดเขตเพื่อดํารงรักษาพื้นที่น้ําหลาก ที่ราบลุมน้ําทวมถึง และกําหนดพืน้ที่โลงริมฝงแมน้ําคูคลองและพื้นทีชุ่มน้ํา เพื่อใหระบบระบายน้ําธรรมชาติสามารถระบายน้ําจากพื้นที่สูงและภเูขา ลงสูพื้นที่ชุมน้ํา

9) พื้นที่เกษตรกรรมบริเวณที่ลุมต่ําซึ่งไมอาจพนจากสภาพปญหาอุทกภยัตองประสบอยูเปนประจําทกุป สมควรอยางยิ่งที่สวนราชการที่เกี่ยวของตองมีมาตรการชวยเหลืออยางใดอยางหนึ่งใหราษฎรสามารถปรับวิถีชีวิต ทั้งการดํารงชีพไมใหมีความคับแคน และสนับสนุนการปรับระบบการเกษตรใหสามารถทําการผลิตไดอยางยั่งยืน สอดคลองกับสภาพธรรมชาติที่เกิดน้าํทวมเปนประจํา

แนวความคิดดานการปองกนัและบรรเทาอุทกภัย แสดงดังแผนที่ท่ี 6.4-5

Page 26: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 26 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

Page 27: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 27 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

6.4.6 แนวความคดิดานการทองเที่ยว

การจัดทําผังภาคเหนือมีแนวทางการพัฒนาการทองเที่ยวดังตอไปนี ้

1) พัฒนาการทองเที่ยวบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและวฒันธรรมที่โดดเดนและหลากหลายเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่น (Eco Health Agro Tourism and Northern Culture)

2) การทองเที่ยวของภาคเหนือเปนการทองเที่ยวทีย่ั่งยนื (Sustainable Tourism Development) และนําไปสูการพัฒนาการทองเที่ยวเพื่อการรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม (Tourism Development for Quality of Environment Conservation)

3) ใหความสําคญักับการมีสวนรวมขององคกร / ชุมชนทองถ่ินในการจัดการดานการทองเที่ยวและใหความสําคญักับแนวคิดการพัฒนาการทองเที่ยวเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรูและสรางสมดุลในโครงสรางเศรษฐกจิและสังคม

4) เชื่อมโยงการทองเที่ยวภาคเหนือกับภูมิภาคโดยรอบ (Inter Regional Destination Linkage) เพื่อขยายฐานตลาดการทองเที่ยวใหกวางมากขึ้น รวมถึงเชื่อมโยงโครงขายการทองเที่ยวภายในภาค (Intra Region)

ผังภาคเหนือ ใหกลุมมรดกที่อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย กําแพงเพชร พิษณุโลก เปนแหลงทองเที่ยวหลัก โดยมภีาพลักษณการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร โบราณคดีและวัฒนธรรม เปนจุดหมายปลายทางสําคัญของผูเยี่ยมเยือนตางชาติ รวมถึงผูเยี่ยมเยือนชาวไทยที่สนใจ และพษิณุโลกมีความพรอมของสิ่งอํานวยความสะดวกทางการทองเที่ยวประเภทตางๆ เชน เมืองศูนยกลางการบริการทางการทองเที่ยวระดับสากลที่สามารถเชื่อมโยงการทองเที่ยวกับภูมภิาคตางๆ ไดอยางดี และใหพะเยา แพร นาน เปนแหลงทองเที่ยวเสริม โดยเนนการทองเที่ยวเชิงอนุรักษและผจญภยั การศึกษาวัฒนธรรมและธรรมชาติโดยมุงสรางความนาสนใจของพื้นที่ดวยกันผนึกกําลังใน 3 จังหวดั และนําเสนอขายเปนกลุมจังหวดั โดยการพฒันาโครงขายเชื่อมโยงระหวางพื้นที่ซ่ึงม ี จ.นาน เปนศูนยกลางของกลุม และควรมีการประชาสัมพันธ และสงเสริมใหมกีารเชื่อมโยงการทองเที่ยวของทั้งสองกลุม

สําหรับจังหวดัสุโขทัยเปนจงัหวัดที่มแีหลงทองเที่ยวหลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะแหลงทองเที่ยวประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เนื่องจากภายในพื้นทีข่องจังหวดัสุโขทัยมีการตั้งถ่ินฐานเปนชุมชน ตั้งแตกอนตนศตวรรษที่ 18 และพัฒนาตอเนื่อง จนเปนชุมชนขนาดใหญในภาคเหนือ

Page 28: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 28 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ตอนลาง และเปนศนูยกลางการบริหารและการปกครองของอาณาจักรสุโขทัย นอกจากนัน้ยังปรากฏรองรอยของระบบเมืองโบราณรอบกรุงสุโขทัย กลาวคือ ทางดานเหนือมีเมืองศรีสัชนาลัย ทางดานตะวนัออกมีเมอืงสองแคว (พิษณุโลก) สระหลวง (พิจิตร) ดานใตมเีมืองชากังราวหรือนครชุม (กําแพงเพชร) และมีการเชื่อมโยงเมอืงดังกลาวดวยระบบถนนพระรวง ซ่ึงแหลงทองเทีย่วเชิงประวัติศาสตรนี้ ไดรับความสนใจจากนักทองเที่ยวชาวตางชาติ ควรที่จะมีการพัฒนาทางดานทองเที่ยวหลายดาน เพิม่ศักยภาพการทองเที่ยวโดยการสงเสริมกิจกรรมดานตาง ๆ โดยรักษาทุนทางธรรมชาติ สังคม วัฒนธรรม และวิถีชุมชนในทองถ่ิน พัฒนาการทองเที่ยวในรปูแบบตาง ๆ คือ การทองเที่ยวเชิงการเกษตรกรรม การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ การทองเทีย่วเชิงอนุรักษ สงเสริมการพัฒนาเสนทางการทองเที่ยวภายใหเชื่อมโยงกนั เชน สงเสริมการทองเที่ยวระหวางอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัยกับอุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย โดยการสรางความเชื่อมโยง แหลงทองเที่ยวดังกลาวดวยถนนพระรวง เนื่องจากเสนทางนี้เปนเสนทางที่ใชเดินทางติดตอระหวางเมืองตั้งแตในอดีต สามารถพัฒนาใหเปนเสนทางทองเที่ยว เพื่อใหนกัทองเที่ยวไดเห็นสภาพพื้นที่ที่ยังคงเปนพืน้ที่เกษตรกรรม และแสดงใหเห็นชีวิตความเปนอยูที่เรียบงายในชนบท ตลอดจนสามารถใชเปนเสนทางเลีย่งการจราจรบนทางหลวงแผนดนิ 101 ผลจากการพัฒนาเสนทางถนนพระรวงอกีประการ คือ สามารถพัฒนาจุดพักรถใหเปนศูนยสงเสริมการทองเที่ยว หรือศูนยแสดงศิลปวัฒนธรรมประจําจังหวดัไดอีกดวย นอกจากนีย้ังควรพัฒนาแหลงทองเที่ยวทางทางธรรมชาติและมีวฒันธรรมประเพณีที่มีความโดดเดน ชุมชนเกาแกที่มีสภาพการดําเนินชวีิต พรอมทั้งมีเอกลักษณของชุมชนที่สามารถสงเสริมใหมีการทองเที่ยวในลกัษณะ Home Stay เพื่อใหนักทองเที่ยวไดสัมผัสกบัวิถีชีวิตและศิลปหัตถกรรมประจําถ่ิน โดยแนวความคิดดานการทองเที่ยว แสดงดังแผนท่ีท่ี 6.4-6

Page 29: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 29 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

Page 30: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 30 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

6.4.7 แนวความคดิดานพืน้ท่ีโลง

ในการวางผังพื้นที่โลง ไดแบงพื้นที่ในการวางผังพื้นที่โลง(Open Space Plan) ออกเปน 2 สวนดวยกัน คือที่โลงของระบบทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม และที่โลงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยจดัระบบใหสอดรับกับระบบของทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม และจัดระบบใหสอดรับกับการใชประโยชนตามบทบาท ศักยภาพและความเหมาะสมของพื้นที่

สวนท่ี 1 พื้นที่โลงของระบบทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม เปนพื้นที่โลงเพื่อการสงวนรกัษา อนุรักษ ปกปอง การฟนฟบููรณะ การพฒันา โดยจดัระบบของที่โลงใหสอดรับกบัระบบทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม และการรองรับน้าํหลาก ประกอบดวย

1) พื้นที่โลงที่เปนตนน้ําลําธาร

2) พื้นที่โลงที่เปนบริเวณพื้นทีช่นบทและเกษตรกรรมที่มีเงื่อนไขใหทําการเกษตรกรรมเชิงอนุรักษและวนเกษตร

3) พื้นที่โลงที่เปนบริเวณพื้นทีช่นบทและเกษตรกรรม

4) พื้นที่โลงที่เปนพื้นที่รองรับน้ําหลาก

5) พื้นที่โลงที่เปนแหลงน้ํา

สวนท่ี 2 พืน้ที่โลงเพื่อนนัทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม จัดระบบใหสอดรับกับการใชประโยชน บทบาท ศักยภาพ และความเหมาะสมเพื่อนันทนาการและการรักษาคณุภาพส่ิงแวดลอม ประกอบดวย

1) สวนสาธารณะระดับเมืองเปนสวนสาธารณะขนาดใหญกําหนดไวบริเวณชุมชนหลัก

2) สวนสาธารณะระดับชุมชน จัดไวในทกุชมุชน

3) สวนสาธารณะละแวกบาน มีรูปแบบยาวและมีโครงขายเชื่อมโยงอยางเปนระบบกบัพื้นที่สีเขียวริมฝงแมน้ําลําคลองและเปนพืน้ที่กันชนบริเวณแหลงกจิการที่มีผลกระทบตอสภาพแวดลอม

4) สวนสาธารณะและสนามเดก็เลนจัดใหมีทกุชุมชนในยานที่มีประชากรอาศัยอยูหนาแนนมากและหนาแนนปานกลาง

แนวความคิดดานพื้นที่โลง แสดงดังแผนที่ท่ี 6.4-7 และรูปท่ี 6.4.7-1

Page 31: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 31 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

Page 32: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 32 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

รูปท่ี 6.4.7-1 ตัวอยางสวนสาธารณะ

Page 33: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 33 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

6.5 แผนผังทางเลือกการใชประโยชนท่ีดินและโครงสรางพื้นฐานปองกันอุทกภัย

6.5.1 หลักการวางและจัดทําแผนผังทางเลือก

ในการวางและจัดทําแผนผังทางเลือกไดคํานึงถึงหลักการ นโยบายและระเบียบแบบแผนดังนี ้

1) ดานยุทธศาสตรการพัฒนาพื้นท่ี กรอบยุทธศาสตรของพื้นที่บริเวณลุมน้ํายอยเกี่ยวของกับยทุธศาสตร

(1) ยุทธศาสตรภาคเหนือ ฐานเศรษฐกิจของอนุภาคลุมน้ําโขง

- การพัฒนาพืน้ที่เชื่อมโยงกับกลุมประเทศอนุภาคลุมน้ําโขง และภาคเหนือเศรษฐกิจมกีารกระจายตัวทีด่ี มีทรัพยากร ปาไมและแหลงแรอุดมสมบูรณ จดุออนอยูที่พื้นที่เกษตรกรรมมนีอย น้ําทวมฉับพลันและซ้ําซาก ทรัพยากรธรรมชาติแหลงทองเทีย่วเสื่อมโทรม โรงงานอุตสาหกรรม ปะปนชุมชนศูนยกลาง การประกอบกจิการตามพื้นที่แนวเศรษฐกจิไมมีระเบยีบ ประชากรมีการถดถอยและปญหาทางสงัคม

- การพัฒนาเนนการบรรเทาอุทกภัยพรอมกับการขับเคลื่อนดานความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบานโดยใหความสําคัญตอบทบาทแหลงการเกษตรบริการและอุตสาหกรรมสะอาดในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน และพื้นที่ภาคเหนือตอนลางเปนฐานเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร อุตสาหกรรมที่ใชวัตถุดบิจากประเทศเพื่อนบาน แนวเขตเศรษฐกิจเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบานมี 2 แนว คือ แนวเขตเศรษฐกิจตะวนัออก ตะวันตก (แมสอด ตาก สุโขทัย พิษณโุลก ขอนแกน กาฬสินธุ มุกดาหาร สะหวันนะเขต) และแนวเขตเศรษฐกิจเหนือใต (อยุธยา อางทอง สิงหบุรี พิษณุโลก อุตรดิตถ ลําปาง ลําพูน เชียงใหม เชียงราย แมสาย-เชียงรุง-คุณหมงิ)

- ประเด็นการพฒันาเชิงพื้นทีสํ่าคัญ

• การพัฒนาเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบานเปนแรงขับเคลื่อนสําคัญ

• พัฒนาชุมชนศนูยกลางเชื่อมโยงชนบทและพื้นที่โดยรอบ

• พัฒนาระบบขนสงประหยดัพลังงาน

Page 34: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 34 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

• พัฒนาระบบบริการทางสังคมในสอดคลองกับระบบการผลิตเอื้อแกคนทกุระดบั รวมทั้งผูดอยโอกาส

• พัฒนาการผลิตโดยอิงกับทรพัยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม

- ระบบชุมชนทีเ่สนอแนะ เกีย่วของ

• ภาคเหนือตอนบนการพัฒนาเชียงราย เชยีงใหม ลําพูนและลําปาง พื้นที่เศรษฐกจิดังเดิมมีบทบาทเปนศูนยบริการ การศึกษา การทองเที่ยว การอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตรเชื่อมโยงกับเชยีงรุง คุณหมิงโดยผานแมสาย และมีเชยีงแสนเปนเมืองทา การคาในแมน้ําโขง มีผลกระทบตอพื้นที่แองแพรตอนลางบริเวณอําเภอเดนชยั

• ภาคเหนือตอนลาง กลุม 1 การพัฒนาแมสอด-พิษณุโลก เปนแนวเขตเศรษฐกจิตะวนัออก ตะวันตกเชื่อมโยงเมาะละแหมงสะหวนันะเขต-ดานัง โดยมีแมสอดเปนประตูการคา แรงงานวัตถุดิบแหลงอุตสาหกรรมที่ใชวัตถุดิบจากเมยีนมาร โดยพิษณุโลกตั้งอยูบริเวณจุดตดัของแนวเขตเศรษฐกิจ มีบทบาทเปนศูนยการคา การขนสง มีผลกระทบตอพืน้ที่ลุมน้ํายมตอนลาง บริเวณอําเภอเมืองสุโขทัย กงไกรลาศ และพรานกระตาย

• ภาคเหนือตอนลางกลุม 2 พัฒนากําแพงเพชร-นครสวรรคเปนแหลงผลิตการเกษตร อุตสาหกรรมแปรรปูเกษตร และอุตสาหกรรมอาหาร มีบทบาทเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนที่ตาก และพัฒนา สุโขทัย และกําแพงเพชร เปนแหลงทองเที่ยว

- การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโลจสิติกส

• พัฒนาระบบโครงสรางพืน้ฐานที่ทนัสมยั เนนระบบรางและการขนสงทางน้าํอาทิ พัฒนาระบบรถไฟเชื่อมโยง ตาก –สุโขทัย-พิษณุโลก-ขอนแกน-กาฬสินธุ-มุกดาหาร และระบบรถไฟจากเดนชยั-เชียงราย พัฒนาระบบขนสงทางรถไฟดวย ICD ปรับปรุงทางหลวงเชื่อมโยงพมา ไทย เวยีดนามในเสนทางเมาะละแหมง-แมสอด ตาก-สุโขทัย-พิษณโุลก-ขอนแกน-กาฬสินธุ-มุกดาหาร-สะหวนันะเขต ยกระดบัมาตรฐานการใหบริการของสนามบินและเชื่อมโยงระบบขนสงทางน้าํ พัฒนาระบบการขนสงทางน้ําและการเดนิเรือในลําน้ําโขงปรับปรงุทาเรือเพื่อการขนสง และการทองเทีย่ว

Page 35: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 35 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

• พัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการเปดพืน้ที่ใหม อาทิ ยกระดับมาตรฐาน และสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อเพิ่มสมรรถของพื้นที ่

• พัฒนาบริการจัดการโลจีสตกิสอยางเปนระบบ จัดระบบโครงขายเสนทางขนสงสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูป พัฒนาจัดการโลจิสติกส

• พัฒนาชุมชนศนูยกลาง จัดปรับปรุงสาธารณูปโภค สาธารณูปการของชุมชนศูนยกลาง ใหรองรับการขยายตวัของการทองเที่ยวและการคาพัฒนาระบบขนสงมวลชน ภายในเมือง และเชื่อมโยงระหวางเมืองควบคุมการใชทีด่ินมักใหสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมใหอยูในเขตอุตสาหกรรม ทั้งในชมุชนศูนยกลาง และตามแนวเขตเศรษฐกิจเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบาน

(2) การปองกนัและบรรเทาอุทกภัย

ดําเนินการตามกรอบแนวทางการบรรเทาอุทกภัยซ่ึงคณะรัฐมนตรีมีมติใหความเห็นชอบแลวเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2549 ประกอบดวย

- ปองกันและฟนฟูสภาพปา รวมทั้งแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปา มีกรอบแนวทางในการดําเนินการ ประกอบดวย ปองกันและฟนฟูพื้นที่ปาใหคงสภาพนิเวศปาใหสมบูรณที่สุด/ปองกันและลดการชะลางพงัทลายของดิน/เรงรัดการแกไขปญหาที่ดินในพื้นที่ปา

- การอนุรักษและฟนฟพูื้นที่ปา/แหลงน้ํา/ทางน้ํา/พื้นที่ชุมน้ํา มกีรอบแนวทางในการดําเนินการ ประกอบดวย ปรับปรุงกฎหมายเกีย่วกับเขตทางน้ํา แหลงน้ํา พื้นที่ชุมน้ํา สํารางสาธารณะที่งอกปกเขตทางน้าํ/เอาคืนพื้นทีท่างน้ํา พื้นทีชุ่มน้ํา แหลงน้ํา ที่ถูกบุกรุกโดยภาคราชการ เอกชน และชุมชน/เครงครัด การบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับทางน้ํา แหลงน้ํา พืน้ที่ชุมน้ํา และมีมาตรการบทลงโทษผูที่ละเลยการปฏบิัติหนาที/่ปรับปรุง/กําหนดเกณฑการออกแบบสิ่งกอสราง คันกั้นน้าํ ประตูระบายน้ําทีไ่ดรับผลกระทบจากคันกัน้น้ําและการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดนิ ในทางน้ําเพื่อการขนสงทางน้ําและการระบายน้ํา/ปรับปรุงฟนฟูทางน้ํา แหลงน้ําสาธารณะ พื้นที่ชุมน้ํา

- การชะลอน้ํา/แกมลิง/เขื่อน มีกรอบแนวทางในการดําเนินการ ประกอบดวยพัฒนาพื้นที่รับน้ํานอง กําหนดพืน้ที่แกมลิงใหชัดเจน โดยมีระเบียบและแนวทางปฏิบัติรองรับ

Page 36: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 36 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

การบริหารจัดการ/กอสรางระบบเก็บกักน้ําและผันน้ํา เพิ่มประสิทธิภาพอางเก็บน้ําเดิมที่มีอยูแลว การใชพื้นที่นาเปนพืน้ที่ชะลอน้ํา การทบทวนวตัถุประสงคและการบริหารจัดการอางเก็บน้ําขนาดใหญ

- การใชประโยชนที่ดิน มกีรอบแนวทางในการดําเนินการ ประกอบดวย ใชมาตรการผังเมืองและอาคาร จัดระเบยีบการตั้งถ่ินฐาน การประกอบกจิการ การกอสรางอาคารใหเหมาะสมสามารถบรรเทาอุทกภยัในระยะยาว/กําหนดการใชที่ดินภาคเกษตรใหเหมาะสม/การประชา-สัมพันธพื้นที่เสี่ยงภัยในเรื่องน้ําทวม และดินถลมใหสาธารณะทราบเปนขอมูลประกอบการใชที่ดนิ

- การพยากรณเตือนภัย/ประกันความเสี่ยง มีกรอบแนวทางในการดําเนินการประกอบดวยพัฒนาระบบตรวจวัด ตรวจสอบ วิเคราะห พยากรณและเตือนภัยน้ําทวมที่มีความแมนยําเชื่อถือได/พัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดระบบแจงเตือนภัยรวมกับภาครัฐ/กําหนดใหมีระบบประกันภัยความเสี่ยงน้ําทวมและใชมาตรการภาษ/ีการเงิน ในการปองกันน้ําทวม และใชในการชดเชยพืน้ที่รองรับน้ําทวมที่กําหนดไวในภาวะวิกฤต ิ

- การปองกันชมุชนเมือง มีกรอบแนวทางในการดําเนินการ ประกอบดวย ใหมีระบบปองกันน้ําทวมพืน้ที่ชุมชนใหสอดคลองกับการจัดการน้ําในระบบลุมน้ํา/สรางทางผันน้ําออกจากทางน้ําหลักเพือ่ลดปริมาณน้าํทวมขัง

- เครื่องมอและกลไกในการบริหารจัดการตองมีหนวยงานมีภาระหนาที่รับผิดชอบโดยตรงในการวางแผนการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งในระดับประเทศระดับลุมน้าํ และระดับพื้นที่เพื่อใหมกีารบริหารจัดการน้ําทวมอยางเปนเอกภาพ และเกิดประสิทธิภาพ

(3) การจดัการทรัพยากรธรรมชาต ิ และสิ่งแวดลอมเพื่อรักษาสมดลุระบบนเิวศใหมีความยัง่ยนืเพือ่แกปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนแกไขปญหาที่สําคัญของการใชทรัพยากรในการพัฒนาพื้นที่ มีแนวทางพัฒนาดังนี้

- พัฒนาระบบโครงขายน้ําเพือ่การผลิตและการบริโภคใหเพียงพอ ตอความตองการและเขาถึงไดโดยสะดวก

• สนับสนุนแผนพัฒนาโครงขายน้ําในพื้นที่แนวเขตเศรษฐกิจใหมดังกลาว โดยพิจารณาความเปนไปได ในการนําน้ําจากแหลงน้ําที่อยูภายใตความรวมมือระหวางประเทศ มาใชในการเพิม่ปริมาณน้ําเพือ่ใชผลิตและการบริโภค

Page 37: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 37 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

• จัดหาแหลงน้ําขนาดเล็ก (แกมลิงและสระน้ํา) ที่เปนสาธารณะกระจายอยูสองขางแนวเขตเศรษฐกิจ โดยการเวนคนืที่ดินใหประชาชนเขาไปใชประโยชนในแหลงน้ําสาธารณะ

• จัดใหมีมาตรการผังเมืองดูแลและบํารุงรักษาแหลงน้ําขนาดเล็กโดยสนับสนุนใหประชาชนและชุมชนเขามามีสวนรวมในการดูแลและบํารุงรักษา เพื่อใหการใชประโยชนไดเปนไปอยางทัว่ถึง ทั้งดานการใชเพื่อการผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรมและการบริโภค

- อนุรักษทรัพยากรดินใหเปนปจจัยพืน้ฐานการพัฒนาที่ยัง่ยืน โดยสงเสริมการอนุรักษดนิและน้ํา

- อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมเพื่อปองกันความเสื่อมโทรมของพื้นที่โดยเนนการอนุรักษปาไม ตนน้ํา และการฟนฟูที่เสื่อมโทรม และการอนุรักษฟนฟทูี่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ โดยกําหนดขอบเขตของพื้นที่ และจดัทาํแนวกันชนรอบนอกพื้นทีป่าอนุรักษ และมาตรการปองกันการบกุรุกทําลายปา และพืน้ที่ตนน้ําลําธาร รวมทั้งมีมาตรการอนุรักษแหลงทองเที่ยวที่มีคุณคาทางธรรมชาติและภูมปิระเทศสวยงาม

- เรงรัดการพัฒนาสิ่งแวดลอมเมืองเพื่อยกระดับคุณภาพชวีิตและส่ิงแวดลอมของชุมชนเมืองศูนยกลาง โดยเนนการจัดการขยะมูลฝอย ระบบบําบัดน้ําเสีย การจดัหาพื้นที่สีเขียว สวนสาธารณะ การแกไขปญหามลพิษทางอากาศ การรักษาพื้นที่ริมแมน้ํามิใหรุกลํ้าโดยใหประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดมาตรการ

- ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติเพื่อความสมดุลของระบบนิเวศและการใชประโยชนทางเศรษฐกิจโดย

• กําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินใหเหมาะสมระหวางภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการตั้งถ่ินฐานของชุมชน

• จัดใหมีแผนผงัระบบกิจการสาธารณูปโภคใหรองรับการตั้งถ่ินฐาน การประกอบกิจการ การระบายน้ําและบรรเทาอุทกภยัอยางมีประสิทธิภาพครอบคลุมทั้งการจัดการน้ําผิวดินและใตดิน

Page 38: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 38 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

• เรงรัดกฎหมายการผังเมือง เพื่อการคุมครองเพื่อ การควบคุมอาคาร การประกอบกจิการ การขุดและถมดิน แหลงน้ําเพื่อการอุปโภคและบริโภค

• สงเสริมใหทองถ่ินมีฐานขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตรดานทรัพยากรธรรมชาติระดับลุมน้ํา เพื่อใชในการบริหารจดัการการใชประโยชนที่ดนิและบริหารโครงการปองกันบรรเทาอุทกภัย

- การจัดการดานคุณภาพสิ่งแวดลอม

• สงเสริมประเภทอุตสาหกรรมที่นําของเสียกลับมาใชใหม และมีกระบวนการผลิตที่สะอาด

• กําหนดแหลงกําจัดของเสีย ชุมชนมิใหสงผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน

(4) การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจเพื่อการเจริญเติบโตอยางมีคุณภาพ

การปรับระบบการผลิตและบริการใหมีประสิทธิภาพ มคีวามสมดุล มีคุณภาพ ยั่งยืนและสามารถแขงขันไดในตลาดโลก

- การปรับโครงสรางภาคเกษตร มาตรการสงเสริมแหลงเกษตรกรรมที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ การผลิต การจัดแบงพื้นทีใ่หเหมาะสม

- การปรับโครงสรางภาคอุตสาหกรรม กําหนดพืน้ที่รองรับอุตสาหกรรมใหเชื่อมโยงกบัวงจรการผลิต วัตถุดิบ การแปรรูปและตลาด รวมทั้งการพัฒนาแบบกลุมการผลิต

6.5.2 วัตถุประสงค

1) วางและจัดทําแผนผังแสดงเขตการใชประโยชนที่ดินเพือ่บรรเทาอุทกภัยครอบคลุมพื้นที่ลุมน้ํายมและจัดระเบยีบการตั้งถ่ินฐานชุมชนเพื่อปองกันบรรเทาอุทกภัย จัดเตรียมพื้นที่รองรับการขยายตวัของชมุชนเมืองในบริเวณที่เหมาะสม กําหนดเขตพื้นที่ทางน้าํหลากน้ําทวม พื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม พื้นที่ตนน้ําลําธาร และพื้นทีอ่นุรักษแมน้ําคูคลองและที่ลุมรับน้ํา

Page 39: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 39 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

2) กําหนดนโยบายการใชประโยชนที่ดินและทรัพยสิน การคมนาคมและขนสงกิจการสาธารณูปโภคและที่โลงเพือ่เปนกรอบในการการบริหารจัดการการใชประโยชนทีด่ินและบรหิารโครงการบรรเทาอุทกภยั

3) จดัทําแผนผังโครงการปองกันบรรเทาอุทกภัยพื้นที่เมืองและชนบทเพื่อเปนเครือ่งมือและกลไกการบริหารโครงการปองกันน้ําทวมชุมชน เพื่อสงเสริมใหการพัฒนาพื้นทีลุ่มน้ํายมเปนไปตามกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศอยางถูกตองเหมาะสม

4) จัดระเบยีบการใชประโยชนที่ดินบรรเทาอทุกภยั เพื่อสงเสรมิการเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดลอม

6.5.3 แผนผังทางเลือกท่ี 1 พัฒนาเมอืงและชุมชนเศรษฐกิจเสี่ยงภัยน้ําทวมรูปแบบเมืองศูนยกลางเดียว เนนระบบปองกันน้ําทวมชุมชน และมาตรการผงัเมืองจํากัดการขยายตัวชุมชนบริเวณพื้นท่ีเสี่ยงภยัน้ําทวม (แสดงในแผนที่ 6.5-1)

1) ระบบชุมชนและการตั้งถิ่นฐาน

จัดระเบยีบชุมชนและการตั้งถ่ินฐานเพื่อลดความเสียหายจากอุทกภัยและกอสรางระบบปองกันชุมชนพื้นที่เสีย่งภยัน้ําทวมพัฒนาเมืองแบบเมืองศูนยกลางเดยีว บริเวณศนูยความเจริญดั้งเดิมโดยจํากดัการขยายตัวการใชประโยชนที่ดินในแนวระนาบเพื่อใหเมืองมีขนาดที่เหมาะสมกะทัดรัด และสงเสริมใหเตบิโตในเขตระบบปองกันชุมชนเพื่อลดความเสียหายจากอุทกภัย และสงเสริมใหเมืองศูนยกลางความเจรญิหลักมีบทบาทในดาน ศูนยกลางการปกครองการคาและบริการดานการทองเที่ยว

(1) ชุมชนลําดับที่ 1 ไดแก

- เมืองสุโขทัย พัฒนาเมืองสุโขทัยใหรองรับประชากรประมาณ 20,000 -25,000 คน มีบทบาทเปนเมืองศูนยกลางการปกครองและการบริการทองเที่ยวทางประวัตศิาสตรและวัฒนธรรมชุมทางการขนสงพื้นที่เศรษฐกจิสนับสนุนใหมีการใชประโยชนที่ดนิเมืองและชุมชนโดยมีศูนยกลางพืน้ที่เศรษฐกิจหลักบริเวณริมฝงแมน้ํายมซึ่งเปนพื้นที่ราบน้ําทวมถึงและเปนพื้นที่เศรษฐกิจเดิม จํากัดการขยายตัวของชุมชนในบริเวณที่ราบน้ําทวมถึง และพัฒนาระบบปองกันน้ําทวมชุมชนใหมี

Page 40: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 40 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ประสิทธิภาพ ใหสามารถรองรับการขยายตัวของเมืองสุโขทัยหรือชุมชนพื้นที่เศรษฐกิจหลักเดิม ในป 2567 โดยมีสัดสวนประชากรเมืองตอประชากรชนบทรอยละ 40

- ชุมชนเมืองแพร พัฒนาพื้นทีใ่หรองรับประชากรประมาณ 20,000 -25,000 คน สงเสริมใหมีบทบาทเปนเมืองศูนยกลางการปกครองและการคาบริการ การทองเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรม สงเสริมใหมีแหลงตั้งถ่ินฐานบริเวณพื้นทีเ่ศรษฐกิจหลัก บริเวณริมฝงแมน้ํายม และจํากัดการขยายตวัชุมชนบริเวณที่ราบลุมน้ําทวมถึง สงเสริมใหมีระบบปองกันชุมชนสองฟากแมน้ําเพื่อบรรเทาอุทกภัยและพัฒนาพื้นที่ใหรองรับการขยายตัวของชุมชนและประชากรโดยมีสัดสวนประชากรเมืองรอยละ40

(2) ชุมชนลําดับที่ 2 เมืองศูนยกลางการปกครองระดับอําเภอ มีบทบาทคือ

- ชุมชนเชื่อมโยงกับพื้นทีแ่นวเศรษฐกิจ ตะวันออกตะวนัตกและแนวเหนือใต ประชากรระหวาง 15,000 – 20,000 คน

• ชุมชนบานดานลานหอย จังหวัดสุโขทัย พัฒนาใหเปนศูนยความเจรญิใหมเชื่อมโยงกับประตูการคา แรงงานวัตถุดิบและแหลงอุตสาหกรรมชายแดนของจงัหวัดตาก

• ชุมชนกงไกรลาศ จังหวดัสุโขทัย สงเสริมและพัฒนาชุมชนใหมีบทบาทดานการคาบริการบริเวณพืน้ที่แนวเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวนัตกสุโขทัยและพิษณุโลก

- ชุมชนเชื่อมโยงกับเมืองเศรษฐกิจหลักตามแนวเหนือใตประชากรระหวาง 15,000 – 20,000 คน ไดแก

• ชุมชนเดนชยั จังหวดัแพร สงเสริมและพัฒนาใหมีบทบาทเปนเมืองการขนสงการคาบริการอุตสาหกรรม และคลังสินคาพัฒนาพื้นที่รองรับการขยายตัวของชุมชนบริเวณปลอดภัยน้ําทวมและเปนพืน้ที่เศรษฐกจิใหมเชื่อมโยงระหวางภาคเหนือตอนลางและตอนบน

• ชุมชนวชิรบารมี จังหวดัพิจติร สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการเชื่อมโยงกับเมอืงพื้นที่เศรษฐกิจ พิษณุโลกและพิจิตร

- ชุมชนทองเที่ยวทางดานประวัติศาสตรและดานคมนาคม สงเสริมใหมีบทบาทเปนชมุชนทองเที่ยว และบริการการทองเที่ยวเชือ่มโยงกับแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร ลุมน้ํายมตอนลาง ประชากรระหวาง 15,000 – 20,000 คน ไดแก

Page 41: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 41 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

• ชุมชนสวรรคโลก จังหวดัสุโขทัย สงเสริมใหมีบทบาทดานการทองเที่ยวทางประวัติศาสตรวัฒนธรรมการขนสงทางอากาศเชื่อมโยงแหลงประวัติศาสตรสุโขทัย และพื้นที่โดยรอบ

• ชุมชนศรีสัชนาลัย จังหวดัสุโขทัย สงเสริมใหมีบทบาทดานการทองเที่ยว ทางประวัติศาสตร เชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวประวัติศาสตรสุโขทัย

(3) ชุมชนลําดับที่ 3

- เปนเมืองศูนยกลางการปกครองระดับอําเภอ มศีักยภาพและโอกาสในดานความเปนศูนยตลาดรวมรวมผลผลิตการเกษตรพื้นที่สูง และการบริการดานการคาและการทองเทีย่ว รองรับประชากร ระหวาง 10,000-15,000 คน

• ชุมชนปง ชุมชนริม อําเภอปง จังหวดัพะเยา สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาและบริการดานการทองเที่ยวทางธรรมชาติและเกษตรกรรมพื้นที่สูง

• ชุมชนงาว จงัหวัดลําปาง สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบริการและการทองเที่ยวทางธรรมชาติ และเกษตรกรรมพื้นที่สูง

• ชุมชนสอง และชุมชนรองกวาง จังหวัดแพร สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบรกิาร การทองเที่ยวทางธรรมชาติ ตลาดรวบรวมการเกษตรพื้นที่สูง

• ชุมชนวังชิ้น สงเสริมใหมีบทบาทในดานการบริการการทองเที่ยวทางธรรมชาติ และตลาดรวบรวม ผลผลิตการเกษตรพื้นที่สูง

• ชุมชนสูงเมน สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาการบริการเชื่อมโยงกับแนวพื้นทีเ่ศรษฐกิจตะวนัออกและตะวันตกบริเวณชุมชนเดนชยั

(4) ชุมชนลําดับที่ 4

- เปนชุมชนเมืองศูนยกลางการปกครอง ระดบัอําเภอทีต่ั้งอยูในพื้นที่เสี่ยงภัย น้ําทวมและมีศกัยภาพเปนตลาดรวบรวมผลผลิตการเกษตร สงเสริมใหมีมาตรการผังเมือง จํากดัการขยายตวัของชมุชนในเขตน้ําทวมและพัฒนาพื้นที่ใหรองรับประชากร 10,000 -15,000 คน

Page 42: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 42 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

• ชุมชนบางระกาํ สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบรกิารและตลาดรวบรวมผลผลิตการเกษตร

• เทศบาลตําบลสามงาม สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการและตลาดรวบรวม ผลผลิตการเกษตร

• เทศบาลตําบลโพธิ์ประทับชาง สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการและตลาดรวบรวม ผลผลิตการเกษตร

• เทศบาลตําบลศรีสําโรง สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการและตลาดรวบรวมผลผลิตการเกษตร

2) รูปแบบการใชประโยชนท่ีดนิของลุมน้าํยม

พิจารณาองคประกอบที่เกีย่วของกบัยุทธศาสตรการพัฒนาเชิงพื้นที่ของประเทศ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และมาตรการผังเมืองบรรเทาและปองกันอุทกภัย ความมีระเบยีบและดํารงรักษาสภาพภูมิประเทศสวยงาม สงเสริมใหชุมชนมคีวามปลอดภยัและสวัสดิภาพของสังคม เพื่อใหทองถ่ินสามารถบรรเทาอุทกภัยและยกระดบัการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดลอมของชุมชน ใหทองถ่ินสามารถดํารงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สภาพแวดลอมที่กําหนดตามกรอบยทุธศาสตรการพัฒนา ประกอบดวย

- ยุทธศาสตรการพัฒนาพื้นที ่

- กฎหมายทีเ่กีย่วของกับการปาไม

- การแกไขปองกันน้ําทวม และบรรเทาอุทกภัย

- การแกไขปญหารายไดและการอยูดีมีสุข การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจในสมดุลและแขงขันได และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดลอม

- ขีดจํากัดในการพัฒนาและความสามารถในการรับไดของทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม

Page 43: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 43 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

- ศักยภาพและโอกาสการพัฒนาพื้นที่พจิารณาจากความพรอมในดานโครงสรางพื้นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติที่มีศักยภาพในการพฒันาเปนแหลงทองเที่ยวและแหลงประกอบกิจการเพื่อยกระดับรายไดของชุมชน

ที่ดินจําแนกทีด่ินออกเปน 7 ประเภท ไดแก

(1) เขตพื้นที่น้ําหลากทวม หรือพื้นที่เสี่ยงภัยน้ําทวม ใหมกีารจัดทํารายละเอียด พืน้ที่เสี่ยงภยัน้ําทวม และระบุรายละเอียดของระดับขีดจาํกัดการใชประโยชนทีด่นิหรือการวางและจัดทําแผนผังทุกระดับ ใหมกีารจาํแนกเขตทีด่ินพื้นที่เสี่ยงภัยน้ําทวมใหเชื่อมโยงกัน

- ที่ราบน้ําทวมถึงหรือพื้นที่น้ําหลาก เปนพื้นที่ดานหลังสันดอนริมน้ําที่ราบน้ําทวมถึง รวมถึงลานตะพกัลําน้ําขัน้ต่ํา เปนบริเวณที่น้ําหลากทวมถึงในกรณีฝนวิกฤตเปนพืน้ที่สํารองใช เพื่อรองรับการหลากทวมของน้ํา การใชที่ดินและอาคารการจัดองคประกอบใหสอดคลองกับสภาพน้ําหลากทวม เพื่อสนับสนุนใหน้ําทาไหลไดสะดวก ใหมีระบบโครงการกอสรางโครงการระบายน้ํา และรองรับน้ําในพื้นที่ จัดทาํระบบปองกันชุมชน กอสรางกําแพงกั้นน้ํา จัดใหมีการระบายน้ําในดานลึกและดานกวาง เพื่อใหแมน้าํคูคลองรับปริมาณน้ําหลาก ในภาวะปกติไดศกึษาสํารวจจัดทํารายละเอียดของแผนปองกันน้ําทวม เพื่อการฟนฟูสภาพชุมชน และการยายถ่ินฐาน

- ทางน้าํหลากทวม ดาํรงรักษาและพัฒนาทางน้ําสายหลักเพือ่สนับสนนุ การระบายน้ํา และใหน้ํา ไหลหลากผานแมน้ําลงสูพืน้ที่ราบลุมตอนลาง และอาวไทย ไดสะดวก ควรจดัใหมีเสนทางน้าํสายหลัก และมาตรการหามสิ่งปลูกสรางกดีขวางทางน้ํา

ที่ดินประเภทน้ําทวมหรือพืน้ที่เสี่ยงภยั

วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนและสงเสรมิใหดํารงรักษาไวเปนพื้นที่รับน้ํา ทางไหลหลากของน้ํา และทางระบายน้ํา จากบริเวณตนน้ําลงสูแหลงรับน้ําและอาวไทย เพือ่ปองกันและบรรเทาอุทกภัยทีม่ีตอการประกอบการบริเวณที่ดนิประเภทอื่นๆ

ดานการใชประโยชนท่ีดนิ ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่ไมกดีขวางทางไหลของน้ํา และการรองรับน้ําหลากทวมดนิการใชประโยชนทีด่ินเพื่อสนับสนุนการปองกนัและบรรเทาสาธารณภัยเทานั้น

Page 44: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 44 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานการควบคมุอาคาร ใหมกีารควบคุม ประเภท ชนดิ และความสูงอาคาร การขุดและถมดิน การปรับระดับพื้นที่ การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ที่เปนแหลงรับน้ําและทางไหลของน้ําลงสูอาวไทย

การกอสรางอาคารใหเปนไปตามมาตรฐานการกอสรางอาคารในเขตอทุกภยัหรือพื้นที่เสี่ยงภัยหรือพื้นที่เสี่ยงภัย อาทิ การยกระดับสิง่กอสรางอาคารใหเหนือระดับน้ําทวม หรือกีดขวางทางน้ํา การเวนระยะกอสรางอาคารจากทางระบายน้าํ และทางน้ําลัด

ดานสิง่แวดลอม ใหมกีารประกอบกจิการทีไ่มมีผลกระทบดานสิ่งแวดลอม แหลงน้ํา เพื่อการอุปภคและบริโภค การใชสารเคมีเพื่อการเกษตร แหลงบําบัดและกําจัดของเสีย

(2) การใชประโยชนที่ดนิเมือง และชุมชนพัฒนาพืน้ที่เพื่อสงเสริมใหเปนแหลงตัง้ถ่ินฐาน และกําหนดเขตวางผงัเมืองรวมเพื่อใหทองถ่ินมีกฎหมายผังเมืองประกาศใชบงัคับ จัดระเบยีบการใชประโยชนที่ดินและอาคารใหสอดรับกบัการปองกันอุทกภัย และการจัดหาโครงสรางพื้นฐาน ศึกษาวิเคราะหรายละเอียดที่เกีย่วของกับผลกระทบจากสภาพธรรมชาติ เศรษฐกิจ สังคม การบริการการจัดการ การขยายตวัการจัดเตรียมพืน้ที่รองรับการขยายตวั การจดัวางตําแหนงการใชประโยชนที่ดินเพื่ออยูอาศัยการพานิชยกรรมและอุตสาหกรรม กําหนดที่ตั้งแหลงโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ จัดวางระบบคมนาคม และขนสงใหสามารถการเขาถึงระบบกิจการสาธารณูปโภค การศกึษา สาธารณสุข ไดอยางมีประสิทธิภาพ

- ท่ีดินเมืองและชุมชน

พื้นที่พัฒนาเมอืงและชุมชน

วัตถุประสงค สนับสนุนและสงเสริมใหพัฒนาพืน้ที่เพื่อเปนแหลงตั้งถ่ินฐานเมืองและชุมชน และพฒันาโครงสรางพื้นฐาน และจัดหาบริการสาธารณะใหเพยีงพอ เพื่อใหดียิ่งขึ้นในดานคุณภาพชีวิต ความปลอดภัย สุขอนามัยและการใชประโยชนในทรัพยสิน และจัดระเบยีบการใชประโยชนที่ดนิและโครงสรางพื้นฐานปองกันอุทกภัย

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการอยูอาศัย พาณชิยกรรม อุตสาหกรรมที่ไมมีมลพิษตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอม และสาธารณูปโภค และสาธารณปูการที่เหมาะสม มีมาตรฐานสากล และปลอดจากการสาธารณภยัและอุทกภยั

Page 45: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 45 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานการควบคมุอาคาร ใหมกีารควบคุมการกอสรางอาคารในดานความสูงของอาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพื้นที่เวนวางตามความเหมาะสม และมาตรฐานผังเมืองในการปองกัน อุทกภยั รวมทั้งสอดคลองกับการพัฒนาเมือง ศูนยกลางความเจริญและระบบชุมชนเมอืง

ดานสิง่แวดลอม ใหมีการประกอบกิจการที่ไมมีมลภาวะและมีผลกระทบส่ิงแวดลอมตอการอยูอาศัยในเขตเมืองและชมุชน และผลกระทบตอการปองกันอุทกภัย และการระบายน้ําในเขตชุมชน

(3) ที่ดินนอกเขตเมือง ใหมีการจําแนกเขตการใชประโยชนที่ดินอยางเปนระบบ

เขตอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ

วัตถุประสงค พัฒนาใหเปนแหลงงาน แหลงรวบรวม ผลผลิตเพื่อการแปรรูป และการประกอบกิจการที่เกีย่วของกับอุตสาหกรรมการผลิต โดยใชวตัถุดิบในทองถ่ินเปนสวนใหญ

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนทีด่ิน เพื่ออุตสาหกรรมและคลังสินคา อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการผลิตและการแปรรูป ผลผลิตภายในลุมน้ําหรืออ่ืนๆ สําหรับการใชประโยชนเพื่อกิจการอื่น เชน การอยูอาศัย และพาณิชยกรรมใหใชประโยชนเทาที่จาํเปนเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตในทองถ่ินเทานั้น

ดานการควบคมุอาคาร ใหมกีารควบคุมอาคารในดานความสูงของอาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพื้นที่เวนวางตามความเหมาะสม และไดมาตรฐานผังเมืองในการปองกันอุทกภัย และสอดคลองกับบทบาทการพฒันาอุตสาหกรรมตามยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบาน

ดานสิง่แวดลอม ใหมกีารประกอบกิจการเพื่ออุตสาหกรรมที่ไมมีมลภาวะ ไมมีผลกระทบตอการใชส่ิงแวดลอมเมืองและชุมชน

Page 46: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 46 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

เขตเกษตรกรรมทั่วไป

วัตถุประสงค เปนบริเวณที่มีศักยภาพทีด่ิน เพื่อการเกษตรกรรมและสนับสนุนใหดํารงรักษาและใชประโยชนที่ดิน เพือ่เกษตรกรรมและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและบริการ สนับสนุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนทีด่ินเพื่อการเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับเกษตรกรรม สถาบันการศึกษาวจิัยดานการเกษตรกรรม และโครงสรางพื้นฐานและบริการสนับสนุนการผลิตดานการเกษตร การใชประโยชนทีด่ิน เพื่อเปนชุมชนชนบทและเกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ การหตัถกรรม การแปรรูปผลผลิตการเกษตร และการพัฒนาแหลงน้ํา

ดานการควบคมุอาคาร ใหควบคุมการกอสรางอาคาร โดยใหมีความสูงอาคาร พื้นที่อาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพื้นที่เวนวางตามความเหมาะสม และไดมาตรฐานผงัเมืองปองกันอุทกภยั

ดานสิง่แวดลอม ใหมีการประกอบกิจการที่ไมมีผลกระทบดานมลภาวะตอการประกอบกิจการเพื่อการเกษตรกรรมและแหลงน้ํา

เขตเกษตรกรรมพิเศษ

วัตถุประสงค เพื่อดํารงรักษาและอนุรักษที่ดินมีความเหมาะสมเพื่อการเกษตรกรรม และพื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิต และดํารงรักษาบริเวณที่มีการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานสนับสนุนการเกษตรกรรม หรือ พื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทาน

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับเกษตรกรรมเทานั้น เวนแตโครงสรางพื้นฐานและบริการสนับสนุนการเพิ่มมูลคาผลผลิตดานเกษตรกรรม

ดานการควบคุมอาคาร ใหมีการควบคุมการกอสรางอาคาร ความสูงอาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพ้ืนที่เวนวางตามความเหมาะสม และมีมาตรฐานผังเมืองปองกันอุทกภัย

Page 47: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 47 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานสิ่งแวดลอม ใหมีการประกอบกิจการไมมีผลกระทบดานสิ่งแวดลอม และกิจการเกษตรกรรม การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก การบํารุงรักษาพืชเศรษฐกิจ และการไถพรวนดิน เวนระยะหางจากทางน้ําธรรมชาติ

ท่ีดินเกษตรกรรมบริเวณที่ลาดชันสูง

วัตถุประสงค เพื่อฟนฟูสภาพพื้นที่ลาดชันสูงใหเปนปาไมหรือตนน้ําลําธาร และสนับสนุนใหใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรมเชิงอนุรักษหรือวนศาสตรการเกษตร

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมหรือปาไม หรือวนศาสตรการเกษตร เปนการใชประโยชนที่ดินรวมกันระหวางระบบเกษตร-ปาไม-ปศุสัตว หรือระบบปาไม พืชสวน และระบบอนุรักษดินและน้ํา

ดานสิ่งแวดลอม ใหประกอบกิจการดานการเกษตรเชิงอนุรักษหรือระบบการเกษตรแบบผสมผสานกับวนศาสตร หามการประกอบกิจการที่กอใหเกิดมลพิษตอแหลงน้ํา ลําธาร การใชสารเคมีและการเตรียมดิน โดยเครื่องจักรกลขนาดใหญ ใหเวนระยะการไถพรวนหางจากทางน้ําธรรมชาติ

ท่ีดินประเภทสงวนและอนุรักษปาไม

วัตถุประสงค เพื่อดํารงรักษา การสงวนและการอนุรักษปาตนน้ําลําธาร ปาชายเลน และฟนฟูพื้นที่ปาไมใหมีเนื้อที่เพิ่มขึ้น เพื่อรักษาระบบนิเวศลุมน้ําและระบบน้ําผิวดิน และน้ําใตดินบริเวณลุมน้ํา

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการสงวนอนุรักษปาไม เพื่อรักษาตนน้ําลําธาร การจัดหาพื้นที่ปาไมเพิ่มเติม การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ การศึกษาวิจัย การรักษาพันธุสัตวปา หามใชประโยชนที่ดินที่เปนการทําลายปาไม การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่หรือการทําใหเกิดการชะลางพังทลายของดิน เวนแตการทําฝายกั้นน้ําขนาดเล็ก

Page 48: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 48 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

(แสดงในแผนที่ 6.5.3)

Page 49: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 49 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานการควบคมุอาคาร ใหหามสรางอาคาร เวนแตเปนการสงเสริมการอนุรักษ การบํารุงรักษาตนน้ําลําธาร การรักษาพันธุสัตวปาโดยใหมคีวามสูง ประเภทและชนดิอาคารโดยปองกันผลกระทบมีตอพืชพรรณปกคลุมดิน พรรณไมธรรมชาติ การสงวน การอนุรักษ และบํารุงรักษาตนน้ําลําธาร

ดานสิง่แวดลอม ใหประกอบกิจการที่เกีย่วของกับการบํารุงรักษาปาตนน้ําลําธาร การฟนฟูปาไม การศึกษาวจิัยพฒันาพันธุไม การรักษาพันธุสัตวปา และการทองเที่ยวเชงิอนุรักษ และมิใหมีผลกระทบตอการอนุรักษปาตนน้ําลําธาร

6.5.4 แผนผังทางเลือกท่ี 2 พัฒนาเมืองและชุมชนพื้นท่ีเศรษฐกิจเสี่ยงภยัน้ําทวมแบบเมืองหลายศูนยกลาง และพัฒนาพื้นท่ีรองรับการขยายตัวบริเวณที่เหมาะสม (แสดงในแผนที่ 6.5-2)

1) ระบบชุมชนและการตั้งถิ่นฐาน

จัดระเบยีบชุมชนและการตั้งถ่ินฐาน เพื่อรองรับการพัฒนาแบบเมอืงหลายศูนยกลาง พัฒนาระบบปองกันชุมชน บริเวณศนูยความเจริญหลักจาํกัดการขยายตัวของชุมชนพื้นที่เสี่ยงภัยน้ําทวม หรือการขยายตัวการใชประโยชนที่ดินในแนวระนาบเพือ่ใหเมืองมีขนาดที่เหมาะสมกะทัดรัด โดยสงเสริมใหมีระบบปองกันชมุชนลดความเสียหายจากอุทกภยั และสงเสริมใหพฒันาพื้นที่รองรับการขยายตวัของเมอืงแหลงใหม ในบริเวณที่เหมาะสม

(1) ชุมชนลําดับที่ 1 ไดแก

- ชุมชนสุโขทัยและบานสวน พฒันาพื้นที่ใหเปนศนูยความเจริญใหม รองรับประชากรประมาณ 15,000 -20,000 คน มีบทบาทเปนเมืองศูนยกลางการบริการและเมืองแฝดเชื่อมโยงการบริการทองเที่ยวทางประวัตศิาสตรและวฒันธรรม สนับสนุนใหมีการใชประโยชนที่ดนิเมืองและชุมชนบริเวณ มีศูนยกลางควบคูกับเมืองสุโขทัย มีศูนยกลางหลักบริเวณเทศบาลตําบลบานสวนและพัฒนาระบบปองกันพื้นทีเ่ศรษฐกิจเดิม และบริหารจดัการน้ําทวมอยางเปนระบบ และพัฒนาพื้นที่ทางทิศตะวนัออกบริเวณเทศบาลตําบลบานสวนเปนพื้นที่รองรับการขยายตวัของ แหลงประกอบกิจการ เพื่อลดความแออัดของการประกอบกิจการของเมอืงสุโขทัยรวมทั้งเปนชุมชนพื้นที่เศรษฐกจิแหงใหม ในป 2567 คาดวาจะมีประชากรเมืองประมาณ 10,000 คน โดยมีสัดสวนประชากรเมืองตอประชากรชนบทรอยละ50

Page 50: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 50 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

- ชุมชนเดนชยั จังหวดัแพร สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการอุตสาหกรรม และคลังสินคา ระหวางภาคเหนือตอนลางและตอนบน เพื่อลดความแออัดของประชากรในเขตพื้นที่เสี่ยงภัยน้ําทวม และพืน้ที่สูง ใหสามารถรองรับประชากร 15,000 -20,000 คน

(2) ชุมชนลําดับที่ 2 เปนเมืองศูนยกลางการปกครองระดับจังหวัดและอําเภอ

- ชุมชนเชื่อมโยงกับพื้นทีแ่นวเศรษฐกิจ ตะวันออกตะวนัตกและแนวเหนือใต ประชากรระหวาง 15,000 – 20,000 คน

• ชุมชนบานดานลานหอย มบีทบาทเปนชมุชนศูนยกลางการคาบริการเชื่อมโยงการทองเที่ยวทางประวัติศาสตร พัฒนาใหมบีทบาทเปนชมุชนศูนยการคาบริการเชื่อมโยงกับเมืองชายแดนแมสอด –ตาก

• ชุมชนกงไกรลาศ จังหวดัสุโขทัย สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการบริเวณพื้นที่เศรษฐกจิสุโขทัย และพิษณุโลก

- ชุมชนเชื่อมโยงกับเมืองเศรษฐกิจหลักตามแนวเหนือใตประชากรระหวาง 15,000 – 20,000 คน ไดแก

• ชุมชนวชิรบารม ีจังหวดัพิจติร สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการเชื่อมโยงกับเมอืงพื้นที่เศรษฐกิจ พิษณุโลกและพิจิตร

- ชุมชนทองเที่ยวทางดานประวัติศาสตรและดานคมนาคม สงเสริมใหมีบทบาทเปนชมุชนทองเที่ยว และบริการการทองเที่ยวเชือ่มโยงกับแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร ลุมน้ํายมตอนลาง ประชากรระหวาง 15,000 – 20,000 คน ไดแก

• ชุมชนสวรรคโลก จังหวดัสุโขทัย สงเสริมใหมีบทบาทดานการทองเที่ยวทางประวัติศาสตรวัฒนธรรม และเปนศูนยกลางการขนสงทางอากาศเชื่อมโยงแหลงทองเที่ยวประวัติศาสตรสุโขทัย และพืน้ที่อนุภาคลุมน้ําโขง

• ชุมชนศรีสัชนาลัย จังหวดัสุโขทัย สงเสริมใหมีบทบาทดานการทองเที่ยว ทางประวัติศาสตร เชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวประวัติศาสตรสุโขทัย

Page 51: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 51 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

• ชุมชนเมืองเกา จังหวัดสุโขทัย สงเสริมใหมีบทบาทในดานการทองเที่ยวทางประวัติศาสตรเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรวัฒนธรรม

(3) ชุมชนลําดับที่ 3

- เปนเมืองศูนยกลางการปกครองระดับอําเภอ มีศักยภาพและโอกาสในดานความเปนศูนยตลาดรวมรวมผลผลิตการเกษตรพื้นที่สูง และการบริการดานการคาและการทองเทีย่ว รองรับประชากร ระหวาง 10,000-15,000 คน

• ชุมชนปง ชุมชนริม อําเภอปง จังหวดัพะเยา สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาและบริการดานการทองเที่ยวทางธรรมชาติและเกษตรกรรมพื้นที่สูง

• ชุมชนงาว จงัหวัดลําปาง สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบริการและการทองเที่ยวทางธรรมชาติ และเกษตรกรรมพื้นที่สูง

• ชุมชนสอง และชุมชนรองกวาง จังหวัดแพร สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบรกิาร การทองเที่ยวทางธรรมชาติ ตลาดรวบรวมการเกษตรพื้นที่สูง

• ชุมชนวังชิ้น สงเสริมใหมีบทบาทในดานการบริการการทองเที่ยวทางธรรมชาติ และตลาดรวบรวม ผลผลิตการเกษตรพื้นที่สูง

• ชุมชนสูงเมน สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาการบริการเชื่อมโยงกับแนวพื้นทีเ่ศรษฐกิจตะวนัออกและตะวันตกบริเวณชุมชนเดนชยั

(4) ชุมชนลําดับที่ 4

- เปนชุมชนเมืองศูนยกลางการปกครอง ระดับอําเภอ ที่ตัง้อยูในพืน้ที่เสีย่งภัย น้ําทวมและมีศกัยภาพเปนตลาดรวบรวมผลผลิตการเกษตร สงเสริมใหมีมาตรการผังเมือง จํากดัการขยายตวัในเขตน้ําทวมและพัฒนาใหรองรับประชากร 10,000 -15,000 คน

• ชุมชนบางระกาํ สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบรกิารและตลาดรวบรวมผลผลิตการเกษตร

Page 52: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 52 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

• เทศบาลตําบลสามงาม สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการและตลาดรวบรวม ผลผลิตการเกษตร

• เทศบาลตําบลโพธิ์ประทับชาง สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการและตลาดรวบรวม ผลผลิตการเกษตร

• เทศบาลตําบลศรีสําโรง สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการและตลาดรวบรวมผลผลิตการเกษตร

2) รูปแบบการใชประโยชนท่ีดนิของลุมน้าํยม

พิจารณาองคประกอบที่เกีย่วของกับยุทธศาสตรการพัฒนาเชิงพื้นที่ของประเทศ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และมาตรการผังเมืองบรรเทาและปองกันอทุกภัย ความมีระเบยีบและดํารงรักษาสภาพภูมิประเทศสวยงาม สงเสริมใหชุมชนมคีวามปลอดภยัและสวัสดิภาพของสังคม เพื่อใหทองถ่ินสามารถบรรเทาอุทกภัยและยกระดบัการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดลอมของชุมชน ใหทองถ่ินสามารถดํารงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สภาพแวดลอมที่กําหนดตามกรอบยทุธศาสตรการพัฒนา ประกอบดวย

- ยุทธศาสตรการพัฒนาพื้นที ่

- กฎหมายทีเ่กีย่วของกับการปาไม

- การแกไขปองกันน้ําทวม และบรรเทาอุทกภัย

- การแกไขปญหารายไดและการอยูดีมีสุข การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจในสมดุลและแขงขันได และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดลอม

- ขีดจํากัดในการพัฒนาและความสามารถในการรับไดของทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม

- ศักยภาพและโอกาสการพัฒนาพื้นที่พจิารณาจากความพรอมในดานโครงสรางพื้นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติที่มีศักยภาพในการพฒันาเปนแหลงทองเที่ยวและแหลงประกอบกิจการเพื่อยกระดับรายไดของชุมชน

Page 53: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 53 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ที่ดินจําแนกทีด่ินออกเปน 7 ประเภท ไดแก

(1) เขตพื้นที่น้ําหลากทวม หรือพืน้ที่เสี่ยงภยัน้ําทวม ใหมีการจัดทํารายละเอียด พืน้ที่เสี่ยงภยัน้ําทวม และระบุรายละเอียดของระดับขีดจํากัดการใชประโยชนที่ดินหรือการวางและจดัทําแผนผังทุกระดับ ใหมีการจําแนกเขตที่ดินพื้นทีเ่สี่ยงภยัน้ําทวมใหเชื่อมโยงตอกันอยางเปนระบบสอดรับการระบายน้ําสายหลักและที่ลุมรับน้ํา

- ที่ราบน้ําทวมถึงหรือพื้นที่น้าํหลาก เปนพืน้ที่ดานหลังสันดอนริมน้ําทีร่าบน้ําทวมถึงของแมน้ํายม รวมถึงลานตะพกัลําน้ําขั้นต่ํา เปนบริเวณที่น้ําหลากทวมถึงในกรณีฝนวิกฤตเปนพื้นที่สํารองใช เพื่อรองรับการหลากทวมของน้ํา การใชที่ดินและอาคารการจัดองคประกอบใหสอดคลองกับสภาพน้ําหลากทวม เพื่อสนับสนุนใหน้ําทาไหลไดสะดวก ใหมีระบบโครงการกอสรางโครงการระบายน้าํ และรองรับน้ําในพื้นที่ จดัทาํระบบปองกนัชุมชน กอสรางกําแพงกัน้น้ํา จัดใหมีการระบายน้ําในดานลึกและดานกวาง เพือ่ใหแมน้ํายมและแมน้ําสาขาสามารถรองรับคูคลองรับปริมาณน้ําหลาก ในภาวะปกติและใหมีการไดศึกษาสํารวจจัดทาํรายละเอียดของแผนปองกันน้ําทวม เพื่อการฟนฟูสภาพชุมชน และการยายถ่ินฐาน

- ทางน้าํหลากทวม ดํารงรักษาและพฒันาทางน้ําสายหลักเพื่อสนับสนุน การระบายน้ํา และใหน้าํ ไหลหลากผานแมน้ําลงสูพืน้ที่ราบลุมตอนลาง และอาวไทย ไดสะดวก ควรจัดใหมีเสนทางน้าํสายหลัก และมาตรการหามสิ่งปลูกสรางกดีขวางทางน้ํา

ที่ดินประเภทน้ําทวมหรือพืน้ที่เสี่ยงภยั

วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนและสงเสรมิใหดํารงรักษาไวเปนพื้นที่รับน้ํา ทางไหลหลากของน้ํา และทางระบายน้ํา จากบริเวณตนน้ําลงสูแหลงรับน้ําและอาวไทย เพือ่ปองกันและบรรเทาอุทกภยัทีม่ีตอการประกอบการบริเวณที่ดนิประเภทอื่นๆ

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนทีด่ินเพื่อเกษตรกรรมที่ไมกีดขวางทางไหลของน้ํา และการรองรับน้ําหลากทวมดินการใชประโยชนที่ดินเพื่อสนับสนุนการปองกันและบรรเทาสาธารณภยัเทานัน้

ดานการควบคมุอาคาร ใหมกีารควบคุม ประเภท ชนดิ และความสูงอาคาร การขุดและถมดิน การปรับระดับพื้นที่ การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ที่เปนแหลงรับน้ําและทางไหลของน้ําลงสูอาวไทย

Page 54: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 54 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

การกอสรางอาคารใหเปนไปตามมาตรฐานการกอสรางอาคารในเขตอทุกภยัหรือพื้นที่เสี่ยงภัยหรือพื้นที่เสี่ยงภัย อาทิ การยกระดับสิง่กอสรางอาคารใหเหนือระดับน้ําทวม หรือกีดขวางทางน้ํา การเวนระยะกอสรางอาคารจากทางระบายน้าํ และทางน้ําลัด

ดานสิง่แวดลอม ใหมกีารประกอบกจิการทีไ่มมีผลกระทบดานสิ่งแวดลอม แหลงน้ํา เพื่อการอุปโภคและบริโภค การใชสารเคมีเพื่อการเกษตร แหลงบําบัดและกําจัดของเสีย

(2) การใชประโยชนทีด่ินเมอืงและชุมชน กําหนดใหเปนแหลงตั้งถ่ินฐานของเมืองและชุมชนตามผังระบบชุมชนเปนพืน้ที่สงเสริมใหเปนแหลงตั้งถ่ินฐาน และวางผังเมืองและชุมชน มีกฎหมายผังเมอืงประกาศใชบังคับ เพื่อจัดระเบยีบการใชประโยชนที่ดินและอาคารใหสอดรับกับการปองกันอุทกภยั และการจัดหาโครงสรางพื้นฐาน ศกึษาวิเคราะหรายละเอียดที่เกีย่วของกับผลกระทบจากสภาพธรรมชาติ เศรษฐกิจ สังคม การบริการการจัดการ การขยายตัวการจดัเตรียมพื้นที่รองรับการขยายตวั การจัดวางตําแหนงการใชประโยชนที่ดินเพื่ออยูอาศัยการพานิชยกรรมและอุตสาหกรรม กําหนดที่ตั้งแหลงโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ จัดวางระบบคมนาคม และขนสงใหสามารถการเขาถึงระบบกิจการสาธารณูปโภค การศึกษา สาธารณสุข ไดอยางมีประสิทธิภาพ

- พื้นที่พัฒนาเมอืงและชุมชน

วัตถุประสงค สนับสนุนและสงเสริมใหพัฒนาเปนเมืองและชุมชนแหลงตั้งถ่ินฐานเดิม และพัฒนาโครงสรางพื้นฐานปองกันอุทกภยัอยางเปนระบบ และจดัหาบริการสาธารณะใหเพยีงพอ เพื่อใหดียิ่งขึ้นในดานคุณภาพชีวิต ความปลอดภัย สุขอนามัยและการใชประโยชนในทรัพยสิน และจัดทําแผนงานโครงการระเบียบการใชประโยชนที่ดินและโครงสรางพื้นฐานปองกันอุทกภัย

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพือ่การอยูอาศัย การพาณิชยกรรม อุตสาหกรรมที่ไมมีมลพิษตอชุมชนหรอืส่ิงแวดลอม บริเวณพื้นที่เศรษฐกิจเดมิรวมทั้งพฒันาสาธารณูปโภค และสาธารณูปการที่เหมาะสม มมีาตรฐานสากล และจํากดัการขยายตวัของชุมชนบริเวณนอกเขตระบบปองกนัชุมชน

Page 55: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 55 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานการควบคมุอาคาร สงเสริมใหกอสรางอาคารในดานความสูงและเพิ่มพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพื้นที่เวนวางตามความเหมาะสม และมาตรฐานผังเมืองในการปองกันอุทกภัย รวมทัง้สอดคลองกับการพัฒนาเมอืงบริเวณพืน้ที่เสี่ยงภยัน้ําทวม

ดานสิง่แวดลอม ใหมีการประกอบกจิการที่ไมมีมลภาวะและมีผลกระทบส่ิงแวดลอมตอการอยูอาศยัในเขตเมืองและชุมชน และผลกระทบตอการปองกนัอุทกภยั และการระบายน้ําในเขตชุมชน

- ที่ดินประเภทเตรียมการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและชุมชน

วัตถุประสงค เตรียมการพัฒนาพื้นทีใ่หสามารถรองรับการขยายตวัของเมืองและชุมชนเพื่อยกระดับใหมีบทบาทเปนศูนยกลางเศรษฐกิจหลักในอนาคต ปลอดภัยจากอุทกภัย

ดานการใชประโยชนท่ีดิน พัฒนาชุมชนเพื่อรองรับการประกอบกิจการที่อยูอาศัย และพาณิชยกรรมที่ไมมีมลพิษตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอม และสาธารณูปโภค และสาธารณูปการที่เหมาะสม มมีาตรฐานสากล และปลอดภยัจากภัยน้ําทวม

ดานการควบคมุอาคาร ใหมกีารควบคุมการกอสรางอาคารในดานความสูงของอาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพื้นที่เวนวางตามความเหมาะสม และมาตรฐานผังเมืองในการปองกัน อุทกภยั รวมทั้งสอดคลองกับบทบาทของเมืองและชุมชนใหม

ดานสิง่แวดลอม ใหมกีารประกอบกิจการทีไ่มกระทบและเหมาะสมเขตการใชประโยชนทีด่ิน และไมมีอุปสรรคตอการปองกนัอุทกภยั และการระบายน้ํา

(3) ที่ดินนอกเขตเมือง ใหมีการจําแนกเขตการใชประโยชนที่ดินอยางเปนระบบ

- ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา

เขตพัฒนาอุตสาหกรรมเฉพาะกิจ

วัตถุประสงค พัฒนาใหเปนแหลงงาน แหลงรวบรวม ผลผลิตเพื่อการแปรรูป และการประกอบกิจการที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมการผลิต โดยใชวัตถุดิบในทองถ่ินเปนสวนใหญ

Page 56: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 56 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดนิ เพื่ออุตสาหกรรมและคลังสินคา อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการผลิตและการแปรรูป ผลผลิตภายในลุมน้ําหรืออ่ืนๆ สําหรับการใชประโยชนเพื่อกิจการอื่น เชน การอยูอาศัย และพาณิชยกรรมใหใชประโยชนเทาที่จาํเปนเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตในทองถ่ินเทานั้น

ดานการควบคมุอาคาร ใหมีการควบคุมอาคารในดานความสูงของอาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดนิ และพืน้ที่เวนวางตามความเหมาะสม และไดมาตรฐานผังเมืองในการปองกันอุทกภยั และสอดคลองกับบทบาทการพัฒนาอุตสาหกรรมตามยุทธศาสตรความรวมมอืทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบาน

ดานสิง่แวดลอม ใหมกีารประกอบกจิการเพื่ออุตสาหกรรมที่ไมมมีลภาวะ ไมมีผลกระทบตอการใชส่ิงแวดลอมเมอืงและชุมชน

- ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

เขตเกษตรกรรมทั่วไป

วัตถุประสงค เปนบริเวณที่มีศักยภาพที่ดิน เพื่อการเกษตรกรรมและสนับสนุนใหดาํรงรักษาและใชประโยชนที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมและพฒันาโครงสรางพื้นฐานและบริการ สนับสนุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับเกษตรกรรม สถาบันการศึกษาวิจยัดานการเกษตรกรรม และโครงสรางพื้นฐานและบริการสนับสนุนการผลิตดานการเกษตร การใชประโยชนทีด่ิน เพื่อเปนชุมชนชนบทและเกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ การหัตถกรรม การแปรรูปผลผลิตการเกษตร และการพัฒนาแหลงน้ํา

ดานการควบคมุอาคาร ใหควบคุมการกอสรางอาคาร โดยใหมีความสูงอาคาร พื้นที่อาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพืน้ที่เวนวางตามความเหมาะสม และไดมาตรฐานผังเมืองปองกันอุทกภยั

Page 57: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 57 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานสิง่แวดลอม ใหมีการประกอบกจิการทีไ่มมีผลกระทบดานมลภาวะตอการประกอบกจิการเพื่อการเกษตรกรรมและแหลงน้ํา

เขตเกษตรกรรมพิเศษ

วัตถุประสงค เพื่อดํารงรักษาและอนุรักษที่ดนิมีความเหมาะสมเพือ่การเกษตรกรรม และพื้นทีเ่กษตรกรรมทีม่ีศักยภาพการผลิต และดํารงรักษาบริเวณที่มกีารพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานสนับสนุนการเกษตรกรรม หรือ พื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทาน

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับเกษตรกรรมเทานั้น เวนแตโครงสรางพื้นฐานและบริการสนับสนุนการเพิ่มมูลคาผลผลิตดานเกษตรกรรม

ดานการควบคมุอาคาร ใหมกีารควบคุมการกอสรางอาคาร ความสูงอาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพื้นทีเ่วนวางตามความเหมาะสม และมีมาตรฐานผังเมืองปองกันอทุกภยั

ดานสิง่แวดลอม ใหมีการประกอบกิจการไมมีผลกระทบดานสิ่งแวดลอม และกิจการเกษตรกรรม การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก การบํารุงรักษาพืชเศรษฐกิจ และการไถพรวนดิน เวนระยะหางจากทางน้ําธรรมชาติ

ท่ีดินเกษตรกรรมบริเวณท่ีลาดชันสงู

วัตถุประสงค เพื่อฟนฟสูภาพพื้นที่ลาดชันสูงใหเปนปาไมหรือตนน้ําลําธาร และสนับสนุนใหใชประโยชนทีด่ินเพื่อเกษตรกรรมเชิงอนุรักษหรือวนศาสตรการเกษตร

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมหรือปาไม หรือวนศาสตรการเกษตร เปนการใชประโยชนที่ดินรวมกันระหวางระบบเกษตร-ปาไม-ปศสัุตว หรือระบบปาไม พืชสวน และระบบอนุรักษดนิและน้ํา

ดานสิง่แวดลอม ใหประกอบกิจการดานการเกษตรเชิงอนุรักษหรือระบบการเกษตรแบบผสมผสานกับวนศาสตร หามการประกอบกิจการที่กอใหเกดิมลพษิตอแหลงน้ํา ลําธาร

Page 58: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 58 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

การใชสารเคมีและการเตรยีมดิน โดยเครื่องจักรกลขนาดใหญ ใหเวนระยะการไถพรวนหางจากทางน้ําธรรมชาติ

- ที่ดินประเภทสงวนและอนรัุกษปาไม

วัตถุประสงค เพื่อดํารงรักษา การสงวนและการอนุรักษปาตนน้ําลําธาร ปาชายเลน และฟนฟูพื้นที่ปาไมใหมีเนื้อทีเ่พิ่มขึ้น เพื่อรักษาระบบนิเวศลุมน้ําและระบบน้ําผิวดิน และน้ําใตดินบริเวณลุมน้ํา

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดนิเพื่อการสงวนอนุรักษปาไม เพื่อรักษาตนน้ําลําธาร การจัดหาพื้นที่ปาไมเพิ่มเตมิ การทองเทีย่วเชิงอนุรักษ การศึกษาวิจยั การรักษาพันธุสัตวปา หามใชประโยชนที่ดนิที่เปนการทําลายปาไม การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นทีห่รือการทําใหเกิดการชะลางพังทลายของดิน เวนแตการทําฝายกั้นน้ําขนาดเล็ก

ดานการควบคมุอาคาร ใหหามสรางอาคาร เวนแตเปนการสงเสริมการอนุรักษ การบํารุงรักษาตนน้ําลําธาร การรักษาพันธุสัตวปาโดยใหมคีวามสูง ประเภทและชนดิอาคารโดยปองกันผลกระทบมีตอพืชพรรณปกคลุมดิน พรรณไมธรรมชาติ การสงวน การอนุรักษ และบํารุงรักษาตนน้ําลําธาร

ดานสิง่แวดลอม ใหประกอบกิจการที่เกี่ยวของกับการบาํรุงรักษาปาตนน้ําลําธาร การฟนฟูปาไม การศึกษาวจิัยพัฒนาพันธุไม การรักษาพันธุสัตวปา และการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และมิใหมีผลกระทบตอการอนุรักษปาตนน้ําลําธาร

Page 59: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 59 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

(แสดงในแผนที่ 6.5.4)

Page 60: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 60 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

6.5.5 แผนผังทางเลือกท่ี 3 พัฒนาเมืองและชมุชนบริเวณพืน้ท่ีปลอดภยัน้าํทวมและพื้นท่ีแนวเศรษฐกิจหลักของภาค ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติพื้นท่ีตนน้ําและอนุรักษพื้นท่ีชุมน้ํายมตอนลาง (แสดงในแผนที่ 6.5-3)

1) ระบบชุมชนและการตั้งถิ่นฐาน

จัดระเบยีบชุมชนและการตั้งถ่ินฐานของประชากรใหปลอดภัยจากน้ําทวมอยางยั่งยนืพัฒนาเมืองและชุมชนหลักของภาค จํากดั เพื่อรองรับการกระจายความเจริญตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจจํากัดการขยายตัวของชุมชนพื้นที่เสี่ยงภัยน้ําทวม หรือการขยายตวัการใชประโยชนที่ดินในแนวระนาบเพื่อใหเมืองมีขนาดที่เหมาะสมกะทัดรัด โดยสงเสริมใหมีการตัง้ถ่ินฐานและการประกอบกิจการในระบบปองกันชุมชนโดยลดความเสียหายจากอุทกภัย และสงเสริมใหพัฒนาพื้นทีเ่พือ่รองรับการขยายตัวของพื้นที่เศรษฐกิจหลักแหลงใหม ในบริเวณปลอดภัยจากน้ําทวมโดยเฉพาะตามแนวเศรษฐกิจหลักหรือพื้นที่เชื่อมโยงกับพื้นที่เศรษฐกิจหลัก

(1) ชุมชนลําดับที่ 1 ไดแก ชุมชนพื้นที่เศรษฐกิจหลัก

- ชุมชนเดนชยั จังหวัดแพร สงเสริมใหมีบทบาทเปนศูนยกลางการขนสงเชื่อมโยงเมืองเศรษฐกิจของภูมิภาคพัฒนาใหเปนเมืองศนูยกลางการบริการอุตสาหกรรม และคลังสินคา ระหวางภาคเหนือตอนลางและตอนบน และภูมิภาคสี่เหล่ียมเศรษฐกิจประชากรในเขตพืน้ที่เสี่ยงภยัน้ําทวม และพื้นที่สูง และพัฒนาพื้นที่ใหสามารถรองรับประชากร 15,000 -20,000 คน โดยมีสัดสวนประชากรเมือง ประชากรชนบท รอยละ 50

- ชุมชนบานดานลานหอย สงเสริมใหมีบทบาทเปนชุมชนศนูยกลางศูนยการคาบรกิารการแปรรปูผลผลิตการเกษตรเชื่อมโยงการทองเที่ยวทางประวัติศาสตร พัฒนาใหมีบทบาทเปนชุมชนศูนยการคาบริการเชื่อมโยงกับเมืองชายแดน แมสอด –ตาก และประตูการคารองรับการแปรรูปวัตถุดิบ การเกษตร แหลงทรพัยากรธรรมชาติพื้นที่รวมทัง้วัตถุดิบและแรงงานจากประเทศเพื่อนบาน

(2) ชุมชนลําดับที่ 2 เปนเมืองศูนยกลางการปกครองระดับจังหวัดและอําเภอ

- ชุมชนเชื่อมโยงกับพื้นทีแ่นวเศรษฐกิจ ตะวันออกตะวนัตกและแนวเหนือใต ประชากรระหวาง 10,000 – 15,000 คน

Page 61: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 61 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

- เมืองสุโขทัยและบานสวน พัฒนาพืน้ทีเ่พื่อรองรับใหเปนศูนยความเจริญหลัก รองรับประชากรประมาณ 15,000 -20,000 คน มีบทบาทเปนเมืองศูนยกลางการปกครองและการคา การบริการและเมืองแฝดเชื่อมโยงการบริการทองเที่ยวทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม สนับสนุนใหมกีารใชประโยชนที่ดินเมืองและชุมชน มีศูนยกลางหลักในเขตปองกันน้ําทวมของเมืองสุโขทัยและชมุชนเทศบาลตําบลบานสวนพัฒนาระบบปองกันน้ําทวมพื้นที่เศรษฐกิจ พัฒนาแหลงรองรับน้ําทวม และบริหารจัดการน้ําทวมอยางเปนระบบ และพัฒนาพื้นที่ทางทิศตะวนัออกของเมืองสุโขทัยบริเวณเทศบาลตําบลบานสวนเปนพื้นที่รองรับการขยายตวัของ แหลงประกอบกจิการ จากพื้นทีเ่ศรษฐกิจหลักเพื่อลดความแออัดของการประกอบกิจการของเมืองสุโขทัยรวมทั้งพฒันาใหเปนชมุชนพื้นที่เศรษฐกิจแหงใหม ในป 2567 คาดวาจะมีประชากรเมืองประมาณ 10,000 คน โดยมสัีดสวนประชากรเมืองตอประชากรชนบทรอยละ50

- พัฒนาชุมชนเชื่อมโยงกับเมอืงเศรษฐกิจการคาชายแดนของจังหวดัตากประชากรระหวาง 15,000 – 10,000 คน ไดแก

- ชุมชนทุงเสลี่ยม สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบริการการแปรรูปผลผลิตการเกษตร

- ชุมชนนาทุง –หนองกลับ สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบริการ แหลงประกอบกิจการรองรับการขยายตวัของชุมชนทองเที่ยวสวรรคโลก

- ชุมชนทองเที่ยวทางดานประวัติศาสตรและชุมทางการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ สงเสริมใหมีบทบาทเปนชุมชนทองเที่ยว และบริการการทองเที่ยวเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร ลุมน้ํายมตอนลาง ประชากรระหวาง 15,000 – 10,000 คน ไดแก

• ชุมชนสวรรคโลก จังหวดัสุโขทัย สงเสริมใหมีบทบาทดานการทองเที่ยวทางประวัติศาสตรวัฒนธรรม และเปนศูนยกลางการขนสงทางอากาศเชื่อมโยงแหลงทองเที่ยวประวัติศาสตรสุโขทัย และพืน้ที่อนุภาคลุมน้ําโขง

• ชุมชนเมืองเกา จังหวัดสุโขทัย สงเสริมใหมีบทบาทในดานการทองเที่ยวทางประวัติศาสตรเชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตรวัฒนธรรม

Page 62: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 62 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

(3) ชุมชนลําดับที่ 3

- เปนเมืองศูนยกลางการปกครองระดับอําเภอ มีศักยภาพและโอกาสในดานความเปนศูนยตลาดรวมรวมผลผลิตการเกษตรพื้นที่สูง และการบริการดานการคาและการทองเทีย่ว รองรับประชากร ระหวาง 5,000-10,000 คน

• ชุมชนปง ชุมชนริม อําเภอปง จังหวดัพะเยา สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาและบริการดานการทองเที่ยวทางธรรมชาติและเกษตรกรรมพื้นที่สูง

• ชุมชนงาว จงัหวัดลําปาง สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบริการและการทองเที่ยวทางธรรมชาติ และเกษตรกรรมพื้นที่สูง

• ชุมชนสอง และชุมชนรองกวาง จังหวัดแพร สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบรกิาร การทองเที่ยวทางธรรมชาติ ตลาดรวบรวมการเกษตรพื้นที่สูง

• ชุมชนวังชิ้น สงเสริมใหมีบทบาทในดานการบริการการทองเที่ยวทางธรรมชาติ และตลาดรวบรวม ผลผลิตการเกษตรพื้นที่สูง

• ชุมชนสูงเมน สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาการบริการเชื่อมโยงกับแนวพื้นทีเ่ศรษฐกิจตะวนัออกและตะวันตกบริเวณชุมชนเดนชยั

• ชุมชนศรีสัชนาลัย จังหวดัสุโขทัย สงเสริมใหมีบทบาทดานการทองเที่ยว ทางประวัติศาสตร เชื่อมโยงกับแหลงทองเที่ยวประวัติศาสตรสุโขทัย

(4) ชุมชนลําดับที่ 4

- สงเสริมใหพฒันาชุมชนและพื้นที่เศรษฐกิจในเขตปองกันน้ําทวม เนื่องจากเปนชมุชนตั้งอยูในพืน้ที่เสีย่งภัยน้ําทวมและมีศักยภาพเปนตลาดรวบรวมผลผลิตการเกษตร รวมทั้งพฒันาพื้นที่รองรับการขยายตวัของเมอืงในเขตระบบปองกันน้ําทวมและพฒันาโครงสรางพื้นฐานชุมชนใหรองรับประชากร 5,000 -10,000 คน

• ชุมชนกงไกรลาศ จังหวดัสุโขทัย สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการบริเวณพื้นที่เศรษฐกจิสุโขทัย และพิษณุโลก

Page 63: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 63 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

• ชุมชนวชิรบารมี จังหวดัพิจติร สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการเชื่อมโยงกับเมอืงพื้นที่เศรษฐกิจ พิษณุโลกและพิจิตร

• ชุมชนบางระกาํ สงเสริมใหมีบทบาทในดานการคาบรกิารและตลาดรวบรวมผลผลิตการเกษตร และผลผลิตธรรมชาติของพื้นที่ชุมน้ําบริเวณที่ราบลุมแมน้ํายม

• เทศบาลตําบลสามงาม สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการและตลาดรวบรวม ผลผลิตการเกษตร และผลผลิตธรรมชาติของพื้นที่ชุมน้ําของที่ราบแมน้ํายม

• เทศบาลตําบลโพธิ์ประทับชาง สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการและตลาดรวบรวม ผลผลิตการเกษตร และผลผลิตธรรมชาติของพื้นทีชุ่มชน

• เทศบาลตําบลศรีสําโรง สงเสริมใหมีบทบาทดานการคาบริการและตลาดรวบรวมผลผลิตการเกษตร และผลผลิตธรรมชาติของพื้นที่ชุมน้ํา

2) รูปแบบการใชประโยชนท่ีดนิของลุมน้าํยม

พิจารณาองคประกอบที่เกีย่วของกับยุทธศาสตรการพัฒนาเชิงพื้นที่ของประเทศ การอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสงเสริมใหทองถ่ินมีมาตรการผังเมืองบรรเทาและปองกันอุทกภัย ความมีระเบียบและดํารงรักษาสภาพภูมิประเทศสวยงาม สงเสริมใหชุมชนมคีวามปลอดภยัและสวัสดิภาพของสังคม เพื่อใหทองถ่ินสามารถบรรเทาอุทกภัยและยกระดับการพฒันาเศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดลอมของชุมชน และสามารถดํารงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สภาพแวดลอม ประกอบดวย

- ยุทธศาสตรการพัฒนาพื้นที ่ภาคเหนือตอนลางและภาคกลางตอนบน

- กฎหมายทีเ่กีย่วของกับการปาไม ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม

- การแกไขปองกันน้ําทวม และบรรเทาอุทกภัย

- การยกระดับรายไดและการอยูดีมีสุข ของประชากรการปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจใหสมดุลมีความพอเพียงมีเสถียรภาพและแขงขนัได และสงเสริมใหทองถ่ินสามารถบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสภาพแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 64: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 64 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

- ขีดจํากัดในการพัฒนาและความสามารถในการรับไดของทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม

- ศักยภาพและโอกาสการพัฒนาพื้นที่พจิารณาจากความพรอมในดานโครงสรางพื้นฐาน ทรัพยากรธรรมชาติที่มีศักยภาพในการพฒันาเปนแหลงทองเที่ยวและแหลงประกอบกิจการเพื่อยกระดับรายไดของชุมชน

ที่ดินจําแนกทีด่ินออกเปน 7 ประเภท ไดแก

(1) เขตพื้นท่ีน้าํหลากทวม หรือพื้นท่ีเสี่ยงภยัน้ําทวม เปนพื้นที่ไมสงเสริมใหเปนแหลงตั้งถ่ินฐานเมืองและชุมชน แหลงอุตสาหกรรมการคาและบริการรวมทั้งการกอสรางอาคารกีดขวางทางน้ํา สงเสรมใหมีมาตรการผังเมืองรวมผังเมืองเฉพาะการควบคุมอาคาร และการขุดถมดิน รวมทั้งโครงการสงเสริมการระบายน้ํา และรองรับน้ําพื้นที่เสี่ยงภยัน้ําทวม และระบรุายละเอียดของระดับขีดจํากดัการใชประโยชนที่ดนิหรือการวางและจัดทําแผนผังทุกระดับ ใหมีการจําแนกเขตที่ดนิพื้นที่เสี่ยงภยัน้ําทวมใหเชื่อมโยงตอกนัอยางเปนระบบสอดรับการระบายน้ําสายหลักและที่ลุมรับน้ําหรือพื้นที่แกมลิง ประกอบดวย

- พื้นที่ราบน้ําทวมถึงหรือพื้นที่น้ําหลาก เปนพื้นที่ดานหลังสันดอนรมิน้ําที่ราบน้ําทวมถึงของแมน้ํายม รวมถึงลานตะพักลําน้ําขั้นต่ํา เปนบริเวณทีน่้ําหลากทวมถึงในกรณีฝนวิกฤตเปนพื้นที่สํารองใช เพื่อรองรับการหลากทวมของน้ํา การใชที่ดินและอาคารการจัดองคประกอบใหสอดคลองกับสภาพน้ําหลากทวม เพื่อสนับสนุนใหน้ําทาไหลไดสะดวก ใหมีระบบโครงการกอสรางโครงการระบายน้าํ และรองรับน้ําในพื้นที่ จดัทาํระบบปองกนัชุมชน กอสรางกําแพงกัน้น้ํา จัดใหมีการระบายน้ําในดานลึกและดานกวาง เพือ่ใหแมน้ํายมและแมน้ําสาขาสามารถรองรับคูคลองรับปริมาณน้ําหลาก ในภาวะปกติและใหมีการไดศึกษาสํารวจจัดทาํรายละเอียดของแผนปองกันน้ําทวม เพื่อการฟนฟูสภาพชุมชน และการยายถ่ินฐาน

- ทางน้าํหลากทวม ดํารงรักษาและพฒันาทางน้ําสายหลักเพื่อสนับสนุน การระบายน้ํา และใหน้าํ ไหลหลากผานแมน้ําลงสูพืน้ที่ราบลุมตอนลาง และอาวไทย ไดสะดวก ควรจัดใหมีเสนทางน้าํสายหลัก และมาตรการหามสิ่งปลูกสรางกดีขวางทางน้ํา

- พื้นชุมน้ําที่ราบลุมแมน้ํายม ดํารงรักษาอนุรักษและฟนฟูสภาพแวดลอมของพื้นที่ชุมน้าํ

Page 65: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 65 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

การกําหนดเขตที่ดินประเภทน้ําทวมหรือพื้นที่เสี่ยงภัยน้ําทวม

• วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนและสงเสรมิใหดํารงรักษาไวเปนพื้นที่รับน้ํา ทางไหลหลากของน้ํา และทางระบายน้ํา จากบริเวณตนน้ําลงสูแหลงรับน้ําและอาวไทย เพื่อปองกันและบรรเทาอุทกภยัที่มีตอการประกอบการบริเวณที่ดินประเภทอื่นๆ

• ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่ไมกีดขวางทางไหลของน้ํา และการรองรับน้ําหลากทวมดนิการใชประโยชนที่ดินเพื่อสนับสนุนการปองกันและบรรเทาสาธารณภยัเทานัน้

• ดานการควบคมุอาคาร ใหมกีารควบคุม ประเภท ชนดิ และความสูงอาคาร การขุดและถมดิน การปรับระดับพื้นที่ การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ที่เปนแหลงรับน้ําและทางไหลของน้ําลงสูอาวไทย การกอสรางอาคารใหเปนไปตามมาตรฐานการกอสรางอาคารในเขตอทุกภยัหรือพื้นที่เสี่ยงภัยหรือพื้นที่เสี่ยงภัย อาทิ การยกระดับสิง่กอสรางอาคารใหเหนือระดับน้ําทวม หรือกีดขวางทางน้ํา การเวนระยะกอสรางอาคารจากทางระบายน้าํ และทางน้ําลัด

• ดานสิง่แวดลอม ใหมกีารประกอบกจิการที่ไมมีผลกระทบดานส่ิงแวดลอม แหลงน้ํา เพื่อการอุปโภคและบริโภค การใชสารเคมีเพื่อการเกษตร แหลงบําบัดและกําจดัของเสีย

(2) พื้นท่ีรองรับน้าํและแหลงน้ํา เปนพื้นทีส่งเสริมใหเปนแหลงน้ําใชประโยชนเพื่อการอุปโภคและบริโภค พื้นที่รองรับน้าํหรือพื้นที่แกมลิงเพื่อรองรับปริมาณน้ําจากแมน้ํายมและสาขา โดยเนนการรกัษาสภาพธรรมชาติ รวมทั้งการออกแบบระบบการระบายน้ํา การเก็บกกัน้ําเพื่อใชประโยชนของชุมชน และการฟนฟูแหลงน้าํธรรมชาติและพื้นที่ชุมน้ํา เพื่อดํารงรักษาระบบนิเวศของพืชและสัตว บริเวณลุมน้ํายมตอนลาง

วัตถุประสงค เพื่อสนับสนนุและสงเสริมใหมีแหลงน้ําหรือแหลงรองรับน้ําลนตล่ิงจากแมน้ําสายหลัก แหลงน้ําสํารองเพื่อการอุปโภคและบริโภค และรักษาระบบการไหลเวียนของน้ําระหวางแหลงน้ําธรรมชาติและพื้นที่ชุมน้ํา เพื่อรักษาระบบนิเวศพืชและสัตวบริเวณพื้นที่ชุมน้ําของแมน้ํายมตอนลางใหคงความอุดมสมบูรณและลดความเสียหายของชุมชนบริเวณพื้นที่ริมฝงแมน้ํายมและสาขา

Page 66: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 66 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดนิเพื่อเปนแหลงน้ําสาํรองเพื่อการอุปโภคและบริโภค แหลงอาศัยของสัตวน้ําและแหลงดํารงรักษาพืชพรรณธรรมชาติ พื้นที่ชุมน้ําไมสงเสริมใหใชประโยชนที่ดนิเพื่อการอยูอาศัย พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม เวนแตการพัฒนากิจการสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่เหมาะสม มีมาตรฐานสากลเพื่อการศึกษาระบบนิเวศของพืชและสัตว

ดานสิง่แวดลอม ไมสงเสริมใหมีการประกอบกิจการและการเปลีย่นแปลงสภาพพื้นที่ทีม่ีผลกระทบตอส่ิงแวดลอม เวนแตมีเปาหมายเพื่อฟนฟูแหลงน้ําการเพิม่ปริมาณการรองรับน้ํา

(3) เขตการใชประโยชนท่ีดินเมืองและชมุชน กําหนดพื้นที่ใหเปนแหลงตั้งถ่ินฐานของเมืองและชุมชนตามรูปแบบการจัดระบบชุมชนเพื่อสงเสริมใหเปนแหลงตั้งถ่ินฐาน และเปนพื้นที่ตองมีการวางและจัดทําผังเมืองและชุมชน มีกฎหมายผังเมืองประกาศใชบังคับ เพื่อจัดระเบยีบการใชประโยชนที่ดนิและอาคารและการออกแบบระบบการปองกันอุทกภัย และการจัดหาโครงสรางพื้นฐาน ศึกษาวเิคราะหรายละเอยีดที่เกี่ยวของกับผลกระทบจากสภาพธรรมชาติ เศรษฐกิจ สังคม การบริการการจัดการ การขยายตวัการจดัเตรียมพื้นที่รองรับการขยายตัว การจดัวางตําแหนงการใชประโยชนที่ดินเพื่ออยูอาศัยการพานิชยกรรมและอุตสาหกรรม กําหนดที่ตัง้แหลงโครงสรางพื้นฐานทีสํ่าคัญ จัดวางระบบคมนาคม และขนสงใหสามารถการเขาถึงระบบกิจการสาธารณูปโภค การศึกษาและสาธารณสุข ไดอยางมีประสิทธิภาพ

- พื้นที่สงเสริมการพฒันาเมืองและชุมชน

วัตถุประสงค สนับสนุนและสงเสริมใหพัฒนาโครงสรางพื้นฐานรองรับการขยายตวัของเมืองและชมุชนแหลงตั้งถ่ินฐานเดิม และสงเสริมการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อปองกันอุทกภยัอยางเปนระบบ และจัดหาบริการสาธารณะใหเพียงพอ เพื่อใหดยีิ่งขึน้ในดานคุณภาพชีวิต ความปลอดภยั สุขอนามัยและการใชประโยชนในทรัพยสิน และจัดทําแผนงานโครงการระเบียบการใชประโยชนที่ดนิและโครงสรางพื้นฐานปองกันอุทกภัย

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการอยูอาศัย พาณชิยกรรม อุตสาหกรรมที่ไมมมีลพิษตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอม บริเวณพื้นที่เศรษฐกิจเดิมรวมทั้งพัฒนาสาธารณูปโภค และสาธารณูปการที่เหมาะสม มีมาตรฐานสากล และจํากัดการขยายตัวของชุมชนบริเวณนอกเขตระบบปองกันชุมชน

Page 67: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 67 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานการควบคมุอาคาร สงเสริมใหกอสรางอาคารในดานความสูงและเพิ่มพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพื้นที่เวนวางตามความเหมาะสม และมาตรฐานผังเมืองในการปองกัน อุทกภัย รวมทัง้สอดคลองกับการพัฒนาเมอืงบริเวณพืน้ที่เสี่ยงภยัน้ําทวม

ดานสิง่แวดลอม ใหมีการประกอบกจิการที่ไมมีมลภาวะและมีผลกระทบส่ิงแวดลอมตอการอยูอาศยัในเขตเมืองและชุมชน และผลกระทบตอการปองกนัอุทกภยั และการระบายน้ําในเขตชุมชน

- พื้นที่เตรียมการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและแหลงจางงานเพื่อรองรับการขยายตวัของเมอืงและชุมชนใหม

วัตถุประสงค เตรียมการพัฒนาพื้นทีใ่หสามารถรองรับการขยายตวัของเมืองและชุมชนใหมเพื่อสงเสริมใหเปนศนูยกลางเศรษฐกิจหลักในอนาคตอยางเหมาะสม และปลอดภัยจากอุทกภัยและสาธารณะภัย

ดานการใชประโยชนท่ีดิน พัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับการใชประโยชนที่ดนิ เพื่อการอยูอาศัย และพาณิชยกรรมที่ไมมีมลพิษตอชุมชนหรือส่ิงแวดลอม และสาธารณูปโภค และสาธารณูปการที่เหมาะสม มมีาตรฐานสากล และชุมชนใหมปลอดภยัจากภยัน้ําทวม

ดานการควบคมุอาคาร ใหมกีารควบคุมการกอสรางอาคารในดานความสูงของอาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพื้นที่เวนวางตามความเหมาะสม และมาตรฐานผังเมืองในการปองกัน อุทกภยั รวมทั้งสอดคลองกับบทบาทของเมืองและชุมชนใหม

ดานสิง่แวดลอม ใหมกีารประกอบกิจการทีไ่มกระทบและเหมาะสมเขตการใชประโยชนทีด่ิน และไมมีอุปสรรคตอการปองกนัอุทกภยั และการระบายน้ํา

(4) ที่ดินนอกเขตเมือง ใหมีการจําแนกเขตการใชประโยชนที่ดินอยางเปนระบบ

- ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา

พื้นท่ีพัฒนาอตุสาหกรรมเฉพาะกิจ

Page 68: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 68 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

วัตถุประสงค พัฒนาใหเปนแหลงงาน แหลงรวบรวม ผลผลิตเพื่อการแปรรูปผลผลิตในแหลงการประกอบกิจการที่เกี่ยวของกับอตุสาหกรรมการผลิตของชุมชน โดยใชวัตถุดิบในทองถ่ินเปนสวนใหญ

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดนิ เพื่ออุตสาหกรรมและคลังสินคา อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการผลิตและการแปรรูป ผลผลิตภายในลุมน้ําหรืออ่ืนๆ สําหรับการใชประโยชนเพื่อกิจการอื่น เชน การอยูอาศยั และพาณิชยกรรมใหใชประโยชนเทาที่จาํเปนเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตในทองถ่ินเทานั้น

ดานการควบคมุอาคาร ใหมีการควบคุมอาคารในดานความสูงของอาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพืน้ที่เวนวางตามความเหมาะสม และไดมาตรฐานผังเมืองในการปองกันอุทกภยั และสอดคลองกับบทบาทการพัฒนาอุตสาหกรรมตามยุทธศาสตรความรวมมอืทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบาน

ดานสิง่แวดลอม ใหมกีารประกอบกจิการเพื่ออุตสาหกรรมที่ไมมมีลภาวะ ไมมีผลกระทบตอการใชส่ิงแวดลอมเมอืงและชุมชน

- เขตเตรียมการพัฒนาอตุสาหกรรมและคลังสินคา

วัตถุประสงค จัดเตรียมพื้นที่รองรับการพัฒนาใหเปนแหลงงาและพื้นที่เศรษฐกิจหรือศูนยความเจรญิหลักของลุมน้ําและพัฒนาใหเปนเขตอุตสาหกรรมใหม สงเสริมใหเปนแหลงรวบรวมผลผลิตในทองถ่ิน การแปรรูป การบรรจุภัณฑ การประกอบกิจที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมการผลิตโดยใชวัตถุดิบในทองถ่ินเปนสวนใหญ

ดานการใชประโยชนท่ีดนิ ใหใชประโยชนที่ดิน เพือ่อุตสาหกรรมและคลังสินคา อุตสาหกรรมที่เกีย่วของกับการผลิต การแปรรูป ผลผลิตภายในลุมน้ําหรืออ่ืนๆ สําหรับการใชประโยชนเพื่อกิจการอืน่ เชน การอยูอาศยั และพาณชิยกรรมใหใชประโยชนเทาทีจ่ําเปน เพือ่สนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตเทานัน้

ดานการควบคมุอาคาร ใหมกีารควบคุมอาคารในดานความสูงของอาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพืน้ที่เวนวางตามความเหมาะสม และไดมาตรฐานผังเมืองในการ

Page 69: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 69 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ปองกันอุทกภยั และสอดคลองกับบทบาทการพัฒนาอุตสาหกรรมตามยุทธศาสตรความรวมมอืทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบาน

ดานสิง่แวดลอม การประกอบกิจการประเภทอุตสาหกรรมที่ปลอดมลพษิ มีการควบคุมสภาพแวดลอม และระบบบําบดัของเสยี มใิหมผีลกระทบตอชุมชน

- ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

เขตเกษตรกรรมทั่วไป

วัตถุประสงค เปนบริเวณพื้นที่ที่มีทรัพยากรดนิมีศกัยภาพ เพือ่การเกษตรกรรมมนีโยบายสนับสนุนใหใชประโยชนทีด่ิน เพื่อเกษตรกรรมหรือพื้นที่เกษตรกรรมพอเพียงและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและบริการ สนับสนุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยกระดับใหเปนการเกษตรเทคโนโลยีของเกษตรกรรายยอย

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับเกษตรกรรม สถาบันการศึกษาวิจยัดานการเกษตรกรรม และโครงสรางพื้นฐานและบริการสนับสนุนการผลิตดานการเกษตร การใชประโยชนทีด่ิน เพื่อเปนชุมชนชนบทและเกษตรกรรม การสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ การหัตถกรรม การแปรรูปผลผลิตการเกษตร และการพัฒนาแหลงน้ํา

ดานการควบคมุอาคาร ใหควบคุมการกอสรางอาคาร โดยใหมีความสูงอาคาร พื้นที่อาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพืน้ที่เวนวางตามความเหมาะสม

ดานสิง่แวดลอม ใหมีการประกอบกจิการทีไ่มมีผลกระทบดานมลภาวะตอการประกอบกจิการเพื่อการเกษตรกรรมและแหลงน้ํา

เขตเกษตรกรรมพิเศษ

วัตถุประสงค เพื่อดํารงรักษาและอนุรักษที่ดนิมีความเหมาะสมเพือ่การเกษตรกรรม และพื้นทีเ่กษตรกรรมทีม่ีศักยภาพการผลิต และดํารงรักษาบริเวณที่มกีารพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐานสนับสนุนการเกษตรกรรม หรือ พื้นที่เกษตรกรรมในเขตชลประทาน

Page 70: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 70 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมหรือเกี่ยวของกับเกษตรกรรมเทานั้น เวนแตโครงสรางพื้นฐานและบริการสนับสนุนการเพิ่มมูลคาผลผลิตดานเกษตรกรรม

ดานการควบคมุอาคาร ใหมกีารควบคุมการกอสรางอาคาร ความสูงอาคาร พื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน และพื้นทีเ่วนวางตามความเหมาะสม และมีมาตรฐานผังเมืองปองกันอทุกภยั

ดานสิง่แวดลอม ใหมีการประกอบกิจการไมมีผลกระทบดานสิ่งแวดลอม และกิจการเกษตรกรรม การเตรียมพื้นที่เพาะปลูก การบํารุงรักษาพืชเศรษฐกิจ และการไถพรวนดิน เวนระยะหางจากทางน้ําธรรมชาติ

- ท่ีดินเกษตรกรรมบริเวณท่ีลาดชันสงูและพืน้ท่ีสูง

วัตถุประสงค เพื่อฟนฟสูภาพพื้นที่ลาดชันสูงใหเปนปาไมหรือตนน้ําลําธาร และสนับสนุนใหใชประโยชนทีด่ินเพื่อเกษตรกรรมเชิงอนุรักษหรือวนศาสตรการเกษตร

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมหรือปาไม หรือวนศาสตรการเกษตร เปนการใชประโยชนที่ดินรวมกันระหวางระบบเกษตร-ปาไม-ปศุสัตว หรือระบบปาไม พืชสวน และระบบอนุรักษดนิและน้ํา

ดานสิง่แวดลอม ใหประกอบกิจการดานการเกษตรเชิงอนุรักษหรือระบบการเกษตรแบบผสมผสานกับวนศาสตร หามการประกอบกิจการที่กอใหเกดิมลพษิตอแหลงน้ํา ลําธาร การใชสารเคมีและการเตรยีมดิน โดยเครื่องจักรกลขนาดใหญ ใหเวนระยะการไถพรวนหางจากทางน้ําธรรมชาติและแหลงน้ํา

- ที่ดินประเภทสงวนและอนรัุกษปาไม

วัตถุประสงค เพื่อดํารงรักษา การสงวนและการอนุรักษปาตนน้ําลําธาร ปาชายเลน และฟนฟูพื้นที่ปาไมใหมีเนื้อทีเ่พิ่มขึ้น เพื่อรักษาระบบนิเวศลุมน้ําและระบบน้ําผิวดิน และน้ําใตดินบริเวณลุมน้ํา

Page 71: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 71 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

(แสดงในแผนที่ 6.5.5)

Page 72: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 72 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ดานการใชประโยชนท่ีดิน ใหใชประโยชนที่ดนิเพื่อการสงวนอนุรักษปาไม เพื่อรักษาตนน้ําลําธาร การจัดหาพื้นที่ปาไมเพิ่มเตมิ การทองเทีย่วเชิงอนุรักษ การศึกษาวิจยั การรักษาพันธุสัตวปา หามใชประโยชนที่ดนิที่เปนการทําลายปาไม การเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นทีห่รือการทําใหเกิดการชะลางพังทลายของดิน เวนแตการทําฝายกั้นน้ําขนาดเล็ก

ดานการควบคมุอาคาร ใหหามสรางอาคาร เวนแตเปนการสงเสริมการอนุรักษ การบํารุงรักษาตนน้ําลําธาร การรักษาพันธุสัตวปาโดยใหมคีวามสูง ประเภทและชนดิอาคารโดยปองกันผลกระทบมีตอพืชพรรณปกคลุมดิน พรรณไมธรรมชาติ การสงวน การอนุรักษ และบํารุงรักษาตนน้ําลําธาร

ดานสิง่แวดลอม ใหประกอบกิจการที่เกี่ยวของกับการบาํรุงรักษาปาตนน้ําลําธาร การฟนฟูปาไม การศึกษาวจิัยพัฒนาพันธุไม การรักษาพันธุสัตวปา และการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และมิใหมีผลกระทบตอการอนุรักษปาตนน้ําลําธาร

6.5.6 การประเมินแผนผังทางเลือกการพัฒนาพืน้ท่ี

1) เทคนิคและวิธีการประเมินแผนผงัในการประเมนิแผนผังทางเลือกการใชประโยชนที่ดินและโครงสรางพื้นฐาน พื้นที่ลุมน้ํายมดําเนินการ โดยวิธีการผสมผสานของเทคนิควิธีการประเมินคุณภาพและเชงิปริมาณคือ

(1) การประเมินผลเชิงคุณภาพ ไดดําเนนิการอยางตอเนื่องในคราวการหารือรับฟงความคิดเหน็ของผูนําทองถ่ินผูแทนสวนราชการที่เกี่ยวของรวมทั้งไดประมวลขอมูลจากการเสนอแนะเพิ่มเติมจากการประชุมปรึกษาหารือกับผูแทนทองถ่ินในครั้งที่ 1 และการประชุมรับฟงความคิดเหน็ของประชาชนจังหวัดสุโขทัยและแพร คร้ังที ่2 ไดเสนอแนวทางและทางเลือกการพัฒนาพื้นที่ลุมน้ํายม เชิงคุณภาพ

(2) การประเมินผลเชิงปริมาณ ไดจัดทําแบบประเมนิผลใหครอบคลุมปจจัยการพัฒนา พื้นทีแ่ละการปองกันอุทกภัย

Page 73: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 73 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

2) ปจจัยท่ีนํามาประเมินแผนผัง ประกอบดวย 3 ปจจยัหลัก ไดแก ความสัมพันธของแผนผังทางเลือกกับยุทธศาสตรการพัฒนาเชิงพื้นที่ของประเทศ และมาตรการผังเมืองปองกันอุทกภัยและลดความเสียหายจากอุทกภยัอยางยั่งยนื การมีสวนรวมของประชาชน ความตองการของทองถ่ินและปจจัยที่เกี่ยวของกับสภาพพืน้ที่ ดังนี ้

(1) องคประกอบดานยุทธศาสตร การเพิม่ขีดความสามารถในการแขงขันการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แบงออกเปน 3 ปจจยัหลัก ไดแก ความสัมพันธกับยุทธศาสตรการพัฒนาเชิงพืน้ที่ของประเทศ ยุทธศาสตรการพัฒนาภาคเหนือ การดํารงรักษาอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหสมดุลและยั่งยืน

(2) องคประกอบดานมาตรการผงัเมืองปองกันอุทกภยั แบงออกเปน โครงสรางพื้นฐานและระบบปองกันชมุชน

(3) องคประกอบดานเศรษฐกิจ การใชบังคับกฎหมาย ประกอบดวย กฎหมายการผังเมือง การควบคุมอาคาร และการขุดและถมดิน

(4) องคประกอบดานเศรษฐกิจ

(5) องคประกอบดานสงัคม

(6) องคประกอบดานประชากร ประกอบดวย ลักษณะของผลกระทบและขีดจํากัดที่มีตอทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมผลกระทบที่เกิดจากอุทกภยั

(7) องคประกอบดานสิง่แวดลอมชุมชน ประกอบดวย มลภาวะและผลกระทบทัศนียภาพของพื้นที่

(8) องคประกอบการนําแผนผังไปปฏิบตัิ และการไดรับการสนับสนุนจากทกุภาคสวนใหเปนรูปธรรม

Page 74: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 74 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

3) เกณฑการประเมินแผนผงัทางเลือก

(1) การใหคาน้ําหนัก

- องคประกอบดานยุทธศาสตร การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขนัและการจัดการทรพัยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหคาน้ําหนักสูงสุด 27 คะแนน (รอยละ 28.62)

- องคประกอบดานมาตรการผังเมอืงบรรเทาอทุกภัย ใหคาน้าํหนักสูงสุด 30 คะแนน (รอยละ 31.8)

- องคประกอบดานการใชบังคับกฎหมาย ใหคาน้ําหนักสูงสุด 9 คะแนน (รอยละ 9.54)

- องคประกอบดานเศรษฐกจิ ใหคาน้ําหนกัสูงสุด 14 คะแนน (รอยละ 14.84)

- องคประกอบดานสังคม ใหคาน้ําหนกัสูงสุด 8 คะแนน (รอยละ 8.48)—

- องคประกอบดานประชากร ใหคาน้ําหนักสูงสุด 6 คะแนน (รอยละ 6.36)

- องคประกอบดานการมีสวนรวม ใหคาน้าํหนักสูงสุด 4 คะแนน (รอยละ 4.24)

- องคประกอบดานสิ่งแวดลอม ใหคาน้ําหนักสูงสุด 4 คะแนน (รอยละ 4.24)

- องคประกอบอื่นๆ ใหคาน้ําหนักสูงสุด 4 คะแนน (รอยละ 4.24)

4) ผลการประเมินแผนผงัทางเลือก ท้ัง 3 ผัง พบวา

(1) แผนผงัทางเลือกท่ี 1 เปนแผนผังเลือกที่มีระดับคาคะแนนรวม 203 คะแนน มีจุดเดนในดาน

(1) องคประกอบดานยุทธศาสตร การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีจํานวน 51 คะแนนประกอบดวย

Page 75: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 75 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

- ความสัมพันธยุทธศาสตรการพัฒนาพื้นทีป่ระเทศ 15 คะแนนมีความสําคัญดาน

• รูปแบบการพฒันาใหเปนฐานเศรษฐกจิ

• การพัฒนาพืน้ที่แนวเศรษฐกจิเชื่อมโยงประตูการคากับอนุภาค

- ความสัมพันธยุทธศาสตรการพัฒนาภาคเหนือ 12 คะแนนมีความสําคัญดาน

• การจัดระบบและบทบาทหนาที่ชุมชน

• ความสัมพันธกับยุทธศาสตรภาคเหนือ

- การดํารงรักษาอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมใหสมดุล และยั่งยืน มี 24 คะแนนมีความสําคัญดาน

• พื้นที่ปาไมและพื้นที่ตนน้ําลําธาร

• การดํารงรักษาพื้นที่ราบและระบบนิเวศพืน้ที่ชุมน้ํา

• การดํารงรักษาแหลงน้ําธรรมชาติ

• การผลิตอิงกับทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

(2) องคประกอบดานมาตรการผงัเมอืงบรรเทาอุทกภัย มีจํานวน 66 คะแนนประกอบดวย

- ดานการใชประโยชนทีด่ิน มีความสําคัญในดาน

• โอกาสและการเปลี่ยนแปลง

- ระบบปองกันโครงสรางพื้นฐาน มีความสําคัญในดาน

• การระบายน้ําผันน้ํา

Page 76: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 76 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

(3) องคประกอบดานการใชบงัคับกฎหมาย มีจํานวน 18 คะแนนประกอบดวย

- การควบคุมการใชที่ดิน

- การควบคุมอาคาร

- การขุดและถมดิน

(4) องคประกอบดานเศรษฐกิจ มีจํานวน 20 คะแนนประกอบดวย

- การพัฒนาสาขาการเกษตร

- การพัฒนาสาขาการคาการบริการ

- การขายฐานเศรษฐกิจแบบพอเพียง

(5) องคประกอบดานสงัคม มีจํานวน 10 คะแนนประกอบดวย

- ความปลอดภยัของชีวิตและทรัพยสิน

- การดํารงรักษาเอกลักษณและวัฒนธรรม

(6) องคประกอบดานประชากร มีจาํนวน 6 คะแนนประกอบดวย

- ความสมดุลของประชากรเมืองชนบท

- จํานวนประชากรปลอดภัยจากน้ําทวม

- รูปแบบการกระจายประชากรกับยุทธศาสตรและความยัง่ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ

(7) องคประกอบดานการมีสวนรวม มีจํานวน 12 คะแนนประกอบดวย

- การสนับสนนุขององคกรทองถ่ิน

- ความตองการของประชาคม

Page 77: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 77 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

(8) องคประกอบดานสิง่แวดลอม มีจํานวน 8 คะแนนประกอบดวย

- มลภาวะดานสิง่แวดลอม

- ทัศนียภาพที่มคีุณคา

(9) องคประกอบอื่นๆ มีจํานวน 12 คะแนนประกอบดวย

- การปฏิบัติใหเปนไปตามผัง

- แรงผลักดันและการสนับสนุ

ความสําคัญของประเด็นท่ีไดจากการจัดทําแผนผงัทางเลือก

ประเด็นที่มีความสําคัญของแตละทางเลือกไดบูรณาการจดุเดนในแตและผัง เพื่อนาํไปเปนกรอบในการจัดทําแผนผงัแนวความคิดการพัฒนาพืน้ที่ แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดนิตามที่ไดจําแนกประเภทและยานและแผนผังอื่นๆที่เกี่ยวของ ไดแก

(1) รูปแบบการพฒันาใหเปนฐานเศรษฐกจิ

(2) การพัฒนาพืน้ที่แนวเศรษฐกจิเชื่อมโยงประตูการคากับอนุภาค

(3) การจัดระบบและบทบาทหนาที่ชุมชน

(4) ความสัมพันธกับยุทธศาสตรภาคเหนือ

(5) พื้นที่ปาไมและพื้นที่ตนน้ําลําธาร

(6) การดํารงรักษาพื้นที่ราบและระบบนิเวศพืน้ที่ชุมน้ํา

(7) การดํารงรักษาแหลงน้ําธรรมชาติ

(8) การผลิตอิงกับทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

(9) โอกาสและการเปลี่ยนแปลง

Page 78: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 78 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

(10) การระบายน้ําผันน้ํา

(11) การควบคุมการใชที่ดิน

(12) การควบคุมอาคาร

(13) การขุดและถมดิน

(14) การพัฒนาสาขาการเกษตร

(15) การพัฒนาสาขาการคาการบริการ

(16) การขายฐานเศรษฐกิจแบบพอเพียง

(17) ความปลอดภยัของชีวิตและทรัพยสิน

(18) การดํารงรักษาเอกลักษณและวัฒนธรรม

(19) ความสมดุลของประชากรเมืองชนบท

(20) จํานวนประชากรปลอดภัยจากน้ําทวม

(21) รูปแบบการกระจายประชากรกับยุทธศาสตรและความยัง่ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ

(22) การสนับสนนุขององคกรทองถ่ิน

(23) ความตองการของประชาคม

(24) มลภาวะดานสิง่แวดลอม

(25) ทัศนียภาพที่มคีุณคา

(26) การปฏิบัติใหเปนไปตามผัง

(27) แรงผลักดันและการสนับสนุน

Page 79: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 79 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ตารางที่ 6.6-1 การประเมินแผนผังทางเลือก ผังนโยบายการจัดระเบียบการใชประโยชนท่ีดินและโครงสรางพื้นฐาน

ปจจัยพัฒนา คา น้ําหนัก

แผนผังทางเลือก หมาย เหตุ ผังท่ี 1 ผังท่ี 2 ผังท่ี 3

คะแนน รวม คะแนน รวม คะแนน รวม 1. องคประกอบดานยุทธศาสตร การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

27 17 51 20 60 25 75

1.1 ความสัมพันธยุทธศาสตรการพัฒนาพื้นที่ประเทศ 9 5 15 7 21 8 24 1) รูปแบบการพัฒนาใหเปนฐานเศรษฐกิจ 3 2 6 3 9 3 9 2) การพัฒนาพื้นที่แนวเศรษฐกิจเชื่อมโยงประตูการคากับอนุภาค

3 2 6 3 9 3 9

3) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโลจิสติกสตอเนือ่งหลายรูปแบบ

3 1 3 1 3 2 6

1.2 ความสัมพันธยุทธศาสตรการพัฒนาภาคเหนือ 6 4 12 4 12 5 15 1) การจัดระบบและบทบาทหนาที่ชุมชน 3 2 6 3 9 3 9 2) ความสัมพันธกบัยุทธศาสตรภาคเหนือ 3 2 6 1 3 2 6 1.3 การดํารงรักษาอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมใหสมดุล และยั่งยืน

12 8 24 9 27 12 36

1) พื้นที่ปาไมและพื้นที่ตนน้ําลําธาร 3 2 6 3 9 3 9 2) การดํารงรักษาพื้นที่ราบและระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ํา 3 2 6 2 6 3 9 3) การดํารงรักษาแหลงน้ําธรรมชาติ 3 2 6 2 6 3 9 4) การผลิตอิงกับทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม 3 2 6 2 6 3 9 2. องคประกอบดานมาตรการผงัเมอืงบรรเทาอุทกภยั 30 22 66 23 69 25 75

2.1 ดานการใชประโยชนที่ดิน 15 11 33 11 33 12 36 1) การจําแนกประเภทการใชที่ดินบรรเทาอุทกภัย 3 2 6 2 6 3 9 2) การจัดระเบียบการตั้งถิ่นฐาน 3 2 6 3 9 3 9 3) การกําหนดเขตพื้นที่เสี่ยงภัยน้ําทวม 3 2 6 2 6 2 6 4) ระบบการใชที่ดิน (ประหยัดและประโยชนสูงสุด) 3 2 6 2 6 3 9 5) โอกาสและการเปลี่ยนแปลง 3 3 9 2 6 1 3 2.2 ระบบปองกันโครงสรางพื้นฐาน 15 11 33 12 36 13 39 1) ระบบถนนกับการปองกันชุมชน 3 2 6 2 6 1 3 2) การระบายน้ําผันน้ํา 3 3 9 3 9 3 9 3) แหลงรองรับน้ําและแกมลิง 3 2 6 2 6 3 9 4) ระบบที่โลงและพื้นที่สีเขียว 3 2 6 3 9 3 9 5) ระบบปองกันน้ําทวมชุมชน 3 2 6 2 6 3 9

Page 80: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 80 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

ปจจัยพัฒนา คา น้ําหนัก

แผนผังทางเลือก หมาย เหตุ ผังที่ 1 ผังที่ 2 ผังที่ 3

คะแนน รวม คะแนน รวม คะแนน รวม 3. องคประกอบดานการใชบังคับกฎหมาย 9 6 18 7 21 9 27 1) การควบคุมการใชที่ดิน 3 2 6 2 6 3 9 2) การควบคุมอาคาร 3 2 6 3 9 3 9 3) การขุดและถมดิน 3 2 6 2 6 3 9 4. องคประกอบดานเศรษฐกิจ 14 10 20 12 24 18 36 1) การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ 2 1 2 2 4 3 6 2) การพัฒนาสาขาการเกษตร 2 2 4 2 4 2 4 3) การพัฒนาสาขาการคาการบริการ 2 2 4 2 4 3 6 4) การพัฒนาสาขาการอุตสาหกรรม 2 1 2 2 4 3 6 5) การพัฒนาสาขาการทองเที่ยว 2 1 2 1 2 2 4 6) การขายฐานเศรษฐกิจแบบพอเพียง 2 2 4 2 4 3 6 7) การจางงาน 2 1 2 1 2 2 4 5. องคประกอบดานสังคม 8 5 10 5 10 9 18 1) ความเขมแข็งของสังคมเมอืง 2 1 2 1 2 1 2 2) ความมั่นคงของสังคมชนบท 2 1 2 1 2 2 4 3) ความปลอดภยัของชีวิตและทรัพยสิน 2 1 2 1 2 3 6 4) การดํารงรักษาเอกลักษณและวัฒนธรรม 2 2 4 2 4 3 6 6. องคประกอบดานประชากร 6 3 6 4 8 9 18 1) ความสมดุลของประชากรเมอืงชนบท 2 1 2 2 4 3 6 2) จํานวนประชากรปลอดภัยจากน้ําทวม 2 1 2 1 2 3 6 3) รูปแบบการกระจายประชากรกับยุทธศาสตรและความยั่งยืนของทรพัยากรธรรมชาติ

2 1 2 1 2 3 6

7. องคประกอบดานการมีสวนรวม 4 6 12 4 8 4 8 1) การสนับสนุนขององคกรทองถิน่ 2 3 6 2 4 2 4 2) ความตองการของประชาคม 2 3 6 2 4 2 4 8. องคประกอบดานสิ่งแวดลอม 4 4 8 4 8 6 12 8.1 มลภาวะดานสิ่งแวดลอม 2 2 4 2 4 3 6 8.2 ทัศนียภาพที่มีคุณคา 2 2 4 2 4 3 6 9. องคประกอบอื่นๆ 4 6 12 5 10 2 4 9.1 การปฏิบัติใหเปนไปตามผัง 2 3 6 2 4 1 2 9.2 แรงผลักดันและการสนับสนุน 2 3 6 3 6 1 2

รวม 106 79 203 84 218 107 273 ขอสังเกต 1) คาน้ําหนัก คือ คาที่ใหความสําคัญของปจจัยในแตละองคประกอบ 2) คะแนน = คาน้ําหนัก x ระดับ 3) ระดับ คือ ระดบัของผลกระทบที่มีตอสภาพแวดลอมตามแผนพัฒนา

ระดับ 3 หมายถึง มีผลกระทบทางลบนอยหรือดีมาก ระดับ 2 หมายถึง มีผลกระทบปานกลาง ระดับ 1 หมายถึง มีผลกระทบมากหรือไมดี

Page 81: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 81 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

แผนผังทางเลือกท่ี 2 เปนแผนผังที่มีระดับคาคะแนนรวมจํานวน 218 คะแนนมีความสําคัญในดาน

องคประกอบดานยุทธศาสตร การเพิ่มขดีความสามารถในการแขงขนัและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอม มีจํานวน 60 คะแนน มีความสําคญั

- ความสัมพันธยุทธศาสตรการพัฒนาพื้นทีป่ระเทศ มีจํานวน 21 คะแนน มีความสําคัญในดาน

• รูปแบบการพฒันาใหเปนฐานเศรษฐกจิ

• การพัฒนาพืน้ที่แนวเศรษฐกจิเชื่อมโยงประตูการคากับอนุภาค

- ความสัมพันธยุทธศาสตรการพัฒนาภาคเหนือ มีจํานวน 12 คะแนน มีความสําคัญในดาน

• การจัดระบบและบทบาทหนาที่ชุมชน

- การดํารงรักษาอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมใหสมดุล และยั่งยืน มีจํานวน 27 คะแนน ในดานการเพิม่

• พื้นที่ปาไมและพื้นที่ตนน้ําลําธาร

องคประกอบดานมาตรการผงัเมอืงบรรเทาอทุกภัย มีจํานวน 69 คะแนน มีความสําคัญ

- ดานการใชประโยชนทีด่ิน มีจํานวน 33 คะแนน มีความสําคัญในดาน

• การจัดระเบียบการตั้งถ่ินฐานเพื่อบรรเทาอุทกภยั

- ระบบปองกันโครงสรางพื้นฐาน มีจํานวน 36 คะแนน มีความสําคัญในดาน

• การระบายน้ําผันน้ํา

• ระบบที่โลงและพื้นที่สีเขียว

Page 82: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 82 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

องคประกอบดานการใชบงัคับกฎหมาย มีจํานวน 21 คะแนน มจีุดเดนในดาน

- การควบคุมอาคาร

องคประกอบดานเศรษฐกิจ มีจํานวน 24 คะแนน มีจุดเดนในดาน

- การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ

- การพัฒนาสาขาการเกษตร

- การพัฒนาสาขาการคาการบริการ

- การพัฒนาสาขาการอุตสาหกรรม

- การพัฒนาฐานเศรษฐกจิแบบพอเพียง

องคประกอบดานสงัคม มีจํานวน 10 คะแนน มีจุดเดนในดาน

- การดํารงรักษาเอกลักษณและวัฒนธรรม

องคประกอบดานประชากร มีจํานวน 8 คะแนน มีจุดเดนในดาน

- ความสมดุลของประชากรเมืองชนบท

องคประกอบดานการมีสวนรวม มีจํานวน 8 คะแนน มคีวามสําคัญในดาน

- การสนับสนนุขององคกรทองถ่ิน

- ความตองการของประชาคม

องคประกอบดานสิง่แวดลอม มีจํานวน 8 คะแนน มีความสําคัญในดาน

- มลภาวะดานสิง่แวดลอม

- ทัศนียภาพที่มคีุณคา

Page 83: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 83 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

องคประกอบอื่นๆ มีจํานวน 10 คะแนน มคีวามสําคัญในดาน

- แรงผลักดันและการสนับสนุน

ความสําคัญของประเด็นท่ีไดจากการจัดทําแผนผงัทางเลือก

ประเด็นที่มีความสําคัญของแตละทางเลือกไดบูรณาการจดุเดนในแตและผัง เพื่อนําไปเปนกรอบในการจัดทําแผนผงัแนวความคิดการพัฒนาพืน้ที่ แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดนิตามที่ไดจําแนกประเภทและยานและแผนผังอื่นๆที่เกี่ยวของ ไดแก

- รูปแบบการพฒันาใหเปนฐานเศรษฐกจิ

- การพัฒนาพืน้ที่แนวเศรษฐกจิเชื่อมโยงประตูการคากับอนุภาค

- การจัดระบบและบทบาทหนาที่ชุมชน

- พื้นที่ปาไมและพื้นที่ตนน้ําลําธาร

- การจัดระเบียบการตั้งถ่ินฐานเพื่อบรรเทาอุทกภยั

- การระบายน้ําผันน้ํา

- ระบบที่โลงและพื้นที่สีเขียว

- การควบคุมอาคาร

- การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ

- การพัฒนาสาขาการเกษตร

- การพัฒนาสาขาการคาการบริการ

- การพัฒนาสาขาการอุตสาหกรรม

- การพัฒนาฐานเศรษฐกจิแบบพอเพียง

Page 84: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 84 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

- การดํารงรักษาเอกลักษณและวัฒนธรรม

- ความสมดุลของประชากรเมืองชนบท

- การสนับสนนุขององคกรทองถ่ิน

- ความตองการของประชาคม

- มลภาวะดานสิง่แวดลอม

- ทัศนียภาพที่มคีุณคา

- แรงผลักดันและการสนับสนุน

แผนผังทางเลือกท่ี 3 เปนแผนผังที่มีระดับคาคะแนนรวมจํานวน 273 คะแนนมีความสําคัญในดาน

องคประกอบดานยุทธศาสตร การเพิ่มขดีความสามารถในการแขงขนัและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอม มีจํานวน 75 คะแนน ประกอบดวย

- ความสัมพันธยุทธศาสตรการพัฒนาพื้นทีป่ระเทศ มีจํานวน 24 คะแนน

• รูปแบบการพฒันาใหเปนฐานเศรษฐกจิ

• การพัฒนาพืน้ที่แนวเศรษฐกจิเชื่อมโยงประตูการคากับอนุภาค

- ความสัมพันธยุทธศาสตรการพัฒนาภาคเหนือ มีจํานวน 15 คะแนน

• การจัดระบบและบทบาทหนาที่ชุมชน

- การดํารงรักษาอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมใหสมดุล และยั่งยืน มีจาํนวน 36 คะแนน

• พื้นที่ปาไมและพื้นที่ตนน้ําลําธาร

Page 85: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 85 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

• การดํารงรักษาพื้นที่ราบและระบบนิเวศพืน้ที่ชุมน้ํา

• การดํารงรักษาแหลงน้ําธรรมชาติ

• การผลิตอิงกับทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

องคประกอบดานมาตรการผงัเมอืงบรรเทาอุทกภัย มีจํานวน 75 คะแนน ประกอบดวย

- ดานการใชประโยชนทีด่ิน มีจํานวน 36 คะแนน มีความสําคัญในดาน

• การจําแนกประเภทการใชทีด่ินบรรเทาอุทกภยั

• การจัดระเบียบการตั้งถ่ินฐาน

• ระบบการใชประโยชน (ประหยัดและประโยชนสูงสุด

- ระบบปองกันโครงสรางพื้นฐาน มีจํานวน 39 คะแนน มีความสําคัญในดาน

• การระบายน้ําผันน้ํา

• แหลงรองรับน้ําและแกมลิง

• ระบบที่โลงและพื้นที่สีเขียว

• ระบบปองกันน้ําทวมชุมชน

องคประกอบดานการใชบงัคับกฎหมาย มีจํานวน 27 คะแนน มีความสําคัญในดาน

- การควบคุมการใชที่ดิน

- การควบคุมอาคาร

- การขุดและถมดิน

Page 86: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 86 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

องคประกอบดานเศรษฐกิจ มีจํานวน 36 คะแนน มีความสําคัญในดาน

- การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ

- การพัฒนาสาขาการคาการบริการ

- การพัฒนาสาขาการอุตสาหกรรม

- การขายฐานเศรษฐกิจแบบพอเพียง

องคประกอบดานสงัคม มีจํานวน 18 คะแนน มีความสําคัญในดาน

- ความปลอดภยัของชีวิตและทรัพยสิน

- การดํารงรักษาเอกลักษณและวัฒนธรรม

องคประกอบดานประชากร มีจํานวน 18 คะแนน มีความสําคัญในดาน

- ความสมดุลของประชากรเมืองชนบท

- จํานวนประชากรปลอดภัยจากน้ําทวม

- รูปแบบการกระจายประชากรกับยุทธศาสตรและความยัง่ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ

- องคประกอบดานการมีสวนรวม มีจํานวน 8 คะแนน มคีวามสําคัญในดาน

- การสนับสนนุขององคกรทองถ่ิน

- ความตองการของประชาคม

องคประกอบดานสิง่แวดลอม มีจํานวน 12 คะแนน มีความสําคัญในดาน

- มลภาวะดานสิง่แวดลอม

- ทัศนียภาพที่มคีุณคา

Page 87: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 87 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

องคประกอบอื่นๆ มีจํานวน 4 คะแนน

- การปฏิบัติใหเปนไปตามผัง

- แรงผลักดันและการสนับสนุน

ความสําคัญของประเด็นท่ีไดจากการจัดทําแผนผงัทางเลือก

ประเด็นที่มีความสําคัญของแตละทางเลือกไดบูรณาการจดุเดนในแตและผัง เพื่อนําไปเปนกรอบในการจดัทําแผนผังแนวความคิดการพฒันาพื้นที่ แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดินตามที่ไดจําแนกประเภทและยานและแผนผงัอื่นๆที่เกี่ยวของ ไดแก

- รูปแบบการพฒันาใหเปนฐานเศรษฐกจิ

- การพัฒนาพืน้ที่แนวเศรษฐกจิเชื่อมโยงประตูการคากับอนุภาค

- การจัดระบบและบทบาทหนาที่ชุมชน

- พื้นที่ปาไมและพื้นที่ตนน้ําลําธาร

- การดํารงรักษาพื้นที่ราบและระบบนิเวศพืน้ที่ชุมน้ํา

- การดํารงรักษาแหลงน้ําธรรมชาติ

- การผลิตอิงกับทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

- การจําแนกประเภทการใชทีด่ินบรรเทาอุทกภยั

- การจัดระเบียบการตั้งถ่ินฐาน

- ระบบการใชประโยชน (ประหยัดและประโยชนสูงสุด

- การระบายน้ําผันน้ํา

- แหลงรองรับน้ําและแกมลิง

Page 88: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 88 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

- ระบบที่โลงและพื้นที่สีเขียว

- ระบบปองกันน้ําทวมชุมชน

- การควบคุมการใชที่ดิน

- การควบคุมอาคาร

- การขุดและถมดิน

- การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ

- การพัฒนาสาขาการคาการบริการ

- การพัฒนาสาขาการอุตสาหกรรม

- การขายฐานเศรษฐกิจแบบพอเพียง

- ความปลอดภยัของชีวิตและทรัพยสิน

- การดํารงรักษาเอกลักษณและวัฒนธรรม

- ความสมดุลของประชากรเมืองชนบท

- จํานวนประชากรปลอดภัยจากน้ําทวม

- รูปแบบการกระจายประชากรกับยุทธศาสตรและความยัง่ยืนของทรัพยากร-ธรรมชาติ

- การสนับสนนุขององคกรทองถ่ิน

- ความตองการของประชาคม

- มลภาวะดานสิง่แวดลอม

- ทัศนียภาพที่มคีุณคา

- การปฏิบัติใหเปนไปตามผัง

Page 89: บทที่ 6 วิสัยทัศน เป าหมาย วัตถุประสงค แนวความคิด และผัง ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/bk/135_55/chapter6.pdf ·

บทท่ี 6 โครงการวางและจัดทําแผนผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนที่ดิน และโครงสรางพื้นฐานลุมน้ํายมเพ่ือปองกันอุทกภัยดวยมาตรการผังเมือง

บริษัท สยาม - เทค กรุป จํากัด 6 - 89 รายงานการศึกษาฉบับสุดทาย

- แรงผลักดันและการสนับสนุน

5) ผลบูรณาการประเด็นสําคญัของแผนผงัทางเลือก

ในการประเมนิแผนผังทางเลือกทั้ง 3 แผนผัง สามารถจัดลําดับความสําคัญของปจจัยที่นํามาประเมิน มีประเด็นที่มีความสาํคัญและนําไปเปนแนวทางในการวางและจัดทําผังนโยบายจัดระเบียบการใชประโยชนทีด่ินและโครงสรางพื้นฐานเพือ่บรรเทาอุทกภัย ประกอบดวย

(1) องคประกอบดานมาตรการผังเมืองบรรเทาอุทกภัยในสวนที่เกี่ยวของกับ

(ก) การระบายน้ําการผันน้ํา

(ข) ระบบที่โลงและพื้นที่สีเขียว

(ค) การจัดระเบียบการตั้งถ่ินฐาน

(2) องคประกอบดานยุทธศาสตร การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขนัและการจดัการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในสวนที่เกีย่วของกบั

(ก) รูปแบบการพฒันาใหเปนฐานเศรษฐกจิ

(ข) การพัฒนาพืน้ที่แนวคดิเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับประตูการคากับอนุภาค

(ค) การจัดระบบและบทบาทหนาที่ชุมชน

(ง) พื้นที่ปาไมและพื้นที่ตนน้ําลําธาร

(3) องคประกอบดานการใชกฎหมาย เกี่ยวของกับ

(ก) การควบคุมอาคาร

(4) องคประกอบอื่นๆ เกี่ยวของกับ

(ก) แรงผลักดันและการสนับสนุนการนําแผนผังไปปฏิบัติ