91

สารบัญ · 2015-06-05 · v สารบัญภาพ เรื่อง หน้า ภาพที่ OP- 1 โครงสร้างองค์กร 7 ภาพที่

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • ii

    สารบัญ

    เร่ือง หน้า โครงร่างองค์กร 1 หมวดที่ 1 การน าองค์กร 12 หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 21 หมวดที่ 3 การมุ่งเน้นลูกค้า 36 หมวดที่ 4 การวัด วิเคราะห์และการจัดการความรู้ 42 หมวดที่ 5 การมุ่งเน้นบุคลากร 48 หมวดที่ 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ 52 หมวดที่ 7 ผลลัพธ์ 66 7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนและด้านกระบวนการ 66 7.2 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 70 7.3 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 73 7.4 ผลลัพธ์ด้านการน าองค์การและธรรมาภิบาล 76 7.5 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณการเงินและตลาด 80 อภิธานศัพท์ 84 ค าย่อ 86

  • iii

    สารบัญตาราง

    เร่ือง หน้า ตารางที่ OP-1 ผลิตภัณฑ์หลักของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี 1 ตารางที่ OP-2 วิสัยทัศน์และค่านิยมของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี 2 ตารางที่ OP-3 สมรรถนะหลักที่สัมพันธ์กับพันธกิจของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี

    2

    ตารางที่ OP- 4 การจ าแนกกลุ่มบุคลากร และปัจจัยความผูกพัน ความต้องการความคาดหวัง 2 ตารางที่ OP- 5 ปัจจัยความต้องการความคาดหวัง 3 ตารางที่ OP- 6 อาคารสถานท่ี เทคโนโลยีและอุปกรณ์ที่ส าคัญ 3 ตารางที่ OP- 7 กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ(Regulatory Requirements) 4-5 ตารางที่ OP- 8 หน้าที่ของผู้ช่วยอธิการบดีฯ ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ แต่ละด้านและหัวหน้าส านักงานวิทยาเขตฯ

    8

    ตารางที่ OP- 9 ผลผลิต กลุม่เป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละพันธกิจหลักของ วิทยาเขตฯ

    8-9

    ตารางที่ OP- 10 กลไกการสื่อสารและบทบาทของ พันธมิตรผู้ส่งมอบ และผู้ให้ความร่วมมือกับทาง MUKA

    9

    ตารางที่ 1.1- 1 การตอบสนองความต้องการ/ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีส าคัญของทางวิทยาเขตฯ

    18-19

    ตารางที่ 2.1- 1 กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ 21 ตารางที่ 2.1-2 วิธีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในกระบวนการวางแผนกลยุทธ์ 22 ตารางที่ 2.1- 3 เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ตามแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี พ.ศ.2556 - 2559

    24-34

    ตารางที่ 3.1-1 ช่องทางการรับฟังเสียงของลูกค้าปัจจุบัน 36 ตารางที่ 3.1-2 ช่องทางการรับฟังเสียงของลูกค้าในอนาคต 37 ตารางที่ 3.1-3 การรับฟังเสียงของลูกค้าด้านการวิจัย 38 ตารางที่ 3.1-4 การรับฟังเสียงของลูกค้าด้านบริการวิชาการ 39-40 ตารางที่ 3.2-1 ช่องทางการประเมินความผูกพัน 40 ตารางที่ 3.2-2 ช่องทางการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 41 ตารางที่ 4.1-1 การติดตามข้อมูลผลการด าเนินงานเพื่อใช้ในการรายงานผลตัวชี้วัดตาม พันธกิจหลัก

    43

  • iv

    สารบัญตาราง(ต่อ)

    เร่ือง หน้า ตารางที่ 4.1-2 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบตามพันธกิจหลัก 44 ตารางที่ 4.2-1 การบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี

    45-46

    ตารางที่ 4.2- 2 ระบบสารสนเทศที่พัฒนา 47 ตารางที่ 5.1-1 ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในการท างาน 49-50 ตารางที่ 5.1-2 การจัดการสนับสนุนบุคลากร 50-51 ตารางที่ 6.1-1 กระบวนการหลักที่ส าคัญของวิทยาเขตฯ 54-55 ตารางที่ 6.1-2 กระบวนการสนับสนุนของวิทยาเขตฯ 55-56 ตารางที่ 6.2-1 การเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน 59-65 ตารางที่ 7.1-1 ผลลัพธ์การด าเนินการด้านสารสนเทศ 68 ตารางที่ 7.1- 2 ผลลัพธ์การบริหารด้านการเงินและการคลัง 69 ตารางที่ 7.1-3 ผลลัพธ์ ECO Index 70 ตารางที่ 7.2- 1 ความต้องการ/ความคาดหวังในระดับมากที่สุดของลูกค้าในอนาคต 72 ตารางที่ 7.2- 2 ผลลัพธ์การด าเนินงานด้านบริการวิชาการ 72 ตารางที่ 7.3-1 อัตราก าลังและขีดความสามารถของบุคลากร 73 ตารางที่ 7.3- 2 กิจกรรม/สวัสดิการ ที่ทางวิทยาเขตฯ จัดให้ส าหรับบุคลากร 74-75 ตารางที่ 7.4-1 ผู้รับผิดชอบ แผนและผลการด าเนินการตามข้อเสนอแนะของศูนย์ตรวจสอบภายใน

    76

    ตารางที่ 7.4 -2 ผลการด าเนินโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ (จ าแนกตามพันธกิจ) 77 ตารางที่ 7.4- 3 ผลการด าเนนงานข้อมูลเชิงเปรียบเทียบกับมหาวิทยาลัยศิลปากร 79

  • v

    สารบัญภาพ

    เร่ือง หน้า ภาพที่ OP- 1 โครงสร้างองค์กร 7 ภาพที่ 1.1- 1 ระบบการสื่อสารสองทางจากผู้บริหารระดับสูง สู่ บุคลากร นักศึกษาและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในจังหวัดกาญจนบุรี

    14

    ภาพที่ 2.1- 1 ระบบงานหลักและกระบวนงานท่ีส าคัญ 23 ภาพที่ 2.2-1 การน าแผนยุทธศาสตร์ไปสู่แผนปฏิบัติการ 35 ภาพที่ 7.1-1 อัตราการส าเร็จการศึกษา 66 ภาพที่ 7.1-2 อัตราการมีงานท า/ศึกษาต่อของบัณฑิตปริญญาตรี 67 ภาพที่ 7.1-3 ผลงานวิจัยของบุคลากรสายวิชาการ(จ านวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ)

    67

    ภาพที่ 7.1-4 ผลงานวิจัยในวารสารนานาชาติ/บุคลากรสายวิชาการ 68 ภาพที่ 7.2-1 ความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการหลักสูตร 70 ภาพที่ 7.2- 2 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 71 ภาพที่ 7.2- 3 ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน 72 ภาพที่7.3- 1 ร้อยละการพัฒนาบุคลากร 75 ภาพที่ 7.4- 1 ผลการประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลการบริหารงาน 76 ภาพที่ 7.4- 2 ผลการด าเนินงานตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ 77 ภาพที่ 7.5-1 ค่าใช้จ่ายส านักวิชาสหวิทยาการ 80 ภาพที่ 7.5-2 ค่าใช้จ่ายหน่วยหอพัก 80 ภาพที่ 7.5-3 แสดงรายได้ของวิทยาเขตฯ 81

  • 1

    โครงร่างองค์กร (Organizational Profile) P.1 ลักษณะขององค์กร

    มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้รับความเห็นชอบให้จัดตั้งขึ้นเม่ือวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2538 ตามมติคณะรัฐมนตรี เพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาฉบับที่ 8 โดยมีบทบาทหลักเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปยังส่วนภูมิภาค และเพื่อประสานความรู้ในเชิงวิชาการในการช่วยยกระดับชีวิตของชุมชนในพื้นท่ีให้ดีขึ้น

    โดยในปี พ.ศ. 2541 ได้มีคณะที่มีหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนในพื้นที่มาท าการจัดการเรียนการสอนเป็นกลุ่มแรก ดังนี้ 1. นักศึกษาในการก ากับดูแลของวิทยาลัยการจัดการ ชั้นปีท่ี 2 หลักสูตรการจัดการบัณฑิตและหลักสูตรการบัญชีบัณฑิต 2. นักศึกษาในการก ากับดูแลของคณะวิทยาศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร และสาขาวิชาชีววิทยาเชิงอนุรักษ์

    ต่อมาในปี 2547 จึงได้มีนักศึกษากลุ่มที่สองมาเข้ารับการศึกษาเพิ่มเติม คือนักศึกษาในการก ากับดูแลของคณะวิทยาศาสตร์ ชั้นปีท่ี 1 สาขาวิชาธรณีศาสตร์

    จากการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทั้งทางด้านกายภาพและการบริหารหลักสูตร ในปี 2552 โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี จึงได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้ปรับเปลี่ยนสถานะขึ้นเป็น “มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี” เพื่อด าเนินภารกิจหลักในการขยายโอกาสทางการศึกษาและพัฒนาชุมชนในพื้นที่ ดังวิสัยทัศน์ที่ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี มุ่งเป็นผู้น าการศึกษาและวิชาการบนพื้นฐานทรัพยากรในภูมิภาคตะวันตกของอาเซียน

    ก. สภาพแวดล้อมขององค์กร Organizational Environment (1) ผลิตภัณฑ์ ตารางที่ OP-1 ผลิตภัณฑ์หลักของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี

    ผลิตภัณฑ์หลัก ความส าคญัต่อความส าเร็จ กลไกที่ใช้ในการส่งมอบ

    หลักสูตร บัณฑิต จัดการเรียนการสอนโดยมุง่เน้นผู้เรียนเป็นจุดศูนย์กลาง การจัดกิจกรรมที่มุง่เน้นให้นักศกึษาเป็นคนดีมีปัญญาน าพาสุข

    ผลงานวิจัย แหล่งทุนภายในและภายนอก/อาจารย์และนักวจิัย/ ผู้น าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์/ นักศึกษา

    กระบวนการระบบกลไก ตามข้อบังคับประกาศ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง

    การบริการวิชาการเพื่อสังคมและก่อให้เกิดรายได ้

    ชุมชน/ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/อาจารย ์

    กิจกรรมฝึกอบรม /โครงการทางวิชาการที่สอดคล้องกับความเชี่ยวชาญของบุคลากรภายในวทิยาเขตกาญจนบุร ี

  • 2

    (2) วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม (Vision and Mission) ตารางที่ OP-2 วิสัยทัศน์และค่านิยมของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี

    Vision (วิสัยทัศน์) เป็นผู้น าการศึกษาและวชิาการบนฐานทรัพยากรในภมูิภาคตะวนัตกของอาเซียน ในปี 2559 Values (ค่านิยม) M = Mastery เป็นนายแห่งตน

    A = Altruism มุ่งผลเพื่อผู้อ่ืน H = Harmony กลมกลืนกับสรรพส่ิง I = Integrity มั่นคงยิ่งในคุณธรรม D= Determination แน่วแน่ท า กล้าตัดสินใจ O = Originality สร้างสรรค์ส่ิงใหม ่L = Leadership ใฝ่ใจเป็นผู้น า K = Kindness เลิศล้ าเมตตา A = Adaptability ละอัตตาพร้อมปรับตวั

    ตารางที่ OP-3 สมรรถนะหลักที่สัมพันธ์กับพันธกิจของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี

    พันธกิจ สมรรถนะหลักที่สมัพันธ์กบัพนัธกิจ 1.ผลิตบัณฑติทีม่ีความรู้คู่คุณธรรมและองค์ความรู้ที่สามารถน ามาประยุกตใ์ชใ้นการพัฒนาชมุชนอย่างยั่งยืน

    1.มหีลักสูตรที่สนองต่อความต้องการของชุมชนในระดับต่างๆ 2.มีรายวิชาที่มีการบูรณาการข้ามศาสตร์เพื่อการพฒันาและแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน

    2.สร้างและพัฒนาองค์ความรู้บนฐานทรัพยากรเพื่อให้เกิดความมั่นคงแห่งภมูิภาคตะวันตกของอาเซียน

    3.มีงานวิจยัที่เน้นการแก้ปญัหาในเชิงพื้นที ่

    3.ให้บริการวชิาการที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนและสังคม

    4.ความสามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวชิาการที่เข้มแขง็ เพื่อตอบสนอง ต่อการพัฒนาและแก้ไขปญัหาของชุมชน ภายใต้สถานการณ์ที่เปล่ียนแปลง

    (3) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร (Workforce Profile) ตารางที่ OP- 4 การจ าแนกกลุ่มบุคลากร

    การจ าแนกบุคลากร จ านวนบุคลากร ร้อยละ ระดับบริหาร 6 3.40 ระดับหัวหน้างาน/หวัหน้าสาขา 14 7.95 ระดับสายวิชาการ 53 30.12 ระดับปฏิบัติการ 42 23.87 ระดับต่ ากว่าช่วยปฏิบัติการ 61 34.66 รวม 176 100.00 ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2557

  • 3

    ตารางที่ OP- 5 ปัจจัยความต้องการความคาดหวัง การจ าแนกบุคลากร ความต้องการความคาดหวัง

    ระดับหัวหน้างาน/หวัหน้าสาขา ลักษณะงานมีประโยชนต์่อองคก์ร/มีโอกาสก้าวหน้าในวชิาชีพ/สภาพแวดล้อมในการท างานมีความปลอดภัย

    ระดับสายวิชาการ ลักษณะงานมีประโยชนต์่อองคก์ร/สามารถใชค้วามคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการปฏิบัติงาน/ลักษณะงานมีเกยีรติน่าภาคภมูิใจ

    ระดับปฏิบัติการ ขอบเขต ความรับผิดชอบ /การมอบหมายงานที่ชัดเจน/ลักษณะงานมีประโยชน์ต่อองค์กร

    ระดับต่ ากว่าช่วยปฏิบัติการ ลักษณะงานมีเกียรติ น่าภาคภมูใิจ/ลักษณะงานมีประโยชนต์่อองค์กร

    สวัสดิการ/สิทธิประโยชน์ ด้านการจัดสวัสดิการ วิทยาเขตกาญจนบุรี มีการจัดสวัสดิการที่เพิ่มขึ้นจากที่มหาวิทยาลัยและรัฐจัดให้ แก่บุคลากรที่ต้องมาปฏิบัติงาน ณ วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้แก่ สวัสดิการที่พักอาศัยส าหรับบุคลากร เพื่อให้บุคลากรได้พักอาศัยในระหว่างวันปฏิบัติงาน และอีกสิ่งหนึ่งคือสวัสดิการเงินยืมเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ส าหรับบุคลากรที่ต้องรอเงินตกเบิกในกรณีแรกบรรจุ (4) สินทรัพย์ (Assets) ตารางที่ OP- 6 อาคารสถานท่ี เทคโนโลยีและอุปกรณ์ที่ส าคัญ

    อาคารสถานที ่ เทคโนโลย ี อุปกรณ์ที่ส าคัญ 1. อาคารเรียนรวม จ านวน 1 อาคาร 2. อาคารปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ จ านวน 1 อาคาร 3. อาคารอ านวยการ (ส านักงาน) จ านวน 1 อาคาร 4. อาคารซ่อมบ ารงุ จ านวน 1 อาคาร 5. โรงเรือนส าหรับการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการ จ านวน 7 อาคาร 6. อาคารหอพักนักศึกษาหญิง จ านวน 3 อาคาร 7. อาคารหอพักนักศึกษาชาย จ านวน 3 อาคาร 8. อาคารหอพักบุคลากร จ านวน 10 อาคาร 9. ศูนย์พฒันาและฝึกอบรม 10. กลุ่มอาคารในกระบวนการผลิตน้ าประปา

    1. ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ MU-ERP 2. เว็บไซต์วิทยาเขตกาญจนบุรี (http://.ka.mahidol.ac.th) 3. จุดเชื่อมต่อ UTP จ านวน 1 : 1ต่อคนต่อจุด

    1. อุปกรณ์ระบบผลิตน้ าประปา 2. อุปกรณ์เคร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองหลักในระบบเครือข่าย (server)

    http://.ka.mahidol.ac.th/

  • 4

    ตารางที่ OP- 7 กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ(Regulatory Requirements) การด าเนินงาน กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบ หน่วยงานก ากบัดูแล การด าเนินการ

    ด้านการศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565)

    งานการศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษา

    ด าเนินการผ่านคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและปรับปรงุหลักสูตรให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิที่ก าหนด พร้อมทั้งมีกิจกรรมที่พฒันาคุณภาพบัณฑิตให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ก าหนดทัง้ 5 ด้าน โดยวิทยาเขตฯ จัดอยู่ในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา กลุ่ม ค ลักษณะที่ 2 เป็นสถาบันเฉพาะทาง ที่เนน้ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี

    พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิม่เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553

    งานการศึกษา คณะกรรมการการอุดมศึกษา

    วางแผน ด าเนินการจัดการด้านการศึกษา ให้เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่ก าหนด และเป็นไปตามตวับ่งชี้ตามกรอบมาตรฐาน ผ่านคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ

    ข้อบังคับมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี พศ. 2552

    งานการศึกษา กองบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล

    น าข้อบังคับฯ มาเป็นหลักเกณฑใ์นการปฏิบัตงิานเพื่อผลิตบัณฑติให้เป็นบัณฑิตทีพ่ึงประสงค ์

    ด้านการบริหารการเงินและพัสด ุ

    ระเบียบ ประกาศและข้อบังคบัของมหาวิทยาลัยมหิดล

    งานคลังและพัสด ุ กองคลัง และ ศูนยต์รวจสอบภายในของมหาวิทยาลัยมหิดล และ ส านักงานตรวจเงินแผ่นดิน

    - ตรวจสอบการด าเนินการโดยการลงนามอนุมัติเป็นล าดับขั้น จากหัวหน้างานคลังและพัสดุ หัวหนา้ส านักงานวิทยาเขตฯ รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ และ กองคลังมหาวิทยาลัยมหิดล - รายงานตรวจสอบภายในโดยศูนย์ตรวจสอบภายใน - รายงานทางการเงินของวิทยาเขตฯ หลักเกณฑ์ มหาวิทยาลัยมหิดล

    วิทยาเขตกาญจนบุรี วา่ด้วยการเงินและพัสด ุ

    งานคลังและพัสด ุ กองคลัง ศูนย์ตรวจสอบภายในของมหาวิทยาลัยมหิดล และ ส านักงานตรวจเงินแผ่นดิน

    ด้านการวิจัย ข้อบังคับ/หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยของมหาวิทยาลัย

    งานวิจยัและส่งเสริมวิชาการ

    กองบริหารงานวิจยั มหาวิทยาลัยมหิดล

    ระเบียบให้กับผูท้ี่ได้รับอนุมตัิทนุวิจัยเพื่อเป็นแนวทางในการด าเนินการวิจัย

    จรรยาบรรณวจิัยในคน งานวิจยัและส่งเสริม สภาวิจัยแหง่ชาต ิ เป็นข้อก าหนดในการยื่นข้อเสนอโครงการวจิัยทีม่ีการวจิัยในคน

  • 5

    ตารางที่ OP- 7 กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ(Regulatory Requirements) การด าเนินงาน กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบ หน่วยงานก ากบัดูแล การด าเนินการ

    วิชาการ ต้องผ่านการตรวจสอบ จรรยาบรรณการใช้สัตวท์ดลอง งานวิจยัและส่งเสริม

    วิชาการ สภาวิจัยแหง่ชาต ิ เป็นข้อก านหดในการยื่นข้อเสนอโครงการวจิัยทีม่ีสัตวท์ดลองตอ้ง

    ผ่านการตรวจสอบ ความปลอดภัยในการใช้สารเคมแีละห้องปฏิบตัิการ

    งานวิจยัและส่งเสริมวิชาการ

    ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ

    ก าหนดข้อปฏิบตัิส าหรับนักศึกษา เรื่องการปฏิบัตติัวในห้องปฏิบตัิการวิทยาศาสตร ์

    ด้านบริหารบุคคล ข้อบังคับมหาวิทยาลัยและของวทิยาเขตฯ

    งานบริหารทัว่ไป คณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล

    มีการตรวจสอบในระดับหน่วยงานทุกขั้นตอนของการจัดท าค าส่ังเกี่ยวกับบรหิารทรัพยากรบุคคล และรายงานไปยังมหาวทิยาลัยทราบเป็นประจ าทุกเดือน

    ด้านประกันคุณภาพการศึกษา

    การประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหิดล (MUQD)

    งานบริหารทัว่ไป กองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล

    วางแผน ด าเนินการ และรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ ์EdPEx

    การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศกึษา พ.ศ. 2553

    งานบริหารทัว่ไป คณะกรรมการการอุดมศึกษา

    วางแผน ด าเนินการ และรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์ สกอ.

    การประเมินคุณภาพภายนอก งานบริหารทัว่ไป ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

    วางแผน ด าเนินการ และ รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ ์สมศ.

    ด้านการอนุรักษ์พลังงาน

    พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550

    งานกายภาพและสิ่งแวดล้อม

    กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

    ประกาศนโยบายการอนุรักษ์พลงังาน และแต่งตัง้คณะท างานด้านการจัดการพลังงาน และคณะผูต้รวจประเมินการจัดการพลังานภายในองค์กร

  • 6

    ภาพที่ OP- 1 โครงสร้างองค์กร

    หัวหน้าส านักงานวิทยาเขตกาญจนบุรี

    หัวหน้างานเครือข่ายและบริการวชิาการ

    หัวหน้างานวิจัยและส่งเสริมวิชาการ

    หัวหน้างานการศึกษา

    หัวหน้างานบริหารทั่วไป

    หัวหน้างานคลังและพัสด ุ

    หัวหน้างานกายภาพและสิ่งแวดลอ้ม หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและ

    ทรัพยากรธรรมชาต ิ

    หัวหน้าสาขาวิชาอุตสาหกรรมอาหาร

    หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร

    หัวหน้าสาขาวิชาธรณีศาสตร ์

    หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร ์

    หัวหน้าสาขาวิชาพาณิชยศาสตร์และการจัดการ

    หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร ์

    หัวหน้างานธุรการ

    สภามหาวิทยาลยั

    อธิการบด ี

    คณะกรรมการพัฒนาวิทยาเขตกาญจนบุร ี

    รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี

    หัวหน้าส านักวิชาสหวิทยาการ

    คณะกรรมการประจ าวิทยาเขตกาญจนบุร ีผู้ช่วยอธิการบดฝี่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี

    ผู้ช่วยรองอธิการบดฝี่ายวิทยาเขตกาญจนบุร ี(ด้านภูมสิถาปัตย์และสิ่งแวดล้อม)

    ผู้ช่วยรองอธิการบดฝี่ายวิทยาเขตกาญจนบุร ี(ด้านพัฒนาระบบสาธารณูปโภค)

    ผู้ช่วยรองอธิการบดฝี่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี (ด้านกิจกรรมนักศึกษาและกิจกรรมพิเศษ)

    ผู้ช่วยรองอธิการบดฝี่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี (ด้านระบบพัฒนาคณุภาพ)

  • 7

    ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร (Organizational Relationships) (1) โครงสร้างองค์กร (Organizational Structure) มหาวิทยาลัยมหิดลวิทยาเขตกาญจนบุรีแบ่งออกเป็น 2 ส านัก ได้แก่ส านักวิชาสหวิทยาการ และส านักงานวิทยาเขตกาญจนบุรี ส าหรับส านักวิชาสหวิทยาการ ประกอบด้วยสาขาวิชาต่างๆ โดยสาขาวิชาที่มีหลักสูตร ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเกษตรที่ดูแลหลักสูตรวิทยาศาสตร์การเกษตร สาขาวิชาอุตสาหกรรมอาหารที่ดูแลหลักสูตรเทคโนโลยีการอาหาร สาขาวิชาธรณีศาสตร์ที่ดูแลหลักสูตรธรณีศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและทรัพยากรธรรมชาติที่ดูแลหลักสูตรชีววิทยาเชิงอนุรักษ์ สาขาพาณิชยศาสตร์และการจัดการที่ดูแลหลักสูตรการจัดการและหลักสูตรบัญชี และสาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่ก ากับดูแลหลักสูตรวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและการจัดการภัยภิบัติ และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ที่สอนรายวิชาพื้นฐานของหลักสูตรต่างๆ นอกจากนี้ยังมีงานธุรการ ที่ท าหน้าที่ด าเนินการและประสานงานด้านเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนและอาจารย์ให้กับสาขาวิชาทั้ง 7 สาขา ส าหรับในส่วนส านักงานวิทยาเขตกาญจนบุรี ประกอบด้วยหน่วยงานที่สนับสนุนการด าเนินงานของวิทยาเขตฯ ในด้านต่างๆ ได้แก่ งานบริหารทั่วไป งานคลังและพัสดุ งานการศึกษา งานวิจัยและส่งเสริมวิชาการ งานเครือข่ายและบริการวิชาการ งานธุรการ และงานกายภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดูแลรวมถึงหอพักนักศึกษา

    โครงสร้างการบริหารงาน (Administration Structure) วิทยาเขตกาญจนบุรี มีรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นผู้บริหารสูงสุดในระดับส่วนงาน โดยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรีเป็นผู้เสนอมหาวิทยาลัยให้แต่งตั้งผู้ช่วยอธิการบดี และผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ แต่ละด้านโดยมอบหมายหน้าที่อย่างเป็นทางการ ได้แก่ ด้านพัฒนาคุณภาพ ด้านพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ด้านภูมิสถาปัตย์และสิ่งแวดล้อม ด้านกิจกรรมนักศึกษาและกิจกรรมพิเศษ อีกทั้งยังมีผู้ที่ก ากับดูแลส านักวิชาสหวิทยาการและส านักงานวิทยาเขตกาญจนบุรี โดยหัวหน้าส านักวิชาสหวิทยาการและหัวหน้าส านักงานวิทยาเขตกาญจนบุร ี

    ระบบการรายงาน การรายงานการบริหารงานระหว่างทางวิทยาเขตกาญจนบุรีกับทางมหาวิทยาลัยมหิดลด าเนินการ

    ผ่านทางการประชุมผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ประชุมคณบดี และสภามหาวิทยาลัย รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรีมอบหมายหน้าที่อย่างเป็นทางการในการรายงานระหว่าง

    รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ แต่ละด้าน และหัวหน้าส านักงานวิทยาเขตฯ มีการรายงานในรูปแบบของการประชุมผู้บริหารโดยมีการก าหนดการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง ก่อนการประชุมคณะกรรมการประจ า เดือนละ 1 ครั้งเพื่อรายงานผลการด าเนินงานของแต่ละฝ่าย การสื่อสารทิศทางการด าเนินงานตามแผนกลยุทธ์และติดตามความคืบหน้าการด าเนินงานในด้านต่างๆ โดยสรุปสาระส าคัญหน้าที่ของผู้ช่วยอธิการบดีฯ ผู้ช่วยรองอธิการบดีฯ แต่ละด้าน และหัวหน้าส านักงานวิทยาเขตฯ ดังตาราง ต่อไปนี้

  • 8

    ตารางที่ OP- 8 หน้าที่ของผู้ช่วยอธิการบดีฯ ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ แต่ละด้านและหัวหน้าส านักงานวิทยาเขตฯ

    ผู้รับผิดชอบ การบริหารภารกิจ คณะกรรมการประจ าวิทยาเขตกาญจนบุรี ประกอบด้วย - รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นประธาน -ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี - หัวหน้าส านักวิชาสหวิทยาการ - หัวหน้าส านักงานวิทยาเขตกาญจนบุรี - ผู้แทนคณาจารย์ประจ า จ านวน 2 ท่าน

    หน้าที่ ดังนี้ 1. ให้ค าปรึกษาและแนะน าแก่รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี 2. วางนโยบายและแผนงานของวิทยาเขตให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย 3. พิจารณาเสนอเปิดหรือยุบโครงการศึกษา หลักสูตร และรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรของวิทยาเขตต่อสภามหาวิทยาลัย 4. พิจารณาด าเนินการวัดผลและประเมินผลการศึกษาของวิทยาเขตฯ

    ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี ก ากับดูแลการบริหารหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ด้านการเรียนการสอนการวัดผลและประเมินผล ด้านการสร้างกลไก เพื่อสนับสนุนการสร้างสรรค์ผลงานด้านการวิจัย

    ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี ด้านพัฒนาคุณภาพ

    ก ากับดูแลด้านการพัฒนาคุณภาพ บริหารความเสี่ยง และการจัดการความรู้

    ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี ด้านพัฒนาระบบสาธารณูปโภค

    ก ากับดูแลด้านระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน

    ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี ด้านภูมิสถาปัตย์และสิ่งแวดล้อม

    ก ากับดูแลด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม

    ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี ด้านกิจกรรมนักศึกษาและกิจกรรมพิเศษ

    ก ากับดูแลด้านพัฒนานักศึกษา กิจกรรมนักศึกษาตามคุณลักษณะบัณฑิตที่ พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย

    หัวหน้าส านักงานวิทยาเขตฯ ก ากับดูแลงานสนับสนุนด้านต่างๆ เพื่อให้การด าเนินงานบรรลุผลตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์

    ส าหรับด้านทรัพยากรบุคคล ด้านนโยบายและแผน และงบประมาณ อยู่ภายใต้การก ากับดูแลของรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ โดยตรง

    (2) ลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตารางที่ OP- 9 ผลผลิต กลุม่เป้าหมาย และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละพันธกิจหลักของวิทยาเขตฯ

    พันธกิจ ผลผลิต (key output) กลุ่มเป้าหมาย (key Customer) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder) 1. ผลิตบัณฑิต

    หลักสูตร นักศึกษา ผู้ปกครอง/ผู้ใช้บัณฑติ/โรงเรียน/สกอ./สมศ./

    ชุมชน/ศิษย์เก่า/ผู้ให้ทุนการศึกษา/อาจารย์ 2. การวิจัย

    ผลการวิจัย ผู้ให้ทุนวิจัย ผู้ได้รับผลประโยชน์จากงานวิจัย เช่น ชุมชน

    ผู้ประกอบการ มหาวิทยาลัย นักวิจัยที่น าไปต่อยอด นักศึกษา นักวิชาการ

    3. การบริการวิชาการ

    1. โครงการบริการวิชาการ 2. ผู้เข้าร่วมฝึกอบรม

    ผู้สนับสนนุงบประมาณ มหาวิทยาลัย/รัฐบาล/ชุมชนจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดใกล้เคียง/ผู้ประกอบการ

    3.1 บริการวิชาการเพื่อสังคม

    ตอบแทนสังคม แบ่งเป็นกลุ่ม ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อม, ด้านเกษตรกรรม, ด้านอาหารปลอดภัย, ด้านการศึกษา, ด้านส่งเสริมอาชีพ, กระทรวงมหาดไทย(ศูนย์ปฏิบัติการรวมกลุ่มจังหวัด)

    อาจารย์ผู้ให้บริการวิชาการ, นักศึกษา, ชุมชนจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดใกล้เคียง

    3.2 บริการวิชาการก่อให้เกิดรายได้

    รายได้ ภาคเอกชน อาจารย์ผู้ให้บริการวิชาการ , นักศึกษา

  • 9

    (3) ผูส้่งมอบและพันธมิตร ตารางที่ OP- 10 กลไกการสื่อสารและบทบาทของพันธมิตรผู้ส่งมอบและผู้ให้ความร่วมมือกับทาง วิทยาเขตฯ

    พันธมิตร/ผู้ส่งมอบ/ผู้ให้ความร่วมมือ บทบาทของผู้ส่งมอบ/พันธมิตร/ ผู้ให้ความร่วมมือ

    กลไกลที่ส าคัญต่อการสื่อสาร

    คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสิ่งแวดลอ้ม คณะสังคมและมนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์

    จัดการเรียนการสอนในรายวชิาพื้นฐานของนักศึกษา ชั้นปีที่ 1

    C, D, M, E, P

    หอสมุดและคลังความรู ้ ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา ชัน้ปีที่ 1 แสะสนับสนุนห้องสมุดวิทยาเขตฯ

    C, D, M, E, P

    ผู้ส่งมอบ บริษัทจ้างเหมาท าความสะอาด ดูแลรักษาความสะอาดอาคารอ านวยการ อาคารเรียนรวม

    อาคารปฏิบัติการ และหอพักนักศึกษา C, M

    บริษัทรักษาความปลอดภัย ดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวติและทรัพย์สนิของบุคลากรและนักศึกษาภายในวิทยาเขตฯ

    C, M

    คู่ความร่วมมืออย่างเป็นทางการ โรงพยาบาลสัตว์และสตัว์ป่า ปศุปาลัน การดูแลสุนัข และการควบคุมโรคติดต่อ C, D, M, E, P โรงพยาบาลไทรโยค รักษาพยาบาลนักศึกษานอกเวลาราชการ C, D, E, P โรงเรียนไทรโยคมณีกาญจน์ การพัฒนาความรู้ให้นักเรียนเพื่อความพร้อมในการศึกษา

    ต่อในระดับอุดมศึกษา กิจกรรมบริการวิชาการ

    บริษัทสยามคราฟทอ์ุตสาหกรรม จ ากัด (SCG) สนับสนุนทนุวิจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม D, E, P จังหวัด/กลุ่มจังหวัด สนับสนุนแหล่งงบประมาณเพื่อการวจิัยและบริการ

    วิชาการ C, D, M, MOU

    *C ติดต่อโดยตรง; D บันทึก/เอกสาร; M การประชุม; E e-mail; P โทรศัพท์/โทรสาร P.2 สภาวการณข์ององค์กร: สภาวการณ์เชิงกลยุทธ์ที่ส าคัญ ก.สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน (Competitive Environment) (1) ล าดับในการแข่งขัน จากวิสัยทัศน์ของทางวิทยาเขตฯ ในการมุ่งที่จะเป็นผู้น าการศึกษาและวิชาการบนฐานทรัพยากรในภูมิภาคตะวันตกของอาเซียน ในปี 2559 ดังนั้นทางวิทยาเขตฯ จึงได้ส ารวจข้อมูลเทียบเคียงกับมหาวิทยาลัยในภูมิภาคตะวันตกได้แก่ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยใช้ข้อมูล จาก CHE QA Online www.cheqa.mua.go.th/ ปีงบประมาณ 2556 พบว่า ทางวิทยาเขตกาญจนบุรีต้องปรับปรุงการด าเนินงานทางด้านการเรียนการสอน เพื่อท าให้บัณฑิตที่จบการศึกษามีอัตราการได้งานท าที่สูงขึ้น อีกทั้งยังต้องพัฒนาศักยภาพของอาจารย์เพื่อให้มีต าแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น และมีความสามารถในการผลิตผลงานวิจัยที่น าไปใช้ประโยชน์ และบทความวิชาการได้เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งต้องมีการบูรณาการโครงการบริการวิชาการเพื่อใช้ในการพัฒนาการวิจัยและการเรียนการสอนให้เพิ่มมากขึ้น เพื่อที่จะสามารถแข่งขันกับทางมหาวิทยาลัยศิลปากรได้ และเป็นผู้น าการศึกษาและวิชาการในภูมิภาคตะวันตกของอาเซียนตามที่ได้มุ่งหวังไว้ต่อไป

    http://www.cheqa.mua.go.th/%20ปีงบประมาณ

  • 10

    (2) ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงที่ส าคัญและมีผลต่อสถานะ การแข่งขันขององค์กร ปัจจัยภายในที่เปลี่ยนแปลงและมีผลต่อสถานะการแข่งขันขององค์กร ได้แก่ นโยบายของสภามหาวิทยาลัยมหิดลที่ให้ทางวิทยาเขตกาญจนบุรียังคงเป็นส่วนงานหนึ่งของมหาวิทยาลัย นโยบายของมหาวิทยาลัยในการเป็นสากล (Internationalization) และการเพิ่มภาพลักษณ์องค์กร (visualization) อัตราการลาออกของบุคลากร ปัจจัยภายนอกที่เปลี่ยนแปลงและมีผลต่อสถานะการแข่งขันขององค์กรได้แก่ โครงการท่าเรือน้ าลึกและเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายนโยบายรัฐบาล/จังหวัด/กลุ่มจังหวัดการเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษา 21st century skill การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของส่วนการตลาด ข. บริบทเชิงกลยุทธ์ (Strategic Context) ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ 1. ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งจากสภามหาวิทยาลัย ชุมชน และบุคลากรภายในวิทยาเขต 2. ความเสี่ยงเรื่องข้อจ ากัดด้านงบประมาณบริหารจัดการหารายได้เพื่อการพึ่งพาตัวเองอย่างยั่งยืน 3. การบริหารจัดการทรัพยากรน้ า/สาธารณูปโภค 4. การสร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามสายงานวิชาชีพ ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ 1. พื้นที่ตั้งวิทยาเขตกาญจนบุรีมีทรัพยากรส าหรับการท าวิจัยเชิงพื้นท่ี 2. บรรยากาศของวิทยาเขตส่งผลเชิงบวกต่อการอยู่ร่วมกัน 3. การสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับชุมชนและประเทศเพื่อนบ้าน เช่น สหภาพเมียนมาร์ 4. พื้นที่ตั้งของทางวิทยาเขตฯ ใกล้โครงการท่าเรือน้ าลึกและเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย ค. ระบบการปรับปรุงผลการด าเนินการ (PERFORMANCE Improvement System) ระบบการปรับปรุงผลการด าเนินการที่ส าคัญ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้มีการน าหลักการแนวความคิด LEAN มาใช้ในการปรับปรุงกระบวนงานของการท างานในส่วนต่างๆ เพื่อช่วยลดข้อจ ากัดและปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนงานนั้นๆท าให้ลูกค้าหรือผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจ และยังเป็นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรรวมถึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการท างานให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับหน่วยงานอีกทั้งยังด าเนินงานตามระบบคุณภาพ PDCA เพื่อวางแผนการท างาน ปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ ติดตามตรวจสอบประเมินผลการด าเนินงาน และน าผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไข เพื่อวางแผนในการด าเนินงานในรอบถัดไป

  • 11

    หมวดที่ 1 การน าองค์กร 1.1 การน าองค์กรโดยผู้น าระดับสูง

    ผู้น าสูงสุดของวิทยาเขตฯ คือ รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นผู้ที่ชี้น าวิทยาเขตฯ โดยค านึงถึงวิสัยทัศน์และวัฒนธรรมองค์กรของวิทยาเขตฯ ผู้บริหารระดับสูงของทางวิทยาเขตฯ ทุกคนปฏิบัติตัวในการเป็นแบบอย่างที่ดีตามวัฒนธรรมองค์กร โดยเฉพาะด้านการมุ่งผลเพื่อผู้อื่น ในการเสียสละอุทิศตนเพื่อปฏิบัติงานเพื่อส่วนรวม รวมถึงทางรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ ได้มอบหมายให้ทางหน่วยทรัพยากรบุคคลและงานการศึกษาเป็นผู้ด าเนินการถ่ายทอดวัฒนธรรมองค์กรผ่านทางการจัดกิจกรรมต่างๆภายในวิทยาเขตฯ โดยทีมบริหารวิทยาเขตฯ มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ได้ก าหนดขึ้น รวมท้ังแสดงให้เป็นตัวอย่างในเรื่องการยืดม่ันตามวัฒนธรรมองค์กร

    ในกระบวนการทบทวนและปรับปรุงวิสัยทัศน์ของทางวิทยาเขตฯ ที่แสดงดังตารางที่ 2.1- 1ผู้บริหารระดับสูงของวิทยาเขตฯ มีส่วนร่วมในการประชุมทุกครั้ง รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ มีวิธีการสื่อสารถ่ายทอดวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และวัฒนธรรมองค์กร ไปยังทีมบริหารวิทยาเขตฯ โดยมอบหมายให้ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ และหัวหน้าส านักงานวิทยาเขตฯ ในการรับผิดชอบตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์เพื่อจัดท าแผนปฏิบัติการของผู้บริหารแต่ละท่าน เพื่อจัดท ากลยุทธ์ในระดับปฏิบัติการที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ของแต่ละยุทธศาสตร์ของทางวิทยาเขตฯ และก าหนดเป็นตัววัดผลการด าเนินงานระดับหน่วยงาน และตัววัดผลการด าเนินงานระดับบุคคล และมีการสื่อสารสองทางกับบุคลากรผ่านการประชุมบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนเป็นประจ าทุก 2 เดือน เพื่อบอกเล่าทิศทางองค์กร สถานการณ์ที่เกิดขึ้น เรื่องราวส าคัญ ตลอดจนการตัดสินใจที่ส าคัญให้ทราบอย่างสม่ าเสมอ และมีการประกาศยกย่องชมเชยบุคลากรที่ท าประโยชน์หรือผลงานให้แก่วิทยาเขตฯ อีกทั้งยังเป็นผู้น าในการน าเสนอความคืบหน้าในการปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ของวิทยาเขตฯ ที่ได้จากการระดมความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งจากภายในวิทยาเขตฯ ได้แก่ บุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในมหาวิทยาลัยมหิดล ได้แก่ อธิการบดี รองอธิการบดีฯ คณบดีจากคณะต่างๆ รวมถึงผู้อ านวยการสถาบัน และหัวหน้ากองต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยมหิดล และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกมหาวิทยาลัยทั้งจากชุมชนโดยรอบวิทยาเขตฯ และจากภาครัฐและภาคเอกชนในจังหวัดกาญจนบุรี โดยทางรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ เข้าร่วมระดมความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกครั้ง และรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ ได้มีการรายงานความคืบหน้ากับทางมหาวิทยาลัยมหิดลผ่านทาง ทีมบริหารของมหาวิทยาลัย ที่ประชุมคณบดี สภามหาวิทยาลัย และรายงานความคืบหน้า ให้บุคลากรภายในวิทยาเขตฯ รับทราบทัง้ที่ประชุมทีมบริหารวิทยาเขตฯ ที่ประชุมคณะกรรมการประจ า และที่ประชุมบุคลากร และเพื่อเป็นการบริหารจัดการกลยุทธ์ที่ช่วยให้วิทยาเขตฯพร้อมรับสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานและตลาดในอนาคตจึงมีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี พ.ศ. 2556-2559 ดังแสดงในตารางที่ 2.1- 2

    รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ สร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนมีความผูกพันกับวิทยาเขตฯ โดยผ่านทางการสื่อสารพบปะกับนักศึกษาโดยตรงเพื่อรับฟังปัญหาและชี้แจงการด าเนินการต่างๆ เป็นประจ า ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง รวมถึงได้มอบหมายให้ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ ด้านกิจกรรมนักศึกษาและกิจกรรมพิเศษและงานการศึกษา เป็นผู้รับผิดชอบในการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาในด้านต่างๆ

  • 12

    เพื่อให้เกิดความผูกพันกับทางวิทยาเขตฯ รวมทั้งส่งเสริมให้มีกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้มีโอกาสเข้าร่วมการแข่งขันทางวิชาการ เพื่อสร้างประสบการณ์ และเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสถาบันการศึกษาต่างๆ อีกทั้งยังท างานร่วมกับสโมสรนักศึกษาของทางวิทยาเขตฯ ที่เป็นตัวแทนของนักศึกษาในการด าเนินกิจกรรมต่างๆ

    นอกจากนี้รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ ยังเป็นประธานในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษาต่างๆ เช่น การปฐมนิเทศ พิธีการไหว้ครู การจัดนิทรรศการ Science & Management การปัจฉิมนิเทศ การเลี้ยงแสดงความยินดีกับบัณฑิตที่ส าเร็จการศึกษา เป็นต้น ซึ่งในพิธีการต่างๆ ทางรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ เป็นผู้มอบรางวัลประกาศเกียรติคุณเพื่อยกย่องนักศึกษาที่ท าคุณประโยชน์ให้กับวิทยาเขตฯ ทุกครั้งที่มีโอกาส

    วิธีการสื่อสารสองทางที่รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ และผู้บริหารระดับสูง สื่อสารกับบุคลากร ผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในจังหวัดกาญจนบุรี แสดงดังภาพที่ 1.1- 1นอกจากการสื่อสารสองทางแล้ว ทางวิทยาเขตฯ ยังมีช่องทางการสื่อสารถึงรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ โดยตรงได้แก่ กล่องรับความคิดเห็น การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และโทรศัพท์สายตรงถึงรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ รวมถึงการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เช่น Line Application ในการสื่อสารเพื่อให้ทราบถึงผลการตัดสินใจที่ส าคัญและเร่งด่วนระหว่างทีมบริหารวิทยาเขตฯ

    1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม

    ผู้บริหารระดับสูงของทางวิทยาเขตฯ ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ ดูแลการด าเนินงานต่างๆ ให้เป็นไปตามครรลองธรรม ได้แก่

    หลักประสิทธิผล: ผู้บริหารระดับสูงของทางวิทยาเขตฯ แต่ละด้านมีการติดตามตัวชี้วัดระดับ กลยุทธ์ที่ผู้บริหารแต่ละท่านรับผิดชอบเป็นประจ า เพื่อรายงานความก้าวหน้าในที่ประชุมทีมบริหารทุก 3 เดือน เพื่อปรับปรุงแก้ไขการการด าเนินงานให้สามารถบรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้

    หลักประสิทธิภาพ: รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ มีการติดตามความคืบหน้าการด าเนินงานโครงการต่างๆ ที่ได้จัดสรรงบประมาณ เป็นประจ าทุก 3 เดือน ผ่านที่ประชุมทีมบริหาร เพื่อเร่งรัดการด าเนินโครงการต่างๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และหากโครงการใดยังไม่มีการด าเนินการตามที่ก าหนด ทางรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ ได้ก าหนดให้ต้องท าหนังสือชี้แจงเหตุผล และหากไม่ด า เนินการโครงการให้ผู้รับผิดชอบโครงการท าเรื่องขอยกเลิกโครงการ เพื่อทางวิทยาเขตฯ จะได้ด าเนินการน างบประมาณมาพิจารณาจัดสรรท าโครงการที่จ าเป็นเร่งด่วนอื่นๆ ต่อไปส าหรับการด าเนินการให้กระบวนการปฏิบัติ งานต่างๆ มีประสิทธิภาพ ทางรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ มีนโยบายในการประหยัดพลังงานและการควบคุมการใช้จ่ายต่างๆ เช่น การใช้กระดาษหน้าที่สอง การจ ากัดการใช้กระดาษของแต่ละหน่วยงาน การตั้งคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงานเพื่อรณรงค์และประชาสัมพันธ์การใช้พลังงานให้เกิดประสิทธิภาพ การใช้ระบบจองยานพาหนะเพื่อบริหารจัดการส าหรับผู้ที่ต้องเดินทางไปศาลายาให้สามารถเดินทางร่วมกันได้ ไม่เกิดการจองที่ซ้ าซ้อนและลดปริมาณการใช้น้ ามันเชื้อเพลิง และการวิเคราะห์ต้นทุนในการผลิตน้ าประปา รวมถึงมีการวิเคราะห์ต้นทุนของหลักสูตร และหอพักนักศึกษา เพื่อลดการขาดทุนในการด าเนินการ และในการลดระยะเวลาการด าเนินงานของกระบวนการท างาน ทางรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ มีนโยบายในการ

  • 13

    น าแนวคิดกระบวนการ LEAN มาใช้ โดยมอบหมายให้หัวหน้าส านักงานวิทยาเขตฯ เป็นผู้รับผิดชอบ ในการก าหนดให้แต่ละหน่วยงาน มีการน ากระบวนการ LEAN ไปปรับปรุงกระบวนการท างานที่ส าคัญ และมีการรายงานการด าเนินการในที่ประชุมหัวหน้างานทุก 2 สัปดาห์

    หลักการตอบสนอง: ทางวิทยาเขตฯ มีการน าข้อมูลความต้องการ/ความคาดหวังของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ส าคัญมาใช้เป็นแนวทางในการด าเนินการท างานต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 1.1-1 หลักภาระรับผิดชอบ: ทางวิทยาเขตฯ มีการก าหนดผู้รับผิดชอบในการด าเนินการด้านต่างๆ รวมทั้งผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดทั้งระดับกลยุทธ์และระดับปฏิบัติการ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการด าเนินการและการติดตามผลการด าเนินการต่างๆ ที่ส าคัญของทางวิทยาเขตฯ ภาพที่ 1.1- 1 ระบบการสื่อสารสองทางจากผู้บริหารระดับสูง สู่ บุคลากร นักศึกษาและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในจังหวัดกาญจนบุรี

    ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้

    ส่วนเสียทั้งภายในและภายนอกวิทยาเขตฯ

    วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร

    การส่ือสารสองทาง การส่ือสารโดยตรง - กล่องรับความคิดเห็น - การใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ - โทรศัพท์สายตรง

    ผู้บริหารระดับสูง ที่ประชุมทีมบริหาร

    (ทุก 2 สัปดาห์)

    หัวหน้าสาขาและหัวหน้างานที่ประชุม

    คณะกรรมการประจ า

    (ทุกเดือน)

    บุคลากรทุกภาคส่วนที่ประชุมบุคลากร

    (ทุก 2 เดือน)

    นักศึกษา/พบปะนักศึกษา

    (ปีละ 2 ครั้ง)

    ผู้มีส่วนไดส้่วนเสียในจังหวัดกาญจนบุรี/ที่

    ประชุมหนว่ยราชการ (ทุกเดือน)

    บุคลากรในสังกัด ประชุมบุคลากร (ทุก 3 เดือน) คณาจารย์ในแต่ละสาขาวิชา

    - ที่ประชุมส านักวิชา(ทุก2เดือน) - ที่ประชุมสาขาวชิา(ทุกเดือน)

    ที่ประชุมหัวหน้างาน (ทุก 2 สัปดาห์)

  • 14

    หลักความโปร่งใส: เพื่อให้การด าเนินการของทางวิทยาเขตฯ เป็นไปอย่างโปร่งใส ไม่เกิดผลประ โยชน์ทับซ้อน ทางวิทยาเขตฯ จึงมีคณะกรรมการพัฒนาวิทยาเขตฯ ที่มีหน้าที่ในการให้แนวทางการด าเนิน งานของวิทยาเขตฯ ที่สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยและยุทธศาสตร์ของจังหวัดกาญจนบุรี ให้ค า ปรึกษาในการด าเนินการเกี่ยวกับการศึกษา การวิจัย และการให้บริการทางวิชาการของวิทยาเขตฯ และติด ตามประเมินผลการด าเนินงานของวิทยาเขตฯ อีกทั้งทางวิทยาเขตฯ ยังมีคณะกรรมการประจ า ที่มีหน้าที่ ให้ค าปรึกษาและแนะน าแก่รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ วางนโยบายและแผนงานของวิทยาเขตฯ ให้สอด คล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย พิจารณาเสนอเปิดหรือยุบโครงการศึกษา หลักสูตรและรายละเอียดเกี่ยว กับหลักสูตรของวิทยาเขตต่อสภามหาวิทยาลัย และพิจารณาด าเนินการวัดผลและประเมินผลการศึกษาของวิทยาเขตฯ ซึ่งมีการประชุมทุกเดือน และทางรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ มีการรายงานผลการด าเนินการของวิทยาเขตฯ ต่อที่ประชุมทีมบริหารของทางมหาวิทยาลัย ที่ประชุมคณบดี และสภามหาวิทยาลัย เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการด าเนินการ และให้ข้อเสนอแนะท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวิทยาเขตฯ

    หลักการมีส่วนร่วม การกระจายอ านาจและมุ่งเน้นฉันทามติ: เพื่อให้การด าเนินการของวิทยาเขต มีความคล่องตัว รองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ มีการกระจายอ านาจการบริหารให้กับผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ ด้านต่างๆ และหัวหน้าส านักงานวิทยาเขต โดยมีการก าหนดให้ผู้บริหารระดับสูงจัดท าแผนปฏิบัติการ มีการก าหนดเป้าหมายตามตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์ที่ผู้บริหารระดับสูงแต่ละท่านรับผิดชอบ และรายงานผลการด าเนินการเป็นประจ าทุกไตรมาส ทางรองอธิการบดีฝ่ายวิทยาเขตฯ เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบโดยตรงในงานด้านนโยบายและแผน และงบประมาณ โดยก าหนดให้ทางเจ้าหน้าที่หน่วยแผนและร�