335

สารบัญ · 2019-06-22 · สารบัญ หน้า 1. แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน 1.1 กลุ่มงานด

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • สารบัญ หน้า 1. แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน 1.1 กลุ่มงานด าเนินงาน 1.1.1 โครงการพัฒนาและปรับปรุงระบบข้อมูลด้านอนุรักษ์พลังงานทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อ

    รองรับภารกิจตามกฎหมายและภารกิจด้านทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน 1

    1.1..2 ชโครงการบริหารติดตามงานและประเมินผลด้วยวิธีการพิสูจน์ผลประหยัดพลังงานของโครงการตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

    4

    1.2 กลุ่มงานค้นคว้าวิจัย ศึกษาเพื่อการพัฒนาและส่งเสริม 1.2.1 โครงการศึกษาทบทวนเครื่องดูดฝุ่นชนิดลากพ้ืนและตู้แช่แสดงสินค้าเพ่ือจัดท า

    ประสิทธิภาพพลังงานร่างกฎกระทรวงเฉพาะด้านตาม พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550

    6

    1.2.2 โครงการศึกษาจัดท ามาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานยางรถจักรยานยนต์ 8 1.2.3 โครงการศึกษาจัดท ามาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานเครื่องเชื่อมไฟฟ้า 10 1.2.4 โครงการศึกษาเครื่องดูดควันส าหรับเตาหุงต้ม เพ่ือจัดท าประสิทธิภาพพลังงานร่าง

    กฎกระทรวงเฉพาะด้าน ตาม พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 12

    1.2.5 โครงการศึกษาเครื่องเป่าผมเพ่ือจัดท าประสิทธิภาพพลังงานร่างกฎกระทรวงเฉพาะด้าน ตาม พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550

    15

    1.2.6 โครงการศึกษาทบทวนเครื่องปรับอากาศและตู้เย็นเพื่อจัดท าประสิทธิภาพพลังงานร่างกฎกระทรวงเฉพาะด้าน ตาม พรบ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550

    17

    1.2.7 โครงการจัดท าตัวชี้วัดสมรรถนะด้านพลังงานเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอาคารควบคุม

    19

    1.2.8 โครงการจัดท าตัวชี้วัดสมรรถนะด้านพลังงานเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงงานควบคุม

    22

    1.2.9 โครงการศึกษาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเพ่ิมประสิทธิภาพของการใช้พลังงานในระบบน้ าเสียของโรงงานควบคุม

    25

    1.2.10 โครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัดพลังงาน

    27

    1.2.11 โครงการศึกษาแนวทางการส่งเสริมผู้ผลิตและ/หรือผู้จ าหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงและวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน

    30

    1.2.12 โครงการสนับสนุนการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีอนุรักษ์พลังงาน ปี 2559

    32

  • หน้า 1.2.13 โครงการศึกษาแนวทางการติดตามประเมิน (Tracking) การใช้พลังงานที่ลดได้จาก

    มาตรการภาคขนส่ง เพ่ือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน

    34

    1.3 กลุ่มงานโครงการสาธิตหรือริเริ่ม 1.3.1 งานก ากับดูแลและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายส าหรับอาคารควบคุมเอกชน 39 1.3.2 งานก ากับดูแลและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายส าหรับอาคารควบคุมภาครัฐ 40 1.3.3 โครงการบริหารศูนย์ประสานงานการออกแบบอาคารเพ่ืออนุรักษ์พลังงาน 43 1.3.4 โครงการศึกษาปรับปรุงระดับเกณฑ์มาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธีการออกแบบอาคาร

    เพ่ือการอนุรักษ์พลังงาน 44

    1.3.5 งานก ากับดูแลและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายส าหรับโรงงานควบคุม 47 1.3.6 โครงการเงินหมุนเวียนเพ่ือการอนุรักษ์พลังงานโดยสถาบันการเงิน 49 1.3.7 โครงการเงินหมุนเวียนเพ่ือการอนุรักษ์พลังงานโดยสถาบันการเงิน (วงเงินสินเชื่อ

    เพ่ิมเติม) 53

    1.3.8 โครงการส่งเสริมธุรกิจและกระตุ้นตลาดการอนุรักษ์พลังงานโดยกลไกบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO)

    56

    1.3.9 โครงการงานขึ้นทะเบียนและก ากับดูแลการออกใบอนุญาตในการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน

    60

    1.3.10 โครงการส่งเสริมเครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และวัสดุเพ่ือการอนุรักษ์พลังงานโดยการติดฉลาก

    63

    1.3.11 โครงการเปลี่ยนหลอดประหยัดพลังงาน LED เพ่ือเป็นต้นแบบการอนุรักษ์พลังงานให้กับประชาชน โดยอาคารมูลนิธิรัฐบุรุษพลเอกเปรม ติณสูลานนท์

    65

    1.3.12 โครงการสาธิตเทคโนโลยีเชิงลึกเพ่ือการอนุรักษ์พลังงาน ระยะท่ี 3 66 1.3.13 โครงการติดตั้งชุดโคมไฟและหลอดแอลอีดีในหน่วยงานของกองทัพอากาศ 68 1.3.14 โครงการส่งเสริมการด าเนินงานมาตรการอนุรักษ์พลังงานด้วยกลไกการตรวจสอบ

    และรับรองการจัดการพลังงานตามกฏหมาย 70

    1.3.15 โครงการอนุรักษ์พลังงานและพัฒนาพลังงานในเขตพระราชฐาน ระยะที่ 2 73 1.3.16 โครงการปรับปรุงระบบไฟฟ้าแสงสว่างด้วยการเปลี่ยนโคมไฟเป็นชนิดสะท้อนแสง

    และเปลี่ยนหลอดไฟฟ้าเป็นชนิด LED ในอาคารของ กอ.รมน.-สวนรื่นฤดี 74

    1.3.17 โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้าในระบบแสงสว่างอาคารศาสนสถานส าหรับมัสยิด 77 1.3.18 โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการพลังงานอัตโนมัติ (Building Energy

    Management System : BEMS) ส าหรับโรงเรียนจติรลดาโดยมูลนิธิสยามบรมราชกุมาร ี78

    1.3.19 โครงการบริหารจัดการเพ่ือการประหยัดพลังงานในอาคารกรมราชองครักษ์ 81 1.3.20 โครงการส่งเสริมการลงทุนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถด้านการอนุรักษ์พลังงานใน

    โรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและเล็ก 83

  • หน้า 1.3.21 โครงการพัฒนาต่อยอดการด าเนินการจัดการพลังงานตามกฏหมายประเทศไทยไปสู่

    ระบบการจัดการพลังงานในระดับสากล (ISO 50001) 86

    1.3.22 โครงการเปลี่ยนหลอด LED ในโรงพยาบาลและสถานศึกษา 89 1.3.23 โครงการต้นแบบอาคารเรียนอัฉริยะด้านอนุรักษ์พลังงาน 91 1.3.24 โครงการจัดตั้งศูนย์พัฒนาความมั่นคงทางพลังงานด้วยเทคโนโลยีพลังงานแบบบูรณา

    การส าหรับกลุ่มอาคารกรมยุทธโยธาทหารบก 93

    1.3.25 โครงการเปลี่ยนหลอดประหยัดพลังงานแบบ LED เพ่ือเป็นต้นแบบการอนุรักษ์พลังงานให้กับประชาชน โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ส่วนกลาง)

    96

    1.3.26 โครงการเปลี่ยนโคมไฟประหยัดพลังงานชนิดหลอด LED เพ่ือความมั่นคงในพ้ืนที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

    97

    1.3.27 โครงการเปลี่ยนหลอดประหยัดพลังงาน LED ในส านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 99 1.3.28 โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศชนิด Variable speed/Inverter

    ทดแทนของเดิมในอาคารควบคุมภาครัฐ 101

    1.3.29 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านความร้อนโดยการปรับแต่งการเผาไหม้ในภาคอุตสาหกรรม

    104

    1.3.30 โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรม 106 1.3.31 โครงการสาธิตระบบบริหารจัดการพลังงานในภาคขนส่ง 108 1.3.32 โครงการสาธิตการพัฒนาวิธีการตรวจติดตามใช้พลังงานในโรงเรียนระดับมัธยมด้วย

    ระบบ Real Time Power Monitoring เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการอนุรักษ์พลังงานภายในสถานศึกษา และประชาสัมพันธ์การสร้างจิตส านึกด้านการอนุรักษ์พลังงานอย่างเป็นรูปธรรมแก่นักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน

    112

    1.3.33 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอุตสาหกรรมข้าวครบวงจร 114 1.3.34 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงานในอุตสาหกรรม SMEs (อาหาร) 116 1.3.35 โครงการต้นแบบการอนุรักษ์พลังงานภาคอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ 118 1.3.36 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงงานผลิตน้ าแข็ง และห้องแช่เย็น 120 1.3.37 โครงการติดตามประเมินผลงานโครงการยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดน าร่อง 122 1.4 กลุ่มงานโฆษณาประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ 1.4.1 โครงการ Thailand Energy Awards 2016 124 1.4.2 โครงการประสัมพันธ์เพ่ือส่งเสริมการใช้เครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงและวัสดุ

    เพ่ือการอนุรักษ์พลังาน 126

    1.4.3 โครงการบริหารงานเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 127 1.4.4 โครงการประกวดบ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงานดีเด่น 129 1.4.5 โครงการประชาสัมพันธ์รณรงค์ภาคประชาชน 131 1.4.6 โครงการเผยแพร่การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ปีที่ 2 132

  • หน้า 1.4.7 โครงการประชาสัมพันธ์ผลงานกองทุนเพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ปี 2559 133 1.4.8 โครงการผลิตและเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์เพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 134 1.4.9 โครงการจ้างที่ปรึกษาเพ่ือจัดท าแผนยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม

    ต่อนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงาน (ทั้งภายในและภายนอกองค์กร) 135

    1.4.10 โครงการเทิดพระเกียรติสถาบันพระมหากษัตริย์ด้านการอนุรักษ์พลังงานและการพัฒนาพลังงานทดแทนปี 2559

    136

    1.4.11 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพศูนย์บริการข้อมูลด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเคลื่อนที่ (Energy Mobile Unit)

    138

    1.4.12 โครงการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์เพ่ือส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 140 1.4.13 โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของศูนย์ความร่วมมือด้านพลังงานระหว่างประเทศ

    ไปสู่การปฏิบัติ เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

    142

    1.4.14 โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจการกระจายแหล่ง เชื้อเพลิงเพื่อความมั่นคงทางพลังงานตามแผน PDP

    144

    1.4.15 โครงการประชาสัมพันธ์ตามสถานการณ์ ปี 2559 147 1.4.16 โครงการประชาสัมพันธ์และบริหารประเด็นด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

    ภาคขนส่ง 149

    1.5 กลุ่มงานพัฒนาบุคลากร 1.5.1 โครงการพัฒนาบุคลากรเพ่ือเป็นผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฎหมาย 152 1.5.2 โครงการพัฒนาบุคลากรภาคปฏิบัติด้านการตรวจประเมินสมรรถนะเครื่องจักร

    อุปกรณ์หลักภายใต้ระบบการจัดการพลังงานตามกฎหมาย 155

    1.5.3 โครงการพัฒนาบุคลากรในการตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายในตามระบบการจัดการพลังงานตามกฎหมาย

    157

    1.5.4 โครงการพัฒนาผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน 159 1.5.5 โครงการปรับปรุงศูนย์แสดงเทคโนโลยีด้านการอนุรักษ์พลังงาน Display Center 161 1.5.6 โครงการพัฒนาหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานและการพัฒนาผู้ตรวจสอบและ

    รับรองการจัดการพลังงาน ภายใต้พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 (ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.2550)

    164

    1.5.7 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านระบบการใช้พลังงานตามโรงงานและอาคารธุรกิจ 167 1.5.8 โครงการพัฒนาบุคลากรเพ่ือน าเทคโนโลยีด้านการอนุรักษ์พลังงานไปประยุกต์ใช้งาน 169 1.5.9 โครงการขยายผลหลักสูตรการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนส าหรับ

    คณะกรรมการการอาชีวศึกษา 171

    1.5.10 โครงการส่งเสริมเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงานในอาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ 174 1.5.11 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงแรม 176

  • หน้า 1.5.12 โครงการพัฒนาหลักสูตรการประยุกต์ใช้ระบบควบคุมอัตโนมัติโดยใช้ PCL เพ่ือการ

    ประหยัดพลังงาน 178

    1.5.13 โครงการพัฒนาบุคลากรเพ่ือการปรับปรุงประสิทธภิาพการใช้พลังงานในระบบหม้อไอน้ า 180 1.5.14 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังานแบบองค์รวมแยกตามประเภทอุตสาหกรรม 181 1.5.15 โครงการสาธิตอุปกรณ์ประหยัดพลังงานในศูนย์บริการวิชาการ 183 1.5.16 โครงการสนับสนุนทุนการศึกษา (ทุนในประเทศและทุนต่างประเทศ) 185 1.5.17 โครงการสนับสนุนทุนวิจัยแก่นักศึกษาระดับอุดมศึกษา 186 1.5.18 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงาน 187 1.5.19 โครงการศูนย์เผยแพร่ความรู้ด้านการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ปี 2558 188 1.5.20 โครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาในการบูรณาการเรื่องพลังงาน

    ในหลักสูตรประถมศึกษาและมัธยมศึกษา (ระยะที่ 2) 189

    1.5.21 โครงการลดการใช้พลังงานในภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ส่วนที่ 1: โครงการลดการใช้พลังงานในภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 191 ส่วนที่ 2: โครงการลดการใช้พลังงานในภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 194 1.5.22 โครงการเผยแพร่ความรู้ ปลุกจิตส านึก ผนึกก าลังอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม 196 1.5.23 โครงการทักษะบัณฑิตพลังงาน 198 1.5.24 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงแผนพลังงานประเทศ ปี 2558-2579 แผน PDP

    2015 โดยกิจกรรมด้านการจัดประชุมและสัมมนาด้านพลังงานและการอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืน ประจ าปี 2559

    200

    1.5.25 โครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้และขยายเครือข่ายการสื่อสารเรื่องพลังงานในกลุ่มเยาวชน และครู ปีที่ 6 (ต้นกล้าพลังงาน รุ่นที่ 10)

    202

    2. แผนพลังงานทดแทน 2.1 กลุ่มงานด าเนินงาน 2.1.1 โครงการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลภูมิสารสนเทศ (Geo Informatics) เพ่ือการ

    พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 205

    2.1.2 โครงการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พลังงานทดแทนในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและอุตสาหกรรมขนาดเล็กของประเทศไทย

    208

    2.1.3 โครงการติดตามปรับปรุงการผลิตการใช้ไบโอดีเซลชุมชน ระยะที่ 2 210 2.1.4 โครงการส่งเสริมการด าเนินธุรกิจพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานในอาเซียน

    (ระยะที่ 1) 213

    2.1.5 โครงการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์มาตรการสนับสนุนเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทน ภายใต้ภารกิจของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกและแผนอนุรักษ์พลังงาน

    215

  • หน้า 2.2 กลุ่มงานค้นคว้าวิจัย ศึกษาเพื่อการพัฒนาและส่งเสริม 2.2.1 โครงการสนับสนุนเพ่ือเปลี่ยนหวัเผาหม้อไอน้ าไปเป็นหัวเผาที่ใช้เชื้อเพลิงชวีมวล 217 2.2.2 โครงการพัฒนาการเพ่ิมผลผลิตเอทานอลจากมันส าปะหลังสด/มันเส้น 219 2.2.3 โครงการปรับปรุงกังหันลมผลิตไฟฟ้าในพ้ืนที่โครงการลูกพระดาบส ตามพระราชด าริ 222 2.2.4 โครงการศึกษาทดสอบการใช้น้ ามันไบโอดีเซล บี 10 ในรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 224 2.2.5 การศึกษาความเหมาะสมในการผลิตพลังงานจากยางรถยนต์ใช้แล้ว 226 2.2.6 งานศึกษาจัดท าแผนหลักโครงการไฟฟ้าพลังน้ า ขนาดเล็กในพื้นที่กลุ่มจังหวัด

    ภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตอนล่าง 228 2.2.7 โครงการสนับสนุนการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน ปี 2559 230 2.3 กลุ่มงานโครงการสาธิตหรือริเริ่ม 2.3.1 โครงการสนับสนุนการลงทุนติดตั้งใช้งานระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ ปี 2559 232 2.3.2 โครงการส่งเสริมการใช้น้ ามันไบโอดีเซล บี 20 ในรถยนต์บรรทุกขนาดใหญ่ 235 2.3.3 โครงการติดตั้งทดสอบระบบสูบน้ าพลังงานแสงอาทิตย์ประสิทธิภาพสูงด้วย

    อินเวอร์เตอร์แบบต่อตรง 237

    2.3.4 โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ าชุมชน 239 2.3.5 โครงการศึกษาตรวจวัดและจัดท ามาตรฐานการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์

    แสงอาทิตย์บนหลังคา 241

    2.3.6 โครงการสนับสนุนการจัดตั้งโครงข่ายก๊าซชีวภาพเพ่ือการหุงต้มในชุมชน 244 2.3.7 โครงการส่งเสริมการผลิตไบโอมีเทนอัด (CBG) ในสถานประกอบการที่มีระบบก๊าซ

    ชีวภาพเพ่ือใช้ในยานยนต์ 246

    2.3.8 โครงการส่งเสริมเทคโนโลยีเตาสองกระทะเพ่ือสร้างความสามัคคีในพ้ืนที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

    249

    2.3.9 โครงการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 เมกะวัตต์ ในหน่วยงานของกองทัพอากาศ

    251

    2.3.10 โครงการติดตั้งระบบผลิตน้ าร้อนด้วยแสงอาทิตย์แบบผสมผสานในหน่วยงานของกองทัพอากาศ

    253

    2.3.11 โครงการติดตั้งระบบผลิตน้ าร้อนด้วยแสงอาทิตย์ในหน่วยงานของกองทัพอากาศ 255 2.3.12 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตหมู่บ้านพัฒนาเพ่ือความมั่นคงพ้ืนที่ชายแดนอัน

    เนื่องมาจาก พระราชด าริ ด้วยพลังงานทดแทน (พ้ืนที่ พมพ.จังหวัดเชียงใหม่) 257

    2.3.13 โครงการส่งเสริมระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ในศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

    259

    2.3.14 โครงการสูบน้ าเพื่อการเกษตรตามแนวพระราชด าริเศรษฐกิจพอเพียง 261 2.3.15 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนทุรกันดารตามแนวพระราชด าริ ชุมชนบ้านป่าแป๋

    จังหวัดล าพูน 263

  • หน้า 2.3.16 โครงการติดตั้งโคมไฟส่องสว่างด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ พร้อมหลอดประหยัด

    พลังงานชนิด LED เพ่ือความมั่นคงในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 265

    2.3.17 โครงการส่งเสริมและสาธิตการใช้ประโยชน์จากก๊าซไบโอมีเทนด้วยระบบท่อส่งก๊าซเพ่ือทดแทนก๊าซหุงต้มในชุมชนต้นแบบ

    267

    2.3.18 โครงการจัดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ 270 2.3.19 โครงการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสานอัจฉริยะด้วย

    เซลล์แสงอาทิตย์ ระบบสายส่ง และแบตเตอรี่ส ารอง (Smart Hybrid PV-Grid and Battery System) ขนาดไม่น้อยกว่า 30 กิโลวัตต์ พร้อมโคมไฟส่องสว่างถนน ขนาด 55 วัตต์ เพ่ือความมั่นคงในหน่วยทหาร

    273

    2.3.20 โครงการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบ Mini Grid - Hybrid (Grid Backup) ขนาดไม่น้อยกว่า 500 กิโลวัตต์ ส าหรับอุทยานราชภักดิ์ และติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบ Mini Grid - Hybrid (Grid Backup) ขนาดไม่น้อยกว่า 30 กิโลวัตต์ ส าหรับโรงเรียนนายสิบทหารบก

    275

    2.4 กลุ่มงานโฆษณาประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ 2.4.1 โครงการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 277 2.4.2 โครงการจัดท าสื่อสิ่งพิมพ์ด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเพ่ือการ

    ประชาสัมพันธ์ 280 2.4.3 โครงการรณรงค์ความปลอดภัยจากการผลิตและการใช้พลังงานทดแทน 282 2.4.4 โครงการถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านพลังงานตามมิติศาสนาอิสลามในพ้ืนที่

    3 จังหวัดชายแดนใต้ 285 2.4.5 โครงการสื่อสารสร้างความเข้าใจการอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานทดแทน

    “มีพลังงานมีความสุข” 287

    2.5 กลุ่มงานพัฒนาบุคลากร 2.5.1 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านพลังงานทดแทนในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ 290 2.5.2 โครงการมีส่วนร่วมของสถาบันการศึกษาเพ่ือความยั่งยืนต่อการผลิตไฟฟ้าจาก

    พลังงานลม 293 2.5.3 โครงการถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยีพลังงานทดแทนในหน่วยงานภาครัฐ 295 2.5.4 โครงการสนับสนุนทุนการศึกษา (ทุนในประเทศและทุนต่างประเทศ) 298 2.5.5 โครงการสนับสนุนทุนวิจัยแก่นักศึกษาระดับอุดมศึกษา 299 2.5.6 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านพลังงานทดแทน 300 2.5.7 โครงการส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายทีมวิทยากรสื่อสารพลังงานจังหวัด (อส.พน.) 301 2.5.8 โครงการการสร้างความเข้าใจเพ่ือการพัฒนาทัศนคติท่ีมีต่อการสนับสนุนการพัฒนา

    พลังงานให้กับผู้น าชุมชนระดับท้องที่

    304

  • หน้า 2.5.9 โครงการพัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการสื่อสารด้านพลังงานร่วมกับสื่อมวลชน

    ท้องถิ่น ปี 2559 308

    2.5.10 โครงการการศึกษาและสร้างแบบจ าลอง ชุมชนโรงไฟฟ้าแบบสังคมไทย 311 3. แผนบริหารทางกลยุทธ์ 3.1 กลุ่มงานศึกษา 3.1.1 โครงการว่าจ้างที่ปรึกษา เพ่ือศึกษา วิจัย กลไกการบริหารจัดการกองทุนเพ่ือ

    ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานให้มีประสิทธิภาพและเสถียรภาพที่มั่นคงยั่งยืน 314

    3.1.2 โครงการว่าจ้างที่ปรึกษา เพ่ือศึกษา วิจัย การน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการกองทุนเพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน

    317

    3.2 กลุ่มงานค้นคว้า วิจัย ศกึษาเพื่อก าหนดนโยบายและวางแผนพลังงาน 3.2.1 โครงการศึกษารูปแบบองค์กรและกฎหมายการขับเคลื่อนการด าเนินงานด้าน

    สมาร์ทกริดของประเทศไทย 320

    3.2.2 โครงการศึกษานโยบายซื้อขายไฟฟ้าเพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมในบริเวณชายแดนและเขตเศรษฐกิจพิเศษเพ่ือรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    324

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2559 1 /326

    1.1 กลุ่มงานด าเนินงาน

    (1) ด าเนินการโดย: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

    (2) งบประมาณโครงการ : 9,933,800.00 บาท

    (3) วัตถุประสงค์โครงการ : 1. เพื่อรองรับระบบการรับส่งรายงานพลังงานผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ให้สามารถท างานได้อย่างมี

    ประสิทธิภาพและต่อเนื่อง 2. เพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการฝึกอบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ฐานข้อมูลการฝึกอบรมผู้ที่จะ

    ขึ้นทะเบียนผู้ตรวจสอบและรับรองรายงานการจัดการพลังงาน และฐานข้อมูลการผลิตพลังงานควบคุม ที่มีเสถียรภาพสามารถท างานร่วมกับระบบฐานข้อมูลอนุรักษ์พลังงานได้

    3. เพื่อน าข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลของ พพ. ไปวิเคราะห์ผลเชิงสถิติ การรายงานผลในลักษณะรายงานต่างๆ การจัดท าพืน้ฐานดัชนีต่างๆ และสรุปผลเสนอเป็นเชิงนโยบายได้

    (4) ระยะเวลาโครงการ : 12 เดือน

    (5) ความเป็นมา/วิธีการด าเนินงาน : (5.1) ความเป็นมา

    ปัจจุบัน การด าเนินการของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน โดย ศูนย์สารสนเทศข้อมูลพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งมีภารกิจในการจัดท าการรายงานอนุรักษ์พลังงานของประเทศ การจัดท าระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านอนุรักษ์พลังงานของประเทศ ซึ่งมีภารกิจในการจัดท ารายงานอนุรักษ์พลังงานของประเทศ รวมถึงฐานข้อมูลด้านการพัฒนาบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงาน จึงมีความจ าเป็นที่จะต้องจัดท าและเตรียมความพร้อมส าหรับการรับส่งข้อมูลอนุรักษ์พลังงานจากภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจการค้า ที่เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งจะถูกจัดเก็บข้อมูลทั้งหมดเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลของ พพ. เนื่องจากจ านวนข้อมูลที่ค่อนข้างมากและ พพ.วางแผนที่จะด าเนินการระบบรับส่งข้อมูลเต็มระบบตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 และจะต้องสอดคล้องกับภารกิจที่สัมพันธ์กับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานสูงสุดตามแผนอนุรักษ์พลังงานของประเทศ จึงจ าเป็นต้องพัฒนา ปรับปรุง และเตรียมความพร้อมในระบบการรับส่งข้อมูลด้านอนุรักษ์พลังงานทางอิเล็กทรอนิกส์ให้มีประสิทธิภาพ พร้อมใช้งาน เพื่อให้งานด้านระบบฐานข้อมูลอนุรักษ์พลังงานของ พพ. เป็นไปอย่างมีคุณภาพ คู่ขนานไปกับฐานข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน สามารถน าผลของฐานข้อมูลไปพัฒนางานอนุรักษ์พลังงานในอนาคตได้ ดังนั้น จึงมีความจ าเป็นที่จะต้องด าเนินการ ตามแนวทางข้างต้น เพื่อให้ ได้มาซึ่งระบบรายงานผลทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถใช้งานได้ตลอด การป้อนข้อมูลของโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจการค้าในข่ายควบคุม การด าเนินงานในส่วนพัฒนาฐานข้อมูลพลังงานควบคุม รวมถึงช่วยให้การวิเคราะห์ข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงานของประเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

    1.1.1 โครงการพัฒนาและปรับปรุงระบบข้อมูลด้านอนุรักษ์พลังงานทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อรองรับภารกิจตามกฎหมายและภารกิจด้านทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2559 2 /326

    (5.2) วิธีการด าเนินงาน 1. งานดา้นด าเนนิการพัฒนาระบบรับ-ส่งรายงานจัดการพลังงานทางอิเล็กทรอนิกส์

    1.1 ด าเนินการประเมินศักยภาพของระบบ Software และ Hardware โดยมุ่งเน้นความเพียงพอที่จะรองรับการใช้งานฐานข้อมูลอนุรักษ์พลังงานต่างๆ ที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานได้ พัฒนาไว้เพื่อให้บริการการใช้ข้อมูลให้แก่หน่วยงานต่างๆ ทั้งภายนอกและหน่วยงานภายใน รวมถึ งด าเนินการจัดหา พัฒนา ปรับปรุงระบบ Hardware และ Software ที่เสริมประสิทธิภาพการท างานของระบบการอนุรักษ์พลังงานให้ท างานได้จริง และรองรับการผู้ใช้งานที่เก่ียวข้องได้มากข้ึน 1.2 ปรับปรุงระบบรับ-ส่งรายงานจัดการพลังงานทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยู่ให้เกิดเสถียรภาพ ได้ความครบถ้วนของข้อมูลที่จะน าไปสู่การวิเคราะห์ผลข้อมูลเชิงนโยบายต่อไป 1.3 ด าเนินการจัดตั้งหน่วยงานที่ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบการรับส่งรายงานด้านพลังงานทางอิเล็กทรอนิกส์ ส าหรับภาคอุตสาหกรรมและภาคอาคารธุรกิจการค้า ในลักษณะ Call Center ที่สามารถตอบข้อซักถามต่างๆ ได้ 2. งานด้านการพัฒนาระบบฐานข้อมูลอื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับระบบฐานข้อมูลอนุรักษ์พลังงาน

    2.1 ด าเนินการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการผลิตพลังงานควบคุม ได้แก่ การจัดเก็บข้อมูลโรงงานที่มีการผลิตพลังงาน ข้อมูลใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม รายการเครื่องที่ใช้อุปกรณ์เครื่องวัด และอุปกรณ์ป้องกันในการผลิตพลังงานควบคุม ข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า และข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมของการผลิตพลังงานควบคุม

    2.2 ด าเนินการพัฒนาระบบการฝึกอบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ได้แก่ ข้อมูลหลักสูตรการฝึกอบรม ข้อมูลหน่วยฝึกอบรม ข้อมูลการจัดการฝึกอบรม ข้อมูลประวัติผู้เข้าฝึกอบรม และข้อมูลผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมส าหรับการแจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน

    2.3 ด าเนินการพัฒนาระบบการฝึกอบรมผู้ช านาญการ และผู้ช่วยผู้ช านาญการส าหรับการขึ้นทะเบียนผู้ตรวจสอบและรับรองรายงานการจัดการพลังงาน ได้แก่ ข้อมูลหลักสูตรการฝึกอบรม ข้อมูลหน่วยฝึกอบรม ข้อมูลประวัติผู้เข้าฝึกอบรม ข้อมูลการจัดการฝึกอบรม และข้อมูลผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมส าหรับการขึ้นทะเบียนผู้ตรวจสอบและรับรองรายงานการจัดการพลังงาน

    2.4 ด าเนินการเชื่อมต่อระบบที่พัฒนาขึ้นทั้ง 3 ระบบให้สามารถท างานร่วมกันระหว่างระบบฐานข้อมูลอนุรักษ์พลังงานได้

    2.4.1 เชื่อมต่อระบบฐานข้อมูลผู้ฝึกอบรมผู้รับผิดชอบพลังงานกับระบบฐานข้อมูลการแจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ

    2.4.2 เชื่อมต่อระบบฐานข้อมูลผู้ฝึกอบรมผู้ช านาญการ และผู้ช่วยผู้ช านาญการ กับระบบฐานข้อมูลการขึ้นทะเบียนผู้ตรวจสอบและรับรองรายงานการจัดการพลังงาน

    2.4.3 เชื่อมต่อระบบฐานข้อมูลการผลิตพลังงานควบคุมกับระบบฐานข้อมูลโรงงานควบคุม เฉพาะในส่วนที่เป็นโรงงานควบคุม 3. งานด้านการจัดการข้อมูลของฐานอนุรักษ์พลังงาน

    3.1 ด าเนินการตรวจสอบข้อมูลที่ผิดปกติในส่วนของฐานข้อมูลการส่งรายงานการจัดการพลังงานในรอบปี 2557 เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการดูแลรักษาข้อมูล

    3.2 ด าเนินการช าระแก้ไขข้อมูลที่มีความผิดปกติทั้งในส่วนข้อมูลที่ป้อนทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ และข้อมูลที่ป้อนทางระบบรายงานการจัดการพลังงานของกรมฯ เพื่อป้องกันข้อมูลที่ไม่ถูกต้องคงค้างอยู่ในระบบ

    4. งานด้านการวิเคราะห์ ประมวลผล และพัฒนารายงานจากระบบฐานข้อมูล 4.1 พัฒนารายงานวิเคราะห์ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลอนุรักษ์พลังงาน ฐานข้อมูลผลิตพลังงานควบคุม

    ฐานข้อมูลการฝึกอบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน และฐานข้อมูลการฝึกอบรมผู้ช านาญการ และผู้ช่วยผู้ช านาญการส าหรับการขึ้นทะเบียนผู้ตรวจสอบและรับรองรายงานการจัดการพลังงาน ให้มีรายงานเพียงพอต่อการสนับสนุนการปฎิบัติงาน ตรวจสอบข้อมูลได้

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2559 3 /326

    4.2 ประมวลผลข้อมูลรายงานการจัดการพลังงาน และพัฒนารายงาน คืนประโยชน์แก่โรงงานควบคุมและอาคารควบคุมผ่านทางเว็บไซต์ อาทิเช่น ข้อมูลการใช้พลังงานในแต่ละปี ข้อมูลผู้รับผิดชอบด้านพลังงานในปัจจุบัน ข้อมูลเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ส ารวจได้

    5. น าผลที่ได้จากการพัฒนา ปรับปรุง ระบบฐานข้อมูลทั้งหมดข้างต้น มาวิเคราะห์เพื่อส่งถ่ายข้อมูลไปสู่การพัฒนาต่อยอดการรายงานข้อมูลต่างๆที่เกิดขึ้นใหม่ ไปแสดงไว้ในรายงานอนุรักษ์พลังงานประจ าปี ของ พพ. ตามความเหมาะสม 6. งานด้านการพัฒนาบุคคลากร และ การจัดท าคู่มือที่เก่ียวข้องต่างๆ

    6.1 ด าเนินการอบรมระบบงานที่พัฒนาและปรับปรุงให้แก่เจ้าหน้าที่ พพ. ที่เกี่ยวข้อง 6.2 การจัดท าคู่มือการใช้ระบบฐานข้อมูลผลิตพลังงานควบคุม ระบบฐานข้อมูลการฝึกอบรมผู้รับผิดชอบ

    ด้านพลังงาน และระบบฐานข้อมูลการฝึกอบรมผู้ช านาญการ และผู้ช่วยผู้ช านาญการ 6.3 ด าเนินการประชาสัมพันธ์ หรือเผยแพร่ความรู้จากการน าข้อมูลมาวิเคราะห์ผลเชิงนโยบาย ให้กับ

    โรงงานควบคุมและอาคารควบคุม หรือผู้ที่ให้ความสนใจโดยการจัดสัมมนาจ านวน 1 คร้ัง

    (6) ผลการด าเนินโครงการ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ : (6.1) ผลการด าเนินโครงการ

    อยู่ระหว่างด าเนินการจัดซื้อจัดจ้าง (6.2) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลผลติ

    1. มีระบบการรับส่งรายงานการจัดการพลังงานทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ดีและท างานได้จริง 2. มีฐานข้อมูลกลางที่มีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา และสามารถไปใช้งานในฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันได้ทันที 3. สามารถน าข้อมูลจากระบบที่สร้างขึ้นไปใช้วิเคราะห์ผลต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี

    ผลลัพธ์ เกิดการบูรณาการระบบฐานข้อมูลจากหน่วยงานภายในต่างๆ ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ

    อนุรักษ์พลังงาน (พพ.) เข้าด้วยกัน ท าให้เกิดการใช้งานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย ตรวจสอบกันได้ระหว่างหน่วยงาน รวมถึงการน าข้อมูลจากรายงานพลังงานไปใช้วิเคราะห์ผลในเชิงนโยบาย เพื่อน ามาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาเก่ียวกับการใช้พลังงานของหน่วยงานหรือสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องจากภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจการค้าในอนาคตต่อไป

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2559 4 /326

    (1) ด าเนินการโดย: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

    (2) งบประมาณโครงการ : 17,243,700.00 บาท

    (3) วัตถุประสงค์โครงการ : 1. เพื่อประเมินผลการอนุรักษ์พลังงานแบบครบวงจร ทั้งการประเมนิภาพรวมโครงการ ทางด้านบริบท ปัจจัย

    ป้อน กระบวนการ และผลผลิต โดยเน้นการประเมินเชิงเทคนิคที่สามารถพิสูจน์ผลประหยัดพลังงานอย่างเป็นรูปธรรม 2. เพื่อจัดท าเป็นมาตรฐานวิธีการพิสูจน์ผลประหยัดพลังงาน (Measurement and Verification ; M&V) ของ

    มาตรการ ที่จะได้เป็นวิธีการให้กับโครงการอ่ืนๆน าไปใช้ต่อไปในอนาคต 3. เพื่อบริหารและติดตามงานโครงการด้านอนุรักษ์พลังงานที่ก าลังด าเนินงานในปัจจุบัน แบบเชิงรุก ให้เป็นไป

    ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ 4. เพื่อวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค และก าหนดแนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงาน

    โครงการให้มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายตามแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี (พ.ศ. 2558 – 2579)

    (4) ระยะเวลาโครงการ : 12 เดือน

    (5) ความเป็นมา/วิธีการด าเนินงาน : (5.1) ความเป็นมา จากภารกิจของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ .) ในการส่งเสริมและก ากับดูแลด้านการ

    อนุรักษ์พลังงานและพัฒนาพลังงานทดแทน ให้เป็นไปตามแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี (พ.ศ. 2558 – 2579) นั้น จากที่ผ่านมาในปีงบประมาณ 2558 มีการด าเนินงานโครงการด้านการอนุรักษ์พลังงานให้กับหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จ านวน 45 โครงการ โดยมีโครงการหลักๆ อาทิเช่น งานก ากับดูแลและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายส าหรับโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมเอกชน งานก ากับดูแลการปฏิบัติตามกฎหมายของอาคารควบคุมภาครัฐ โครงการสนับสนุนการลงทุนเพื่อปรับเปลี่ยนปรับปรุงเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน โครงการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนด้วยเงินทุนหมุนเวียน (Esco Revolving Fund) เป็นต้น รวมทั้งการด าเนินการในปีงบประมาณ 2559 ที่ทาง พพ. จะต้องด าเนินงานโครงการด้านอนุรักษ์พลังงาน จ านวนอย่างน้อย 40 โครงการนั้น ทาง พพ. จึงต้องมีการบริหารติดตามงานและการประเมินผลการด าเนินงานโครงการด้านการอนุรักษ์พลังงาน เป็นการประเมินผลแบบครบวงจร ทั้งการประเมินภาพรวมโครงการ ทางด้านบริบท ปัจจัยป้อน กระบวนการ และผลผลิต โดยเน้นการประเมินเชิงเทคนิคที่สามารถพิสูจน์ผลประหยัดพลังงานได้ เพื่อทบทวน ตรวจวัดวิเคราะห์และแสวงหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคจากปัจจัยต่างๆดังที่กล่าวมา รวมถึงการน าเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นแล้วในระหว่างการด าเนินการตามแผนการอนุรักษ์พลังงานมาปรับใช้ให้ทันทีท่วงทีเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าและได้ผลผลิตเป็นไปตามแผนงานที่ก าหนดไว้ และจัดท าเป็นมาตรฐานวิธีการพิสูจน์ผลประหยัดพลังงาน (Measurement and Verification ; M&V) ของมาตรการ ที่จะได้เป็นวิธีการให้กับโครงการอื่นๆน าไปใช้ต่อไปในอนาคต ตลอดจนจัดท าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อยู่ในฐานข้อมูล เพื่อให้ด าเนินการประเมินผลได้อย่างถูกต้องและไม่ซ้ าซ้อน อีกทั้งการตรวจติดตามการด าเนินโครงการด้านอนุรักษ์พลังงานที่ก าลังด าเนินงานในปัจจุบันนับว่ามีความจ าเป็นเพื่อตรวจสอบและก ากับดูแลให้การด าเนินโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพในการด าเนินงานมากยิ่งขึ้น จึงมีความจ าเป็นต้องว่าจ้างหน่วยงานภายนอกที่มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านการอนุรักษ์พลังงาน เข้ามาช่วยในการด าเนินงานโครงการ

    1.1.2 โครงการบริหารติดตามงานและประเมินผลด้วยวิธีการพิสูจน์ผลประหยัดพลังงานของโครงการ ตามแผนเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2559 5 /326

    (5.2) วิธีการด าเนินงาน 1. รวบรวมข้อมูล ทบทวน และศึกษา วิเคราะห์โครงการทางด้านการอนุรักษ์พลังงานที่ของบประมาณจาก

    กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานที่ด าเนินโครงการโดย พพ. ทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2559 2. ก าหนดแนวทาง รูปแบบการประเมินผลและเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์อย่างถูกต้องสอดคล้องตามหลัก

    วิชาการ เช่น เครื่องมือทางสถิติ เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ เคร่ืองมือทางด้านเทคนิค เป็นต้น รวมถึงการใช้สื่อสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการวิเคราะห์ทางด้านพลังงาน ในการจัดท าสรุปผลการติดตาม วิเคราะห์และจัดท าแนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหาในแต่ละโครงการ

    3. ด าเนินการสุ่มเข้าตรวจเยี่ยมและตรวจวัดพิสูจน์ผลการประหยัดพลังงาน อย่างถูกต้องสอดคล้องตามหลักวิชาการของการประเมินผลโครงการ หรือประสานขอข้อมูลจากที่ปรึกษาที่ด าเนินงานในโครงการที่มีการตรวจวัดพิสูจน์ผลการประหยัดพลังงานในโครงการ ส าหรับโครงการในปี พ.ศ.2558

    4. ด าเนินการติดตามการด าเนินโครงการตามแผนงานและประเมินผลโครงการที่ด าเนินการในปี พ.ศ. 2559 5. วิเคราะห์ประเมินผลโครงการการอนุรักษ์พลังงาน พร้อมเสนอแนวทางแก้ไขหรือปรับปรุงการด าเนินงาน

    โครงการ 6. จัดท ามาตรฐานวิธีการพิสูจน์ผลประหยัดพลังงาน (Measurement and Verification ; M&V) ของ

    มาตรการ ที่จะได้เป็นวิธีการให้กับโครงการอ่ืนๆน าไปใช้ต่อไปในอนาคต 7. จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการด าเนินโครงการ เพื่อ

    ปรับปรุงการด าเนินงานโครงการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 8. จัดท าฐานข้อมูลโครงการให้สามารถเชื่อมโยงกับฐานข้อมูล พพ. เพื่อสามารถแสดงผลสรุปการประเมินผล

    โครงการได้ 9. จัดประชุมเพื่อแถลงผลโครงการ โดยแสดงถึงผลการติดตามประเมินผลการด าเนินงาน โดยมีผู้เข้าร่วม

    ประชุมจ านวนไม่น้อยกว่า 100 คน

    (6) ผลการด าเนินโครงการ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ : (6.1) ผลการด าเนินโครงการ

    อยู่ระหว่างด าเนินการจัดซื้อจัดจ้าง

    (6.2) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลผลติ

    ได้ข้อมูลการด าเนนิการจริงของโครงการด้านการอนุรักษ์พลังงาน ผลลัพธ ์

    ข้อมูลที่ได้สามารถประเมินผลส าเร็จตามเป้าหมายของแผนอนุรกัษ์พลังงาน 20 ปี (พ.ศ.2558 – 2579)

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานแผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2559 6 /342

    1.2 กลุ่มงานค้นคว้าวิจัย ศึกษาเพ่ือการพัฒนาและส่งเสริม

    (1) ด าเนินการโดย: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

    (2) งบประมาณโครงการ : 7,189,680.00 บาท

    (3) วัตถุประสงค์โครงการ : 1. ศึกษาค่าประสิทธิภาพพลังงานขั้นสูงและขั้นต่่าของเคร่ืองดูดฝุ่นชนิดลากพื้น และตู้แช่เย็นแสดงสินค้า 2. จัดท่าร่างกฎกระทรวง ก่าหนดเคร่ืองดูดฝุ่นชนิดลากพื้นที่มีประสิทธิภาพสูง และร่างกฎกระทรวง ก่าหนดตู้

    แช่เย็นแสดงสินค้าที่มีประสิทธิภาพสูง 3. จัดท่าร่างมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่่าเครื่องดูดฝุ่นชนิดลากพื้น และร่างมาตรฐานประสิทธิภาพ

    พลังงานขั้นต่่าตู้แช่เย็นแสดงสินค้า

    (4) ระยะเวลาโครงการ : 12 เดือน

    (5) ความเป็นมา/วิธีการด าเนินงาน : (5.1) ความเป็นมา

    ปัจจุบันเครื่องดูดฝุ่นกลายเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประจ่าบ้านที่ผู้บริโภคใช้กันอย่างแพร่หลาย เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายในการท่าความสะอาดที่อยู่อาศัย หรืออาคารส่านักงานโดยทั่วไป ซึ่งใช้ก่าลังไฟฟ้าตั้งแต่ 700 -2,000 watt และจากการศึกษาข้อมูลการตลาดโดยที่ปรึกษาโครงการฯ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปี 2552 พบว่า ในประเทศไทยมีผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดูดฝุ่น จ่านวน 20 ราย และประมาณการยอดจ่าหน่ายเครื่องดูดฝุ่นเฉลี่ย ในช่วงปี 2553 – 2557 จ่านวน 400,000 เครื่องต่อปี ซึ่งมีอัตราการจ่าหน่ายเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.5 ต่อปี

    ในขณะเดียวกัน ตู้แช่เย็นแสดงสินค้าก็เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าอีกประเภทหนึ่งที่เรามักพบเห็นได้ในชีวิตประจ่าวัน เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการถนอมอาหารและเครื่องดื่มให้คงความสดใหม่ ในขณะที่ผู้ใช้งานก็สามารถเลือกหยิบสินค้าภายในตู้ได้อย่างสะดวกสบาย ซึ่งในปัจจุบันปริมาณของตู้แช่เย็นแสดงสินค้ามีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ตามธุรกิจร้านกาแฟหรือร้านเบเกอร่ี และร้านค้าสะดวกซื้อต่างๆ โดยใช้ก่าลังไฟฟ้าตั้งแต่ 300 – 500 watt ซึ่งจากการศึกษาข้อมูลทางการตลาดโดยที่ปรึกษาโครงการฯ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พบว่า ผลิตภัณฑ์ตู้แช่เย็นแสดงสินค้าภายในประเทศมียอดจ่าหน่ายเฉลี่ยประมาณ 190,000 เคร่ืองต่อปี ซึ่งมีอัตราการจ่าหน่ายเพิ่มข้ึนทุกปี

    เพื่อเป็นการสนับสนุนให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การจัดท่ากฎกระทรวงฯ ก่าหนดเคร่ืองดูดฝุ่นชนิดลากพื้นประสิทธิภาพสูง และก่าหนดตู้แช่เย็นแสดงสินค้าประสิทธิภาพสูง จึงเป็นโครงการที่ส่งผลดีต่อการอนุรักษ์พลังงานในภาพรวมของประเทศ และคาดว่ามีศักยภาพในการประหยัดพลังงานสูง สามารถเห็นผลได้ชัดเจน เป็นรูปธรรม มีความเหมาะสมและสามารถด่าเนินการ ได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ผลิต ผู้จ่าหน่าย ผู้ใช้ และเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม

    1.2.1 โครงการศึกษาทบทวนเครื่องดูดฝุ่นชนิดลากพื้น และตู้แช่เย็นแสดงสินค้า เพื่อจัดท าประสิทธิภาพพลังงาน ร่างกฎกระทรวงเฉพาะด้าน ตาม พรบ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน

    (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานแผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2559 7 /342

    (5.2) วิธีการด าเนินงาน 1. ศึกษาและทบทวนการจัดท่าค่าประสิทธิภาพพลังงานของเครื่องดูดฝุ่นชนิดลากพื้น และค่าประสิทธิภาพ

    พลังงานของตู้แช่เย็นแสดงสินค้า ที่เคยจัดท่าไว้แต่ยังมิได้มีการประกาศใช้ 2. ศึกษารายละเอียดของเครื่องดูดฝุ่นชนิดลากพื้น และตู้แช่เย็นแสดงสินค้า ที่จ่าหน่ายในประเทศไทยและใน

    กลุ่มประเทศต่างๆ เช่น อเมริกา ยุโรป เอเชีย ฯลฯ โดยจ่าแนกตามประเภท ชนิด ขนาด ประสิทธิภาพพลังงาน ตลอดจนมาตรฐานวิธีการทดสอบ มาตรฐานห้องปฏิบัติการทดสอบ คุณสมบัติต่างๆ และข้อมูลการใช้พลังงานเพื่อใช้เป็นแนวทางในการด่าเนินงานที่เหมาะสมกับประเทศไทย

    3. ศึกษาและวิเคราะห์เทคโนโลยี ข้อมูลการตลาด การผลิตและจ่าหน่าย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งศักยภาพในการประหยัดพลังงาน

    4. ด่าเนินการสุ่มตัวอย่างเพื่อทดสอบตามมาตรฐานที่ได้ศึกษาไว้ ทั้งนี้หลักการสุ่มตัวอย่าง ต้องเป็นไปตามหลักการทางสถิติ

    5. วิเคราะห์ผลการศึกษา เพื่อก่าหนดระดับค่าประสิทธิภาพพลังงานขั้นสูงและขั้นต่่า 6. จัดสัมมนาและให้มีการร่วมแสดงความคิดเห็นจากผู้เก่ียวข้องจากภาครัฐและเอกชน 7. จัดท่าร่างกฎกระทรวงฯ ประกาศกระทรวงฯ เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน และจัดท่าร่างมาตรฐานประสิทธิภาพ

    พลังงานขั้นต่่า

    (6) ผลการด าเนินโครงการ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ : (6.1) ผลการด าเนินโครงการ

    อยู่ระหว่างด่าเนินการจัดซื้อจัดจ้าง (6.2) ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลผลติ ร่างกฎกระทรวงเครื่องจักรประสิทธิภาพสูงและวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน และร่างมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานขั้นต่่าของเครื่องดูดฝุ่นชนิดลากพื้นและตู้แช่เย็นแสดงสินค้า รวมถึงข้อมูลอื่นๆ ที่ใช้ประกอบการพิจาณาที่ทันสมัย น่าเชื่อถือตามหลักวิชาการ

    ผลลัพธ์ สามารถช่วยลดการใช้พลังงานในประเทศลงได้ ส่งผลดีกับเศรษฐกิจภาพรวมของประเทศ และช่วยลดการ

    ปล่อยก๊าชเรือนกระจกลงได้

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานแผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2559 8 /342

    (1) ด าเนินการโดย: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

    (2) งบประมาณโครงการ : 4,030,640.00 บาท

    (3) วัตถุประสงค์โครงการ : เพื่อศึกษาจัดท่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์ยางรถจักรยานยนต์เฉพ�