9
ชุดการเรียนรูความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ดานการยศาสตร เรื่อง : ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลัก การยศาสตร 1. หัวขอ ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร 2. วัตถุประสงค ภายหลังการเรียนรู ผูรับการอบรมสามารถ 1. ระบุโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตรได 2. บอกปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตรได 3. บอกอาการแสดงเบื้องตนของโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลัก การยศาสตรได 4. อธิบายแนวทางปองกันโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตรได 3. ระยะเวลา 45 นาที 4. สื่อและอุปกรณที่ใช 1. แผนดีวีดี เรื่องผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร 2. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร 3. แบบทดสอบความรูกอนเรียนเรื่อง ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร 4. แบบทดสอบความรูหลังเรียนเรื่อง ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร 5. เครื่องคอมพิวเตอร และแอลซีดี 6. ดินสอสําหรับผูรับการอบรม 5. ขั้นตอนการเตรียมตัวของวิทยากร 1. ศึกษาแผนการสอนใหเขาใจ 2. ทบทวนพาวเวอรพอยท 3. ทบทวนเอกสารประกอบคําบรรยาย 4. เตรียมแบบทดสอบความรูกอนและหลังเรียน 5. เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร และแอลซีดีใหพรอม 6. จองหองอบรม 6. วิธีการสอนและกิจกรรมที่ใช 1. การบรรยาย 2. การฉายดีวีดี 3. การซักถาม

ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและ ... · 2015-07-18 · ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและอาช

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและ ... · 2015-07-18 · ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและอาช

ชุดการเรยีนรูความปลอดภยัและอาชีวอนามยั ดานการยศาสตร เรือ่ง : ผลกระทบตอสขุภาพจากการทํางานผิดหลกั การยศาสตร

1. หัวขอ ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร 2. วัตถุประสงค ภายหลังการเรียนรู ผูรับการอบรมสามารถ

1. ระบุโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตรได 2. บอกปจจัยเส่ียงท่ีทําใหเกิดโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตรได 3. บอกอาการแสดงเบื ้องตนของโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลัก

การยศาสตรได 4. อธิบายแนวทางปองกันโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตรได

3. ระยะเวลา 45 นาที 4. สื่อและอุปกรณที่ใช

1. แผนดีวีดี เร่ืองผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร 2. เอกสารประกอบการบรรยายเร่ือง ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร 3. แบบทดสอบความรูกอนเรียนเร่ือง ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร 4. แบบทดสอบความรูหลังเรียนเร่ือง ผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร 5. เคร่ืองคอมพิวเตอร และแอลซีดี 6. ดินสอสําหรับผูรับการอบรม

5. ขั้นตอนการเตรียมตัวของวิทยากร 1. ศึกษาแผนการสอนใหเขาใจ 2. ทบทวนพาวเวอรพอยท 3. ทบทวนเอกสารประกอบคําบรรยาย 4. เตรียมแบบทดสอบความรูกอนและหลังเรียน 5. เตรียมเคร่ืองคอมพิวเตอร และแอลซีดีใหพรอม 6. จองหองอบรม

6. วิธีการสอนและกิจกรรมที่ใช 1. การบรรยาย 2. การฉายดีวีดี 3. การซักถาม

Page 2: ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและ ... · 2015-07-18 · ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและอาช

2 6 -

7. ขัน้ตอนการบรรยาย ลําดบัที่

หัวขอ พาวเวอรพอยท (ตวัเลขในวงเลบ็คอืลาํดบัที ่

ของพาวเวอรพอยท)

ระยะเวลา (นาที)

แนวการอธบิาย

1. วัตถุประสงค

วัตถุประสงค 1) ระบุโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจ า ก ก า ร ทํ า ง า น ผิ ด ห ลั ก การยศาสตรได 2) บอกปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตรได 3) บอกอาการแสดงเบื้องตนของโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตรได 4) อธิบายแนวทางปองกันโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตรได

(2)

2 - อธิบายใหผูอบรมเขาใจถึงวัตถุประสงคของการอบรม

2. ทดสอบ ความรูกอนเรียน

การทดสอบความรูกอนเรียน

(3)

3 - แจกแบบทดสอบความรูกอนเรียน - อธิบายถึงเหตุผลท่ีทําการวัดความรู กอนเรียนวาเพื่อจะไดทราบถึงประสิทธิภาพการฝกอบรมและ

อธิบายวิธีการทําแบบทดสอบ โดยใหกาaหนา

ขอที่ถูก และกา r หนาขอที่ผิด และมีเวลาทํา 3 นาที

3. กลาวนําเขาสูการอบรม

วิ ท ย า ก ร ก ล า ว นํ า เ กี่ ย ว กั บผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร

5 - วิทยากรกลาวทักทาย และสนทนานําเขาสูหัวขอการอบรม เ ช น มี คํ าพู ดที่ ว า หาก ชีวิ ต เ ราเปรียบเสมือนเกมโยนบอลหลายลูกสลับกันไปในอากาศคลายนักเลนกล บางสิ่งเชน เงินทอง ลาภ ยศ นั้น เปรียบเสมือนเปนลูกบอลยางซ่ึงแมวาเราจะพลาดพลั้งทําตกกี่คร้ัง บอลนั้นก็สามารถที่จะกระเดงกระดอนกลับมาใหเราเลนตอได แตบอลที่สําคัญคือสุขภาพน้ันเปนเชนลูกแกว การพลาดพลั้งทําลูกแกวตกไป แมเปนเพียงแครอยตําหนิเล็กๆ รอยหัก แหวง หรือแตกละเอียด ก็ลวนแตเปนสิ่งที่เราไมสามารถแกไขใหกลับมาเปนลูกแกวที่แววใสดังเดิมไดสุขภาพจึงเปนสิ่งสําคัญที่เราควรดูแลประคับประคอง ระมัดระวังในการใชชีวิตใหสมดุลมากที่สุด การมีสุขภาพดีนั้นขึ้นกับปจจัยหลายประการ ปจจัยหนึ่งที ่สําคัญคือสภาพแวดลอม ซ่ึงในการทํางานของคนทั่วไปประมาณ 8 ชั่วโมงตอวันน้ัน ยอมตองอยูในสภาวะแวดลอมตางๆ

Page 3: ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและ ... · 2015-07-18 · ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและอาช

3 6 -

ลําดบัที่

หัวขอ พาวเวอรพอยท (ตวัเลขในวงเลบ็คอืลาํดบัที ่

ของพาวเวอรพอยท)

ระยะเวลา (นาที)

แนวการอธบิาย

โดยที่คนเราจะมีขีดจํากัดตอความทนทานในสภาวะแวดลอมตางๆ เชน เครื่องจักร เครื่องมือ โตะ เกาอี้ แสงสวาง เสียงดัง อุณหภูมิ ความสั่นสะเทือน ฯลฯ หากรางกายตองทนตอสภาวะแวดลอมที่ไมสะดวกสบาย ฝนธรรมชาติ การออกแบบสถานท่ีทํางานที่ไมเหมาะสมกับสรีรวิทยาก็อาจจะทําใหเกิดอันตรายขึ้นได

(4)

- วิทยากรชักชวนใหผู เขาอบรมรวมกันแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนประสบการณวาผลกระทบจากการออกแบบงานที่ไมเหมาะสมจะทําใหเกิดโรคหรืออาการผิดปกติอะไรบาง (ดังพาวเวอรพอยทที่ 4) - จากภาพผูปฏิบัติงานตองยกช้ินงานไปยังที่เก็บทีละอัน ตองออกแรงทํางานมาก ใชเวลาในการเดินไปกลับเสียเวลาโดยใชเหตุ - วิทยากรกลาวตอวาการบาดเจ็บและการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นจากการออกแบบเครื่องมือหรือลักษณะงานที่ไมเหมาะสม มักจะเปนอาการที่คอยๆ เกิดขึ้นอยางชาๆ อาจใชเวลาเปนเดือนเปนป - ผูปฏิบัติงานจะรูสึกวาเกิดความไมสะดวกสบายในการทํางาน เชน รูสึกเจ็บปวดกลามเน้ือหรือขอตอซ่ึงเปนสัญญาณที่สําคัญที่จะตองสืบสวนหาสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้น กอนที่จะเปนสาเหตุนําไปสูการบาดเจ็บหรือเจ็บปวยที่รุนแรงหรือเกิดการทุพพลภาพไดอยางถาวรไดตอไปในอนาคต

4. โรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร

โรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร ที่สําคัญ ไดแก 1) การบาดเจ็บสะสมของระบบกลามเนื้อและกระดูกโครงราง เชน อาการปวด หลัง ปวดคอปวดไหล

(5)

15 - วิทยากรเกร่ินนําวาผลกระทบตอสุขภาพจากการทํางานผิดหลักการยศาสตรนั้นทําใหเกิดโรคหรือกลุมอาการผิดปกติที่สําคัญ ดังนี้

สาระเกี่ยวกับปวดหลัง

(6) – (9)

- อาการปวดหลัง เปนความผิดปกติที่พบไดบอย ในบุคคลวัยทํางาน เกิดขึ้นไดจากหลายสาเหตุ อาการปวดหลังที่มีสาเหตุจากการทํางานมักเปนการบาดเจ็บตอกลามเน้ือหรือเอ็น ซ่ึงเกิดจากการทํางานกมๆ เงยๆ นั่ง ยืน นอน ยกของในทาที่ไมถูกตอง หรือยกของหนัก ทําใหเกิดอาการปวดตรงกลางหลังสวนลาง (พาวเวอรพอยทที่ 8)

Page 4: ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและ ... · 2015-07-18 · ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและอาช

4 6 -

ลําดบัที่

หัวขอ พาวเวอรพอยท (ตวัเลขในวงเลบ็คอืลาํดบัที ่

ของพาวเวอรพอยท)

ระยะเวลา (นาที)

แนวการอธบิาย

สาระเกี่ยวกับปวดคอ

(10) – (13)

- จากพาวเวอรพอยทที่ 9 จะเห็นวาหากมีทาทางการยกของถูกหลักการยศาสตร แรงที่กดกระดูกสันหลังจะกระจายไมทําใหเกิดปญหาปวดหลัง - อาการปวดคอ อาจเกิดจากการทํางานโดยใชอิริยาบถ หรือทาทางที่ไมถูกตอง ทําใหกลามเนื้อคออักเสบหรือกลามเนื้อเคล็ด - วิทยากรอธิบายตามพาวเวอรพอยท

สาระเกี่ยวกับปวดไหล

(14) – (16)

- อาการปวดไหล เกิดไดจากหลายสาเหตุ ในวัยทํางาน อาการปวดไหลมักมีความสัมพันธกับการใชขอไหลทํางานอยางมาก ทําใหมีการเสียดสีและอักเสบของเอ็นและกลามเน้ือบริเวณรอบๆ ขอไหล โดยเฉพาะลักษณะงานที่ตองมีการกางแขน ยกแขนสูงบอยๆ - วิทยากรอธิบายตามพาวเวอรพอยท

1) การบาดเจ็บสะสมของเสนเอ็นและปลอกหุมเสนเอ็น เชน เสนเอ็นขอศอกอักเสบ ปลอกหุมเอ็นนิ้วหัวแมมืออักเสบ โรคน้ิวไกปน และกอนถุงน้ําที่ขอมือ

(17) - (27)

(18) – (21)

- เสนเอ็นขออักเสบ เปนโรคที่ เกิดในบริเวณตําแหนงที่เสนเอ็นไปยึดเกาะกับกระดูกขอศอก สาเหตุเกิดจากมีการอักเสบตรงที่ยึดเกาะของกลามเน้ือที่ใชกระดกขอมือขึ้น ซ่ึงจะเกาะอยูตรงปุมกระดูกทางดานนอกของขอศอก (พาวเวอรพอยทที่ 18 และ 20) สวนใหญการอักเสบมักเกิดจากการใชกลามเน้ือกลุมนี้ทํางานซํ้าๆ การทํางานที่ตองกระดกขอมือหรืองอขอมือซํ้าๆ เกร็งขอมือในทาใดทาหนึ่งเปนเวลานานๆ - ปลอกหุมเอ็นนิ้วหัวแมมืออักเสบ เปนการอักเสบ ที่ทําใหเกิดการตีบแคบของปลอกหุมเอ็นของเสน - เอ็นสองเสน คือเสนเอ็นที่ใช

(22) – (24)

- เหยียดนิ ้วและเสนเอ็นที ่ใชกางนิ้วหัวแมมือ (พาวเวอรพอยทที่ 23 - 24) อาการผิดปกตินี้ มักพบในผูที่มีการใชงานของมือรวมกับหัวแมมือในลักษณะซํ้าๆ เชน หยิบจับสิ่งของ หรือใชมือในทากางน้ิวหัวแมมือออกทางดานขางและกระดกข้ึนบอยๆ

(25) – (27)

- เสนเอ็นอักเสบแบบนิ้วไกปน เปนกลุมอาการปกติที่พบไดบอย โรคนี้มีชื่อเรียกอีกหลายอยาง เชน นิ้วล็อก ซึ่งความหมายคําวา “Trigger” นั้น คือ ภาวะที่มีการสะดุดหรือติดสะดุด บางคนจึงเรียกโรคนี้วา “โรคนิ้วติดสะดุด” สวนอาการล็อกน้ันจะเปนระยะสุดทายของโรค ซ่ึงขอนิ้วมือจะไมสามารถเหยียดออกเองได หรือเหยียดออกมาไดดวยความยากลําบาก

Page 5: ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและ ... · 2015-07-18 · ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและอาช

5 6 -

ลําดบัที่

หัวขอ พาวเวอรพอยท (ตวัเลขในวงเลบ็คอืลาํดบัที ่

ของพาวเวอรพอยท)

ระยะเวลา (นาที)

แนวการอธบิาย

ผูปวยโรคเสนเอ็นอักเสบแบบนิ้วไกปนจะเกิดอาการเอ็นนิ้วมือสะดุดและติดแข็ง เน่ืองจากเมื่อเสนเอ็นอักเสบก็จะเกิดการบวม มีการหนาตัวของเสนเอ็น (พาวเวอรพอยทที่ 26) ทําใหเคลื่อนที่ผานปลอกหุมเสนเอ็นไดยาก และถาเสนเอ็นหนาตัวมากๆ ก็จะคลําไดเปนกอน พบบอยในเสนเอ็นที่มีหนาที ่งอนิ ้วนาง นิ ้วกลาง และนิ ้วหัวแมมือ ตําแหนงที่เกิดการอักเสบ คือ บริเวณโคนน้ิว อาจพบในมือเพียงขางเดียวหรือเปนทั้งสองขางก็ได - กอนถุงน้ําที่ขอมือ เปนกอนผิดปกติที่พบไดบอยที่สุดบริเวณมือและขอมือโรคนี้ถือเปนภาวการณเสื่อมของเนื้อเยื่อออนบริเวณขอมือ และพัฒนาเปนกอนถุงน้ํา มีลักษณะเปนถุงน้ํานุม รูปรางกลม ผิวเรียบ อาจเจ็บหรือไมก็ได โดยที่ผนังของกอนถุงน้ําเปนเยื่อบุขอหรือเยื่อหุมเสนเอ็น ภายในกอนถุงน้ําจะมีน้ําไขขอบรรจุอยู (พาวเวอรพอยทที่ 27) เช่ือวาภาวะนี้มีสาเหตุนํามาจากการบาดเจ็บหรือการอักเสบเล็กๆ นอยๆ บริเวณขอมือ ตอมามีการเกิดเปนถุงน้ําขึ้น

1) การบาดเจ็บเกี่ยวเน่ืองกับเสนประสาท เชน กลุ มอาการเสนประสาทถูกกดทับที่ขอมือ และกลุมอาการของเสนประสาท อัลนารถูกกดทับบริเวณที่ขอศอก

- กลุมอาการเสนประสาทถูกกดทับที่ ขอมือ หรือกลุ มอาการอุ โมงค คารพั ล (Carpal Tunnel Syndrome ; CTS) เปนปญหาการกดทับเสนประสาทที่พบบอยที่สุด เกิดจากเสนประสาทมี เดียน (Median Nerve) ซ่ึงเปนเสนประสาทที่เลี้ยงกลามเนื้อบริเวณแขนและมือ และรับความรูสึก บริเวณฝามือ นิ้วหัวแมมือ นิ้วช้ี นิ้วกลาง และคร่ึงหน่ึงของนิ้วนาง เสนประสาทน้ีจะเดินทางตั้งแตบริเวณตนคอจนถึงปลายน้ิวมือ ซ่ึงบริเวณขอมือน้ัน จะตองลอดชองเล็กๆ ซ่ึงประกอบดวยกระดูกขอมือ และแผนพังผืด เหนียวๆ ที่อยูขางใตของกระดูกขอมือ เรียกชองเล็กๆ นี้วา อุโมงคคารพัล (Carpal Tunnel) เมื่ออุโมงคนี้เกิดการแคบลงจากสาเหตุตางๆ เชนการอักเสบ การบวมนํ้า หรือมีสิ่งอื่นมากดทับ ก็จะเปนผลใหเสนประสาทมีเดียนถูกบีบรัด (พาวเวอรพอยทที่ 30) ทําใหมีอาการปวดชาที่ปลายมือ

- กลุมอาการเสนประสาทอัลนาร ถูกกดทับที่บริเวณขอศอก หรือกลุมอาการอุโมงคคิวบิตัล (Cubital Tunnel Syndrome ; CTD) ความสั่นสะเทือนเฉพาะมือและแขน และกลุมอาการผิดปกติจากการใชกลามเน้ือมือแทนคอน โรคที่สําคัญที่เกิดขึ้นคือ โ ร คนิ้ ว มื อ ซี ด ข า ว จ า กคว าม สั่ น ส ะ เ ทื อ น

Page 6: ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและ ... · 2015-07-18 · ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและอาช

6 6 -

ลําดบัที่

หัวขอ พาวเวอรพอยท (ตวัเลขในวงเลบ็คอืลาํดบัที ่

ของพาวเวอรพอยท)

ระยะเวลา (นาที)

แนวการอธบิาย

(28) – (32)

(Vibration White Fingers: VWF) ที่เกิดกับนิ้วมือ มือ และแขน จากการใชเคร่ืองมือที่มีความสั่นสะเทือน อาการประกอบดวย การเสียวแปลบ ชา และซีดขาวของน้ิวมือ (พาวเวอรพอยทที่ 34 - 35) อาจเสียความสามารถในการควบคุมกลามเน้ือ และเมื่อมีเลือดไหลเวียนไปหลอเลี้ยงดังเดิม อาจมีอาการปวดและการรับความรูสึกรอน - เย็นลดลง ในรายที่รุนแรง จะมีการทําลายผนังหลอดเลือดแดงที่นิ้ว ทําใหรูหลอดเลือดเล็กลง และจะมีการดําเนินโรครุนแรงข้ึนเร่ือยๆ

4) การบาดเจ็บเกี่ยวเนื่องกับการไหลเวียนโลหิต เชน กลุมอาการผิดปกติจากความสั่นสะเทือนเฉพาะมือและ แขน และกลุมอาการผิดปกติจากการใชกลามเน้ือมือแทนคอน

(33) - (37)

- กลุมอาการนี้เกิดจากความสั่นสะเทือน ซ่ึงจะเกิดที่มือและแขน - วิทยากรอธิบายตามภาพที่ปรากฏในพาวเวอรพอยท

5) ผลกระทบอื่นๆ เชน ความเครียด เมือยลาสายตา

(39)

- วิทยากรอธิบายผลกระทบอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นคือความเคลียด และความเม่ือยลาของสายตา เปนตน (เร่ืองความเครียดจะมีการอธิบายในพาวเวอรพอยทที่ 43 และดีวีดี) - เปดดีวีดีเพื่อชมสรุปเร่ืองโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร

5. ปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร

ปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิดโรคหรือกลุ มอ าการผิ ดปกติ จ ากการทํางานผิดหลักการยศาสตร : 1) การ ทํางาน ซํ้ าซาก มี การเคลื่อนไหวซํ้าๆ บอยๆ 2) กิจกรรมที่ตองใชแรงมาก 3) กิจกรรมที่ยาวนาน 4) ทาทางที่ไมเหมาะสม 5) การทํางานแบบสถิต เชน การยกของคางไวนานๆ 6) การกดเฉพาะที่ เชนเคร่ืองมือที่มีสันคม 7) สภาพแวดลอมในการทํางานที่ไมเหมาะสม เชน อุณหภูมิที่รอนหรือเย็นเกินไป ความสั่นสะเทือน

(40)

3 - วิทยากรอธิบายสรุปวาผลกระทบตางๆ ที่กลาวมาขางตน มีสาเหตุมาจากปจจัยเสี่ยงที่สําคัญอยู 7 ปจจัย (ตามพาวเวอรพอยท)

Page 7: ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและ ... · 2015-07-18 · ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและอาช

7 6 -

ลําดบัที่

หัวขอ พาวเวอรพอยท (ตวัเลขในวงเลบ็คอืลาํดบัที ่

ของพาวเวอรพอยท)

ระยะเวลา (นาที)

แนวการอธบิาย

6. อาการแสดงเบื้องตนของโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร

อาการแสดงเบ้ืองตนของโรคหรือกลุ มอ าการผิ ดปกติ จ ากการทํางานผิดหลักการยศาสตร : 1) รูสึกแปลบๆ หรือชาเปนพักๆ ที่นิ้วมือและมือ 2) ปวดที่นิ้วมือ มือ และขอมือบางคร้ังอาจปวดราว ขึ้นไปที่แขนหรือหัวไหล 3) กลามเน้ือมือออนแรงลง หรือมีปญหาในการทํางานประสานสัมพันธของมือ 4) อาการปวดหรือชามักจะเปนมากตอนกลางคืนหรือตอนเชามืด

(41)

3 - วิทยากรอธิบายขยายความเพิ่มเติมเกี่ยวกับอาการแสดงเบ้ืองตนของโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร (อธิบายตามพาวเวอรพอยท) - ดังนั้นหากผูปฏิบัติงานมีอาการแสดงตางๆ เหลานี้ จะตองปรึกษากับ จป.ระดับวิชาชีพ แพทยและพยาบาลประจําโรงงาน หรือคนหาสาเหตุและหาทางแกไขตอไป

7 แนวทางปองกันโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร

แนวทางปองกันโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร: 1) การใชทาทางใหถูกวิธี 2) ลดปริมาณแรงที่ตองใช 3) ใชวิธีการหยิบจับที่เหมาะสม 4) มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนงาน 5) ลดการเคลื่อนไหวซํ้าซาก 6) ปรับปรุงสภาพการทํางานและสภาพแวดลอม

(42)

5 วิทยากรอธิบายขยายความเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางปองกันโรคหรือกลุมอาการผิดปกติจากการทํางานผิดหลักการยศาสตร: 1) การใชทาทางใหถูกวิธี : แขนสวนบนอยูใกลลําตัว ยกวัตถุดวยมือทั้งสองขาง ถือวัตถุในลักษณะที่สมดุล 2) ลดปริมาณแรงที่ตองใช โดยลดนํ้าหนักของวัตถุ การเปลี่ยนขนาด รูปทรงของวัตถุ ลดจํานวนครั้งในการขนยาย 3) ใชวิธีการหยิบจับที่เหมาะสม เชน ใชอุปกรณ เคร่ืองมือ ดามจับที่ออกแบบใหทํางานไดสะดวก มืออยูในตําแหนงที่เปนธรรมชาติ 4) มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนงาน ไมควรเปนงานที่ใชกลามเนื้อกลุมเดียวกัน) 5) ลดการเคลื่อนไหวซํ้าซาก 6) ปรับปรุงสภาพแวดลอม เชน ลดแรงสั่ น สะเทือน อุณหภูมิเหมาะสม - วิทยากรกลาวเสริมวา ในการทํางาน ควรมีการหยุดพัก เปลี่ยนอิริยาบถเปนระยะ ไมนั่งหรือยืนหรือทํางานลักษณะเดิมติดตอกันนานเกินไป ควรลุกไปเปลี่ยนอิริยาบถ พักสายตาบาง และอาจบริหารรางกาย ยืดกลามเน้ืออยางงายๆ เพื่อคลายความยึดตึงของแผนหลัง คอ และไหล เอียงศีรษะไปมา กมศีรษะลงและ เงยข้ึนเหยียดงอแขน เปนตน

Page 8: ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและ ... · 2015-07-18 · ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและอาช

8 6 -

ลําดบัที่

หัวขอ พาวเวอรพอยท (ตวัเลขในวงเลบ็คอืลาํดบัที ่

ของพาวเวอรพอยท)

ระยะเวลา (นาที)

แนวการอธบิาย

(ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับอุปกรณพยงุหลัง)

(43)

นอกจากนี้ ยังอาจเลือกใชอุปกรณชวยดานการยศาสตร เชน ที่พยุงขอมือ (Wrist Support) ในการทํางานหนาจอคอมพิวเตอร แตสําหรับอุปกรณพยุงหลัง (Back Support) นั้น มักมีผูเขาใจผิดและนํามาใชเปนอุปกรณชวยในการยกของหนัก ซึ่งการใชอุปกรณพยุงหลังในระยะยาวโดยไมไดออกกําลังกาย หรือเคลื่อนไหวในชวงการเคลื่อนไหวปกตินานๆ มักทําใหเกิดการออนแรงของกลามเน้ือ บางกรณีแทนที่จะทําใหเกิดผลดี กลับกลายเปนผลเสียตอสุขภาพรางกายได ดังน้ัน การใชอุปกรณผยุงหลังในขณะทํางาน ตองอยูภายใตการดูแลของแพทย ทั้งนี้ ผูปฏิบัติงานควรหม่ันสังเกตอาการผิดปกติของรางกาย รูวิธีรักษาพยาบาลเบ้ืองตน เชนการหยุดพักการใชงาน การประคบเย็น ประคบรอน การนวด และไปพบแพทยเมื่อพบวามีอาการแสดงที่เปนขอบงช้ีหรือเปนสัญญาณอันตรายตามที่กลาวมาขางตน

8 ปญหาความเครียดจากการทํางาน

ความเครียด : สภาวะจิตใจและรางกายท่ีเปลี่ยนแปลงไป เปนผลจากการที่บุคคลตองปรับตัวตอสิ่งกระ ตุ นหร ือสิ ่ง เ ร าต า ง ๆ ในสิ่งแวดลอมที่กดดันหรือคุกคามใหเกิดความทุกข ความไมสบายใจ

(44)

2 - วิทยากรกลาวเพิ่มเติมวานอกจากความผิดปกติเกี่ยวกับระบบกลามเนื้อ กระดูก เสนเอ็น และระบบไหลเวียนโลหิตที่เปนผลกระทบจากปญหาด า น ก า ร ย ศ า ส ต ร แ ล ว ป ญ ห า สุ ข ภ า พ จิ ต โดยเฉพาะความเครียดนั้น ถือเปนปญหาสําคัญที่พบบอยและมีผลกระทบมาก - วิทยากรอธิบายความหมายของความเครียด และกลาววา แมวาความเครียดในระดับต่ําในร ะ ยะสั้ น ๆ จะทํ า ใ ห มี ก า รตื่ น ตั ว มี ค ว ามกระตือรือรนในการทํางาน แตก็มีขอเสียคือ ถามีความเครียดระดับสูงในระยะยาวไมไดรับการแกไขจะสงผลเสียตอสุขภาพของตนเอง มีผลกระทบกับค ร อบ ค รั ว ก า ร ง า น โ ด ย ผล ก ร ะ ทบ ข อ งความเครียดตอการงานนั้น จะทําใหไมมีสมาธิในการทํางาน เสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ ทํางานบกพร อ งและผิ ดพลาด ขาดงานบ อย และประสิทธิภาพในการทํางานลดลง

9 แนวทางปองกันและผอนคลายความเครียดจากการทํางาน

(เปดรายการดีวีดี)

(45)

4 - เปดดีวีดี เร่ืองแนวทางปองกันและผอนคลายความเครียดจากการทํางาน - วิทยากรสรุป และเปดโอกาสใหผู เขาอบรมซักถาม แลกเปล่ียนความคิดเห็น กอนจบการบรรยาย

Page 9: ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและ ... · 2015-07-18 · ชุดการเร ียนรู ความปลอดภ ัยและอาช

9 6 -

ลําดบัที่

หัวขอ พาวเวอรพอยท (ตวัเลขในวงเลบ็คอืลาํดบัที ่

ของพาวเวอรพอยท)

ระยะเวลา (นาที)

แนวการอธบิาย

10 ทดสอบความรูหลังเรียน

การทดสอบความรูหลังเรียน

(46)

3 - แจกแบบทดสอบความรูหลังเรียน - อธิบายถึงเหตุผลที่ทําการวัดความรูหลังเรียนวาเพื่อจะไดทราบถึงประสิทธิภาพการฝกอบรม และอธิ บ า ยวิ ธี ก า รทํ า แบบทดสอบ โ ดย ให ก า

เคร่ืองหมาย aหนาขอที่ถูก และกา r หนาขอที่ผิด และมีเวลาทํา 3 นาที