25
หนา 1 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ ....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 1  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

Page 2: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 2  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

ขอบเขตเนื้อหา สวนท่ี 1 ความรูเกี่ยวกบัโครงสราง อํานาจหนาท่ี และภารกจิของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นและกระทรวงมหาดไทย ประวัติความเปนมากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 6 อํานาจหนาท่ี 6 วิสัยทัศน (Vision) 7 พันธกิจกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Mission) 7 ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) 8 โครงสรางกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 9 ความรูเกี่ยวกับกระทรวงมหาดไทย 10 อํานาจหนาท่ีและการแบงสวนราชการ 11 พันธกิจกระทรวงมหาดไทย 12 สวนท่ี 2 ความรูพืน้ฐานในการปฏิบตัิราชการ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม 14 สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม 55 พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 64 สรุป พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 80 สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 86 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 101 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) 112 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 116 นโยบายของรัฐบาล 124 สวนท่ี 3 ความรูพืน้ฐานเฉพาะตําแหนง สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม 147 สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และท่ีแกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับท่ี 13 พ.ศ.2552 153 สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และ

แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กาํหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับท่ี 2 พ.ศ.2549 173 พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขถึง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 176 พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 202 มาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ฐานของสถานศึกษา สงักัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น 206 มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาสังกัดทองถิ่น 212 สวนท่ี 4 แนวขอสอบ แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534

แกไขเพิ่มเติม ถึงฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2553 218 แนวขอสอบ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการ

บานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 238 แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2548 252

Page 3: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 3  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ.2547 275 แนวขอสอบ พรบ.องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540

และแกไขเพิ่มเติม ถึง(ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2552 287 แนวขอสอบ เทศบาล พ.ศ.2496 และแกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับท่ี 13) พ.ศ.2552 309 แนวขอสอบ พรบ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537

และแกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับท่ี 6) พ.ศ. 2552 339 แนวขอสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2549 367 แนวขอสอบพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542

และท่ีแกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 380 แนวขอสอบพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545 396 แนวขอสอบระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2551 400

Page 4: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 4  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

ความรูเกี่ยวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนสวนราชการที่จัดตั้งข้ึนใหมในสังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญในการสงเสริมสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนําองคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้ อํานาจหนาที่

1.ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 2.สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบูรณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและ

วางระบบในการติดตามและประเมิน ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น 3.ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอํานาจ หนาที่ขององคการปกครองสวนทองถิ่น

4.กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น

5.สงเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบ ประมาณ การพัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมท้ังวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญชี และ การพัสดุขององคการปกครองสวนทองถิ่น

6.สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

7.กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชี้วัดเพื่อเปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน

8.สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

9.พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการขององคการปกครองสวนทองถิ่น

Page 5: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 5  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

10.พัฒนาบุคลากรขององคการปกครองสวนทองถิ่นและของกรม 11.ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรือตามที่

กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศใชกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551 โดยกําหนดใหมีราชการบริหารสวน ภูมิภาค และจัดตั้งสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดข้ึนในกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เพื่อทําหนาที่ประสานงานและปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทนของกรม ในราชการสวนภูมิภาค เพื่อใหการดําเนินการกํากับ ดูแล และสนับสนุนการปฎิบัติงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางคลองตัวและมีประสิทธิภาพ และจัดตั้งกลุม ตรวจสอบภายในและกลุมพัฒนาระบบบริหารข้ึนในกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ สนับสนุนการปฏิบัติงานของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และพัฒนาการบริหารของสวนราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา

วิสัยทัศน (Vision) "มุงสรางทองถิ่นไทยใหเขมแข็ง โปรงใส กาวสูประเทศไทย 4.0 อยางมั่นคงตาม

แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง"

พันธกิจ (Mission) 1.พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นและองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีความ

ทันสมัย มีขีดสมรรถนะสูงและพัฒนาบุคลากรใหเปนมืออาชีพ 2.นํานวัตกรรมมาใชและพัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศในการบริหารและการ

จัดการของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นและองคกรปกครองสวนทองถิ่นสอดคลองกับประเทศไทย 4.0

3.สรางการมีสวนรวมในการบริหารจัดการของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นและองคกรปกครอง สวนทองถิ่น เพื่อนําไปสูความเขมแข็ง

4.ใหคําปรึกษาแนะนํา (Consult) ประสานและสนับสนุน (Facilitate) การบริหารจัดการและการใหบริการสาธารณะขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหสามารถปฏิบัติงาน ตามอํานาจหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพภายใตหลักธรรมาภิบาล

Page 6: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 6  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

Page 7: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 7  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเตมิ

พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนไปเพื่อประโยชนสุขของ

ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุมคาในเชิงภารกิจแหงรัฐ การลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหนวยงานที่ไมจําเปน การกระจายภารกิจและทรัพยากรใหแกทองถิ่น การกระจายอํานาจตัดสินใจ การอํานวยความสะดวก และการตอบสนองความตองการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผูรับผิดชอบตอผลของงาน

ในการปฏิบัติหนาที่ของสวนราชการ ตองใชวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี โดยเฉพาะอยางย่ิงใหคํานึงถึงความรับผิดชอบของผูปฏิบัติงาน การมีสวนรวมของประชาชน การเปดเผยขอมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแตละภารกิจ

ใหจัดระเบียบบริหารราชการแผนดินดังนี้ (1) ระเบียบบริหารราชการสวนกลาง (2) ระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค (3) ระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น

นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลางมีดังนี้

(1) สํานักนายกรัฐมนตรี (2) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเทากระทรวง (3) ทบวง ซึ่งสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง (4) กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ซึ่งสังกัด

หรือไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง

Page 8: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 8  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

การบริหารราชการในตางประเทศ “คณะผูแทน” หมายความวา บรรดาขาราชการฝายพลเรือน หรือขาราชการฝาย

ทหารประจําการในตางประเทศซึ่งไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ สถานกงสุล สถานรองกงสุล สวนราชการของกระทรวงการตางประเทศซึ่งเรียกชื่อเปนอยางอื่นและปฏิบัติหนาที่เชนเดียวกับสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ และคณะผูแทนถาวรไทยประจําองคการระหวางประเทศ

“หัวหนาคณะผูแทน” หมายความวา ขาราชการสังกัดกระทรวงการตางประเทศ ซึ่งไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงหัวหนาคณะผูแทนตามระเบียบพิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ในกรณีของคณะผูแทนถาวรไทยประจําองคการระหวางประเทศ ใหหมายความวา ขาราชการสังกัดสวนราชการซึ่งไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงหัวหนาคณะผูแทนถาวรไทยประจําองคการระหวางประเทศ

“รองหัวหนาคณะผูแทน” หมายความวา ขาราชการสังกัดกระทรวงการตางประเทศ ซึ่งไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหนาคณะผูแทน ในกรณีของคณะผูแทนถาวรไทยประจําองคการระหวางประเทศ ใหหมายความวา ขาราชการสังกัดสวนราชการ ซึ่งไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในลักษณะเดียวกัน

ใหหัวหนาคณะผูแทนเปนผูรับนโยบายและคําสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหนารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการใหเหมาะสมกับการปฏิบัติราชการในตางประเทศ และเปนหัวหนาบังคับบัญชาบุคคลในคณะผูแทน และจะใหมีรองหัวหนาคณะผูแทนเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหนาคณะผูแทนก็ได

หัวหนาคณะผูแทนมีอํานาจและหนาที่ดังนี้ (1) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ (2) บริหารราชการตามท่ีคณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือ

ตามท่ีนายกรัฐมนตรีส่ังการในฐานะหัวหนารัฐบาล (3) บังคับบัญชาบุคคลในคณะผูแทนและขาราชการฝายพลเรือนที่มิใชบุคคล

ในคณะผูแทนซึ่งประจําอยูในประเทศที่ตนมีอํานาจหนาที่ (4) รายงานขอเท็จจริงและความเห็นเกี่ยวกับผลการปฏิบัติราชการของบุคคล

เพื่อประกอบการพิจารณาของผูบังคับบัญชาของสวนราชการตนสังกัดเก่ียวกับการแตงตั้งและการเล่ือนข้ันเงินเดือน

Page 9: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 9  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

สรุป พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลกัเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ด ีพ.ศ. 2546

พระราชกฤษฎีกานี้มีผลบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา “สวนราชการ” หมายความวา สวนราชการตามกฎหมายวาดวยการปรับปรุง

กระทรวง ทบวง กรม และหนวยงานอื่นของรัฐที่อยูในกํากับของราชการฝายบริหาร แตไมรวมถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่น

“รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งข้ึนโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา

“ขาราชการ” หมายความรวมถึงพนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานในสวนราชการ นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้

การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี

การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ไดแกการบริหารราชการเพื่อบรรลุเปาหมายดังตอไปนี้

(1) เกิดประโยชนสุขของประชาชน (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ (4) ไมมีข้ันตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเปน (5) มีการปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหทันตอสถานการณ (6) ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการ (7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอยางสม่ําเสมอ

การบริหารราชการเพ่ือใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน

การบริหารราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชน หมายถึง การปฏิบัติราชการที่มีเปาหมายเพื่อใหเกิดความผาสุกและความเปนอยูที่ดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัยของสังคมสวนรวม ตลอดจนประโยชนสูงสุดของประเทศ

Page 10: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 10  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

ในการบริหารราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชน สวนราชการจะตองดําเนินการโดยถือวาประชาชนเปนศูนยกลางที่จะไดรับการบริการจากรัฐ และจะตองมีแนวทางการบริหารราชการดังตอไปนี้

(1) การกําหนดภารกิจของรัฐและสวนราชการตองเปนไปเพื่อวัตถุประสงคและสอดคลองกับแนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงตอรัฐสภา

(2) การปฏิบัติภารกิจของสวนราชการตองเปนไปโดยซ่ือสัตยสุจริต สามารถตรวจสอบไดและมุงใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชนทั้งในระดับประเทศและทองถิ่น

(3) กอนเร่ิมดําเนินการ ตองวิเคราะหผลดีและผลเสียใหครบถวนทุกดาน กําหนดขั้นตอนการดําเนินการที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบ

(4) รับฟงความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและประชาชนผูรับบริการ เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะตอผูบังคับบัญชา

(5) ในกรณีที่เกิดปญหาและอุปสรรคจากการดําเนินการ ใหรีบแกไขปญหาและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว การบริหารราชการเพ่ือใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ

การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ใหสวนราชการปฏิบัติดังตอไปนี้

(1) จัดทําแผนปฏิบัติราชการไวเปนการลวงหนา (2) การกําหนดแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการ ตองมีรายละเอียดของข้ันตอน

ระยะเวลาและงบประมาณที่จะตองใชในการดําเนินการของแตละขั้นตอน เปาหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชี้วัดความสําเร็จของภารกิจ

(3) มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีสวนราชการกําหนดข้ึน

(4) ในกรณีที่การปฏิบัติภารกิจ หรือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการเกิดผลกระทบตอประชาชน ใหเปนหนาที่ของสวนราชการที่จะตองดําเนินการแกไขหรือบรรเทาผลกระทบนั้น หรือเปล่ียนแผนปฏิบัติราชการใหเหมาะสม

สวนราชการมีหนาที่พัฒนาความรูในสวนราชการ เพื่อใหมีลักษณะเปนองคการแหงการเรียนรูอยางสม่ําเสมอ โดยตองรับรูขอมูลขาวสารและสามารถประมวลผลความรูในดานตางๆ เพื่อนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติราชการไดอยางถูกตอง รวดเร็วและเหมาะสม

Page 11: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 11  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

สรุประเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548

ความหมาย “งานสารบรรณ” หมายความวา งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแตการจัดทําการรับ การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย

“หนังสือ” หมายความวา หนังสือราชการ “สวนราชการ” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สํานักงาน หรือหนวยงานอื่นใด

ของรัฐทั้งในราชการบริหารสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค ราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือในตางประเทศและใหหมายความรวมถึงคณะกรรมการดวย

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะบุคคลที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการใหปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และใหหมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน

ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ ชนิดของหนังสือ

หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เปนหลักฐานในราชการ ไดแก 1. หนังสือที่มีไปมาระหวางสวนราชการ 2. หนังสือที่สวนราชการมีไปถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีไปถึง

บุคคลภายนอก 3. หนังสือที่หนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงสวน

ราชการ 4. เอกสารที่ทางราชการจัดทําข้ึนเพื่อเปนหลักฐานในราชการ 5. เอกสารที่ทางราชการจัดทําข้ึนตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับ หนังสือ มี 6 ชนิด คือ 1. หนังสือภายนอก 2. หนังสือภายใน

Page 12: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 12  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

3. หนังสือประทับตรา 4. หนังสือส่ังการ 5. หนังสือประชาสัมพันธ 6. หนังสือที่เจาหนาที่ทําข้ึน หรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ

หนังสือภายนอก

หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดตอราชการท่ีเปนแบบพิธีโดยใชกระดาษตราครุฑเปนหนังสือติดตอระหวางสวนราชการ หรือสวนราชการมีถึงหนวยงานอื่นใดซึ่งมิใชสวนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก หนังสือภายใน

หนังสือภายใน คือ หนังสือติดตอราชการที่เปนแบบพิธีนอยกวาหนังสือภายนอกเปนหนังสือติดตอภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ใชกระดาษบันทึกขอความ หนังสือประทับตรา

หนังสือประทับตรา คือ หนังสือที่ใชประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหนาสวนราชการระดับกรมข้ึนไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการระดับกรมข้ึนไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา หนังสือประทับตราใหใชไดทั้งระหวางสวนราชการกับสวนราชการ และระหวางสวนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไมใชเรื่องสําคัญ ไดแก

1. การขอรายละเอียดเพิ่มเติม 2. การสงสําเนาหนังสือ ส่ิงของ เอกสาร หรือบรรณสาร 3. การตอบรับทราบท่ีไมเกี่ยวกับราชการสําคัญ หรือการเงิน 4. การแจงผลงานที่ไดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการที่เกี่ยวของทราบ 5. การเตือนเรื่องที่คาง 6. เรื่องซึ่งหัวหนาสวนราชการระดับกรมข้ึนไปกําหนดโดยทําเปนคําส่ัง ใหใชหนังสือ

ประทับตรา

Page 13: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 13  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)

ในการจัดทําแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ครั้งนี้ สศช . ไดจัดทําบนพื้นบานของยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ.2560-2579) ซึ่งเปนแผนแมบทหลักของการพัฒนาประเทศ เปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) การปรับโครงสรางประเทศไทยไปสูประเทศไทย 4.0 ประเด็นการปฏิรูปประเทศ และผลการระดมความคิดเห็นจากประชาชนในทุกภาคสวนของสังคมไทย นําไปสูการกําหนดหลักการพื้นฐานของแผนฯ วัตถุประสงค เปาหมายและตัวชี้วัด รวมทั้งยุทธศาสตรการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ดังนี้ แผนรวมการพัฒนาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1.หลักการสําคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ประกอบดวย (1) ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตอเนื่องมาตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9-ฉบับที่ 11 (2) ยึด “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” มุงสรางคุณภาพชีวิตและสุขภาวะที่ดีสําหรับคนไทย พัฒนาคนใหมีความเปนคนท่ีสมบูรณ (3) ยึด “วิสัยทัศนภายใตยุทธศาสตรชาติ 20 ป มาเปนกรอบของวิสัยทัศนประเทศไทย ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12” (4) ยึด “เปาหมายอนาคตประเทศไทยป 2579” ที่เปนเปาหมายในยุทธศาสตรชาติ 20 ป มาเปนกรอบการกําหนดเปาหมายที่จะบรรลุใน 5 ปแรก และเปาหมายในระดับยอยลงมา ควบคูกับกรอบเปาหมายที่ย่ังยืน และ (5) ยึดหลักการนําไปสูการปฏิบัติใหเกิดผลสัมฤทธ์ิอยางจริงจังใน 5 ปที่ตอยอดไปสูผลสัมฤทธิ์ที่เปนเปาหมายระยะยาว 2.เงื่อนไขและสภาพแวดลอมของการพัฒนา การพัฒนาประเทศไทยภายใตแนวทางการพัฒนาที่กําหนดดวยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติที่ผานมา สงผลใหประเทศไทยมีระ ดับการพัฒนาที่ สู ง ข้ึนตามลําดับทั้ ง ในดานเศรษฐกิจและสั งคม ขณะเดียวกันประเทศไทยยังคงตองเผชิญกับเงื่อนไขและสภาพแวดลอมของการพัฒนาที่หลีกเล่ียงไมไดในหลายดาน ดังนั้น ชวงเวลา 5 ปของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงเปนชวงเวลาสําคัญที่ประเทศไทยตองปฏิรูปและปรับเปล่ียนอยางเปนระบบครั้งใหญเพื่อใหโครงสรางทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเหมาะสมกับภูมิทัศนใหมของโลก ยืดหยุน

Page 14: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 14  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเตมิ "จังหวัด" หมายความวา จังหวัดตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน "อําเภอ" หมายความวา อําเภอตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน และใหหมายความรวมถึงกิ่งอําเภอดวย "ขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัด" หมายความวา ขาราชการท่ีปฏิบัติกิจการขององคการบริหารสวนจังหวัดและไดรับเงินเดือนโดยมีอัตราเงินเดือนและตําแหนงในงบประมาณที่องคการบริหารสวนจังหวัดกําหนดข้ึน "ราชการสวนทองถิ่นอ่ืน" หมายความวา เทศบาล สุขาภิบาล องคการบริหารสวนตําบล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร และราชการสวนทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งข้ึน นอกจากองคการบริหารสวนจังหวัด "ขอบัญญัติ" หมายความวา ขอบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัด "รัฐมนตรี" หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาองคการบริหารสวนจังหวัดประกอบดวยสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด ซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชนตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น

ผูมีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดนอกจากตองมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นแลว จะตองไมเปนผูที่พนจากตําแหนงสมาชิกสภาทองถิ่น คณะผูบริหารทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น รองผูบริหารทองถิ่น เลขานุการหรือที่ปรึกษาผูบริหารทองถิ่น เพราะเหตุมีสวนไดเสียไมวาทางตรงหรือทางออมในสัญญา หรือกิจการที่กระทํากับองคกรปกครองสวนทองถิ่น ยังไมถึงหาปนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด ใหถือเกณฑจํานวนราษฎรแตละจังหวัดตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปสุดทายกอนปที่มีการเลือกตั้ง จังหวัดใดมีราษฎรไมเกินหาแสนคน ใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดไดย่ีสิบส่ีคน จังหวัดใดมีราษฎรเกินหาแสนคนแตไมเกินหนึ่งลานคน ใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภา

Page 15: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 15  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

พระราชบัญญัตกิารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553

ภูมพิลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2542

เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ

โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ

ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 บรรดาบทกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคําส่ังอื่นในสวนที่ไดบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “การศึกษา” หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของ

บุคคลและสังคมโดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรคจรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม การเรียนรูและปจจัยเกื้อหนุนใหบุคคลเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

“การศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความวา การศึกษากอนระดับอุดมศึกษา

Page 16: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 16  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

“การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความวา การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหวางการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

“สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษาหรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอํานาจหนาที่หรือมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษา

“สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความวา สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

“มาตรฐานการศึกษา” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการเทียบเคียงสําหรับการสงเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา

“การประกันคุณภาพภายใน” หมายความวา การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัดท่ีมีหนาที่กํากับดูแลสถานศึกษานั้น

“การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความวา การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหนวยงานภายนอกที่สํานักงานดังกลาวรับรอง เพื่อเปนการประกันคุณภาพและใหมีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

“ผูสอน” หมายความวา ครูและคณาจารยในสถานศึกษาระดับตาง ๆ “ครู” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการ

สอนและการสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษาท้ังของรัฐและเอกชน

“คณาจารย” หมายความวา บุคลากรซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน

“ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแตละแหง ทั้งของรัฐและเอกชน

Page 17: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 17  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย ของสถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิน่

มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่นม ี14 มาตรฐาน 63 ตวับงชี ้ประกอบดวย มาตรฐานดานปจจัยทางการศึกษา (จํานวน 3 มาตรฐาน 17 ตัวบงชี้) มาตรฐานที่ 1 ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถในการจัดประสบการณการเรียนรูที่เนนเด็กเปนสาํคัญ

ตัวบงช้ีที ่1.1 ครูมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชพีและจรรยาบรรณของวิชาชพี

ตัวบงช้ีที ่1.2 ครูมีความรูความเขาใจปรัชญา หลักการและจุดหมายการจัดการศึกษาปฐมวัย

ตัวบงช้ีที ่1.3 ครูมีการวิเคราะหศักยภาพ จัดทําสารนิทัศน และเขาใจเด็กเปนรายบคุคล

ตัวบงช้ีที ่1.4 ครูมีความสามารถในการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและนําไปจัดประสบการณการเรียนรูที่เนนเด็กเปนสําคัญ

ตัวบงช้ีที่ 1.5 ครูบริหารจดัการชั้นเรียนที่สรางวินยัเชิงบวก ตัวบงช้ีที่ 1.6 ครูมคีวามสามารถในการแสวงหาสื่อและเทคโนโลยีมาใชเพื่อ

พัฒนาการเรียนรู ตัวบงขี้ที่ 1.7 ครมูีการะประเมินพฒันาการที่สอดคลองกับสภาพจริงเหมาะสมกับวยั และนําผลการประเมนิมาพัฒนาเด็กใหเต็มตามศักยภาพ ตัวบงช้ีที่ 1.8 ครูมีการศึกษาวิจัยเพือ่พัฒนาการเรียนรูของเด็ก ตัวบงช้ีที่ 1.9 ครูจัดสภาพแวดลอมทีเ่อื้อตอการเรียนรูไดอยางเหมาะสม ตัวบงช้ีที่ 1.10 ครูมีปฎสัิมพันธที่ดีกับเด็ก ผูปกครอง และชุมชน

Page 18: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 18  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 แกไขเพิ่มเติม ถงึฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553

19."ก.ธ.จ." มีผูใดเปนประธาน ผูแทนภาคประชาสังคม ก. ผูตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตร ี ข. ผูตรวจราชการสํานักเลขานุการกรม ค. ผูตรวจราชการสํานักกอง ง. ปลัดกระทรวง ตอบ ก. ผูตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรี

ก.ธ.จ. ประกอบดวยผูตรวจราชการสํานักนายกรัฐมนตรีซึ่งมีเขตอํานาจในจังหวัดเปนประธานผูแทนภาคประชาสังคม ผูแทนสมาชิกสภาทองถิ่นที่ไมไดดํารงตําแหนงผูบริหารและผูแทนภาคธุรกิจเอกชน ทั้งนี้ จํานวนวิธีการสรรหาและการปฏิบัติหนาที่ของ ก.ธ.จ. ใหเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2550 มาตรา 55/1 วรรคสอง) 20.ในกรณีที่ ก.ธ.จ. พบวามีการละเลยไมปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบหรือขอบังคบั ก.ธ.จ. จะตองแจงใหผูใดทราบ ก. ผูวาราชการจังหวัด ข. หัวหนาสวนราชการ ค. รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

ในกรณีที่ ก.ธ.จ. พบวามีการละเลยไมปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบหรือขอบังคับหรือมีกรณีที่เปนการทุจริต ใหเปนหนาที่ของ ก.ธ.จ. ที่จะตองแจงใหผูวาราชการจังหวัด หัวหนาสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอ่ืนของรัฐที่เก่ียวของ แลวแตกรณี เพื่อดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตอไป (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2550 มาตรา 55/1 วรรคสาม) 21.คณะกรมการจังหวดัประกอบดวยผูใดเปนประธาน ก. ปลัดทบวง ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดจังหวัด ง. อัยการจังหวัด ตอบ ข. ผูวาราชการจังหวัด

ในจังหวัดหนึ่ง นอกจากจะมีผูวาราชการจังหวัดเปนหัวหนาปกครอง

Page 19: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 19  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

บังคับบัญชาขาราชการ และรับผิดชอบงานบริหารราชการของจังหวัดดังกลาวในมาตรา 54 ใหมีปลัดจังหวัดและหัวหนาสวนราชการประจําจังหวัด ซึ่งกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน มาตรา 55) 22.ผูทําหนาที่ชวยเหลือผูวาราชการจังหวัด และมีอํานาจบังคับบัญชาขาราชการฝายบริหารสวนภูมิภาค สังกัดกระทรวง ทบวง กรมในจังหวดันั้นคือใคร ก. ปลัดทบวง ข. ปลัดจังหวัด ค. หัวหนาสวนราชการประจําจังหวดั ง. ขอ ข. และ ขอ ค. ถูกตอง ตอบ ง. ขอ ข. และ ขอ ค. ถูกตอง

ใหมีปลัดจังหวัดและหัวหนาสวนราชการประจําจังหวัดซึ่งกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ สงมาประจําทําหนาที่เปนผูชวยเหลือผูวาราชการจังหวัด และมีอํานาจบังคับบัญชาขาราชการฝายบริหารสวนภูมิภาคซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมนั้น ในจังหวัดนั้น (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน มาตรา 55) 23.หัวหนาปกครองบังคับบัญชา บรรดาขาราชการในอําเภอและรับผิดชอบงานบรหิารราชการของอําเภอคอืใคร ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. นายอําเภอ ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. ปลัดอําเภอ ตอบ ข. นายอําเภอ

ในอําเภอหนึ่งมีนายอําเภอคนหนึ่งเปนหัวหนาปกครองบังคับบัญชาบรรดา ขาราชการในอําเภอ และรับผิดชอบงานบริหารราชการของอําเภอ (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 62) 24.ในกรณีที่ไมมีผูดํารงตําแหนงนายอําเภอ ผูใดเปนผูรักษาราชการแทน ก. ผูวาราชการจังหวัด ข. ปลัดอําเภอ ข. นายก อบต. ง. หัวหนาหนวย ตอบ ข. ปลัดอําเภอ

ในกรณีที่ไมมีผูดํารงตําแหนงนายอําเภอ ใหผูวาราชการจังหวัดแตงตั้ง ปลัดอําเภอหรือหัวหนาสวนราชการประจําอําเภอผูมีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเปนผูรักษาราชการ (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 64)

Page 20: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 20  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงานราชการ พ.ศ.2547

22.ขอใดถือวาเปนการกระทําความผิดทางวินัยอยางรายแรง ก. ทุจริตตอหนาที่ราชการ ข. จงใจไมปฏิบัติตามกฎจนเปนเหตุใหเสียหายอยางรายแรง ค. ไมปฏิบัตติามเงื่อนไขในสัญญา ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

การกระทําความผิดดังตอไปนี้ ถอืวาเปนความผิดวินัยอยางรายแรง (ระเบียบฯ ขอ 24) (1) กระทําความผิดฐานทจุริตตอหนาทีร่าชการ

(2) จงใจไมปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคบั หรอืเงื่อนไขทีท่างราชการกําหนดใหปฏิบัติจนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหายอยางรายแรง

(3) ปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลอจนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหายอยางรายแรง

(4) ไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในสัญญา หรอืขัดคําส่ังหรือหลีกเล่ียงไมปฏิบัตติามคําส่ังของผูบังคับบญัชาตามขอ 22 จนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหายอยางรายแรง

(5) ประมาทเลินเลอจนเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสยีหายอยางรายแรง (6) ละทิ้งหรือทอดท้ิงการทํางานเปนเวลาติดตอกนัเกินกวาเจ็ดวัน สําหรับตําแหนงที่

สวนราชการกําหนดวันเวลาการมาทํางาน (7) ละทิ้งหรือทอดท้ิงการทํางานจนทําใหงานไมแลวเสร็จตามระยะเวลาที่กําหนดจน

เปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสยีหายอยางรายแรง สําหรับตําแหนงที่สวนราชการกําหนดการทํางานตามเปาหมาย

(8) ประพฤตชิั่วอยางรายแรง หรือกระทําความผิดอาญาโดยมีคําพิพากษาถึงที่สุด ใหจําคุกหรือหนักกวาโทษจําคุก (9) การกระทําอื่นใดท่ีสวนราชการกําหนดวาเปนความผิดวินัยอยางรายแรง

Page 21: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 21  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

23.การละท้ิงหรือทอดท้ิงงานติดตอกันเกินกวากี่วัน ถอืวาเปนความผิดวินัยอยางรายแรง ก. 3 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 15 วัน ตอบ ค. 7 วัน

ละทิ้งหรือทอดท้ิงการทํางานเปนเวลาติดตอกันเกินกวาเจ็ดวัน สําหรับตําแหนงที่สวนราชการกําหนดวันเวลาการมาทํางาน (ระเบียบฯ ขอ 24)

24.เมื่อผลการสอบสวนปรากฎวาพนักงานราชการกระทําผิดวินัยอยางรายแรง ใหมีบทลงโทษอยางไร ก. ไลออก ข. ภาคทัณฑ ค. ตัดเงินคาตอบแทน ง. ลดข้ันเงินคาตอบแทน ตอบ ก. ไลออก

เมื่อมีกรณีทีพ่นักงานราชการถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยอยางรายแรง ใหหัวหนาสวนราชการจัดใหมีคณะกรรมการสอบสวนเพือ่ดําเนินการสอบสวนโดยเร็ว และตองใหโอกาสพนักงานราชการที่ถูกกลาวหาชี้แจงและแสดงพยานหลักฐานเพื่อใหเกิดความเปนธรรม ในกรณีที่ผลการสอบสวนปรากฏวาพนักงานราชการผูนั้นกระทาํความผิดวินัยอยางรายแรง ใหหัวหนาสวนราชการมีคําส่ังไลออก แตถาไมมีมูลกระทําความผิดใหส่ังยุติเรื่อง (ระเบียบฯ ขอ 25) 25.ในกรณีที่พนักงานราชการกระทาํความผิดวนิัยไมรายแรง ใหมีบทลงโทษอยางไร ก. ภาคทัณฑ ข. ตัดเงินคาตอบแทน ค. ลดข้ันเงินคาตอบแทน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

ในกรณีที่ปรากฏวาพนักงานราชการกระทําความผิดวินัยไมรายแรงตามที่สวนราชการกําหนด ใหหัวหนาสวนราชการสั่งลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงินคาตอบแทน หรอืลดขั้นเงินคาตอบแทน ตามควรแกกรณีใหเหมาะสมกับความผิด (ระเบียบฯ ขอ 26)

Page 22: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 22  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

แนวขอสอบพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553

4. การศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายความถึงขอใด ก. การศึกษาระดับปฐมวัย ข. การศึกษาระดับมัธยมศึกษา ค. การศึกษากอนระดับอุดมศึกษา ง. การศึกษาตลอดชีวิต

ตอบ ค. การศึกษากอนระดับอุดมศึกษา “การศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความวา การศึกษากอนระดับอุดมศึกษา

5.หนวยงานที่มีอํานาจหนาที่หรือมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษาคือ ก. มหาวิทยาลัย ข. ศูนยการเรียน ค. โรงเรียน ง. สถานศึกษา ตอบ ง. สถานศึกษา

“สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษาหรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอํานาจหนาที่หรือมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษา 6. มาตรฐานการศึกษา มีความหมายถึงขอใด

ก. ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแหง

ข. เปนหลักในการเทียบเคียงสําหรับการสงเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล

ค. การประกันคุณภาพทางการศึกษา ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “มาตรฐานการศึกษา” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่

พึงประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักใน

Page 23: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 23  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

การเทียบเคียงสําหรับการสงเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา 7. การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษา เปนการประกันคุณภาพแบบใด ก. การประกันคุณภาพภายใน ข. การประกันคุณภาพภายนอก ค. การควบคุมการประกันคุณภาพ ง. การติดตามและการประเมินผล

ตอบ ก. การประกันคุณภาพภายใน “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความวา การประเมินผลและการติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัดท่ีมีหนาที่กํากับดูแลสถานศึกษานั้น 8. บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและการสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตางๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน หมายความถึงใคร ก. ผูสอน ข. ครู ค. คณาจารย ง. ผูบริหารสถานศึกษา ตอบ ข. ครู

“ครู” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและการสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน 9. บุคลากรซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน หมายถึง ก. ผูสอน ข. ครู ค. คณาจารย ง. ผูบริหารสถานศึกษา ตอบ ค. คณาจารย

“คณาจารย” หมายความวา บุคลากรซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน

Page 24: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 24  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

39. คณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูปการศึกษามีจํานวนกี่คน ก. สามคน ข. หาคน ค. เจ็ดคน ง. เกาคน ตอบ ง. เกาคน

40. ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสํานักงานปฎิรูปการศึกษามีจํานวนไมนอยกวากี่คน ก. สามคน ข. หาคน ค. เจ็ดคน ง. เกาคน

ตอบ ก. สามคน คณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูปการศึกษาจํานวนเกาคน ประกอบดวยประธาน

กรรมการและกรรมการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูมีความรูความสามารถ มีประสบการณและมีความเชี่ยวชาญดานการบริหารการศึกษา การบริหารรัฐกิจ การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ การเงินและการคลัง กฎหมายมหาชน และกฎหมายการศึกษา ทั้งนี้ จะตองมีผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งมิใชขาราชการหรือผูปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐรวมอยูดวย ไมนอยกวาสามคน 41.คณะกรรมการบริหารและเลขาธิการมีวาระการดํารงกี่ป ก. หนึ่งป ข. สองป ค. สามป ง. ส่ีป ตอบ ค. สามป

คณะกรรมการบริหารและเลขาธิการมีวาระการดํารงตําแหนงวาระเดียวเปนเวลาสามป เมื่อครบวาระแลวใหยุบเลิกตําแหนงและสํานักงานปฏิรูปการศึกษา 42. คณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูปการศึกษามีคณะหน่ึงมีจํานวนกี่คน

ก. 15 คน ข. 30 คน ค. 45 คน ง. 120 คน ตอบ ก. 15 คน

Page 25: พนักงานว ิชาการศ ึกษา · แก ไขเพ ิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 166 สรุปพ.ร.บ.กําหนดแผนและข

หนา 25  

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น..... โดยนักวิชาการเตรียมสอบราชการ

....... ตําแหนง พนักงานวิชาการศึกษา ....

43.คณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูปการศึกษาคณะหนึ่งที่สมควรไดรับการเสนอชื่อเปนคณะกรรมการบริหารจํานวนกี่ เทาของจํานวนประธานและกรรมการบริหาร ก. สองเทา ข. สามเทา ค. ส่ีเทา ง. หาเทา ตอบ ก. สองเทา 44.ผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของกับการปฎิรูปการศึกษา คือ ก. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ข. อธิการบดีสถาบันอุดมศึกษา ค. คณะบดีคณะครุศาสตร ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ก. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 45.คณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูปการศึกษา ประกอบดวย ก. ผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของ ข. อธิบดีของสถาบันอุดมศึกษา ค. ผูแทนสมาคมวิชาการ ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของจํานวนหาคน ไดแก ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัด

ทบวงมหาวิทยาลัย เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ และผูอํานวยการสํานักงบประมาณ 46. ผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของกับคณะกรรมการบริหารสํานักงานปฎิรูปการศึกษา มีจํานวนกี่คน ก. สามคน ข. หาคน ค. เจ็ดคน ง. เกาคน

ตอบ ข. หาคน ผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของจํานวนหาคน ไดแก ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปลัด

ทบวงมหาวิทยาลัย เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ และผูอํานวยการสํานักงบประมาณ