39
ไฟฟ้าเคมี อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์

ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ไฟฟ้าเคมี อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย ์

Page 2: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ และศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล ์

เมื่อต่อเซลล์ไฟฟ้าดังนี้

แผนภาพเซลล์

ค่าความต่างศักย์ที่วัดได้ คือ ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์

Zn (s) + Cu2+ (aq) Cu (s) + Zn2+ (aq)

[Cu2+] = 1 M & [Zn2+] = 1 M

Zn (s) | Zn2+ (1 M) || Cu2+ (1 M) | Cu (s)

Page 3: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน

นักวิทยาศาสตร์ก าหนดให ้ครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน หรือขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน มีศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน 0.00 V

ใช้เป็นคร่ึงเซลล์ในการเปรียบเทียบหาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ชนิดอื่นๆ

E0 = 0 V Standard Hydrogen Electrode

(SHE)

2e- + 2H+ (1 M) H2 (1 atm)

ปฏิกิริยารีดักชันของโปรตอน

Page 4: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล ์

Eo = 0.34 V cell Eocell = Eo

cathode – Eoanode

0.34 = Eocathode – 0.00 V

Eocathode = + 0.34 V

Page 5: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล ์

Eocell = Eo

cathode – Eoanode

0.76 V = 0.00 V – Eoanode

Eoanode = – 0.76 V

Eo = 0.76 V cell

Page 6: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล ์

ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ทั้ง 3 ชนิด เมื่อน ามาจัดล าดับความสามารถ ในการรับอิเล็กตรอน จะได้ดังน้ี

Page 7: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชัน (25oC)

Page 8: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชัน (25oC)

Page 9: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชัน (25oC)

Page 10: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์รีดักชัน (25oC)

Page 11: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประโยชน์ของค่า Eo

1. ใช้เปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดซ์ และตัวรีดิวซ์ เช่น

Page 12: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประโยชน์ของค่า Eo

2. ใช้ค านวณหาศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ เช่น Ex.1 ถ้าน าครึ่งเซลล์ กับครึ่งเซลล์ ท่ี 25oC มาต่อเป็นเซลล์กัลวานิก ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์นี้มีค่า เท่าใด ก าหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของคร่ึงเซลล์ ดังนี ้

Page 13: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประโยชน์ของค่า Eo

Ex.2 ถ้าน าครึ่งเซลล์ กับครึ่งเซลล์ ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์นี้มีค่าเท่าใด ก าหนดค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ ดังนี้

Page 14: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประโยชน์ของค่า Eo

Ex.3 ใส่แผ่นโลหะสังกะสีลงในบีกเกอร์ที่มีสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 1.0 mol/dm3 จงค านวณศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ และท านายว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ เกิดขึ้นเองได้หรือไม่ โดยสมการแสดงปฏิกิริยา ระหว่างโลหะสังกะสีกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเป็นดังน้ี

Page 15: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประโยชน์ของค่า Eo

Ex.4 ใส่โลหะทองค าลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1.0 mol/dm3 จงค านวณศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ และท านายว่าปฏิกิริยารีดอกซ์ เกิดขึ้นเองได้หรือไม่ โดยก าหนดปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้

Page 16: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

เซลล์ความเข้มข้น

ตัวอย่าง เซลล์ความเข้มข้นที่ประกอบด้วย 2 ครึ่งเซลล์ชนิดเดียวกัน ที่มีขั้วเหมือนกันในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ชนิดเดียวกัน แต่ความเข้มข้นต่างกัน เช่น

Page 17: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิก

เซลล์กัลวานิก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. เซลล์ปฐมภูมิ คือ เซลล์ที่สามารถน ามาประจุไฟฟ้ากลับมาใช้ ใหม่ไม่ได้ เช่น ถ่านไฟฉาย เซลล์แอลคาไลน์ เซลล์ปรอท เซลล์เงิน 2. เซลล์ทุติยภูมิ คือ เซลล์ที่สามารถน ามาประจุไฟฟ้ากลับมาใช้ ใหม่ได้ เช่น เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว เซลล์นิกเกิล แคดเมียม

Page 18: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

1. เซลล์ถ่านไฟฉาย

Page 19: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

1. เซลล์ถ่านไฟฉาย ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือ

Zn2+ รวมกับ NH3 เกิดสารประกอบเชิงซ้อน [Zn(NH3)4]2+ และ

[Zn(NH3)2(H2O)2]2+ เพื่อรักษาความเข้มข้นของ Zn2+ และ NH3

เซลล์ชนิดนีม้ีศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 โวลต ์

Page 20: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

2. เซลล์แอลคาไลน ์

Page 21: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

2. เซลล์แอลคาไลน ์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือ

เซลล์อัลคาไลน์มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ 1.5 โวลต์ น้ า และไฮดรอกไซด์ (OH–) ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาหมุนเวียนกลับไปเป็น

สารตั้งต้นของปฏิกิริยาได้อีก จึงท าให้ศักย์คงที่ตลอดการใช้งาน และใช้ได้นานกว่าเซลล์ถ่านไฟฉาย

Page 22: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

3. เซลล์ปรอท

Page 23: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

3. เซลล์ปรอท ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือ

เซลล์ปรอทมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ 1.3 โวลต์ ข้อดี คือ สามารถให้ศักย์ไฟฟ้าเกอืบคงที่ตลอดอายุการใช้งาน นิยมใช้

กันมากในเครื่องฟังเสียงส าหรับคนหพูิการ ข้อเสีย คือ ปรอทก าจัดยาก เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม

Page 24: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

4. เซลล์เงิน

Page 25: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

4. เซลล์เงิน ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น คือ

เซลล์เงินมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ 1.5 โวลต์ เซลล์เงินมขีนาดเล็ก และมีอายุการใช้งานได้นานมากแต่มีราคาแพง จึง

ใช้กับอุปกรณ์ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด เช่น เครื่องคิดเลข นาฬิกา กล้องถ่ายรูป เครื่องช่วยตรวจการเต้นของหัวใจ เครื่องช่วยฟัง

Page 26: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

5. เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน – ออกซิเจน เป็นเซลล์ที่ใช้แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สออกซิเจนผ่านเข้าไป

ในช่องแอโนด และ แคโทดตามล าดับ และใช้โซเดียมคาร์บอเนตหลอมเหลวเป็นอิเล็กโทรไลต์

ขั้วแอโนดใช้แกรไฟตผ์สมนิกเกิล ส่วนขั้วแคโทดใช้แกรไฟต์ผสมนิกเกิลและนิกเกิล (II) ออกไซด์ เพื่อช่วยเร่งปฏิกิริยาที่ขั้วไฟฟ้า

Page 27: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

5. เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน – ออกซิเจน 1. แบบ AFC 2. แบบ PEMFC

Page 28: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

5. เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน – ออกซิเจน แบบที่ 1 ; เซลล์เชื้อเพลิงแบบเบส ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ

แบบที่ 2 ; เซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปล่ียนโปรตอน ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ

Page 29: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

6. เซลล์เชื้อเพลิงแบบเกลือคาร์บอเนตหลอมเหลว ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ

Page 30: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

7. เซลล์เชื้อเพลิงโพรเพน – ออกซิเจน ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ

ปฏิกิริยาในเซลล์เชื้อเพลิงโพรเพน-ออกซิเจนนี้เสมือนกับ ปฏิกิริยาสันดาปของก๊าซโพรเพน เซลล์นี้อาจให้ ประสิทธิภาพการท างานสูงประมาณ 2 เท่าของ เครื่องยนต์ชนิดสันดาปภายใน

Page 31: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ

8. เซลล์เชื้อเพลิงแบบใช้เมทานอลโดยตรง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ

Page 32: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกทุติยภูมิ

1. เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว จัดเป็นเซลล์ทุติยภูมิ (Secondary cell) เพราะเมื่อจ่ายไฟหมดแล้วสามารถประจุไฟ ใหมไ่ดอ้ีก

Page 33: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว

1. การประจุไฟครั้งแรก

Page 34: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว

1. การประจุไฟครั้งแรก

Page 35: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว

1. การประจุไฟครั้งแรก เมื่อค านวณค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ จะได้ดังนี้

เซลล์ชนิดนี้ให้ศักย์ไฟฟ้า 2 โวลต์ เมื่อน าหลายๆเซลล์มาต่อกันแบบอนุกรมจะได้ศักย์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น เช่น แบตเตอรี่รถยนต์ที่มีจ านวนเซลล์ต่ออนุกรม 6 เซลล์ จะมีศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต ์

Page 36: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่ว

2. การจ่ายไฟ และการประจะไฟครั้งต่อไป

Page 37: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกทุติยภูมิ

2. เซลล์นิกเกิล – แคดเมียม ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ

Page 38: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกทุติยภูมิ

3. เซลล์ลิเทียม – ไอออนพอลิเมอร์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ

Page 39: ไฟฟ้าเคมี€¦ · ประเภทของเซลล์กัลวานิกปฐมภูมิ 2. เซลล์แอลคาไลน์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

ประเภทของเซลล์กัลวานิกทุติยภูมิ

4. เซลล์โซเดียม – ซัลเฟอร์ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ