31
1 การพัฒนาชุมชน โดย นายพิสันติประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน บทนํา กรมการพัฒนาชุมชน เปนหนวยงานที่ทํางานดานการพัฒนาชุมชนรวมกับประชาชน ตลอดระยะเวลา 48 โดยมีความมุงมั่นที่จะเปนหนวยงานหลักในการสงเสริมการบริหารจัดการชุมชนใหเขมแข็งอยางยั่งยืน และมีเปาหมายสูชุมชนเขมแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได คอบครัวมีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข บทบาทหนาที่ของกรมการพัฒนาชุมชน ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย .. 2552 ใหกรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจเกี่ยวกับการสงเสริมกระบวนการเรียนรู และ การมีสวนรวมของประชาชน สงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากใหมีความมั่นคงและมีเสถียรภาพโดย สนับสนุนใหมีการจัดทําและใชประโยชนจากขอมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห วิจัย จัดทํายุทธศาสตรชุมชน ตลอดจนการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของในการพัฒนาชุมชน เพื่อใหเปนชุมชนเขมแข็งอยางยั่งยืน โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี1. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติเพื่อใหหนวยงาน ของรัฐ เอกชน และผูมีสวนเกี่ยวของดานการพัฒนาชุมชน ไดใชเปนกรอบแนวทางในการดําเนินงานเพื่อ เสริมสรางความสามารถและความเขมแข็งของชุมชน 2. จัดทําและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใชเปนเครื่องมือสําหรับประเมิน ความกาวหนาและมาตรฐานการพัฒนาของชุมชน “...ขอบใจมาก ที่ตองเหน็ดเหนื่อยทํางานในหมูบานชนบท และตองประสบปญหาตางๆ มากมาย ขอใหชวยกันพัฒนาคนใหมีความฉลาด สามารถชวยตนเองได ... ในการแนะนําสงเสริม อาชีพ หรือใหคําแนะนําเรื่องตางๆ ตองทําใหบอยๆ ไมใชพูดหรือทําหนเดียว ... ความมั่นคงของ ประชาชนในชนบทเปนสวนหนึ่งที่จะสรางชาติ และปองกันประเทศเปน อยางดี...” พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พระราชทานแกพัฒนากร ในโอกาสเสด็จไปทรงกระทําพิธีเปดเขื่อนและการพลังงานไฟฟาแมน้ําพุง .สกลนคร เมื่อวันที14 พฤศจิกายน 2508

การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

1

การพัฒนาชุมชน

การพัฒนาชุมชน

โดย นายพิสันต์ิ ประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

บทนํา

กรมการพัฒนาชุมชน เปนหนวยงานที่ทํางานดานการพัฒนาชุมชนรวมกับประชาชน ตลอดระยะเวลา 48 ป โดยมีความมุงมั่นที่จะเปนหนวยงานหลักในการสงเสริมการบริหารจัดการชุมชนใหเขมแข็งอยางยั่งยืน และมีเปาหมายสูชุมชนเขมแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได คอบครัวมีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข

บทบาทหนาที่ของกรมการพัฒนาชุมชน ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 ใหกรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจเกี่ยวกับการสงเสริมกระบวนการเรียนรู และการมีสวนรวมของประชาชน สงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากใหมีความมั่นคงและมีเสถียรภาพโดยสนับสนุนใหมีการจัดทําและใชประโยชนจากขอมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห วิจัย จัดทํายุทธศาสตรชุมชน ตลอดจนการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของในการพัฒนาชุมชน เพื่อใหเปนชุมชนเขมแข็งอยางยั่งยืน โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

1. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติเพื่อใหหนวยงานของรัฐ เอกชน และผูมีสวนเกี่ยวของดานการพัฒนาชุมชน ไดใชเปนกรอบแนวทางในการดําเนินงานเพื่อเสริมสรางความสามารถและความเขมแข็งของชุมชน

2. จัดทําและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใชเปนเคร่ืองมือสําหรับประเมินความกาวหนาและมาตรฐานการพัฒนาของชุมชน

“...ขอบใจมาก ที่ตองเหน็ดเหนื่อยทํางานในหมูบานชนบท และตองประสบปญหาตางๆ มากมาย ขอใหชวยกันพัฒนาคนใหมีความฉลาด สามารถชวยตนเองได... ในการแนะนําสงเสริมอาชีพ หรือใหคําแนะนําเร่ืองตางๆ ตองทําใหบอยๆ ไมใชพูดหรือทําหนเดียว... ความมั่นคงของประชาชนในชนบทเปนสวนหนึ่งที่จะสรางชาติ และปองกันประเทศเปน อยางดี...”

พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พระราชทานแกพัฒนากร ในโอกาสเสด็จไปทรงกระทําพิธีเปดเขื่อนและการพลังงานไฟฟาแมน้ําพุง จ.สกลนคร

เม่ือวันที่ 14 พฤศจิกายน 2508

Page 2: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

2

3. พัฒนาระบบและกลไกในการสงเสริมกระบวนการเรียนรู การจัดการความรู การอาชีพ การออม และการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสรางขีดความสามารถของประชาชน ชุมชน ผูนําชุมชน องคการชุมชน และเครือขายองคการชุมชน

4. สนับสนุนและพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศชุมชน สงเสริมการใชประโยชนและการใหบริการขอมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อใชในการวางแผนบริหารการพัฒนาไดอยางมีประสิทธิภาพ

5. ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนา และสรางองคความรูเพื่อใชในงานพัฒนาชุมชน และการจัดทํายุทธศาสตรชุมชน

6. ฝกอบรมและพัฒนาขาราชการ เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ผูนําชุมชน องคการชุมชน และเครือขายองคการชุมชนใหมีความรู ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทํางาน รวมทั้งใหความรวมมือทางวิชาการดานการพัฒนาชุมชนแกหนวยงานทั้งในประเทศและตางประเทศ

7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรม หรือตามที่กระทรวง หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

1. การพัฒนาชุมชนโดยใหประชาชนมีสวนรวม

1.1 แนวคิดการพัฒนาชุมชน

1.1.1 ความหมายการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชน ประกอบดวย 2 คํา คือ การพัฒนา และชุมชน

การพัฒนา หมายถึง ทําใหเจริญ การเปล่ียนแปลง เปล่ียนสภาพ ปรับปรุงใหตางจากเดิม

ชุมชน หมายถึง การรวมตัวของบุคคล กลุม/องคกรชุมชน เครือขายองคกรชุมชน และประชาชนที่อาศัยอยูในขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน ระดับพื้นฐานท่ีสุด คือหมูบาน หรือชุมชนในรูปแบบอ่ืน ๆ ที่มีมารวมตัวกันเพื่อแกไขปญหาเดียวกัน เชน ชุมชนลุมน้ํา ชุมชนวัฒนธรรม เปนตน

การพัฒนาชุมชน (Community Development) ตามหลักการพื้นฐานเปนกระบวนการใหการศึกษา (educational process) แกประชาชนเพื่อใหสามารถพึ่งตนเองได (self – reliance) หรือชวยตนเองได (self – help) ในการคิด ตัดสินใจ และดําเนินการแกปญหา ตลอดจนตอบสนองความตองการของตนเอง และสวนรวม

1.1.2 ปรัชญาการพัฒนาชุมชน

ปรัชญาพื้นฐานเบ้ืองตนของนักพัฒนาชุมชน คือ ความเช่ือมั่นและศรัทธาในมนุษยชาติวามนุษยทุกชีวิต มีคุณคา มีความหมาย มีศักด์ิศรี มีศักยภาพ และ สามารถพัฒนาไดถามีโอกาส

Page 3: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

3

1.1.3 หลักการพัฒนาชุมชน คือ หลักประชาชน กลาวคือ

1. เริ่มตนที่ประชาชน ยืนจุดเดียวกับประชาชน มองโลก มองชีวิต มองปญหา จากทัศนะของประชาชน เพื่อใหเขาใจปญหา ความตองการของประชาชน เพื่อใหเขาถึงชีวิต จิตใจ ของประชาชน

2. ทํางานรวมกับประชาชน (ไมใชทํางานใหแกประชาชน เพราะจะทําใหเกิดความคิดมาทวงบุญทวงคุณจากประชาชนในภายหลัง) การที่จะทําใหประชาชนเขาใจปญหาของตนเอง และมีกําลังใจลุกข้ึนตอสูกับปญหา ชวยกันคิด ชวยกันแกไขปญหา นั้น ยอมมีหนทางท่ีจะกระทําไดโดยไมยากหากเขาใจปญหาและเขาถึงจิตใจประชาชน

3. ยึดประชาชนเปนพระเอก ประชาชนตองเปนผูกระทําการพัฒนาดวยตนเอง ไมใช เปน ผูถูกกระทํา หรือฝายรองรับขางเดียว เพราะผลของการกระทําการพัฒนานั้น ตกอยูที่ประชาชนโดยตรง ประชาชน เปนผูรับโชค หรือ เคราะหจากการพัฒนา นั้น

1.1.4 วิธีการพัฒนาชุมชน เปนวิธีการพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน คือ

1. การรวมกลุม หรือ จัดต้ังองคกรประชาชน เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชน ซึ่งเปนสมาชิก มีบทบาท และ มีสวนรวม ในกิจกรรมของกลุม/องคกร ซึ่งจะสงผลกระทบไปถึงสวนรวมดวย

2. การสงเสริม/สรางสรรคผูนําและอาสาสมัคร เพื่อเปดโอกาสและสนับสนุนใหประชาชน มีความพรอมจะ เปนผูนํา และ เปนผูเสียสละ ไดอุทิศตน ไดแสดงบทบาท มีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาชุมชน โดยสวนรวม

1.1.5 กระบวนการพัฒนาชุมชน การปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนเปนงานที่ตองทําอยางตอเนื่องเปนกระบวนการ และตองอาศัยหลักการมีสวนรวมในการพัฒนาซ่ึงเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนาในทุกระดับเปนการเปดโอกาสใหประชาชนรวมคิด วิเคราะห ตัดสินใจ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การติดตามประเมินผลในกิจกรรม/โครงการของชุมชน เปนการสราง/ปลูกฝงจิตสํานึกในความเปนเจาของกิจกรรม/โครงการ นั้น โดยกระบวนการพัฒนาชุมชนที่ประชาชนมีสวนรวมทุกข้ันตอนมีดังนี้

1. การศึกษาชุมชน เปนการเสาะแสวงหาขอมูลตาง ๆ ในชุมชน เชน ขอมูลดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และสภาพความเปนอยูของคนในชุมชน เพื่อทราบปญหาและความตองการของชุมชนที่แทจริง วิธีการในการศึกษาชุมชนอาจตองใชหลายวิธีประกอบกันทั้งการสัมภาษณ การสังเกต การสํารวจ และการศึกษาขอมูลจากเอกสารตาง ๆ ที่มีอยูในชุมชนดวย เพื่อใหไดขอมูลที่ตรงกับความเปนจริงมากที่สุด กลวิธีที่สําคัญที่นักพัฒนาตองใชในข้ันตอนนี้ คือ การสรางความสัมพันธกับคนในชุมชน เพราะถาหากปราศจากสัมพันธภาพที่ดีระหวางพัฒนากรกับชาวบาน แลวเปนการยากท่ีจะไดรู และเขาใจปญหาความตองการจริง ๆ

Page 4: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

4

ของชาวบาน ความสัมพันธอันดี จนถึงข้ันความสนิทสนม รักใคร ศรัทธา จึงเปนส่ิงที่จําเปนที่จะตองปลูกฝงใหเกิดข้ึนกับคนในชุมชน

2. การใหการศึกษาแกชุมชน เปนการสนทนา วิเคราะหปญหารวมกับประชาชนเปนการนําขอมูลตาง ๆ ที่ไดจากข้ันตอนการศึกษาชุมชน มาวิเคราะหถึงปญหาความตองการและสภาพที่เปนจริง ผลกระทบ ความรุนแรง และความเสียหายตอชุมชน กลวิธีที่สําคัญในข้ันตอนนี้ คือ การกระตุนใหประชาชนไดรู เขาใจ และตระหนักในปญหาของชุมชน ซึ่งในปจจุบันก็คือ การจัดเวทีประชาคม เพื่อคนหาปญหารวมกันของชุมชน

3. การวางแผน / โครงการ เปนข้ันตอนใหประชาชนรวมตัดสินใจ และกําหนดโครงการ เปนการนําเอาปญหาที่ประชาชนตระหนัก และยอมรับวาเปนปญหาของชุมชนมารวมกันหาสาเหตุ แนวทางแกไข และจัดลําดับความสําคัญของปญหา และใหประชาชนเปนผูตัดสินใจที่จะแกไขภายใตขีดความสามารถของประชาชน และการแสวงหาความชวยเหลือจากภายนอก กลวิธีที่สําคัญในข้ันตอนนี้ คือ การใหความรูเกี่ยวกับกระบวนการแกไขปญหา วิธีการวางแผน การเขียนโครงการ โดยใชเทคนิคการวางแผนแบบใหประชาชนมีสวนรวม

4. การดําเนินงานตามแผนและโครงการ โดยมีผูรับผิดชอบในการดําเนินการตามแผนและโครงการที่ไดตกลงกันไว กลวิธีที่สําคัญในข้ันตอนนี้ คือ การเปนผูชวยเหลือสนับสนุนใน 2 ลักษณะ คือ

4.1 เปนผูปฏิบัติงานทางวิชาการ เชน แนะนําการปฏิบัติงาน ใหคําปรึกษาหารือในการแกไขปญหาที่เกิดข้ึนจากการปฏิบัติงาน

4.2 เปนผูสงเสริมใหชาวบานเขามามีสวนรวมในการปฏิบัติงาน

5. การติดตามประเมินผล เปนการติดตามความกาวหนาของงานท่ีดําเนินการตามโครงการ เพื่อการปรับปรุงแกไขปญหา อุปสรรคที่พบไดอยางทันทวงที กลวิธีที่สําคัญในข้ันตอนนี้ คือ การติดตามดูแลการทํางานที่ประชาชนทํา เพื่อทราบผลความกาวหนาและปญหาอุปสรรค แลวนําผลการปฏิบัติงานตามโครงการ หรือกิจกรรมไปเผยแพรเพื่อใหผูเกี่ยวของไดทราบ

1.2 การพัฒนาแบบมีสวนรวม

กระบวนการมสีวนรวม นับเปนหวัใจสําคัญของการพฒันาในทกุระดับเปนการเปดโอกาสใหประชาชนรวมคิด วิเคราะห ตัดสินใจ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การติดตามประเมินผลในกิจกรรม/โครงการของชุมชน เปนการสราง/ปลูกฝงจิตสํานึกในความเปนเจาของกิจกรรม/โครงการ นัน้

ปจจุบัน แนวคิดการมีสวนรวมของประชาชนในงานพัฒนา (People Paticipation for Development) ไดรับการยอมรับและใชเปนแนวทางปฏิบัติในงานพฒันาทุกภาคสวนหรือในลักษณะเบญจ

Page 5: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

5

ภาคี ไดแก หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ และประชาชน รวมพลังกนัแกไขปญหาที่เกิดข้ึน

ขั้นตอนการมีสวนรวม มี 5 ขั้นตอน ดังนี ้

ขั้นตอนที ่1 การมีสวนรวมในขั้นการรเิริม่การพัฒนา เปนข้ันตอนทีป่ระชาชนเขามามีสวนรวมในการคนหาปญหา/สาเหตุของปญหาภายในชุมชน ตลอดจนมีสวนรวมในการตดัสินใจกําหนดความตองการของชุมชน และจัดลําดับความสําคัญของความตองการของชุมชน

ขั้นตอนที ่2 การมีสวนรวมในขั้นการวางแผนในการพฒันาซึ่งเปนข้ันตอนของการกําหนดนโยบาย วัตถุประสงคของโครงการ วิธีการตลอดจนแนวทางการดําเนินงานและทรัพยากรที่จะใช

ขั้นตอนที ่3 การมีสวนรวมในขั้นตอนการดําเนินการพัฒนา เปนสวนที่ประชาชนมีสวนรวมในการสรางประโยชนใหกับชุมชน โดยไดรับการสนับสนุนดานงบประมาณ เทคโนโลย ีฯลฯ จากองคกรภาคีพัฒนา

ขั้นตอนที ่4 การมีสวนรวมในขั้นตอนรบัผลประโยชนจากการพฒันา ซึ่งเปนทั้งการไดรับผลประโยชนทางดานวัตถุและทางดานจิตใจ

ขั้นตอนท่ี 5 การมีสวนรวมในขั้นประเมินผลการพัฒนา เปนการประเมินวา การที่ประชาชนเขารวมพัฒนา ไดดําเนินการสําเร็จตามวัตถุประสงคเพียงใด การประเมินอาจประเมินแบบยอย (Formative Evaluation) เปนการประเมินผลความกาวหนาเปนระยะๆ หรืออาจประเมินผลรวม (Summative Evaluation) ซึ่งเปนการประเมินผลสรุปรวมยอด

1.2.1 ปจจัยสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน

การที่จะใหประชาชนมีสวนรวม นอกจากการปลูกฝงจิตสํานึกแลวจะตองมีการสงเสริมและกระตุนใหเกิดการมีสวนรวมอยางกวางขวางซึ่งควรพิจารณาถึงปจจัยตางๆ ดังนี้

1. ปจจัยเกี่ยวกับกลไกของภาครัฐ ทั้งในระดับนโยบายมาตรการ และการปฏิบัติที่เอ้ืออํานวย รวมทั้งการสรางชองทางการมีสวนรวมของประชาชน จําเปนที่จะตองทําใหการพัฒนาเปนระบบเปดมีความเปนประชาธิปไตย มีความโปรงใส รับฟงความคิดเห็นของประชาชน และมีการตรวจสอบได

2. ปจจัยดานประชาชน ที่มีสํานึกตอปญหาและประโยชนรวมมีสํานึกตอความสามารถและภูมิปญญาในการจัดการปญหาซ่ึงเกิดจากประสบการณและการเรียนรู ซึ่งรวมถึงการสรางพลังเช่ือมโยงในรูปกลุมองคกร เครือขายและประชาสังคม

Page 6: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

6

3. ปจจัยดานนักพัฒนาและองคกรพัฒนา ซึ่งเปนผูที่มีบทบาทในการสงเสริมกระตุน สรางจิตสํานึก เอ้ืออํานวยกระบวนการพัฒนาสนับสนุนขอมูลขาวสารและทรัพยากรและรวมเรียนรูกับสมาชิกชุมชน

1.2.2 ปญหาอุปสรรคที่มีตอการมีสวนรวมของประชาชน

1. อุปสรรคดานการเมือง เกิดจากการไมไดกระจายอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบใหแกประชาชน โครงสรางอํานาจทางการเมือง การปกครอง การบริหาร เศรษฐกิจ ถูกควบคุมโดยคนกลุมนอย ทหาร นายทุน และขาราชการ ขาดกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแจกแจงทรัพยากร

2. อุปสรรคดานเศรษฐกิจ เกิดจากการขาดความสามารถในการพี่งตนเอง อํานาจการตอรองมีนอย กระบวนการผลิต ปจจัยการผลิตอยูภายใตระบบอุปถัมภ ความแตกตางในสังคม ดานรายได อํานาจ และฐานะทางเศรษฐกิจ

3. อุปสรรคดานวัฒนธรรม ขนบประเพณีในแตละพื้นที่ที่ทําใหประชาชนไมสามารถเขามามีสวนรวมไดเนื่องจากขัดตอขนบธรรมเนียงประเพณีของชุมชน/เผา

1.3 การดําเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน

โครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาชุมชน หมายถึง การกระทําใดๆ ก็ตามที่เกิดจากความคิดริเร่ิมของประชาชน จากปญหา/ความตองการของประชาชน โดยการชวยกันคิด รวมกันตัดสินใจ ชวยกันวางแผน และรวมกันดําเนินการของประชาชน เพื่อแกปญหาและสนองความตองการของประชาชนทั้งชุมชน หรือของประชาชนสวนหนึ่งหรือกลุมหนึ่ง โดยมีพัฒนากรเปนผูเอ้ืออํานวยใหประชาชนเปนผูริเร่ิมหรือเปนเจาของโครงการโดยมีตัวอยางโครงการกิจกรรมที่กรมการพัฒนาชุมชนดําเนินการ ดังนี้

1.3.1 การพัฒนาผูนําชุมชนและอาสาสมัคร

วัตถุประสงค เพื่อใหประชาชนมีโอกาสเสียสละอุทิศตนเพื่อสวนรวม มีบทบาทและสวนรวมในการแกปญหาและการดําเนินกิจกรรมพัฒนาของชุมชน มุงเนนใหเกิดความตอเนื่องในการรวมกลุม การพัฒนาศักยภาพ และการดําเนินกิจกรรมใหเกิดผลงานอยางเปนรูปธรรม

1.3.2 พัฒนากลุม/องคกร/เครือขาย

วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนใหประชาชนรวมตัวกันทํากิจกรรมรวมกันในลักษณะกลุม/องคกรชุมชน เชน คณะกรรมการพัฒนาสตรี กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมอาชีพ ฯลฯ รวมทั้งสนับสนุนใหกลุม/องคกรชุมชน รวมตัวกันในลักษณะเครือขายตางๆ เชน สมาพันธองคการพัฒนาชุมชนแหงประเทศไทย สมาคมผูนําอาสาพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผูนําสตรีพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผูนําอาชีพกาวหนา (สิงหทอง) 4 ภาค ศูนยประสานงานองคการชุมชน (ศอช.)

Page 7: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

7

1.3.3 การพัฒนาแผนชุมชน

วัตถุประสงค เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูของชุมชน ใหคนในชุมชนชวยกันคิด รวมกันตัดสินใจ ชวยกันวางแผน รวมกันดําเนินการเพื่อแกปญหาและสนองความตองการของประชาชนทั้งชุมชน ซึ่งจะทําใหชุมชนไดทําความรูจักและประเมินศักยภาพของชุมชน และกําหนดอนาคตทิศทางของชุมชน ทําใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดและสรางชุมชนใหเขมแข็งได

1.3.4 สงเสริมการออมทรัพยเพื่อการผลิต

วัตถุประสงค เพื่อกระตุนและสงเสริมใหประชาชนรวมตัวกันระดมเงินออมเพ่ือเปนทุนของชุมชน สนับสนุนการพัฒนาดานการบริหารและจัดการเงินทุนในเชิงธุรกิจ เพื่อพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตโดยยึดหลักคุณธรรมและการพึ่งตนเองเปนฐานไปสูสถาบันนิติบุคคล

1.3.5 สงเสริมการจัดต้ังสถาบันจัดการเงินทุนชุมชน โดยการบูรณาการ เชื่อมโยงกลุมองคกรกองทุนการเงินตาง ๆ รวมกันบริหารจัดการเงินทุนในชุมชน เพื่อใหเกิดการใชเงินทุนในชุมชนอยางคุมคา เกิดประโยชนสูงสุด

วัตถุประสงค เพื่อใหการจัดการเงินทุนชุมชนเปนระบบมีความเปนเอกภาพสามารถแกไขปญหาพัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมใหชุมชน เพื่อเปนแหลงเงินออม แหลงทุน สวัสดิการของชุมชน และเพื่อเปนศูนยแลกเปล่ียนเรียนรูของชุมชน

1.3.6 ศูนยเรียนรูชุมชน

วัตถุประสงค เพื่อรวบรวมองคความรูที่กระจัดกระจายอยูในชุมชนใหเปนระบบ สามารถเปนแหลงเรียนรูของคนในชุมชน และคนภายนอกชุมชน ในการพัฒนาความคิด พัฒนาอาชีพ และรายได รวมทั้งแกไขปญหาอ่ืน ๆ ของคนในชุมชน

2. การพัฒนาของภาครัฐรวมกับองคกรพัฒนาเอกชน และภาคประชาสังคม 2.1 ความเปนมา

ความรวมมือระหวางภาครัฐและองคกรภาคเอกชนเห็นไดชัดเจนใน พ.ศ. 2527 เมื่อคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดตระหนักถึงศักยภาพและพลังความสามารถขององคกรภาคเอกชนที่จะชวยสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาชนบทของภาครัฐบาล ไดบรรจุนโยบายที่จะสงเสริมบทบาทขององคการภาคเอกชนไวเปนแนวทางในการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 และจัดต้ังหนวยงานประสานงานกับองคกรพัฒนาเอกชนข้ึนในศูนยประสานงานพัฒนาชนบทแหงชาติ และตอมาไดจัดต้ังคณะกรรมการประสานงานในระดับชาติ เรียกวา คณะกรรมการประสานงานองคกรเอกชนพัฒนาชนบท (กป.อพช.)

Page 8: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

8

สําหรับปจจุบัน รัฐยิ่งเพิ่มการสนับสนุนการมีสวนรวมขององคกรเอกชนมากข้ึน เห็นไดจากการเชิญภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในกาดําเนินงานตามนโยบายสําคัญๆ ของรัฐบาลหลายดาน และไดอุดหนุนงบประมาณใหกับองคกรพัฒนาเอกชนหลายองคกรในการดําเนินกิจกรรมพัฒนาเพื่อความคลองตัวในการขับเคลื่อนนโนบายของรัฐบาล

"ประชาสังคม" มาจากภาษาอังกฤษวา Civil Society และมีผูใชคําภาษาไทยเทยีบเคียงกนัหลายคํา อาทิ "สังคมประชาธรรม" (ไพบูลย วัฒนศิริธรรม) "สังคมราษฎร" (เสนห จามริก) "วถีีประชา"(ชัยอนนัต สมทุวณิช ใชคํานีโ้ดยมีนยัยะของคําวา Civic movement) "อารยสังคม" (อเนก เหลาธรรมทัศน) และ"สังคมเขมแข็ง"(ธีรยทุธ บุญมี) เปนตน ทัง้นี ้นักคิดสําคัญ ๆ ของสังคมไทยไดอธิบายขยายความคําวา "ประชาสังคม" หรือ Civil Society นี้ในบริบทเงื่อนไขและการใหน้ําหนกัที่แตกตางกนั ดังนี ้

ศ.ดร.ชัยอนันต สมุทวณิช มองวา "ประชาสังคม" หมายถึง ทุก ๆ สวนของสังคมโดยรวมถึงภาครัฐ ภาคประชาชนดวย ถือวาทั้งหมด เปน Civil Society ซึ่งแตกตางจากความหมายแบบตะวันตกที่แยกออกมาจากภาครัฐ หรือนอกภาครัฐ แตหมายถึงทุกฝายเขามาเปน partnership กัน (ชัยอนันต สมุทวณิช 2539) โดยนัยยะนี้ ศ.ดร.ชัยอนันต สมุทวณิช ใหความสําคัญกับ Civic movement หรือ "วิถีประชา" ที่เปนการดําเนินกิจกรรม ของกลุมองคกรตาง ๆ โดยเอาตัวกิจกรรมเปนศูนยกลางปราศจากการจัดต้ัง ดังขอเสนอที่สําคัญในเชิงยุทธศาสตการพัฒนา ในชวงของการจัดทําแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 8 คือ Area-Function-Participation - AFP กลาวคือจะตองเนนที่กระบวนการมีสวนรวม ในการดําเนินกิจกรรมการพัฒนาของ ทุกฝายรวมกันในระดับพื้นที่ (ยอย ๆ) ซึ่งในที่นี้ อาจเปนพื้นที่จังหวัด อําเภอ ตําบล หมูบาน หรือพื้นที่ในเชิงเศรษฐกิจ เชน เขตพื้นที่ชายฝงทะเล ภาคตะวันออก เปนตน (ชัยอนันต สมุทวณิช 2539)

ไพบูลย วัฒนศิริธรรม ไดใหความหมายของ "ประชาสังคม" วาหมายถึง "สังคมที่ประชาชนทั่วไป ตางมีบทบาทสําคัญในการจัดการเร่ืองตาง ๆ ที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต ของประชาชน โดยอาศัยองคกร กลไก กระบวนการ และกิจกรรมอันหลากหลาย ที่ประชาชนจัดข้ึน" โดยนัยยะของความหลากหลาย ขององคกรนี้ไมวา จะเปน กลุม องคกร ชมรม สมาคม ซึ่งลวนแตมีบทบาทสําคัญตอการผลักดันการเปล่ียนแปลงทางสังคมทั้งส้ิน จึงเปนเสมือน "สังคม" ของ "ประชา" หรือ Society ของ Civil นั่นเอง อยางไรก็ดี คุณไพบูลย วัฒนศิริธรรม ยังเสนอตออีกดวยวา "ประชาสังคม" นั้นเปนสวนของสังคม ที่ไมใชภาครัฐ ซึ่ง ดําเนินงานโดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายและก็ไมใชภาคธุรกิจ ซึ่งดําเนินงานโดยมุงหวังผลกําไรเปนสําคัญ

สําหรับปจจุบัน ไดมีการพัฒนาภาคประชาสังคมใหเขมแข็ง ผานการพัฒนา ผูนํา กลุม องคกร เครือขาย ตาง ๆ รวมทั้งรูปแบบการประชาคม ที่มุงเนนใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการตัดสินใจในการแกไขปญหา หรือกําหนดทิศทางการพัฒนาชุมชนของตนเอง

Page 9: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

9

2.2 แนวทางสงเสริมบทบาทขององคกรเอกชน และภาคประชาสังคมในการพัฒนา แมวานโยบายของรัฐที่สงเสริมและเปดโอกาสใหองคกรเอกชน มีบทบาทมากข้ึนในการพัฒนาชนบท แกไขปญหาในสังคมและการใหบริการสังคม แตก็ไมมีหลักประกันวาการมีสวนรวมขององคกรทั้งสองจะมีมากข้ึนหากผูเกี่ยวของ กระบวนการของสังคมในสังคม และสภาพแวดลอมตาง ๆ ไมเอ้ืออํานวย เนื่องจากนโยบายของรัฐเปนเพียงกรอบของสังคมใหญเทานั้น ดังนั้นเพื่อใหนโยบายของรัฐบังเกิดผลอยางแทจริงดวยความรวมมือกันระหวางภาครัฐและเอกชน ควรมีแนวทางในการดําเนินงานของสวนตางๆ ดังนี้ 1. ระดมส่ือทุกดานปรับทัศนคติและคานิยมของคนในสังคมใหเคารพในศักด์ิศรี และสิทธิ์ของกันและกัน ใหมีความเช่ือมั่นในความคิดและความสามารถของบุคคล ไมวัดคุณคาของคนที่ฐานะความเปนอยู หรือ ระดับการศึกษา หนาที่การงาน การยอมรับในคุณคาความเปนมนุษยของคนรวมสังคม จะทําใหการทํางานรวมกันเปนไปดวยความราบร่ืนสมานฉันท แมวาจะมีความขัดแยงในความคิดหรือแนวทางการทํางานบาง ก็ไมเปนปญหาตอการวมกันทํางาน 2. ในการสงเสริมบทบาทขององคกรเอกชน ตองสรางระบบใหภาครัฐดําเนินงานอยางตอเนื่อง จริงจังและมีความจริงใจ โดยใหเปนการมีบทบาทในฐานะหนวยงานหรือบุคคลที่มีศักด์ิศรีเทาเทียมกัน หรือเรียกวาในฐานะ “หุนสวน” ไมใชใหเขามามีบทบาทเพียงรวมทําในส่ิงที่รัฐตัดสินใจไวแลว 3. สงเสริมใหเกิดการผนึกกําลังของสังคมในลักษณะประชาคมในทุกภูมิภาค เพื่อใหคนในสังคมต่ืนตัวที่จะรวมกันรับผิดชอบตอการแกไขปญหาและสรางสรรคส่ิงดีงามใหกับสังคมของตนมากข้ึน ซึ่งเปนทุนทางสังคมที่สําคัญในการแกไขปญหาในสังคมระยะยาว 4. ใหสรางระบบหรือสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการมีบทบาทของทองถิ่นและองคกร ภาคเอกชน ในการพัฒนาและแกไขปญหาสังคม โดยเฉพาะการเปดโอกาสใหองคกรฯ ไดรับและสามารถเขาถึงขอมูลขาวสาร ความรูแหลงทรัพยากร และบริการของรัฐอยางยุติธรรมและเพียงพอที่จะตัดสินใจในการรวมพัฒนาและแกไขปญหาในสังคม ไมวาจะเปนการทํางานในหนาที่หรือการทํางานรวมกับภาคี เชน การมีศูนยบริการขอมูลขาวสารความรูที่มีเครือขายเชื่อมโยงอยางทั่วถึง และมีกลไกบังคับใหภาครัฐรวมทั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปดเผยขอมูลขาวสารความรูที่เปนจริงใหสาธารณะไดทราบ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่จะดําเนินงานในพื้นที่ตาง ๆ ทรัพยากร การจัดสรรทรัพยากร ระเบียบ กฎเกณฑในการจัดสรร สิทธิประโยชนของประชาชน จากการบริการของรัฐและทองถิ่น

5. ตองสงเสริมกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวางหนวยราชการ องคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรภาคเอกชน และประชาชนอยางตอเนื่องเกี่ยวกับแนวทางในการแกไขปญหาของสังคมโดยพลังความรวมมือของทุกฝาย นับต้ังแตการรวมกันวิเคราะหสถานการณของทองถิ่น ตัดสินใจกําหนดวิสัยทัศน วางแผน ดําเนินงานติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน โดยใหมีการรวมสรุปบทเรียนเปนระยะๆ กระตุนใหตระหนัก

Page 10: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

10

ในความเจริญงอกงามของประสบการณที่พอกพูนข้ึนจากการมีสวนรวมในการแกไขปญหา ใชความลมเหลวและความสําเร็จเปนบทเรียนในการแสวงหาแนวทางแกไขปญหาที่ยั่งยืนตอไป 6. สงเสริมใหรวมกันแกไขปญหาและพัฒนาสังคมแบบองครวม ที่มุงใหสังคมมีการเจริญเติบโตในทุกดานไมเนนการแกปญหาหนึ่ง โดยไมคํานึงถึงปญหาอ่ืน ที่จะตามมา การสงเสริมลักษณะนี้จะบังเกิดผลอยางเปนรูปธรรมไดก็ตอเมื่อ ผูมีสวนรวมในการแกไขปญหามีความคิดความชํานาญ หนาที่ความรับผิดชอบและความรูที่หลากหลาย 7. พัฒนาการมีสวนรวมขององคกรตางๆ จนถึงระดับที่มีการจัดระเบียบทางสังคมจนกลายเปนบรรทัดฐานของสังคมที่ไดรับการยอมรับและมีขอตกลงรวมกันที่จะยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของแตละฝายเพื่อไมใหบทบาทการมีสวนรวมขององคกรตางๆ ในการแกไขปญหาในสังคมข้ึนอยูกับความ สัมพันธสวนบุคคล เมื่อเปล่ียนบุคคลที่เปนตัวแทนองคกรนั้น ความรวมมือหรือขอตกลงรวมกันตองถูกยกเลิก

3 การสรางมาตรฐานของการช้ีวัดผลการพัฒนา 3.1 แนวคิดตัวช้ีวัดการพัฒนาชุมชน

การกําหนดตัวชี้วัดการพัฒนาประเทศเร่ิมใชต้ังแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 1 พ.ศ.2504 เปนตนมา โดยใชเปนเคร่ืองมือติดตามผลการพัฒนา และไดมีการพัฒนาตอมาเร่ือย ๆ โดยหนวยงานที่มีหนาที่ดูแลรับผิดชอบผลของการพัฒนาแตละดานมักเปนผูสรางเคร่ืองมือเอง โดยมีตัวอยางเคร่ืองชี้วัดการพัฒนาประเทศ ดังนี้ 1. เคร่ืองชี้วัดทางเศรษฐกิจ เชน การวัดอัตราการเจริญหรือการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การวัดขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ การกระจายรายได เสนความยากจน (proverty line) การวัดรายได คาใชจายและหนี้สินของครัวเรือน เปนตน 2. เคร่ืองชี้วัดทางสังคม เชน เคร่ืองชี้วัดความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ) เคร่ืองชี้ภาวะสังคม ดัชนีทางการศึกษา ตัวชี้วัดสุขภาพดีถวนหนา ดัชนีความอยูดีมีสุขของคนไทย เปนตน

3. เคร่ืองชี้วัดทางส่ิงแวดลอม เชน ดัชนีชี้วดัคุณภาพส่ิงแวดลอม เปนตน

3.2 เครื่องช้ีวัดความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ) เคร่ืองชี้วัดความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ) ของครัวเรือน ถือไดวาเปนเคร่ืองชี้วัดที่มีการพัฒนาอยาง

ตอเนื่องและนําไปใชประโยชนเปนอยางมาก โดยเร่ิมใชต้ังแต พ.ศ. 2528 ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 มีการปรับปรุงมาเปนระยะจนปจจุบันเปนการจัดเก็บขอมูลความจําเปนพื้นฐาน ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (ป 2550-2554)

Page 11: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

11

1. ความสําคัญของเคร่ืองชี้วัด พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม

ราชกุมารี ในวโรกาสที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหคณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท (พชช.) และเจาหนาที่เขาเฝาถวายรายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย ป 2533 (เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2534) “การดําเนินงานพัฒนา แตกอนใชวัดดวยสายตาบาง เฉล่ียไปตามความคิดเห็นที่ไมเปนเชิงสถิติบาง ทําไปเร่ือย ๆ บาง แตตอนนี้ทางราชการมีการสํารวจขอมูล จปฐ. เปนขอมูลที่คิดวาในขณะนี้ดีที่สุดแลว ดีในการเปนฐานใหเร่ิมตนแกไขปญหา เปนขอมูลที่งาย ดูงาย และเห็นดวยที่มีการสํารวจขอมูล จปฐ. มีการวัดเพื่อใหพบปญหา ซึ่งเมื่อรูปญหาแลวจะไดมีการแกไข สําหรับการวัดนั้นจะตรงหรือไมตรง แนนอนตองมีการผิดพลาดบาง ก็ไมนาจะเปนปญหาใหญ ขอใหมีส่ิงที่จะชวยช้ีใหฝายรัฐเขาไปหาชาวบาน ไดทราบปญหาของชาวบานบาง เมื่อเราทําจริง สํารวจจริงแลว จะทําใหพบกับบุคคลที่ควรสงเคราะห หรือทําใหพบปญหา และเมื่อพบปญหาแลวจะแกไขอยางไรเปนส่ิงซึ่งจะตามมา หลักการพัฒนาที่ควรจะคํานึงถึง คือ ชวยเขาเพื่อใหเขาชวยตัวเองได การใหคําแนะนําเพื่อใหชาวบานไดเรียนรูวิธีการแกไขปญหาดวยตัวเอง จึงเปนส่ิงสําคัญ”

2. ความหมายของขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) เปนขอมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงค ตามเกณฑมาตรฐานข้ันตํ่าของเคร่ืองชี้วัดวา อยางนอยคนไทยควรจะมีระดับความเปนอยูไมตํ่ากวาระดับไหน ในชวงระยะเวลาหนึ่ง ๆ และทําใหประชาชนสามารถทราบไดดวยตนเองวา ในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว รวมไปถึงหมูบานอยูในระดับใด มีปญหาที่จะตองแกไขในเร่ืองใดบาง เปนการสงเสริมใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเปนนโยบายสําคัญในการพัฒนาชนบทของประเทศ

ขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) คือ ขอมูลในระดับครัวเรือนที่แสดงถึงสภาพความจําเปนพื้นฐานของคนในครัวเรือนในดานตาง ๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่ไดกําหนดมาตรฐานข้ันตํ่าเอาไววา คนควรจะมีคุณภาพชีวิตในแตละเร่ืองอยางไรในชวงระยะเวลาหนึ่ง ๆ

3. หลักการของขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ไดแก 3.1 ใชเคร่ืองชี้วัดความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) เปนเคร่ืองมือของกระบวนการเรียนรูของประชาชนในหมูบาน/ชุมชน เพื่อใหประชาชนในหมูบาน/ชุมชน ทราบถึงสภาพความเปนอยูของตนเองและชุมชนวา บรรลุตามเกณฑความจําเปนพื้นฐานแลวหรือไม 3.2 สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาโดยผานกระบวนการ จปฐ. นับต้ังแตการกําหนดปญหาความตองการที่แทจริงของชุมชน ตลอดจนคนหาและหาแนวทางแกไขปญหา โดยใชขอมูล จปฐ. ที่มีอยูตลอดจนการประเมินผลการดําเนินงานที่ผานมา 3.3 ใชขอมูล จปฐ. เปนแนวทางในการคัดเลือกโครงการตาง ๆ ของรัฐใหสอดคลองกับสภาพปญหาที่แทจริงของชุมชน สามารถใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดไดอยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการประสานระหวางสาขาในดานการปฏิบัติมากข้ึน

Page 12: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

12

4. วัตถุประสงค เพื่อใหประชาชนสามารถพัฒนาชีวิตความเปนอยูของตนเอง และครอบครัวใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยางนอยผานเกณฑความจําเปนพื้นฐาน โดยมีเคร่ืองชี้วัด จปฐ. เปนเคร่ืองมือ

5. ตัวชี้วัดความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ไดแก ขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (ป 2550-2554) มีจํานวน 6 หมวด 42 ตัวชี้วัด ดังนี้ ลําดับที ่

ตัวชี้วัด หนวย เปาหมายรอยละ

หมวดที่ 1: สุขภาพดี (ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดี) มี 13 ตัวชี้วัด 1 หญิงต้ังครรภไดรับการดูแลกอนคลอด และฉีดวัคซีนครบตามเกณฑบริการ คน 100 2 แมที่คลอดลูกไดรับการทําคลอด และดูแลหลังคลอด คน 100 3 เด็กแรกเกิดมนี้ําหนกัไมตํ่ากวา 2,500 กรัม คน 100 4 เด็กแรกเกิดถึง 1 ปเต็ม ไดรับการฉีดวัคซีนปองกนัโรคครบตามตารางสราง

เสริมภูมิคุมกันโรค คน 100

5 เด็กแรกเกิดไดกินนมแมอยางเดียวอยางนอย 4 เดือนแรกติดตอกัน คน 95 6 เด็กแรกเกิดถึง 5 ป เจริญเติบโตตามเกณฑมาตรฐาน คน 100 7 เด็กอาย ุ6-15 ป เจริญเติบโตตามเกณฑมาตรฐาน คน 100 8 เด็กอาย ุ6-12 ป ไดรับการฉีดวัคซีนปองกนัโรคครบตามตารางสรางเสริม

ภูมิคุมกันโรค คน 100

9 ทุกคนในครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะปลอดภัยและไดมาตรฐาน ครัวเรือน 95 10 คนในครัวเรือนมีความรูในการใชยาที่ถูกตองเหมาะสม ครัวเรือน 100 11 คนอาย ุ35 ปข้ึนไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจําป คน 50 12 คนอาย ุ6 ปข้ึนไป ออกกาํลังกายอยางนอยสัปดาหละ 3 วนั วนัละ 30 นาท ี คน 60 13 ผูที่มีสิทธิในระบบประกันสุขภาพถวนหนา มีหลักประกันสุขภาพ คน 97.5 หมวดที ่2: มีบานอาศัย (ประชาชนมีทีอ่ยูอาศัยและสภาพแวดลอมที ่

เหมาะสม) ม ี8 ตัวชี้วัด

14 ครัวเรือนมีความมัน่คงในทีอ่ยูอาศัยและบานมีสภาพคงทนถาวร ครัวเรือน 100 15 ครัวเรือนมีน้าํสะอาดสําหรับด่ืมและบริโภคเพียงพอตลอดป ครัวเรือน 95 16 ครัวเรือนมีน้าํใชเพียงพอตลอดป ครัวเรือน 95 17 ครัวเรือนมีการจัดบานเรือนเปนระเบียบเรียบรอย สะอาด และถูก

สุขลักษณะ ครัวเรือน 95

Page 13: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

13

ลําดับที ่

ตัวชี้วัด หนวย เปาหมายรอยละ

18 ครัวเรือนไมถกูรบกวนจากมลพิษ ครัวเรือน 100 19 ครัวเรือนมีการปองกันอุบัติภัยอยางถูกวิธ ี ครัวเรือน 100 20 ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ครัวเรือน 100 21 ครอบครัวมีความอบอุน ครัวเรือน 100 หมวดที ่3: ฝกใฝการศึกษา (ประชาชนมีโอกาสเขาถึงบริการ

ดานการศึกษา) ม ี7 ตัวชี้วัด

22 เด็กที่อายุตํ่ากวา 3 ปเต็ม ไดรับการสงเสริมการเรียนรูจากการทาํกิจกรรมรวมกับผูใหญในบาน

คน 80

23 เด็กอาย ุ3-5 ปเต็ม ไดรับบริการเล้ียงดูเตรียมความพรอมกอนวัยเรียน คน 80 24 เด็กอาย ุ6-15 ป ไดรับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป คน 100 25 เด็กที่จบการศึกษาภาคบงัคับ 9 ป ไดเรียนตอมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ

เทียบเทา คน 95

26 เด็กที่จบการศึกษาภาคบงัคับ 9 ป แตไมไดเรียนตอมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทา และยังไมมงีานทาํไดรับการฝกอบรมอาชีพ

คน 80

27 คนอาย ุ15-60 ปเต็ม อาน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอยางงายไดทกุคน คน 100 28 คนในครัวเรือนรับรูขาวสารที่เปนประโยชนอยางนอยสัปดาหละ 5 คร้ัง ครัวเรือน 100 หมวดที ่4: รายไดกาวหนา (ประชาชนมีการประกอบอาชีพและ

มีรายไดพอเพียงตอการดํารงชีวิต) ม ี3 ตัวชี้วัด

29 คนอาย ุ15-60 ปเต็ม มีการประกอบอาชีพและมีรายได คน 95 30 คนในครัวเรือนมีรายไดเฉล่ียไมตํ่ากวาคนละ 23,000 บาทตอป ครัวเรือน 70 31 ครัวเรือนมีการเก็บออมเงนิ ครัวเรือน 80 หมวดที ่5: ปลูกฝงคานยิมไทย (ประชาชนมีการปลูกฝงคานิยมไทย

ใหกับตนเองเพือ่ใหคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน) ม ี6 ตัวชี้วัด

32 คนในครัวเรือนไมติดสุรา คน 100 33 คนในครัวเรือนไมสูบบุหร่ี คน 90 34 คนในครัวเรือน ไดปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียมและมารยาทไทย ครัวเรือน 95 35 คนอาย ุ6 ปข้ึนไปทุกคนไดปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอยางนอยสัปดาหละ

1 คร้ัง ครัวเรือน 100

Page 14: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

14

ลําดับที ่

ตัวชี้วัด หนวย เปาหมายรอยละ

36 คนสูงอายุไดรับการดูแลเอาใจใสจากคนในครัวเรือน คน 100 37 คนพิการไดรับการดูแลเอาใจใสจากคนในครัวเรือน คน 100 หมวดที ่6: รวมใจพัฒนา (ประชาชนมีจติสํานึกและรวมกันรักษาสิทธิ์

ของตนเอง เพื่อประโยชนของชุมชนหรือทองถิน่) ม ี5 ตัวชี้วัด

38 คนในครัวเรือน เปนสมาชิกกลุมที่ต้ังข้ึนในหมูบาน/ชุมชน ตําบล ครัวเรือน 95 39 คนในครัวเรือน มีสวนรวมแสดงความคิดเหน็เพื่อประโยชนของชุมชนหรือ

ทองถิน่ ครัวเรือน 95

40 คนในครัวเรือน มีสวนรวมในการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติเพื่อประโยชนของชุมชนหรือทองถิน่

ครัวเรือน 90

41 คนในครัวเรือน มีสวนรวมทาํกิจกรรมสาธารณะของหมูบาน/ชุมชน ครัวเรือน 100 42 คนอาย ุ18 ปข้ึนไปที่มีสิทธิ์เลือกต้ังไปใชสิทธิ์เลือกต้ังในชุมชนของตน คน 90

3.3 เครื่องช้ีวัดการพัฒนาแบบบูรณาการที่มีชุมชนเปนศูนยกลาง (ระบบมาตรฐานงานชุมชน)

ระบบการพัฒนาประเทศที่ผานมาไดมีความพยายามของหนวยงานภาครัฐในการวัด ประเมินผลของการพัฒนา ซึ่งสวนใหญเปนการวัดผลเพื่อบอกถึงผลสัมฤทธิ์ของหนวยงาน หรือเปนการวัดประเมินผลในภาพรวมของประเทศ โดยหนวยงานเปนผูกําหนดตัวชี้วัด แตยังไมมีการจัดทําระบบการวัดและประเมินที่ชุมชนเปนผูกําหนดและนําไปสูกระบวนการเรียนรูและพัฒนาตนเองโดยชุมชนไดอยางแทจริง กรมการพัฒนาชุมชนจึงไดจัดทํา “เครื่องชี้วัดการพัฒนาแบบบูรณาการที่มีชุมชนเปนศูนยกลาง” คือ “ระบบมาตรฐานงานชุมชน หรือเรียกชื่อยอวา “มชช.”

3.3.1 ความหมาย ระบบมาตรฐานงานชุมชน หมายถึง เคร่ืองมือในการสรางกระบวนการเรียนรูและพัฒนา

ตนเองของผูนําชุมชน, กลุม/องคกรชุมชน,เครือขายองคกรชุมชน และชุมชน ไปสูขอกําหนดและตัวชี้วัดที่กอใหเกิดการพัฒนาอันพึงปรารถนารวมกันกับภาคีที่เกี่ยวของ บนพื้นฐานของความสมัครใจ

3.3.2 หลักการของระบบมาตรฐานงานชุมชน

1. การประสานความรวมมือจากภาคีการพัฒนา ทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน 2. การมีสวนรวมของชุมชน ชุมชนเปนเจาของ ประชาชนเปนผูไดรับประโยชน 3. ยดืหยุน สอดคลองเหมาะสมกับชุมชน

Page 15: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

15

4. เปนที่ยอมรับของทุกภาคสวน 5. ความสมัครใจของชุมชน ในการเขาสูระบบมาตรฐานชุมชน 6. กระบวนการเรียนรูในการพัฒนาตนเอง

3.3.3 วัตถุประสงคของระบบมาตรฐานงานชุมชน

1. เพื่อใหผูนําชุมชน กลุม/องคกร เครือขาย และชุมชน ใชเปนเคร่ืองมือและแนวทางสรางกระบวนการเรียนรู ในการประเมินและพัฒนาตนเองไปสูความเขมแข็งที่ไดรับการยอมรับ

2. เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหกลุมเปาหมาย เกิดกระบวนการเรียนรูในการพัฒนาตนเองไปสูคุณภาพ และความสําเร็จที่ไดรับการยอมรับรวมกันระหวางชุมชนและภาคีที่เกี่ยวของ

3. เพื่อ บูรณาการการทํางานระหวางภาคีการพัฒนาและชุมชนใหมีเปาหมายและทิศทางการทํางานที่ชัดเจนรวมกัน ลดความซ้ําซอน เพิ่มประสิทธิภาพ และความคุมคาในการพัฒนาไป สูความเขมเข็งของชุมชน

3.3.4 ขั้นตอนการดําเนินงาน มชช. 1. ข้ันการเตรียมการ ประกอบดวย การเตรียมขอมูล/เนื้อหา เตรียมตนเอง เตรียมทีมงาน

เตรียมงาน 2. ข้ันดําเนินการ ประกอบดวย การสมัคร การสรางความเขาใจ การวิเคราะหตนเอง การสราง

การมีสวนรวม การสรางตัวชี้วัด การจัดทําแผนพัฒนาตนเอง และการดําเนินการตามแผน 3. ข้ันประเมินผล ประกอบดวย การประเมินผลดวยตนเอง การประเมินผลโดยชุมชน/สมาชิก/

คนรอบขาง และการประเมินผลโดยคณะกรรมการ 4. ข้ันยกยอง เชิดชูเกียรติ เชน มอบเข็ม ใบประกาศเกียรติคุณ 5. ข้ันขยายผล เชน จัดต้ังเครือขายการเรียนรู ศูนยเรียนรู มชช.ตนแบบ

3.3.5 ประเภทมาตรฐานงานชุมชน มี 4 ประเภท ประเภทที ่1 มาตรฐานผูนาํชุมชน ประกอบดวยภาวะผูนํา 3 ดาน 15 องคประกอบ

Page 16: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

16

ประเภทที ่2 มาตรฐานกลุม/องคกรชุมชน ประกอบดวยลักษณะความเขมแข็ง 4 ดาน 14

องคประกอบ

Page 17: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

17

ประเภทที ่3 มาตรฐานเครือขายองคกรชมุชน ประกอบดวยลักษณะความเขมแข็ง 4 ดาน 17 องคประกอบ

ประเภทที ่4 มาตรฐานชุมชน ประกอบดวย ลักษณะความเขมแข็ง 7 ดาน 21 องคประกอบ

Page 18: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

18

กลาวโดยสรุป ตัวชี้วัดเปนเคร่ืองมือในการบงบอกถึงคุณคาหรือระดับการพัฒนา ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงสภาพความเปนจริงของสังคมที่เปนอยูในขณะนั้น ดังนั้นตัวชี้วัดจะตองมีมาตรฐาน และเปนที่ยอมรับของคนในสังคม ซึ่งหมายถึงจะตองรวมมิติดานตางๆของสังคมทั้ง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและส่ิงแวดลอมในมุมกวางและลึก ตลอดจนการมีสวนรวมของคนในชุมชนทุกระดับ จึงจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคของการพัฒนาที่ยั่งยืน

4 การกระจายอํานาจในการพัฒนาและงบประมาณสูทองถิ่น 4.1 ความสําคัญ กฎหมายที่เก่ียวของ

4.1.1 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 การกระจายอํานาจสูทองถิ่นถือวาเปนวัตถุประสงคหลักประการหนึ่งของรัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังปรากฏตาม มาตรา 78 , 80 และ 281-290 โดยมีแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ ดังนี้

1. รัฐตองกระจายอํานาจให อปท. พึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของทองถิ่นไดเอง สงเสริมให อปท. มีสวนรวมในการดําเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ

2. สงเสริมและสนับสนุนการกระจายอํานาจเพ่ือให อปท. ฯลฯ จัดและมีสวนรวมในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษาใหเทาเทียมและสอดคลองกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ

4.1.2 พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ.2542 มีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2542 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลมที่ 116 ตอนที่ 114 ก หนา 48 ถึง 66 วันที่ 17 พฤศจิกายน 2542 สาระสําคัญ ไดแก 1. การกําหนดอํานาจและหนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง 2. การจัดสรรสัดสวนภาษีและอากรระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยคํานึงถึงภาระหนาที่ของรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองเปนสําคัญ 3. การจัดใหมีคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งประกอบดวย ผูแทนของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ ผูแทนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายบัญญัติโดยมีจํานวนเทากัน ทําหนาที่ตามขอ 1 และขอ 2 ขางตน

การถายโอนภารกิจ กําหนดไวเปน 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เปนระยะเวลาการถายโอน ต้ังแตปงบประมาณ 2544 – 2547

Page 19: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

19

ระยะที่ 2 เปนระยะเวลาการถายโอน ต้ังแตปงบประมาณ 2545 – 2549 ระยะที่ 3 เปนระยะเวลาการถายโอน ต้ังแตปงบประมาณ 2547 – 2553 ซึ่งเปนเร่ืองไม

เรงดวน และจําเปนตองสรางกลไก และระบบควบคุมมาตรฐานมารองรับ ภารกิจที่ตองถายโอนแผนการกระจายอํานาจฯ ไดกําหนดไว 6 ดาน คือ

1. ดานโครงสรางพื้นฐาน 2. ดานสงเสริมคุณภาพชีวิต 3. ดานการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบรอย 4. ดานกวางแผนการสงเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการทองเที่ยว 5. ดานการบริหารจัดการและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดลอม 6. ดานศิลปวัฒนธรรม จารีต ประเพณี และดานภูมิปญญาทองถิ่น

4.1.3 แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ. 2543 แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนแผนที่กําหนดกรอบแนวคิด เปาหมาย และแนวทางการกระจายอํานาจ มีสาระสําคัญ ดังนี้ วิสัยทัศนการกระจายอํานาจสูทองถ่ิน ในชวง 4 ปแรก (พ.ศ. 2544-2547) ของการถายโอนภารกิจตามกรอบของกฎหมายวาดวยการกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น จะเปนชวงของการปรับปรุงระบบการบริหารงานภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ราชการบริหารสวนการ และราชการบริหารสวนภูมิภาค รวมทั้งการพัฒนายุทธศาสตร การสรางความพรอมในการรองรับการถายโอนภารกิจ บุคลากร งบประมาณ และทรัพยสิน รวมทั้งการแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของ ในสวนของภารกิจที่ถายโอนจะมีทั้งการถายโอนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นอยางสมบูรณและการดําเนินงานรวมกันระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นกับหนวยงานของรัฐ และจะมีบุคลากรจํานวนหนึ่งถายโอนไปปฏิบัติงานภายใตการกํากับดูแลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หลังจากการถายโอนในชวง 4 ป แรกส้ินสุดลงจนถึงระยะเวลาการถายโอนในปที่ 10 (พ.ศ.2548-2553) ตามกรอบของกฎหมายวาดวยการกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นจะเปนชวงเปล่ียนผานมีการปรับบทบาทของราชการสวนกลาง ราชการบริหารสวนภูมิภาค องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาชนที่จะเรียนรูรวมกันในการถายโอนภารกิจ มีการปรับกลไกความสัมพันธระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นกับราชการบริหารสวนภูมิภาคอยางกลมกลืน รวมทั้งปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของ อันจะทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถดําเนินกิจการสาธารณะท่ีตอบสนองความตองการของประชาชนในทองถิ่นดีข้ึน และจะทําใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และองคกรปกครองสวนทองถิ่นจะสามารถพัฒนาขีดความสามารถในการดําเนินกิจกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพและมีความโปรงใส

Page 20: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

20

ในชวงเวลาหลังจากปที่ 10 (พ.ศ.2554 เปนตนไป) ประชาชนในทองถิ่นจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน สามารถเขาถึงบริการสาธารณะไดอยางทั่วถึงและเปนธรรม ประชาชนจะมีบทบาทในการตัดสินใจ การกํากับดูแลและการตรวจสอบ ตลอดจนการสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นอยางเต็มที่ ในสวนองคกรปกครองสวนทองถิ่นจะมีการพัฒนาศักยภาพทางดานการบริหารจัดการและการคลังทองถิ่นที่พึ่งตนเองและเปนอิสระมากข้ึน ผูบริหารและสภาทองถิ่นจะเปนผูมีความรู ความสามารถและมีวิสัยทัศนในการบริหาร ราชการบริหารสวนภูมิภาคจะเปล่ียนบทบาทจากฐานะผูจัดทําบริการสาธารณะเปนผูใหความชวยเหลือทางวิชาการ และกํากับดูแลการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเทาที่จําเปนภายใตขอบเขตที่ชัดเจน และการปกครองสวนทองถิ่นจะเปนการปกครองตนเองของประชาชนในทองถิ่นอยางแทจริง

เปาหมาย 1. ใหมีการถายโอนภารกิจในการจัดบริการสาธารณะของรัฐใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ่นตามมาตรา 30 แหงพระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 โดยกําหนดขอบเขตความรับผิดชอบในการใหบริการสาธารณะของรัฐและขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองใหชัดเจน 2. กําหนดการจัดสรรภาษี และอากร เงินอุดหนุนและรายไดอ่ืนใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อใหสอดคลองกับการดําเนินการตามอํานาจและหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละประเภทอยางเหมาะสม 3. การจัดต้ังงบประมาณรายจายประจําปในสวนที่เกี่ยวของกับการจัดบริการสาธารณะในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหรัฐจัดสรรเงินอุดหนุนใหเปนไปตามความจําเปน และความตองการขององคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น 4. จัดระบบของการถายโอนบุคลากรจากหนวยงานของรัฐ เพื่อใหสอดคลองกับการถายโอนภารกิจ 5. ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบใหสอดคลองกับการถายโอนอํานาจและหนาที่

ขอบเขตของการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ใหดําเนินการ ดังนี้ 1. รัฐจะกระจายอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบ อํานาจการตัดสินใจ อํานาจการบริหารจัดการทรัพยากรการเงินการคลัง และบุคลากรใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นประเภทตางๆ สรางความพรอมขององคกรปกครองสวนทองถิ่น สงเสริมใหประชาชนและภาคประชาสังคมมีสวนรวมในการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. รัฐจะดําเนินการปรับบทบาทของราชการบริหารสวนกลางและราชการบริหารสวนภูมิภาค ปรับโครงสรางภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ

Page 21: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

21

พัฒนาโครงสรางและกลไกเพื่อสนับสนุนการกระจายอํานาจ รวมทั้งสรางระบบการติดตามตรวจสอบ กํากับดูแล และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ 3. การถายโอนภารกิจและการจัดแบงอํานาจหนาที่ระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง ลักษณะภารกิจการใหบริการสาธารณที่จะตองถายโอนใน 4 ป ไดแก 1. ภารกิจที่ซ้ําซอน เปนภารกิจใหบริการสาธารณะที่กฎหมายกําหนดใหรัฐหรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีอํานาจหนาที่ในเร่ืองเดียวกัน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดมีการดําเนินการตามภารกิจนั้นแลว 2. ภารกิจที่รัฐจัดทําในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนภารกิจการใหบริการสาธารณะที่กฎหมายกําหนดใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีอํานาจหนาที่แตองคกรปกครองสวนทองถิ่นยังไมไดดําเนินการ หรือไมเคยดําเนินการตามภารกิจนั้น 3. ภารกิจที่รัฐจัดทําในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่นและกระทบองคกรปกครองสวนทองถิ่นอ่ืน เปนภารกิจการใหบริการสาธารณะที่รัฐดําเนินการในเขตพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นหนึ่งและมีผลกระทบเกิดข้ึนกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นอ่ืน 4. ภารกิจตามนโยบาลรัฐบาล ถาองคกรปกครองสวนทองถิ่นใดยังไมพรอมใหขยายเวลาเตรียมความพรอมไดภายใน 10 ป โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองทําแผนเตรียมความพรอม และราชการบริหารสวนการและราชการบริหารสวนภูมิภาคใหการสนับสนุนแนะนําดานการบริหารจัดการและเทคนิควิชาการ

4.1.4 แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 มีสาระสําคัญ ดังนี ้

เปาหมาย 1. ถายโอนภารกิจของหนวยงานของรัฐเปนหลัก โดยถายโอนใหกับ อปท. ที่มีความพรอมให

แลวเสร็จภายในป พ.ศ. 2553 2. ให อปท. มีรายไดที่เพียงพอกับรายจายตามอํานาจหนาที่ที่มีอยูเดิมและที่รับการถายโอน 3. การจัดสรรเงินอุดหนุนให อปท. สอดคลองกับการจัดบริการสาธารณะของ อปท. 4. การถายโอนบุคลากรมีรูปแบบที่หลากหลายและสอดคลองกับการถายโอนภารกิจ 5. มีการแกไขกฎหมายที่สอดคลองกับการถายโอนภารกิจ ขอบเขตของการกระจายอํานาจ 1.กระจายอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบ อํานาจการตัดสินใจ อํานาจการบริหารจัดการ

ทรัพยากรการเงินการคลัง และบุคลากร ใหแก อปท. ประเภทตางๆ

Page 22: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

22

2. สรางความพรอมและสง เสริมใหประชาชนและภาคประชาสังคมมีสวนรวมใน การดําเนินงานของ อปท.

แนวทางการกระจายอํานาจใหแก อปท. 1. ถายโอนภารกิจและการจัดแบงอํานาจหนาที่ระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และ

ระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองใหเปนไปตามมาตรา ๓๐ แหง พ.ร.บ. กําหนดแผนฯ 2. หลักการทั่วไปในการถายโอนภารกิจ ยึดภารกิจของรัฐเปนหลัก รูปแบบการถายโอนภารกิจ 1. ภารกิจที่ อปท. ดําเนินการเอง 2. ภารกิจที่ อปท. ซื้อบริการจากภาคเอกชน สวนราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ อปท. อ่ืน 3. ภารกิจที่ อปท. รวมดําเนินการกับ อปท. อ่ืน หรือสหการ 4. ภารกิจที่ อปท. ดําเนินการรวมกับรัฐ (Share Function) 5. ภารกิจที่รัฐยังคงดําเนินการอยูแต อปท. สามารถดําเนินการ 6. ภารกิจสัมปทาน คือ ภารกิจที่มีการมอบอํานาจใหเอกชนดําเนินการ โดย อปท. เปนผูควบคุม

4.1.5 ผลการดําเนินงาน ในปจจุบันหนวยงานสวนกลางและสวนภูมิภาค ไดดําเนินการถายโอนภารกิจ ใหแกองคกร

ปกครองสวนทองถิ่นแลว จํานวน 180 ภารกิจ ภารกิจที่ยังไมถายโอน จํานวน 65 ภารกิจ การถายโอนภารกิจหลาย ๆ กิจกรรมมีความลาชา บางกิจกรรมประสบปญหาอุปสรรคมากมาย บางกิจกรรมไมสามารถกระทําไดตามเวลาที่กําหนด กอใหเกิดผลกระทบในการจัดบริการสาธารณะใหแกประชาชนในทองถิ่น 4.2 บทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการพัฒนาชุมชน

องคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนองคกรที่จัดต้ังข้ึนตามกฎหมายการปกครองทองถิ่นใหมีอํานาจอิสระบริหารในเขตพื้นที่ที่กําหนดและมีหนาที่ดําเนินกิจกรรมภายในกรอบที่กฎหมายบัญญัติไว เพื่อผล ประโยชนของรัฐและของทองถิ่นโดยตรง ทั้งนี้ คําวาองคกร หมายความถึง คณะบุคคลหรือบุคคลผูกระทําการในฐานะผูแทนหรือในนามหนวยการปกครองทองถิ่น ซึ่งคณะบุคคลที่มีฐานะเปนองคกร หมายถึง คณะผูบริหารหนวยการปกครองทองถิ่น และสภาทองถิ่น สวนบุคคลที่มีฐานะเปนองคกร หมายถึง ผูบริหารหนวยการปกครองทองถิ่น

4.2.1 ลักษณะสําคัญปกครองสวนทองถ่ิน โดยท่ัวไปมี 5 ประการ คือ 1. เปนองคกรปกครองในชุมชนทีม่ีขอบเขตพื้นที่การปกครองท่ีกําหนดไวแนนอน 2. มีสถานภาพเปนนิติบุคคลจัดต้ังข้ึนโดยกฎหมาย 3. มีอิสระในการดําเนนิกิจกรรมและสามารถใชดุลพินิจของตนเองในการวินิจฉัยและการ

กําหนดนโยบายภายใตการควบคุมของรัฐ

Page 23: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

23

4. มีการจัดองคกรเปน 2 ฝาย คือ ฝายบริหารและฝายสภา 5. ประชาชนมีสวนรวมในการปกครองโดยการเลือกต้ังคณะผูบริหารและสภาทองถิน่ การมีสวน

รวมในการดําเนินกิจกรรม และ การติดตามตรวจสอบการทํางานขององคกรทองถิ่น 4.2.2 บทบาทขององคกรปกรองสวนทองถ่ินในการพัฒนาชุมชน มีดังนี้ 1. ผูดําเนินการพัฒนา เนื่องจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีความเปนอิสระ มีทรัพยากร

และมีอํานาจที่จะดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งในการแกไขปญหาที่เกิดข้ึนในเขตความรับผิดชอบ ดังนั้น จึงมีขีดความสามารถที่จะแสดงบทบาทของผูดําเนินการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภายในพื้นที่ความรับผิดชอบ ซึ่งหมายถึงการเปนหนวยงานดําเนินการพัฒนาเอง สวนใหญองคกรปกครองสวนทองถิ่นมักจะใหความสําคัญกับการแกไขปญหาดานโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจหรือดานการพัฒนาทางกายภาพมากกวาทางสังคมหรือการเมือง โครงการกิจกรรมขององคกรจึงอยูในรูปการกอสรางถนน ทางระบายน้ํา อาคารสิ่งกอสรางเปนสวนใหญ มีอยูบางที่เปนโครงการประเภทการฝกอบรมหรือการพัฒนาอาชีพ แตไมมากนัก

2. ผูรวมมือกับหนวยงานอ่ืน ในกรณีที่มีหนวยงานรับผิดชอบเพื่อดําเนินกิจกรรมพัฒนานั้นอยูแลว หากแตตองการความรวมมือในบางเร่ืองเพื่อใหสามารถดําเนินการไดโดยรวดเร็วและถูกตอง รวมทั้งกรณีที่การพัฒนาดังกลาวไมอยูในอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรฯ ก็สามารถเขามีสวนรวมในการพัฒนาในบทบาทของผูรวมมือกับหนวยงานอ่ืน หมายถึงการใหความรวมมือในลักษณะตาง ๆ แกหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบ เพื่อใหหนวยงานดังกลาวสามารถดําเนินการได โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น ๆ ไมตองเปนหนวยงานรวมดําเนินงานดวย เชน ใหขอมูลที่หนวยงานรับผิดชอบตองการทราบเพื่อประกอบการวางแผนหรือดําเนินการ ชี้เบาะแสใหขอคิดเห็นขอแนะนํา จัดใหพบกับกลุมเปาหมาย ประสานงาน หรือติดตามผลการดําเนินงานในพื้นที่ที่เกี่ยวของ เปนตน อยางไรก็ตาม หนวยงานรับผิดชอบ มักจะพยายามสรางความสัมพันธกับองคกรที่ใหความรวมมือในลักษณะ “หุนสวนการพัฒนา” โดยยกยองใหเกียรติในฐานะที่เทาเทียม รวมทั้งมีการเชิญเขารวมรับรูขอมูลขาวสารการดําเนินงานของหนวยงานรับผิดชอบ ไมใชขอความรวมมือในลักษณะเปนการส่ังการ

3. ผูสงเสริมการพัฒนา ในกรณีที่ภูมิภาคมีประเด็นที่ควรพัฒนา แตยังไมมีหนวยงานใดแสดงความรับผิดชอบที่จะดําเนินการ โดยที่ประเด็นการพัฒนาดังกลาวก็เกินขีดความสามารถขององคกรทองถิ่นจะดําเนินการได องคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถเขามามีสวนรวมในการพัฒนาในบทบาทของการสงเสริมใหมีการดําเนินการ หมายถึงการใหขอมูลขาวสารดวยวิธีการตาง ๆ เพื่อชักจูง โนมนาวใหผูมีอํานาจหนาที่หรือสังคมโดยสวนรวม เกิดแรงบันดาลใจที่จะดําเนินการกับประเด็นการพัฒนานั้นดวยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง โดยการกระตุนใหประเด็นการพัฒนาดังกลาวเปนที่สนใจของสาธารณะ ในลักษณะผลักดันใหกลายเปนกระแสของสังคมหรือชี้ใหเห็นวาเร่ืองนั้น ๆ เปนประเด็นของสังคมที่หนวยงานตาง ๆ หรือผูบริหารที่มีอํานาจส่ังการตองหันมาใหความสนใจ หรือคนในสังคมตองรวมกันดําเนินการ

Page 24: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

24

4. ผูสนับสนุนการพัฒนา เปนบทบาทที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวมในการพัฒนาที่มีหนวยงานรับผิดชอบดําเนินการอยู แตองคกรฯ เห็นวาแนวทางการทํางานของหนวยงานดังกลาวเปนประโยชน จึงเขารวมโดยการสนับสนุนแนวทางการพัฒนานั้น ดวยการชวยเผยแพรกระจายขาวใหผูที่อยูในพื้นที่เขตรับผิดชอบทราบและใหความรวมมือหรือสนับสนุนงบประมาณใหหนวยงานนั้นสามารถดําเนินกิจกรรมดังกลาวไดมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน หรือสนับสนุนบุคลากรเจาหนาที่เขารวมดําเนินงานดวย เชน การสนับสนุนงบประมาณขององคการเอกชนใหหนวยงานของรัฐจัดทําเอกสารเผยแพรความรูที่เปนประโยชนตอประชาชน หรือการสนับสนุนงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหหนวยงานของรัฐจัดฝกอบรมเปนตน

5. การดําเนินการพัฒนาชุมชนที่ผานมา ปญหาอุปสรรค แนวโนมในอนาคต 5.1 กลไกการบริหารการพัฒนาชนบทในอดีต

การประสานงานของสวนราชการของรัฐในการพัฒนาชนบท เปนไปตามระบบการบริหารการพัฒนาชนบท ซึ่งเร่ิมเมื่อ พ.ศ. 2524 โดยรัฐบาลไดออกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารการพัฒนาชนบท (กชช.) เพื่อรองรับการดําเนินงานพัฒนาที่เนนการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชนบทเปนสําคัญ ซึ่งไดดําเนินการเร่ือยมาจนถึง พ.ศ. 2535 จึงไดมีการเพิ่มเติมแนวทางการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคควบคูกับแนวทางการพัฒนาที่ไดดําเนินการอยูแลว ตอมาพบวาการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคในชวงที่ผานมายังมีปญหาหลักๆ เกิดข้ึนหลายประการไดแก ชองวางของรายไดระหวางเมืองกับชนบท แรงงานชนบทยังคงหล่ังไหลเขากรุงเทพมหานคร อุตสาหกรรมที่ใชแรงงานสูง ที่ต้ังอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ประสบปญหาดานการแขงขัน ควรจะโยกยายไปอยูในภูมิภาคที่มีแรงงานพอเพียง

รัฐบาลไดมีนโยบายหลักที่เกี่ยวของกับการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคและทองถิ่น และดําเนินการมาอยางตอเนื่องโดยตลอด จนถึงป พ.ศ. 2539 จึงไดมีการปรับปรุงระเบียบ กชช.ภ. เดิม เปนระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารการพัฒนาเพื่อกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคและทองถิ่น (กนภ.) เพื่อใหการพัฒนาที่ดําเนินการอยูครอบคลุมถึงองคกรทองถิ่นที่ไดมีการจัดต้ังข้ึนตามกฎหมายตางๆ และใหนโยบายของรัฐบาลทุกเร่ืองที่เกี่ยวของกับการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคและทองถิ่นไดดําเนินการอยางเปนระบบสอดคลองกันและเปนเอกภาพ กนภ. ไดมีความพยายามในการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคและทองถิ่น อยางตอเนื่องมาโดยตลอด ซึ่งมุงเนนการเสริมสรางความเขมแข็งใหแกชุมชนและประชาชนในระยะยาว ภายใตภาวะวิกฤตเศรษฐกิจที่เผชิญอยู โดยเนนการพัฒนาคนและสังคมเพื่อลดผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจ และการปรับระบบบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาประเทศ

Page 25: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

25

5.2 กลไกการบริหารการพัฒนาชนบทในปจจุบัน เพื่อใหการพัฒนาชนบทเกิดประสิทธิภาพสูงสุด รัฐบาลจึงไดปรับระบบการบริหารงานโดยเฉพาะอยางยิ่ง การบริหารงานในระดับพื้นที่ ไดแก จังหวัด ซึ่งเปนหนวยงานเชิงยุทธศาสตรภาครัฐในระดับพื้นที่ ใหมีศักยภาพและสมรรถภาพสูง สามารถประสานและกํากับดูแลการปฏิบัติราชการของทุกสวนราชการ รัฐวิสาหกิจและหนวยงานอ่ืนของรัฐ และสงเสริมสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นและชุมชนในพื้นที่ใหสามารถริเร่ิม แกไขปญหาและพัฒนาพื้นที่ของตนเอง รวมทั้งสงเสริมใหเกิดระบบงานที่มีกระบวนการสรางความเห็นพองตองกันของทุกภาคสวนในสังคม เพื่อใหประชาชนไดรับบริการดวยความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเปนศูนยกลาง และมีผูรับผิดชอบที่ชัดเจนในการบริหารราชการในระดับพื้นที่จึงมี ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546 ข้ึน และไดมีการปรับปรุงใหเปนไปตามเจตนารมยณของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 ซึ่งมีสวนสําคัญทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงตอระบบการจัดทํางบประมาณของประเทศ ที่แตเดิมเปนการต้ังงบประมาณที่เกิดจากฐานของหนวยงานระดับกรมเปนหลักมาสูการกระจายอํานาจไปยังจังหวัดและกลุมจังหวัด จึงไดกําหนดพระราชกฤษฎีกาวาดวยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้

5.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ - ยึดพืน้ที่เป นหลักในการพฒันาเพื่อกระจายการพัฒนาแ ล ะ ล ด ค ว า ม เ ห ลื อ ม ลํ้า ข อ ง

ค ว า มเ จ ริญ เ ติบ โ ต ร ะ ห วา ง พื้น ที่ตา ง ๆ ใ น ป ร ะ เ ท ศ แบงเป น 18 กลุมจังหวัดและ 75 จังหวัด (กลุมจั ง ห ว ัด เ นน ยุ ท ธ ศ า ส ต ร เ ร่ี อ ง ก า ร ส รา ง ขี ดความสามารถ (competitiveness) จังหวัดเนนยุทธศาสตรเร่ืองพัฒนาสงคม รวมถึงการสรางโอกาสและอาชีพ)

- ตองการใหแตละพื้นที่มีตําแหนง(position) ในการพัฒนาที่ชัดเจน และผานการเหน็ชอบรวมกันทุกฝาย เพื่อใหเกิดความยั่งยนืและรวมมือรวมใจกัน

- การจัดการความสัมพันธแนวด่ิงระหวางสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิน่ - การจัดการความสัมพันธแนวนอนระหวางภาครัฐและภาคสวนอ่ืนในสังคม (ภาคเอกชน และ

ภาคประชาสังคม) - กําหนดใหผูวาราชการจงัหวดั เปนตัวเชื่อมโยง (linkage) ฝายตางๆ เขาดวยกนั

5.2.2 องคกรกํากับและดําเนินการการบริหารงานจงัหวัดแบบบูรณาการ 1. ระดับชาติ กําหนดใหมีคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัด

แบบบูรณาการ (กนจ.) โดยมีนายกรัฐมนตรี เปนประธาน และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เปนกรรมการและเลขานุการ มีอํานาจหนาที่ที่สําคัญ คือ กําหนดกรอบนโยบาย วางระบบ แนวทางมาตรการในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พิจารณา กล่ันกรอง และใหความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัดและกลุมจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจําป และคําของบประมาณ ของจังหวัดและกลุมจังหวัด

Page 26: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

26

2. ระดับกลุมจังหวัด มีคณะกรรมการบริหารกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) โดยมีหัวหนากลุมจังหวัดเปนประธาน ขาราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทยที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยแตงต้ัง เปนกรรมการและเลขานุการ มีอํานาจหนาที่สําคัญ คือ จัดทําแผนพัฒนากลุมจังหวัด สงเสริมประสานความรวมมือการพัฒนาระหวางภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน และแกไขปญหาภายในกลุมจังหวัดและระหวางกลุมจังหวัดเพื่อใหการพัฒนาเปนไปตามแผนพัฒนาจังหวัดอยางยั่งยืน

3. ระดับจังหวัด กําหนดใหมีคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) โดยมีผูวาราชการจังหวัด เปนประธาน หัวหนาสํานักงานจังหวัด เปนกรรมการและเลขานุการ มีอํานาจหนาที่สําคัญ คือ จัดทําแผนพัฒนาจังหวัด สงเสริมประสานความรวมมือการพัฒนาระหวางภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน เพื่อสรางบรรยากาศใหเอ้ืออํานวยตอการลงทุน และชักชวนภาคธุรกิจเอกชนมาลงทุนในจังหวัด 5.3 ผลกระทบการพัฒนาประเทศท่ีผานมาและปญหาอุปสรรค

ผลการสัมมนาทางวิชาการเหลียวหลังแลหนายี่สิบปเศรษฐกิจสังคมไทยซ่ึงจัดโดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) สรุปได ดังนี้

5.3.1 ผลจากนโนบายทางเศรษฐกิจที่ผานมา นโยบายการสงออก ในระยะแรกเนนการควบคุมการสงออกอยางเครงครัดโดยใชกําแพงภาษี และสงเสริมอุตสาหกรรมแทนการนําเขา แตระยะตอมาการควบคุมผอนคลายลงมีการสงเสริมการสงออกมากข้ึน

นโยบายดานการเงิน การลดคาเงินบาท ราคาสินคาการเกษตรตกตํ่า แรงงานภาคเกษตรเคล่ือนยายไปสูภาคอุตสาหกรรม ประกอบกับคาเงินดอลลาตกตํ่าคาเงินเย็นสูงทําใหภาคอุตสาหกรรมเคล่ือนยายฐานการผลิตมาสูประเทศไทย นโยบายการสงเสริมการลงทุน สงเสริมการแขงขันและการลงทุนที่มีผลตอการฟนตัวทางเศรษฐกิจ 1. ผลการพัฒนาที่ผานมา ความสําคัญภาคเกษตรลดลง อุตสาหกรรมสงออกขยายตัวทําใหคาแรงสูงข้ึน กฎหมายแรงงานถูกบังคับใช ความเปนชนบทลดลง ชีวิตคนในชนบทดีข้ึน ในดานบริการตาง ๆ ดีข้ึน เชน บริการการแพทย ไฟฟา ชลประทาน การคมนาคม ความแตกตางทางดานรายไดของคนในเมืองและชนบทเพิ่มสูงข้ึน แตความแตกตางดานการบริโภคและบริการนอยลง 2. การเปลี่ยนแปลงของคนไทยและสภาพแวดลอม 5.3.2 การเปลี่ยนแปลงของคนไทย 1. ดานโครงสรางประชากร อัตราการเกิดการตายของทารกลดลง อายุขัยเฉล่ียของประชากรเพิ่มข้ึน ประชากรวัยทํางานอายุ 23 – 45 ป มากข้ัน อีก 6 ป ขางหนาสัดสวนประชากรวัยทํางาน

Page 27: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

27

เพิ่มข้ึนหลังจากนั้นจะลดลงประเทศไทยจะเขาสูสังคมผูสูงอายุ ปญหาแรงงานตางดาวจะสงผลตอสภาพความเปนอยูของคนไทย 2. ดานสุขภาพ ประชาชนเขาถึงบริการมากข้ึนแตยังมีความเหล่ือมลํ้าระหวางคนในเมืองกับชนบทแตปญหาสุขภาพจิตและพฤติกรรมเส่ียงตอสุขภาพมีมากข้ึน มีความพยายามในการปฏิรูประบบสุขภาพเนนการปองกันมากกวารักษา แนวโนมในอนาคตสุขภาวะคนไทยจะดีข้ึน ประเทศไทยจะเปนศูนยกลางทางดานสุขภาพแตก็ตองเผชิญกับปญหาการปองกันโรคที่มาจากการทองเที่ยว เชน โรค SARS ไขหวัดนก 3. ดานศีลธรรมและจิตใจ สังคมไทยเขาสูลัทธิบริโภคนิยมเต็มข้ัน วัตถุนิยม ละเลยดานศีลธรรม ขาดจิตสํานึกสาธารณะ บทบาทสถาบันสงฆออนแอ และมีขอจํากัดในการพัฒนา ศีลธรรม แนวโนมในอนาคต ระบบคุณคาจริยธรรม ศีลธรรมจะไมดีข้ึน คุณคาดานวัตถุนิยม บริโภคนิยมยังไมชัดเจนวาจะเปล่ียนไปในทางที่ดีข้ึน 4. ดานการศึกษา จํานวนปการศึกษาของคนไทย เฉล่ียเพิ่มข้ึนเปน 7 – 8 ป จํานวนนักเรียนสายอาชีวะลดลงจะทําใหขาดแคลนแรงงานระดับกลางคุณภาพการศึกษาดอยลงความรูทางคณิต-วิทย และภาษาอังกฤษและ IT อยูในระดับตํ่า คนไทยเลือกเรียนสายสังคมมากกวาสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แนวโนมในอนาคต จํานวนปการศึกษาจะเพิ่มข้ึนคุณภาพการศึกษาจะดีข้ึน การศึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีแนวโนมสูงข้ึนโอกาสการเรียนรูดีข้ึน แตจะมีความเหล่ือมลํ้าจากการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู 5.3.3 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและแนวโนมสังคมไทยใน 20 ป ขางหนา

- โลภาภิวัตน และการขยายตัวทางเศรษฐกิจจะกระทบตอชุมชน - ประชากรสวนใหญอยูในสังคมเมือง - ชนชั้นกลางกลายเปนประชาชนกลุมใหญของประเทศ - ประชาชนใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) อยางกวางขวาง - ส่ิงแวดลอมถูกทําลาย เปล่ียนบริบทของภูมิปญญาชุมชน - คนมีแนวโนมเปนปจเจกเพิ่มข้ึน กิจกรรม/พื้นที่สวนรวม (Public Space) นอยลง - ตองมีนวัตกรรมทางสังคมเพิ่มข้ึนเพื่อการติดตอสัมพันธ เชน นวัตกรรมการมีสวนรวม

(ประชาพิจารณ ประชามติ) นวัตกรรมระบบยุติธรรมชุมชน และยุติธรรมเชิงสมานฉันท 5.3.4 การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ

- บทเรียนจากอดีต ผลกระทบจากภายนอก เชน วิกฤตการณน้ํามัน วิกฤตเศรษฐกิจ ทําใหตองหันมาใหความสนใจในการบริหารจัดการความเส่ียงที่มีปจจัยมาจากภายนอก มีการปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ แรงงานภาคเกษตรเคล่ือนยายไปสูภาคอุตสาหกรรม

- แนวโนมในอนาคต ระบบเศรษฐกิจจะขยายตัวในระดับปานกลางรอยละ 5 – 7 แตจะมีความเส่ียงจากตางประเทศ ไดแก ความไมสมดุลของระบบการเงินโลกและอัตราแลกเปล่ียน การเช่ือมโยงและ

Page 28: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

28

การแขงขันทางการคาอยางรุนแรงทั้งในระบบทวิภาคี ภูมิภาคและพหุภาคี และจะสงผลตอราคาน้ํามันและเศรษฐกิจไทย ภาคเกษตรจะมีแรงงานนอยลงอายุมากข้ึน ความเหล่ือมลํ้าทางสังคมลดลง ความขัดแยงในสังคมที่บานปลายจะมีผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจ เทคโนโลยีจะชวยสาขาเศรษฐกิจไทยใหมีศักยภาพ เชน อาหาร ยา การทองเที่ยว 5.4 แนวโนมการพัฒนาชุมชนในอนาคต

ทิศทางการพัฒนาชนบทในอนาคต ซึ่งตองมุงเนนการพัฒนาเพื่อใหเกิดความสมดุลและยั่งยืน โดยการกระจายอํานาจ การสงเสริมใหภาคประชาชนเขามามีสวนรวม จัดทําระบบฐานขอมูล มีการประสานงานระหวางรัฐและทองถิ่น สรางองคความรูดานการพัฒนาพื้นที่ใหแกประชาชน เพิ่มศักยภาพใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พัฒนาพื้นที่ตามศักยภาพท่ีไมเหมือนกัน โครงการพัฒนาขนาดใหญที่ประชาชนไดรับผลกระทบประชาชนตองมีสวนรวมในการตัดสินใจ โดยมีทิศทางการพัฒนาชนบทในอนาคต ในมิติตางๆ ดังนี้

5.4.1 การพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง คือ การวางรากฐานอันมั่นคงและยั่งยืนของชีวิตเมื่อวันเฉลิมพระชนมพรรษา ป 2541 ไดทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ อธิบายเพิ่มเติมถึงคําวา “พอเพียง” หมายถึง “พอมีพอกิน” “...พอมีพอกินก็แปลวา เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถาแตละคนมีพอกินก็ใชได ยิ่งถาทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี...” “...ฉะนั้นความพอเพียงนี้ก็แปลวา ความพอประมาณและความมีเหตุผล...”

เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุมชูตัวเอง(Relative Lilf - Sufficiency) อยูไดโดยมีตองเดือดรอน โดยตองสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองใหดีเสียกอน คือตงตัวใหมีความพอกินพอใช ไมมุงหวังแตจะทุมสรางความเจริญยกเศรษฐกิจใหรวดเร็วแตเพียงอยางเดียว เพราะผูที่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง

การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง สําหรับเกษตรกรนั้นมีการปฏิบัติตามข้ันตอน “ทฤษฎีใหม” ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งประกอบดวย 3 ข้ัน คือ

ข้ันที่ 1 ผลิตเพื่อใชบริโภคในครัวเรือน ในระดับชีวิตที่ประหยัด ทั้งนี้ตองมีความสามัคคีในทองถิ่น ข้ันที่ 2 รวมกลุม เพื่อการผลิต การตลาด ความเปนอยู สรางสวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา ข้ันที่ 3 รวมมือกับองคกรภายนอกในการทําธุรกิจและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ทุกฝายตอง

ไดรับประโยชน การพัฒนาชนบทในลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง จึงเปนการใช “คน” เปนเปาหมายและเนน

“การพัฒนาแบบองครวม” หรือ “การพัฒนาแบบบูรณาการ” ทั้งดานเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม ส่ิงแวดลอม การเมือง ฯลฯ โดยใช “พลังทางสังคม” ขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาในรูปของกลุม เครือขายหรือ

Page 29: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

29

ประชาสังคม กลาวคือเปนการผนึกกําลังทุกฝายในลักษณะ “พหุภาคี” ประกอบดวยภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

5.4.2 การพัฒนาการเมืองไปสูประชาธิปไตยพหุนิยม ในอนาคตทิศทางการเมืองไทยจะปรับเปล่ียนจากระบบอํามาตยาธิปไตย(Bureaucrative Polity) ไปสูประชาธิปไตยพหุนิยม (Pluralistic Democracy) อันหมายถึง ระบบประชาธิปไตยที่เปดโอกาสใหกลุมตางๆ ในสังคมแขงขันและสับเปล่ียนข้ึนมามีอํานาจโดยไมเปดโอกาสใหกลุมหนึ่งมีการผูกขาดในเชิงอํานาจ

ระบบอํามาตยาธิปไตยเปนระบบการเมืองไทยที่มีการฝงรากลึกมาเปนเวลาหลายทศวรรษ ระบบดังกลาวเปนระบบที่แสดงถึงความยิ่งใหญของขาราชการอันเปนผลมาจากการผูกขาดอํานาจของขาราชการไทยในสังคม เพราะกลุมขาราชการในอดีตเปนกลุมที่มีการจัดต้ังอยางเปนระบบมากอนกลุมอ่ืนๆ

การขยายตัวของกลุมตาง ๆ ทางสังคมซ่ึงมีอํานาจตอรองมากข้ึน โดยจะลดบทบาทการครอบงําของขาราชการจะสงผลใหความพยายามในการที่จะกอรัฐประหารลดความถี่ลง และหมดส้ินไปในที่สุดเมื่อโครงสรางอํานาจระหวางกลุมตาง ๆ มีการถวงดุลพอดี จะสงผลใหความพยายามที่จะใหมีการปกครองเปนระบบเผด็จการดังในอดีต เปนไปไดยากและหมดสิ้นไปในระยะยาว ในการเปลี่ยนแปลงดังกลาวของการเมืองไทยในอนาคต ยอมหมายถึง การสิ้นสุดของแนวคิดที่วาดวยอํามาตยาธิปไตยอันเปนลักษณะของการเมืองไทยที่พัฒนามาต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน อยางไรก็ตามกอนที่การเมืองไทยจะมีการพัฒนาสูการเปนระบบประชาธิไตยพหุนิยม (Pluralistic Democracy) ในอนาคตระยะยาว ทิศทางการเมืองไทยขณะนี้จึงเปนชวงแหงรอยตอ (Transition) ระหวางระบบอํามาตยาธิปไตยและระบบประชาธิปไตยพหุนิยม

บทสรุป

การพัฒนาชุมชนของประเทศไทย ต้ังแตอดีต – ปจจุบัน แนวคิด รูปแบบ วิธีการในแตละชวง สัมพันธสอดคลองและอยูภายใตแนวคิดหลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับตาง ๆ ผล กระทบที่เกิดกับชนบท จึงไมเปนผลเฉพาะกิจกรรมการพัฒนาชนบทเทานั้น แตชนบทไดรับผลกระทบโดยตรงจากผลรวมของการพัฒนาประเทศ ทั้งจากนโยบายทั้งดานเศรษฐกิจไมวาจะเปนนโยบายการสงออก การเงิน การลงทุน นโยบายดานสังคมและอ่ืน ๆ ซึ่งลวนกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงของ “คน” และ “ส่ิงแวดลอม” ชนบทในหลาย ๆ มิติ ซึ่งทําใหชนบทกับการเมืองมีวิถีชีวิตที่ใกลเคียงกันทั้ง ๆ ที่ดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมแตกตางกัน

ทิศทางการพัฒนาชนบทไทยในอนาคต ตองหันมามุงเนนการพัฒนาเพื่อใหเกิดความสมดุลและยั่งยืน มีการพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ (Moderation) ความมีเหตุผล (Reasonableness) และการมีภูมิคุมกันที่ดี (Self – immunity) มีการกระจายอํานาจทั้งการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น และกระจายอํานาจใหกับประชาชน สงเสริมใหภาคประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารการพัฒนาชนบททุกข้ันตอน มีการประสานงานระหวางภาครัฐและทองถิ่นอยางเปน

Page 30: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

30

ระบบ รวมทั้งมีการประสานงานที่ดีระหวางหนวยงานภาครัฐ โดยพัฒนาปจจัยสําคัญของความสําเร็จในการประสานงาน คือ ภาวะผูนํา (Leadership) และการปรับเปล่ียนวัฒนธรรมการทํางานที่ยึด Agenda based และ Area based เพื่อใหภารกิจสําเร็จภายใตวัฒนธรรมการบริหารงานแนวใหมที่ยึดประชาชนเปนศูนยกลาง

…………………………………………..

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการพัฒนาชุมชน วันที่ 16 กุมภาพนัธ 2553 ณ วิทยาลัยการทัพบก

Page 31: การพัฒนาชุมชนnakhonsawan.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/24/2017/...ช มชน หมายถ ง การรวมต วของบ คคล กล

31

เอกสารอางอิง

กองวิชาการและแผนงาน กรมการพัฒนาชุมชน. 2551. แผนยุทธศาสตร กรมการพัฒนาชุมชน. พ.ศ.2551-2554 . บริษัทรําไทยเพรส จํากดั. กรุงเทพฯ. นิรันดร จงวุฒเิวศย. 2550. แนวคิดแนวทางการพัฒนาชุมชน. กรมการพฒันาชุมชน. บริษัทรําไทยเพรส จํากดั. กรุงเทพฯ. สํานักพัฒนาและสงเสริมการบริหารราชการจังหวัด สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. 2552 . แผนกับการพัฒนาจังหวดัและกลุมจังหวัด. บริษทับพิธการพิมพ จาํกัด.