6
บทคัด มีควา นิเวศ วัตถุปหาดทบทเรี เมษาย รวม 13 7 ชนิ และ Ph พิจารลงต่ําที่สุดคื สัตวทีเมตร หอยขีตัว การกสัตวใArthrop ความคําสําดัชนีค1. บทหางจประมา ใหญอี เกาะขรานดอ การศึกยอ ความหลา สําคัญอยางยิ่ง ละความสม ะสงคเพื่อ ศึกษาย บริเวณเกานคอมพิวเตอร .. 2553 3 ชนิด ประกอPhylum Arthro hylum Sipuncul าตามแนวน้ํา คื สุ พบวา ในแนหอยขี้นก จํานมี ความหนาแนนละในแนวน้ําลงจํานวน 216 สัตวในกลุPhy ะจายตัวในวงกกลุPhylum A poda มีการกระ ลากหลายเทากั คั : ความหลาามหลากหลาย เกาะสีชังเป กชายฝงอําเภ12 กิโลเมต8 เกาะ คือ เก มใหญ , เกาะขา กไม าความหล.เกาะ หลายของสิเพราะเปนดัชบู รณของน้ําทะ ความหลากหลา ขามใหญ .เกชวยสอน มีชว ปรากฏวาพบสิไปดวย Phylum opoda พบจํานวa พบจํานวน 1 อระดับน้ําขึ้นสูงน้ําขึ้นสูงสุดพ36 ตัว/ตาราากที่สุดคือ ไสเาสุด พบสัตวที/ตารางเมตร ylum Mollusca างที่ในแนวน้ําAnnelida, Phylum จายตัวมากใน 0.8574 คาดัชหลาย ความหชนีการกระจาย หมูเกาะที่อยูบริ ศรีราชา จังหวั ประกอบดวยเาะยายทาว, เกามนอย, เกาะสัมกหลายทาสีชัง .ชลบุ รงเรียนเวี E มีชีวิตบริเวณ วัดระดับคุณภาเล ซึ่งการศึก ยทางชีวภาพขอะสีชัง .ชลบุ การศึกษาตั้งแ มีชีวิตทั้งหมด 4 m Mollusca ซึ4 ชนิด Phylum ชนิด ในดานควระดับกลางหสัตวที่มีความหเมตร ในแนวกดื อน จํานวน 100 มี ความหนาแนน นดานการศึกษา ซึ่งเปนกลุมเด งต่ําสุด การกรm Sipuncula นวกลางหาด นี การกระจายเท าแนน ระบบนิเวณทายอาวไทชลบุรี ไปทาง าะสีชัง และเกาคางคาว, เกาะ นยื้อ, เกาะปรชีวภาพขอรี เพื่อจัดทํ วัชรินท งเจดียวิทยา 450 E-mail : watchar หาดทราย ของระบบ ษาครั้งนี้มี ระบบนิเวศ รี เพื่อจัดทํา วันที1-30 4 กลุมไฟลัม งพบจํานวน m Annelida มหนาแนน ระดับน้ํา าแนนมาก างหาด พบ 0 ตัว/ตาราง มากที่สุดคือ การกระจาย ในหาดนีมี จายตัวของ ละ Phylum ละคาดัชนี กับ 0.7697 ศหาดทราย มีระยะทาง ทิ ศตะวันตก บริวารนอย ายตาหมื่น, และเกาะ ระบบนิเวบทเรียนคจันทิมา 0 .4 .ลี.ลี[email protected]o จาก (ht และในป ชายฝงแทางออมผลกระทซึ่งอยูในตรวจสอบ ที่เกิดขึความสําคอุดมสมบู ใหญนั้นเ ดรับผลหาดทราย มีเนื้อที่ปลักษณะชทาเรือ ไม ชุมชนเขาปจอดเ นิเวศหาดหาดทราย มพิวเตอร .ลําพูน 51110 om รูปttp://www.wattha จุบันดมีกิจกร ะการทองเที่ยว อระบบนิเวศโ โดยตรง จากผพืนที่ที่ไดรับประติดตามการเปลีซึ่งสิ่งมีชีวิต ญตอระบบนิเวศณของระบบนิเนหนึ่งในเกาะ ระทบตางๆ มา เหมาะแกการศึก เกาะขามใหญ ะมาณ 0.97 ยหาดเปนหาดมีพื้นที่ราบ ไมมี ปอาศัยอยู ประ พือขนถายสินคา รายมาก บริเวณเกาวยสอน ที 1 แผนที่เกาะamyaiprik.com/im มตางๆ เกิดขึกิจกรรมเหลายเฉพาะระบบ กระทบดังกลาวยชนจากเกาะสี นแปลงและควา ที พบเจอบริเว าดทรายอยางยิศและคุณภาพข ลู กของเกาะสีชั กและมีความหษาวิจัย อยูหางจากเกาะ .กม. มีพื้นที่สวรายผสมหาดหิ ลําธารและหนอกอบกับบริเวณนทําใหเกิดกา ขามใหญ ชัง mage/masichan มากมายทั้งกา น้ สงผลกระทบทัเวศหาดทราย จึ งจําเปนอยางยิงและเกาะบริวมสมบูรณของรหาดทรายนัเปนดัชนีวัดระ องน้ําทะเล และซึ่งนับไดวาเป ากหลายทางระ สีชังไปทางทิศต ใหญเปนภูเขา มีชุมชนอาศัยอ บึง [9] และจา อบๆ เกาะมีเรือรเปลี่ยนแปลงข ng.jpg) รประมง ทางตรง ที่ไดรับ ที่ชุมชน รควรจะ บบนิเวศ ถือวามี ดับความ กาะขาม นเกาะทีบบนิเวศ ะวันออก โขดหิน ยูบริเวณ กการที่มี สิ นคาเขา องระบบ

การศึกษาความหลา กหลายทาง ... ab/10_.pdfระบบน เวศ เพ อจ ดท า ว นท 1-30 กล มไฟล ม งพบจ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การศึกษาความหลา กหลายทาง ... ab/10_.pdfระบบน เวศ เพ อจ ดท า ว นท 1-30 กล มไฟล ม งพบจ

บทคัด

มีความ

นิ เวศแ

วัตถุปร

หาดทร

บทเรีย

เมษาย

รวม 13

7 ชนิด

และ Ph

พิจารณ

ลงต่ําสุ

ที่สุดคือ

สัตวที่มี

เมตร แ

หอยข้ีน

ตัว พบ

การกร

สัตวใน

Arthrop

ความห

คําสําคั

ดัชนีคว

1. บทน

หางจา

ประมา

ใหญอีก

เกาะขา

รานดอ

การศึกษ

ยอ

ความหลาก

มสําคัญอยางยิ่ง

และความสมบู

ระสงคเพื่อ ศึกษา

ราย บริเวณเกาะ

ยนคอมพิวเตอร

น พ.ศ. 2553 ผล

3 ชนิด ประกอบ

ด Phylum Arthro

hylum Sipuncul

ณาตามแนวนํ้า คื

สุด พบวา ในแนว

อ หอยข้ีนก จํานว

มีความหนาแนนม

และในแนวน้ําลงต

นก จํานวน 216 ต

บสัตวในกลุม Phy

ระจายตัวในวงกว

นกลุม Phylum A

poda มีการกระ

หลากหลายเทากับ

คัญ: ความหลาก

วามหลากหลาย ด

นํา

เกาะสีชังเปน

ากชายฝงอําเภอ

ณ 12 กิโลเมตร

ก 8 เกาะ คือ เก

ามใหญ, เกาะขา

กไม

ษาความหลา

อ.เกาะ

กหลายของสิ่ ง

เพราะเปนดัชนี

บูรณของ นํ้าทะ

าความหลากหลา

ะขามใหญ อ.เกา

ชวยสอน มีชวง

ลปรากฏวาพบสิ่ง

บไปดวย Phylum

opoda พบจํานวน

a พบจํานวน 1

อระดับนํ้าข้ึนสูงส

วนํ้าข้ึนสูงสุดพบ

วน 36 ตัว/ตาราง

มากที่สุดคือ ไสเดื

ต่ําสุด พบสัตวที่มี

ตัว/ตารางเมตร ใ

ylum Mollusca

วางที่ในแนวนํ้าล

Annelida, Phylum

จายตัวมากในแ

บ 0.8574 คาดัชนี

กหลาย ความหน

ดัชนีการกระจาย

นหมูเกาะที่อยูบริเ

อศรีราชา จังหวัด

ร ประกอบดวยเก

าะยายทาว, เกาะ

มนอย, เกาะสัมป

ากหลายทาง

สีชัง จ.ชลบุ

โรงเรียนเวยี

E

ง มีชี วิ ตบ ริ เวณ

นวัดระดับคุณภาพ

เล ซ่ึ งการศึก

ยทางชีวภาพของ

าะสีชัง จ.ชลบุรี

งการศึกษาตั้งแต

งมีชีวิตทั้งหมด 4

m Mollusca ซ่ึ

น 4 ชนิด Phylum

ชนิด ในดานควา

สุด ระดับกลางหา

บสัตวที่มีความหน

งเมตร ในแนวกล

ดือน จํานวน 100

มีความหนาแนน

ในดานการศึกษา

ซ่ึงเปนกลุมเดน

ลงต่ําสุด การกระ

m Sipuncula แ

แนวกลางหาด แ

นีการกระจายเทา

นาแนน ระบบนิเว

เวณทายอาวไทย

ดชลบุรี ไปทางทิ

กาะสีชัง และเกาะ

ะคางคาว, เกาะท

ปนยื้อ, เกาะปรง

งชีวภาพของ

รี เพื่อจัดทํา

วัชรินท

ยงเจดียวิทยา 450

E-mail : watchar

หาดทราย

พของระบบ

ษาครั้ ง น้ี มี

งระบบนิเวศ

รี เพื่อจัดทํา

ตวันที่ 1-30

4 กลุมไฟลัม

งพบจํานวน

m Annelida

ามหนาแนน

าด ระดับนํ้า

นาแนนมาก

ลางหาด พบ

0 ตัว/ตาราง

มากที่สุดคือ

การกระจาย

นในหาดนี้ มี

ะจายตัวของ

ละ Phylum

และคาดัชนี

ากับ 0.7697

วศหาดทราย

ย มีระยะทาง

ทิศตะวันตก

ะบริวารนอย

ทายตาหม่ืน,

ง และเกาะ

งระบบนิเวศ

าบทเรยีนคอ

ร จันทิมา

0 ม.4 ต.ลี้ อ.ลี้ จ

[email protected]

จาก (ht

และในปจ

ชายฝงแล

ทางออมต

ผลกระทบ

ซ่ึงอยูในพื้

ตรวจสอบ

ที่ เกิด ข้ึน

ความสําคั

อุดมสมบูร

ใหญน้ันเป

ไดรับผลก

หาดทราย

มีเน้ือที่ปร

ลักษณะชา

ทาเรือ ไม

ชุมชนเขาไ

ไปจอดเพื่

นิเวศหาดท

ศหาดทราย

อมพิวเตอรช

.ลําพูน 51110

om

รูปที

ttp://www.wattha

จจุบันไดมีกิจกรร

ละการทองเที่ยว

ตอระบบนิเวศโด

บโดยตรง จากผล

พื้นที่ที่ไดรับประโ

ติดตามการเปลี่ย

น ซ่ึ ง ส่ิ ง มีชีวิตที่

ัญตอระบบนิเวศห

รณของระบบนิเว

ปนหน่ึงในเกาะลู

กระทบตางๆ มา

เหมาะแกการศึก

เกาะขามใหญ อ

ระมาณ 0.97 ตร

ายหาดเปนหาดท

มีพื้นที่ราบ ไมมี

ไปอาศัยอยู ประ

พื่อขนถายสินคาน

ทรายมาก

บริเวณเกาะ

ชวยสอน

ท่ี 1 แผนที่เกาะสี

amyaiprik.com/im

รมตางๆ เกิดข้ึน

กิจกรรมเหลาน้ี

ดยเฉพาะระบบน

ลกระทบดังกลาวจึ

โยชนจากเกาะสีช

ยนแปลงและควา

ที่พบเจอบริเวณ

หาดทรายอยางยิ่

วศและคุณภาพข

ลูกของเกาะสีชัง

กและมีความหล

ษาวิจัย

อยูหางจากเกาะ

ร.กม. มีพื้นที่สวน

ทรายผสมหาดหิน

ลําธารและหนอง

กอบกับบริเวณร

น้ันทําใหเกิดกา

ะขามใหญ

สชัง

mage/masichan

นมากมายทั้งกา

น้สงผลกระทบทั้ง

นิเวศหาดทราย

จึงจําเปนอยางยิ่ง

ชังและเกาะบริวา

มสมบูรณของระ

ณหาดทรายนั้น

ง เปนดัชนีวัดระ

องนํ้าทะเล และเ

ง ซ่ึงนับไดวาเป

ลากหลายทางระ

สีชังไปทางทิศต

นใหญเปนภูเขา

น มีชุมชนอาศัยอ

งบึง [9] และจา

รอบๆ เกาะมีเรือสิ

รเปลี่ยนแปลงข

ng.jpg)

รประมง

งทางตรง

ที่ไดรับ

งที่ชุมชน

ารควรจะ

ะบบนิเวศ

นถือวา มี

ดับความ

เกาะขาม

นเกาะที่

บบนิเวศ

ะวันออก

โขดหิน

ยูบริเวณ

กการที่มี

สินคาเขา

องระบบ

Page 2: การศึกษาความหลา กหลายทาง ... ab/10_.pdfระบบน เวศ เพ อจ ดท า ว นท 1-30 กล มไฟล ม งพบจ

เกาะขา

ดาน ช

หาดท

คอมพิว

2. วัสดุ

2.1 เครื

0.5 x 0

กระสอ

ลาดชัน

กําลังข

เอกสาร

2.2 วธิี

0.97 ต

เปนหา

พื้นที่รา

รูปท่ี

จาก (h

ทางผูวิจัยจึง

ามใหญ โดยการส

ชนิด จํานวน กลุม

ราย ศึกษารว

วเตอรชวยสอน

ดุอุปกรณและวธิี

ร่ืองมือที่ใชในการ

2.1.1 กรอบไ

0.5 ตารางเมตร

2.2.2 ภาชนะ

บ ถังนํ้า

2.2.3 คีมปล

2.2.4 พลั่วมื

2.2.5 ไมเมต

2.2.6 ตะแก

2.2.7 แบบบั

น (Beach Profile

2.2.8 กลองถ

2.2.9 กลองจ

ยายต่าํ

2.2.10 คูมือ

รที่เกี่ยวของ

ธการศึกษา

2.2.1 การกํา

เกาะขามให

ตร.กม. มีพื้นที่สว

ดทรายทรายผสม

าบ ไมมีลํา ธารแล

ท่ี 2 เกาะขามใหญ

http://www.watth

พื้น

มีความสนใจที่จะ

สํารวจขอมูลควา

ม ความหนาแนน

บรวม วิ เคราะ

ธกีาร

รเก็บตัวอยาง

ไมสําหรับวางเกบ็

ะเก็บรวบรวมตัวอ

ลายแหลม

มือ

ตรขนาด 2 เมตร

รงรอน ขนาด 1.0

บันทึกขอมูลการสํ

)

ถายรูปดิจิตอลใช

จุลทรรศน แบบส

การจําแนกชนิดส

าหนดพื้นที่ศึกษา

หญ อยูทางทิศต

วนใหญเปนภูเขา

มหาดหิน มีชุมชน

ละหนองบึง

amyaiprik.com/i

นที่ศึกษา บริเวณห

ะศึกษาวิจัยบริเวณ

ามหลากหลายทา

น ของส่ิงมีชีวิตที

หขอมูล ทํา เป

บตัวอยาง (Quad

อยาง เชน ขวดพ

0, 5.0, 10.0 มิลลิ

สํารวจ / แบบบันทึ

ชถายภาพตัวอยา

สเตอริโอไมโครสโ

สัตวหนาดิน สารา

ตะวันออก มีเน้ือ

า โขดหิน ลักษณ

นอาศัยอยูบริเวณ

image/masichan

หนาหาด

ณหาดทราย

างชีวภาพใน

ที่พบเจอบน

นบทเรียน

rant) ขนาด

พลาสติก

ลเิมตร

ทกึความ

โคบ

านุกรมและ

อที่ประมาณ

ณะชายหาด

ณทาเรือ ไมมี

ng.jpg)

(Beach P

ขอบชายฝ

แนวนํ้า 0.ตอนบนบริ

เพื่อเก็บตวัและแนวนํ้

Transect)(ตอนบน)

ยืนเปนที่สเสนตรงเดีจนหมดเส

ตั้งแตระดัต่ําสุดในขบันทึกไวเกราฟ สูตร

ข้ันตอน ดั

เมตร บน

เก็บลงใน

ความชัน =

รูปที่ 3 การว

2.2.2 การวัดคว

rofile)

การวัดความยาว

ฝงหรือแนวน้ําข้ึน

1. วัดความยาว2. เลือกบริเวณ

25 – 0.5 เมตร ริเวณนํ้าข้ึนสูงสุด3. ในแนวสํารวจวอยางจํานวน 3 น้าลงต่ําสุด

4. ใหผูวิจัย 2 ค) ประมาณ 3 เม ของหาดพรอมก

สองและคนที่สองดียวกันและตั้งฉาสนแนวตรงน้ัน

5. คํานวณหาคาับนํ้าข้ึนสูงสุดที่จขณะน้ันๆ โดยจเพื่อเขียนลักษณรคํานวณความลา ระยะความสู

ระ

2.2.3 การเก็บตัว

เม่ือกําหนดสถา

ังน้ี

1. ใหวางกรอบ

นพื้นหาดทราย

2. ใชพลั่วมือ

กระสอบโดยที่มี

=

วัดความยาวและ

ามยาวและความ

วและความชันขอ

สูงสุด โดยมีข้ันต

วของหาดทั้งหมดณหาดตอนลางใกล เปนเขตใกลแนวด จากนั้นกําหนดบจ (Line Transecสถานี คือ แนวนํ้

คน ยืนหางกันตามตร โดยที่คนแรกกับถือไมเมตรตั้ง

งจะยืนตอไปอีก ากกับแนวแผนดิน

าความลาดชัน Sจะตองกําหนดตาะหาความลาดชั

ณะความลาดชันทัาดชัน สงไมเมตรที่ 2 – ระยะหางระหวางไ

ัวอยาง

านีที่เก็บตัวอยาง

บไมเก็บตัวอยาง

ยที่ กํ าหนดสถา

ขุดลงไปลึกประม

มีการเขียนระบุจุ

ความชันของหาด

ชันของหาด

องหาดในแนวตั้งฉ

ตอนดังน้ี

ลแนวนํ้าหรือใหสูวนํ้า และเลือกบริบริเวณกลางหาดct) จะกําหนดสถาน้าข้ึนสูงสุด แนวก

มแนวสํารวจ (Linกจะยืนอยูแนวนํ้างตรงโดยการประ

ระดับความไมเมตรดวโดยวัดระดับขอบฟาและคนที่ สองจเมตรวัดเชนที่ เ ป น คนค ว า ม สู งเพื่อใหอยู ใสายตาเดียแรกพรอมระดับน้ันบนจากนั้นคนแ

3 เมตร โดยนและวัดระดับให

lope ระหวางจุดตายตัวไปจนถึงระชันตามจุดที่กําหทั้งหมดโดยการส

ระยะความสูงไมเไมเมตรที่ 1 และ

แลว การเกบ็ตัวอ

ขนาด 0.5 x 0.

านีจะเ ก็บตัวอย

มาณ 10 เซนติเม

ดที่เก็บไวที่ขาง

ด 

ฉากจาก

สงกวา รเวณหาดด านียอย กลางหาด

ne ข้ึนสูงสุด ะมาณคามสูงของยสายตาบกับแนวะนํ้าทะเล จะถือไมนกันโดยชี้ ร ะ ดั บง ข้ึ น ล งในระดับยวกับคนมกับอานนไมเมตร แรกจะมา

ยเดินเปนหม ทําไป

ตาง ดับนํ้าลงนด แลวสรางเปน

มตรที่ 1 2

อยางมี

.5 ตาราง

ย างแลว

มตร แลว

กระสอบ

Page 3: การศึกษาความหลา กหลายทาง ... ab/10_.pdfระบบน เวศ เพ อจ ดท า ว นท 1-30 กล มไฟล ม งพบจ

เรียงกัน

และ 1.

หมด สิ

ตะแกร

แอลกอ

รหัสสถ

ปริมาณ

ข้ันตอน

ดวยนํ้า

ปลายแ

นับปริม

เพื่อที่จ

3. นําตัวอ

นจากบนลงลาง

.0 มิลลิเมตร เพื่อ

ส่ิงมีชีวิตที่มีขนาด

รงแตละขนาดจ

อฮอล 70% เพื่อน

4. เขียนขอม

ถานีเก็บตัวอยาง

รู

2.2.4 การจํา

ในหองปฏิบั

ณที่พบ กลุม ขนา

น ดังน้ี

1. นํากลุมตั

าทะเลกรองบนถ

แหลมแยกสิ่งมีชี ิ

2. เม่ือแยกเ

มาณ จัดกลุม วัดข

จะตองการขอมู

รูปที่ 5 การจํา

ยางที่เก็บไดมาร

ดังน้ี ขนาด 10.0

อใหทราย ตะกอ

ดใหญกวาขนาด

ากนั้นนํามาเก็บ

นํามาวิเคราะหข

มูลการเก็บส่ิงมีชี

วันเดือนป ชื่อผูเก

รปที่ 4 การเก็บตวั

แนกสิ่งมีชีวิตในห

ัติการ จะทําการ

าด และน้ําหนัก ข

ัวอยางที่เก็บไวใ

ถาดพลาสติก ปล

วิตเปน 2 กลุ

เอาสิ่งมีชีวิตกลุม

ขนาด ชั่งนํ้าหนกั

มูลอื่นๆ ในภาย

แนกส่ิงมีชีวิต (a)

รอนลงในตะแกร

0 มิลลิเมตร 5.0

อนดินอื่นๆ ตกลง

ตาตะแกรงจะคา

บไวในขวดตัวอ

อมูลในหองปฏิบั

ชวิตไวที่ขางขวด

ก็บผูแยก

วอยาง

หองปฏิบัติการ

รวิเคราะหขอมูล

ของส่ิงมีชีวิตชนิดต

ในขวดเก็บตัวอ

ลอยใหตกตะกอ

ม คือกลุมใหญแ

มใหญแลว ทํากา

ก และบันทึกภาพ

วิ เคร

โดยที

หาขอ

อิ น เ

ส า ร

ประก

ทํากา

ตัวอยา

ยหลังก็สามารถ

รงรอน 3 ชั้น

มิลลิเมตร

งดานลางให

างอยูขางบน

ยางที่บรรจุ

บัติการตอไป

โดยมีขอมูล

ไดแก ชนิด

ตางๆ โดยมี

ยาง มาลาง

นแลวใชคีม

และกลุมเล็ก

ารแยกชนิด

และทําการ

าะหข อ มูล

ที่ ใชหนังสือ

อมูลของจาก

ต อ ร เ น็ ต

ร า นุ ก ร ม

อบกัน และ

ารเก็บกลุม

างไวที่ เดิม

ถทําไดงาย

3. ใชแวน

เม่ือ ni =

n =

เม่ือ H’ =

N =

3. ผลการ

ใหญ จํานว

รวม 9 สถ

แบงเปน 5

0

100

200

300

400

จํานว

นตัว/ตา

รางเมต

รูปท่ี

ขยาย แยกเอาส่ิ

2.2.5 วิเคราะหข

1. คาดัชนีความ

Shannon’s in

จํานวนตัวของตวั

จํานวนตัวของตวั

2. คาดัชนีการกร

Pielou’s eve

คาดัชนีความหล

= จํานวนชนิดของ

รทดลองและอภปิ

ในการศึกษาคร้ั

วน 3 Line Tran

ถานี ผลการศึก

3.1 ผลการศึกษ

จากแผนภูมิสา

5 กลุม 13 ชนิด คื

112

8

288

1

หอยเสีย

หอยท

ราย

หอยข

ี้นก

ใื

แผนภูมิแสดงขอมที่พบบริเวณ

ท่ี 6 การจําแนกสิ่ง

สงมีชีวิตกลุมเล็ก

ขอมูล

มหลากหลาย (H’)

ndex H’ = -∑ [(

วส่ิงมีชีวิตชนิดที ่

วส่ิงมีชีวิตทั้งหมด

ระจาย (J’) ใชสูต

enness J’ = H’ /

ลากหลาย

งส่ิงมีชีวิตที่พบทั้

ปรายผล

ร้ังน้ี ไดทําการเก็

nsect ซ่ึงแตละ L

กษาแยกตามหัว

ษาชนิดและปริมาณ

ามารถอธิบายได

คอื

144

24 4 16

ใสเดือน

กุงดีด

ขัน

ปูเสฉ

วน

หอยก

ะทิ

ชื่อส่ิงมีชีวิต

มูล ชนิดและปริมณหาดทราย เกา

งมีชีวิต (b) 

ออกมาอีกกลุม พ

นําไปวิเคราะ

เหมือนส่ิงมีชี

ใหญ โดยที่อา

กลองจุลทรร

อีกทางหนึ่งเพ

ขอมูลที่สมบูร

) ใชสูตร [1]

ni/n) ln (ni/n)

i ที่พบในแตละส

ดในพื้นที่

ตร [1]

ln(N)

ั้งหมดในแตละสถ

ก็บขอมูลบริเวณเ

Line Transect มี

วขอมีรายละเอี

ณของส่ิงมีชีวิต

ดวาสิ่งมีชีวิตที่พ

460

4 12

หอยก

นแหล

ปูใบ

หอยน

างรม

หอยก

ระปุก ั่

มาณ ของส่ิงมีชีวิตะขามใหญ

พรอมกับ

ะหขอมูล

ชีวิตกลุม

าจตองใช

รศนชวย

พื่อใหได

รณยิ่งข้ึน

สถานี

ถานี

เกาะขาม

3 สถานี

ยด ดังน้ี

พบไดจัด

12 4

หนอน

ถัว

ไอโซพอ

ดต

Page 4: การศึกษาความหลา กหลายทาง ... ab/10_.pdfระบบน เวศ เพ อจ ดท า ว นท 1-30 กล มไฟล ม งพบจ

1. สัตวทะเลในกลุม หอยฝาเดียว Phylum Mollasca

1.1 หอยข้ีนก Family Cerithiidae พบจํานวน 288

ตัว/ตารางเมตร ซ่ึงพบในแนวสํารวจน้ําลงต่ําสุด กลางหาด และนํ้า

ข้ึนสูงสุด จํานวน 216, 36 และ 36 ตัว/ตารางเมตร ตามลําดับ

1.2 หอยกะทิ Nerita undata พบจํานวน 16 ตัว/

ตารางเมตร ซ่ึงพบในแนวสํารวจน้ําลงตํ่าสุด กลางหาด จํานวน 8

ตัว/ตารางเมตรเทาๆ กัน

1.3 หอยกนแหลม Morula musiva พบจํานวน 4 ตัว/

ตารางเมตร ซ่ึงพบในแนวสํารวจน้ําลงต่ําสุด

2. สัตวทะเลในกลุม หอยสองฝา Phylum Mollasca

2.1 หอยเสียบ Donax faba พบจํานวน 112 ตัว/

ตารางเมตร ซ่ึงพบในแนวสํารวจน้ําลงต่ําสุด กลางหาด และน้ําข้ึน

สูงสุด จํานวน 100, 8, และ 4 ตัว/ตารางเมตรตามลําดับ

2.2 หอยทราย Paphia gallus พบจํานวน 36 ตัว/

ตารางเมตร ซ่ึงพบในแนวสํารวจน้ําลงต่ําสุด และน้ําข้ึนสูงสุด จํานวน

16 ตัว/ตารางเมตร เทา ๆ กัน

2.3 หอยนางรม Crassostrea lugubris พบจํานวน 4

ตัว/ตารางเมตร ซ่ึงพบในแนวสํารวจน้ําลงต่ําสุด

2.4 หอยกระปุก Ruditapes variegatus พบจํานวน

12 ตัว /ตารางเมตร ซ่ึงพบในแนวสํารวจน้ําลงต่ําสุด

3. สัตวทะเลในกลุม Phylum Arthopoda

3.1 กุงดีดขัน Alpheus sp. พบจํานวน 24 ตัว/ตาราง

เมตร ซ่ึงพบในแนวสํารวจน้ําลงต่ําสุด

3.2 ปูเสฉวน Coenobita sp. พบจํานวน 4 ตัว/ตาราง

เมตร ซ่ึงพบในแนวสํารวจกลางหาด

3.3 ปูใบ Family Xanthidae พบจํานวน 60 ตัว/ตาราง

เมตร ซ่ึงพบในแนวสํารวจน้ําลงต่ําสุด

3.4 ไอโซพอด พบจํานวน 4 ตัว/ตารางเมตร ในบริเวณ

แนวสํารวจ ซ่ึงพบในแนวสํารวจน้ําข้ึนสูงสุด

4. สัตวทะเลในกลุม ไสเดือนทะเล Phylum Annelida

ไสเดือน Family Nereidae พบจํานวน 144 ตัว/ตาราง

เมตร และพบในแนวสํารวจน้ําลงต่ําสุด กลางหาด และน้ําข้ึนสูงสุด

จํานวน 32 ตัว 100 ตัว 12 ตัว ตามลําดับ

5. สัตวทะเลในกลุม หนอนถ่ัว Phylum Sipuncula

หนอนถ่ัว Sipunculus sp. พบจํานวน 12 ตัว/ตาราง

เมตร พบในแนวสํารวจกลางหาด

3.2 ผลการศึกษาความหนาแนนของส่ิงมีชีวิต

ตารางท่ี 1 แสดงขอมูลความหนาแนนของส่ิงมีชีวิตที่พบบริเวณหาด

ทรายตามแนวน้ําข้ึน - นํ้าลง บริเวณเกาะขามใหญ

สัตวท่ีพบ บริเวณท่ีพบ (จํานวนตัว/ตารางเมตร)

ตอนบน ตอนกลาง ตอนลาง รวม

หอยเสียบ 4 8 100 112 หอยทราย 4 0 4 8 หอยข้ีนก 36 36 216 288 ไสเดือน 12 100 32 144 กุงดีดขัน 0 24 0 24 ปูเสฉวน 0 4 0 4 หอยกะท ิ 0 8 8 16 หอยกนแหลม 0 0 4 4 ปูใบ 0 0 60 60 หอยนางรม 0 0 4 4 หอยกระปุก 0 0 12 12 หนอนถ่ัว 0 12 0 12 ไอโซพอด 4 0 0 4

รวม 60 192 440 692

จากตารางที่ 1 ปรากฏวาแนวน้ําลงต่ําสุด (ตอนลาง) มี

ความหนาแนนมากที่สุด คือ พบส่ิงมีชีวิตจํานวน 440 ตัว/ตาราง

เมตร และแนวกลางหาด (ตอนกลาง) มีความหนาแนนรองลงมา พบ

ส่ิงมีชีวิตจํานวน 192 ตัว/ตารางเมตร และแนวน้ําข้ึนสูงสุด (ตอนบน)

มีความหนาแนนนอยที่สุด พบส่ิงมีชีวิตจํานวน 60 ตัว/ตารางเมตร

3.3 ผลการศึกษาปจจัยส่ิงแวดลอมทางกายภาพบาง

ประการที่มีผลตอส่ิงมีชีวิต

จากกราฟสามารถวิเคราะหความยาวและความชันของ

หาดทราย เกาะขามใหญ พบวาใน Line Transect 1 มีคาความชัน

มากที่สุด และใน Line Transect 2, Line Transect 3 มีความชัน

รองลงมาตามลําดับ

-20

-10

0

10

20

30

40

50

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

คาคว

ามชัน

Slop

e

กราฟแสดงขอมูลความยาวและความชันของหาดทราย บริเวณเกาะขามใหญ

L1

L2

L3

ระยะทาง (m)

Page 5: การศึกษาความหลา กหลายทาง ... ab/10_.pdfระบบน เวศ เพ อจ ดท า ว นท 1-30 กล มไฟล ม งพบจ

3.4 ผลการวิเคราะหคาดัชนีความหลากหลาย (H’) และคา

ดัชนีการกระจาย (J’)

จากการวิเคราะห ปรากฏวาคาดัชนีความหลากหลาย

(H’) เทากับ 0.8574 และคาดัชนีการกระจาย (J’) เทากับ 0.7697

ตามลําดับ

3.5 การสรางสื่อการสอน คือ บทเรียนคอมพิวเตอรชวย

สอน เร่ือง “มีอะไรอยูในหาดทราย” ซ่ึงสามารถนําไปประยุกต

บูรณาการ กับรายวิชาวิทยาศาสตร ในการนําไปใชกับหาดทรายน้ํา

จืดใกลบาน รวบรวมความรู นําไปสู โครงงานวิทยาศาสตรได

รูปท่ี 7 หนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนระบบออนไลน (a)

        รูปท่ี 8 หนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน บนระบบออนไลน (b)

4. สรุปผล

ส่ิงมีชีวิตที่พบบริเวณหาดทราย เกาะขามใหญ มีจํานวน

13 ชนิด ซ่ึงเปนสัตวในกลุม Phylum Mollusca หรือกลุมหอย พบ

มากที่สุด 7 ชนิด จํานวน 444 ตัว/ตารางเมตร รองลงมาคือ กลุม

Phylum Annelida หรือกลุมใสเดือน พบ 1 ชนิด จํานวน 144

ตัว/ตารางเมตร กลุม Phylum Arthropoda หรือกลุมของสัตวขา

ปลอง พบ 4 ชนิด จํานวน 92 ตัว/ตารางเมตร และกลุม Phylum

Sipuncula คือ หนอนถ่ัว พบ 1 ชนิด จํานวน 12 ตัว/ตารางเมตร

รวม 692 ตัว/ตารางเมตร ทั้งน้ีที่พบสัตวในกลุม Phylum Mollusca

จํานวนมากนั้นอาจเปนเพราะเปนพื้นที่ไดรับอิทธิพลจากน้ําข้ึนนํ้าลง

ทําใหมีสภาพที่เหมาะสมกับการดํารงชีวิตของสัตวกลุมน้ี และหอย

ข้ีนก พบมากเปนอันดับ 1 ซ่ึงหอยชนิดน้ีมีการปรับตัวเพื่อรับสภาพ

ความรอนและอุณหภูมิที่สูงข้ึน ไดดีกวาสัตวชนิดอื่น[7] สวนสัตวใน

กลุม Phylum Sipuncula ซ่ึงพบนอยที่สุด จากการศึกษาพบแค 1

ชนิด ทั้งน้ีอาจเนื่องมาจากลักษณะของหาดทรายในบริเวณที่ศึกษา

มีหินปกคลุมอยูขางบนซึ่งไมเหมาะสมกับสภาพความเปนอยูของ

หนอนถ่ัวชนิดน้ี ซ่ึงตามธรรมชาติของสัตวชนิดน้ีจะพบอยูบริเวณ

หาดทรายที่ไมมีส่ิงปกคลุม ลักษณะการทํารังจะอยูใตพื้นทราย [1]

จึงทําใหพบสัตวชนิดน้ีนอยกวากลุมอื่น

ในดานความหนาแนน พิจารณาตามแนวน้ํา คือระดับนํ้า

ข้ึนสูงสุด ระดับกลางหาด และระดับนํ้าลงต่ําสุด พบวา ในแนวนํ้าข้ึน

สูงสุดพบสัตวที่มีความหนาแนนมากที่สุดคือ หอยข้ีนก จํานวน 36

ตัว/ตารางเมตร ในแนวกลางหาด พบสัตวที่มีความหนาแนนมาก

ที่สุดคือ ไสเดือน จํานวน 100 ตัว/ตารางเมตร และในแนวน้ําลง

ต่ําสุด พบสัตวที่มีความหนาแนนมากที่สุดคือ หอยข้ีนก จํานวน 216

ตัว/ตารางเมตร จากการศึกษาความหนาแนนน้ัน ในแนวนํ้าข้ึนสูงสุด

และน้ําลงต่ําสุดจะพบหอยข้ีนก มากที่สุด ทั้งน้ีอาจเนื่องมาจาก หอย

ชนิดมีการปรับตัวสูง ทนตอสภาพอากาศ ทั้งในขณะที่นํ้าข้ึนสูงสุด

และน้ําลงต่ําสุด และเน่ืองจากรูปรางลักษณะที่สามารถถูกนํ้าพัดพา

ไดงาย จึงมีการกระจายตัวในแนวน้ําหลายแนว ในแนวกลางหาด

พบไสเดือนมีความหนาแนนมากที่สุด ทั้งที่อาจเนื่องมาจาก ในแนว

กลางหาดเปนแนวที่ มีความลาดชัน ขนาดของตะกอนดิน และ

อุณหภูมิที่เหมาะสมกับการอยูอาศัย การดํารงชีวิตไดงายกวาแนวอื่น

ในดานปจจัยส่ิงแวดลอมทางกายภาพบางประการที่มีผล

ตอส่ิงมีชีวิต โดยพิจารณาจากปจจัยของความลาดชัน พบวาใน

บริเวณแนวน้ําสูงสุดจะมีความลาดชันสูง ซ่ึงมีผลกระทบตอส่ิงมีชีวิต

น้ันคือสภาพที่ไมเหมาะสมตอการอยูอาศัย พื้นที่นอย คลื่นลม

กระแทกแรงเมื่อนํ้าข้ึนสูงสุด สวนในแนวกลางหาดและแนวน้ําลง

ต่ําสุดจะมีความลาดชันนอยจะพบส่ิงมีชีวิตคอนขางมากและ

หลากหลายชนิด คลื่นไมกระแทกแรง งายตอการเคลื่อนที่ของ

ส่ิงมีชีวิต ที่เปนผลเชนน้ีอธิบายไดวาความลาดชันของหาดทรายมีผล

ตอจํานวนชนิด ปริมาณ กลุม และความหนาแนนของส่ิงมีชีวิต

เชนกัน

5. ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตใน

บริเวณหาดหิน หาดทราย ในพื้นที่อื่นๆ รอบเกาะสีชัง เพื่อใชในการ

เปรียบเทียบความหลากหลายจะไดเปนแนวทางในการอนุรักษ

ทรัพยากรบนเกาะตอไป

Page 6: การศึกษาความหลา กหลายทาง ... ab/10_.pdfระบบน เวศ เพ อจ ดท า ว นท 1-30 กล มไฟล ม งพบจ

2. ควรมีการศึกษาปจจัยทางกายภาพที่เกี่ยวของดาน

อื่นๆ ดวย เชน ลักษณะถิ่นที่อยู อุณหภูมิ ความชื้น ลักษณะดิน

ตะกอน เปนตน

3. ในการเก็บตัวอยางสิ่งมีชีวิตน้ัน จะมีการเก็บมาดองใน

แอลกอฮอล 70 % ทําใหส่ิงมีชีวิตหลายชนิด และจํานวนมากเสียชีวิต

โดยไมคุมคา ซ่ึงนักวิจัยเองตองคํานึงถึงการอนุรักษดวย การแกไข

ปญหาดังกลาว อาจทําไดดังน้ี วัดขนาด จดบันทึกลักษณะเดน นับ

จํานวน บันทึกภาพ แลวทําการปลอยกลับลงไปในทะเล หรือถา

จําเปนตองนํามาดองเพื่อศึกษาอยางละเอียด ควรเก็บมาพอเปน

ตัวแทนของประชากรทั้งหมดได เพื่อจะไดไมเกิดผลกระทบตอ

จํานวนของส่ิงมีชีวิต

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ

หาดทราย บริเวณเกาะขามใหญ อ.เกาะสีชัง จ.ชลบุรี เพื่อจัดทํา

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ในครั้งน้ีสําเร็จลุลวงไปดวยดี โดย

ไดรับความอนุเคราะหจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

(สกว.) ภายใตโครงการครุวิจัย ผูใหการสนับสนุนดานทุนในการ

ศึกษาวิจัย สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ําและศูนยฝกนิสิต เกาะสีชัง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ใหความอนุเคราะหทุกดาน

ขอขอบคุณอาจารยและเจาหนาที่ประจําสถาบันวิจัย

ทรัพยากรทางน้ํ าและศูนยฝก นิ สิต เกาะสีชั ง จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย โดยเฉพาะคุณอานุภาพ พานิชผล ที่เปนที่ปรึกษาและ

ชวยเหลือในทุกดานใหกับงานวิจัยดวยดีตลอดมา

ขอขอบคุณเพื่อนรวมโครงการครุวิจัย รุนที่ 4/2553 ทุก

คนที่ชวยเหลือใหกําลังใจและใหคําปรึกษาตลอดการปฏิบัติกิจกรรม

เอกสารอางอิง

[1] จิตติมา อายุตตะกะ.(2544).การศึกษาเบื้องตนประชาคม

ส่ิงมีชีวิตพ้ืนทะเล.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

[2] จักรกริช พวงแกว และคณะ.(2549).นักสืบชายหาด คูมือสัตว

และพืชชายหาด.กรุงเทพฯ: บริษัททวีวัฒนการพิมพ

จํากัด.

[3] ชลธยา ทรงรูป และคณะ.(2546).ทรัพยากรชายฝงและชุมชน

เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี. สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ํา

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ: หจก ประสุขชัยการ

พิมพ.

[4] ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ.(2545).การเปลี่ยนแปลงระบบ

นิเวศแนวปะการงัเกาะสีชัง จังหวัด ชลบุรี.รายงานการ

วิจัย.187 น.

[5] ถนอมพร เลาหจรัสแสง .(2541).คอมพิวเตอรชวยสอน .

กรุงเทพมหานคร: วงกมลโปดักชัน.

[6] ธรณ ธํารงนาวาสวัสดิ์ และคณะ.(2550).คูมืออันดามัน:ปูทะเล

ไทย.กรุงเทพฯ: สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร

(องคการมหาชน).

[7] ธรณ ธํารงนาวาสวัสดิ์ และคณะ.(2550).คูมืออันดามัน:หอย

ทะเลไทย.กรุงเทพฯ: สํานักงานพัฒนาการวิจัย

การเกษตร (องคการมหาชน).

[8] บพิธ จารุพันธ และ นันทพร จารุพันธ.(2546).สัตวไมมีกระดูก

สันหลัง 2 แอนนิลิดา ถึง โพรโทคอรดาทา.กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

[9] สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ํา.(2551).คูมือปฏิบัติการครุวิจัย

วิทยาศาสตรทางทะเล : ระบบนิเวศชายฝง.ชลบุรี:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย(อัดสําเนา).