283
การพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด โดย นางสาวกัณหา คําหอมกุล วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548 ISBN 974-464-844-9 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

การพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด

โดย นางสาวกัณหา คําหอมกุล

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนเิทศ ภาควชิาหลักสูตรและวิธีสอน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548

ISBN 974-464-844-9 ลิขสิทธ์ิของบณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

THE DEVELOPMENT OF THE ABILITY IN SUMMARY WRITING OF THE SIXTH GRADE STUDENTS TAUGHT BY MIND MAPPING APPROACH

By Kunha Kamhomkul

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements For the Degree MASTER OF EDUCATION

Department of Curriculum and Instruction Graduate School

SILPAKORN UNIVERSITY 2005

ISBN 974-464-844-9

Page 3: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธ เร่ือง “การพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด” เสนอโดย นางสาวกัณหา คําหอมกุล เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ

…………………………………………… (รองศาสตราจารย ดร.วิสาข จัติวัตร )

รองอธิการบดีฝายวิชาการ รักษาราชการแทน คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

วันที…่…...เดอืน………………พ.ศ. …… ผูควบคุมวิทยานิพนธ 1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาเรียม นิลพันธุ 2. ผูชวยศาสตราจารยสมพร รวมสุข 3. อาจารยนุด ี รุงสวาง คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ …………………………………….....ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุเทพ อวมเจริญ) ..................../..................../................... …………………………………….....กรรมการ ……………………………………..กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร. มาเรียม นิลพันธุ) (ผูชวยศาสตราจารยสมพร รวมสุข) ..................../..................../................... ..................../..................../................... …………………………………….....กรรมการ ……………………………………..กรรมการ (อาจารยนุด ี รุงสวาง) (อาจารยตลับ ฉลาดแพทย) ..................../..................../................... ..................../..................../...................

Page 4: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

K 46253301 : สาขาวิชาหลักสูตรและการนเิทศ คําสําคัญ : ความสามารถในการเขยีนสรุปความ / ความสามารถในการสรางแผนผังความคิด / วิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด กัณหา คําหอมกุล : การพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (THE DEVELOPMENT OF THE ABILITY IN SUMMARY WRITING OF THE SIXTH GRADE STUDENTS TAUGHT BY MIND MAPPING APPROACH) อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ : ผศ. ดร. มาเรียม นิลพันธุ, ผศ. สมพร รวมสุข, อ. นุดี รุงสวาง. 269 หนา. ISBN 974–464–844–9 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคการวิจัยเพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 กอนและหลังการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 2) ศึกษาความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด กลุมตัวอยางคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 30 คน โรงเรียนวัดหนองพันเทา อําเภอสองพี่นอง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pretest Posttest Design ใชเวลาในการสอน 16 ช่ัวโมง ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 1) แผนการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความและสรางแผนผงัความคดิ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด การวิเคราะหขอมูล ใช คารอยละ (%), คาเฉล่ีย ( X ), คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.), การทดสอบคา t–test แบบ dependent และการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบวา 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด มีความสามารถในการเขียนสรุปความ กอนและหลังเรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยคะแนนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 2) นักเรียนมีความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได มากที่สุด รองลงมาคือแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท และแผนผังความคิดแบบกางปลา 3) นักเรียนมีความคิดเห็นวาการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดทําใหเขาใจบทเรียนงาย เพราะการเรียนเปนลําดับขั้นตอนสามารถทํางานเสร็จตามเวลา ทําใหสรุปความไดและสามารถนําไปประยุกตใชกับวิชาอ่ืน ๆ ได ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548 ลายมือช่ือนักศึกษา……………………………. ลายมือช่ืออาจารยผูควบคุมวทิยานิพนธ 1………….…….. 2. ..……..……….. 3. …………………

Page 5: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

K 46253301 : MAJOR : CURRICULUM AND SUPERVISION KEY WORD : ABILITY IN SUMMARY WRITING / ABILITY TO ORGANIZE THE CONCEPT OF MIND MAPPING / MIND MAPPING APPROACH KUNHA KAMHOMKUL : THE DEVELOPMENT OF THE ABILITY IN SUMMARY WRITING OF THE SIXTH GRADE STUDENTS TAUGHT BY MIND MAPPING APPROACH. THESIS ADVISORS : ASST.PROF. MAREAM NILLAPUN, Ed.D, ASST.PROF. SOMPORN RUAMSUK, M.Ed. AND NUDEE ROUNGSAWANG, M.Ed. 269 pp. ISBN 974–464–844–9 The purpose of this research were to : 1) compare the sixth grade students’ ability in summary writing evaluated before and after classes taught by mind mapping approach, 2) determine the sixth grade student’s ability to organize the concept of mind mapping, and 3) study the students’ opinions about the implementation of mind mapping approach in the class of summary writing. The sample consisted of 30 sixth grade students, Wat Nongpuntao School under the jurisdiction of the Office of Supanburi Education Service Area 2, Songpeenong District, Supanburi Province. The research was the One Group Pretest–Posttest Design and conducted within the duration of 16 hours, second semester in the academic year 2005. The instruments employed to collect data included: 1) lesson plans organized along with the idea of mind mapping 2) an ability test on students’ summary writing and organizing the concept of mind mapping and 3) a questionnaire inquiring students’ opinions about the implementation of mind mapping approach. The collected data were analyzed by the statistical means of percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The findings were as follows: 1. The difference of the sixth grade students’ scores of ability in summary writing earned before and after their participation in the class organized along with the idea of mind mapping approach was statistically significant at the level of 0.05 whereas the students’ scores earned after were found higher than the scores earned before. 2. With respect to the concept of mind mapping, the students were found able to organized the pattern of ladder at the highest level but the classification pattern and the fish bone pattern were at the high level. 3. The students expressed their positive opinions about the implementation of mind mapping approach and also revealed their beliefs that the mind mapping approach supported students’ better understanding of the lessons due to its time-saving steps of working, ability to summarize effectively and applying its concept to any other subject area. Department of Curriculum and Instruction, Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2005 Student’s signature ………………………………………… Thesis Advisors’s signature 1…..….…………… 2……..……….……… 3………………….…..

Page 6: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความเมตตา กรุณาใหคําปรึกษาแนะนําและตรวจทานแกไขเปนอยางดีจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาเรียม นิลพันธุ ผูชวยศาสตราจารยสมพร รวมสุข และอาจารยนุดี รุงสวาง ผูเปนที่ปรึกษาและควบคุมวิทยานิพนธ ผูวิจัยรูสึกซาบซึง้ในความกรุณาและความเสียสละที่มีตอศิษยเสมอมา ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณอยางสูง ขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุเทพ อวมเจริญ ประธานกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ และ อาจารยตลับ ฉลาดแพทย ผูทรงคุณวุฒิที่กรุณาใหคําแนะนําและตรวจทานแกไขวิทยานิพนธ ขอกราบขอบพระคุณ นางวาสนา คงมั่น นางสาวจินตนา สุขสมแดน ศึกษานิเทศกชํานาญการ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 2 และ นายไพศาล ยาทิพย ศึกษานิเทศกชํานาญการ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ที่กรุณาเปนผูเชี่ยวชาญใหขอเสนอแนะตรวจทานแกไขเครื่องมือในการวิจัยใหครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ ขอกราบขอบพระคุณคณาจารยทุกทานที่ไดใหความรู และขอกราบขอบพระคุณ นายสัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา ผูอํานวยการโรงเรียนวัดหนองพันเทา ที่ใหความอนุเคราะห อนุญาตให เก็บรวบรวมขอมูล พรอมทั้งใหขอเสนอแนะและชวยจัดรูปแบบวิทยานิพนธ นายเสนห โสมมนัส ผูอํานวยการโรงเรียนบานหัววัง ที่ใหความอนุเคราะหการทดลองใชเครื่องมือ และขอขอบคุณ พี่ ๆ เพื่อนและนอง ๆ นักศึกษาสาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ที่ใหความชวยเหลือ แนะนํา และเปนกําลังใจตลอดมา ทายที่สุดผูวิจัยขอนอมระลึกถึงพระคุณของ คุณพอหยัด คุณแมกิมเฮียง คําหอมกุล ซ่ึงเปนผู เ ล้ียงดูและวางรากฐาน ตลอดจนใหการสนับสนุนการศึกษาผูวิจัยตลอดมา และขอขอบพระคุณญาติพี่นองทุกทานที่ใหความรัก ความหวงใยและชวยเหลือทุกดานตลอดจน เปนกําลังใจจนสงผลใหผูวิจัยประสบความสําเร็จ หากประโยชนใด ๆ อันเกิดจากวิทยานิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอบูชาแดบิดามารดา คณาจารยและผูมีพระคุณทุกทาน

Page 7: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ จ กิตติกรรมประกาศ ฉ สารบัญตาราง ญ สารบัญแผนภูมิ ฐ บทที่ 1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย 8 วัตถุประสงคของการวิจยั 12 คําถามการวิจยั 12 สมมติฐานการวิจัย 12 ขอบเขตการวจิัย 12 นิยามศัพทเฉพาะ 13 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ 15 หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 15 หลักการ 15 จุดหมายของหลักสูตร 16 โครงสรางของหลักสูตร 16 สาระและมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 18 การวัดผลประเมินผล 22 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองพนัเทา 25 วิสัยทัศน 25 คุณภาพของผูเรียน 26 โครงสรางของหลักสูตร 28 มาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 29

Page 8: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

บทที่ หนา ทักษะการเขียนและการเขยีนสรุปความ 31 ความหมายของการเขียน 31 ประเภทของการเขียน 32 การเขียนสรุปความ 35 ความหมายการเขียนสรุปความ 35 ความสําคัญของการเขียนสรุปความ 35 วิธีการเขียนสรุปความ 36 เกณฑการใหคะแนนการเขยีนสรุปความ 38 ความสนใจในการอาน 41 วิธีการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 42 การจัดการเรยีนรูแบบแผนผงัความคิด 46 ความหมายของแผนผังความคิด 46 ขั้นตอนการจดัการเรียนรูแบบแบบแผนผงัความคิด 47 ประโยชนของแผนผังความคดิ 51 การใหคะแนนแผนผังความคิด 52 ประเภทของแผนผังความคิด 58 งานวิจยัที่เกีย่วของ 74 งานวิจยัในประเทศ 74 งานวิจยัตางประเทศ 78 3 การดําเนินการวิจัย 80 ประชากรและกลุมตัวอยาง 80 แบบแผนการทดลองของการวิจัย 81 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 81 การสรางและการหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย 92 การเก็บรวบรวมขอมูล 100 4 การวิเคราะหขอมูล 105 ตอนที่ 1 ความสามารถในการเขียนสรุปความ 105 ตอนที่ 2 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิด 107 ตอนที่ 3 ความคิดเห็นของนักเรียน 110

Page 9: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

บทที่ หนา 5 สรุปผล อภิปราย และขอเสนอแนะ 111 สรุปผลการวิจัย 112 อภิปรายผล 112 ขอเสนอแนะ 116 ขอเสนอแนะเพื่อนําผลการวจิัยไปใช 116 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจยัในครั้งตอไป 117 บรรณานุกรม 118 ภาคผนวก 126 ภาคผนวก ก รายช่ือผูเชี่ยวชาญและตรวจเครื่องมือ 127 ภาคผนวก ข หนังสือเชิญเปนผูตรวจเครื่องมือและหนังสือขอความอนุเคราะห เก็บรวบรวมขอมูล 129 ภาคผนวก ค เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 135 แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 136 แผนการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 158 แบบสอบถามความคิดเหน็ 238 ภาคผนวก ง การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 241 ภาคผนวก จ การตรวจสอบสมมติฐาน 261 ประวัติผูวจิัย 269

Page 10: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 โครงสรางของหลักสูตร 28 2 ตารางผลการเรียนรูที่คาดหวัง 30 3 ตารางกําหนดการจัดการเรยีนรู 83 4 ตารางวิเคราะหแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความ 85 5 แบบประเมินความสามารถในการเขยีนสรุปความ 86 6 เกณฑการประเมินความสามารถการเขียนสรุปความของนักเรียน 87 7 แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได 88 8 เกณฑประเมินความสามารถการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได 89 9 แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท 89 10 เกณฑประเมินความสามารถการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท (Classification Map) 90 11 แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา 91 12 เกณฑประเมินความสามารถการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา 91 13 การดําเนินการจัดการเรียนรู 100 14 สรุปการดําเนนิการวจิัย 103 15 เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสรุปความกอนและหลังเรียน ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 106 16 ความสามารถในการเขยีนสรุปความตามประเภทงานเขียน ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรยีนรูแบบแผนผงัความคิด 106 17 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจดัการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 107 18 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ตามองคประกอบ ที่กําหนด 108 19 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท ตามองคประกอบ ที่กําหนด 108 20 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา ตามองคประกอบ ที่กําหนด 109

Page 11: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

ตารางที่ หนา 21 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6 109 22 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคลอง ขององคประกอบของแผนการจัดการเรียนรู 242 23 สรุปคาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความสอดคลองและความเหมาะสม ของแผนการจดัการเรียนรู 250 24 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความสอดคลองและความเหมาะสม ของแบบทดสอบกอน-หลังเรียน แบบปรนัย 251 25 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคลอง ของแบบทดสอบกอน-หลังเรียน แบบอัตนัย 252 26 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคลอง ของแบบสอบถามความคิดเห็น 252 27 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคลอง ของแบบประเมินการเขียนสรุปความ 253 28 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคลอง ของแบบประเมินการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท 253 29 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคลอง ของแบบประเมินการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได 254 30 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคลอง ของแบบประเมินการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา 254 31 คาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลการเรยีนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยดานการเขียนสรุปความ 255 32 ผลการคาํนวณหาคาความยากงาย คาอํานาจจําแนก ของแบบทดสอบแบบปรนยั 256 33 ผลการนําแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความและสรางแผนผัง ความคิดไปทดลองใช (Try Out) 257 34 คาความแตกตางของคะแนนทดสอบความสามารถในการเขียนสรุปความ 262 35 เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 กอนและหลังวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 263 36 ความสามารถในการเขยีนสรุปความตามประเภทของงานเขียนของนกัเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 264

Page 12: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

ตารางที่ หนา 37 ผลการทดสอบความสามารถในการสรางแผนผังความคดิของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 265 38 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได 266 39 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท 267 40 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา 268

Page 13: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

สารบัญแผนภมิู แผนภูมิที่ หนา 1 กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจยั 11 2 ผังมโนทัศนสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 21 3 แผนภูมิเกณฑการใหคะแนน 40 4 แผนผังรูปแมงมุม (Spider map) 58 5 แผนผังรูปขั้นบันได (Time ladder map) 58 6 แผนผังแสดงเหตุผล (Cause/effect map) 59 7 แผนผังแสดงการเปรียบเทยีบ (Comparison/contrast map) 59 8 แผนผังแบบผสมผสาน (Combined map) 60 9 แผนผังความสัมพันธความหมาย แบบบรรยายลําดับเหตกุารณ (Narrative organization or sequential episodic map) 61 10 แผนผังความสัมพันธทางความหมายแบบพรรณนา (Thematic or descriptive map) 62 11 แผนผังความสมัพันธทางความหมายเชงิเปรยีบเทยีบความแตกตางและความเหมือน (Comparative and contrastive map) 63 12 แผนผังความสัมพันธทางความหมายแบบจาํแนกประเภท (Classification map) 64 13 แผนผังความคดิ (Mind Mapping) 65 14 แผนผังใยแมงมุม (Web) 66 15 แผนผังรูปแบบเวนน (Vann diagram) 67 16 แผนผังความคดิแบบวงจร (The circle) 67 17 แผนผังกางปลา (The fish bone) 68 18 แผนผังแบบจาํแนกรายละเอยีด (The grid) 68 19 แผนผังความคดิแบบเปรียบเทียบเรียงลําดบั (The ranking ladder) 69 20 แผนผังความคดิแบบบันไดจดัอันดับ (Ladder) 69 21 แผนผังความคดิแบบวงกลมซอน (Venn diagram) 70 22 แผนผังแบบ เสนลําดับ (Spectrum) 70 23 แผนผังแบบ Web 71 24 แผนที่ความคดิ (Mind map) 72

Page 14: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

แผนภูมิที่ หนา 25 แผนผังแบบ Pie chart 72 26 แผนผังกางปลา (Fish bone) 73 27 ขั้นตอนการสรางแผนการจดัการเรียนรูเร่ืองการเขียนสรุปความ ดวยการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) 94 28 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขยีนสรุปความ 97 29 ขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) 99

Page 15: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

บทท่ี 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ปจจุบันวิทยาการตาง ๆกาวหนาไปอยางรวดเร็วโดยไมมีที่ส้ินสุด สงผลใหมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม ทําใหมนุษยตองกระตือรือรนและขวนขวาย เพื่อพัฒนาตนเองให ทันตอวิทยาการและการเปลี่ยนแปลงดังกลาว ยุทธศาสตรในการพัฒนาไมวาประเทศใดตางมุงใหความสําคัญตอการพัฒนาทรัพยากรมนุษยดวยการศึกษา เพราะการศึกษาเปนรากฐานสําคัญ ในการสรางสรรคความเจริญกาวหนาและการแกปญหาตาง ๆ ในสังคม เนื่องจากการศึกษาเปนกระบวนการที่จะชวยใหคนพัฒนาตนเองตลอดชีวิตประเทศที่ประชากรมีการศึกษาสูง ยอมจะพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนาจนสามารถเขาแขงขันกับนานาอารยประเทศและเขาสูความเปนสากลได ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งของประชาคมโลกที่ตองพัฒนาประชากรใหมีความรูความสามารถกาวทันความเจริญกาวหนาของวิทยาการตาง ๆ จึงตองดําเนินการปฏิรูปการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร จากหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) เปนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงกําหนดแนวทางในการจัดการศึกษาที่มุงเนนความสําคัญทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และความรับผิดชอบตอสังคม ตลอดจนความรูเกี่ยวกับ ศาสนา ศิลปะ การกีฬา ภูมิปญญา ความรูทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความรูและทักษะทางดานคณิตศาสตร และดานภาษาเนนการใชภาษาไทยอยางถูกตอง (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ก :3) จะเห็นวาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กําหนดใหสถานศึกษาจัดการศึกษาใหครอบคลุมในทุก ๆ ดาน ทั้งความรู ความคิด คุณธรรม จริยธรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและที่สําคัญยังคงมีจุดเนนที่การใชภาษาไทย อยางถูกตอง ทั้งนี้เพราะภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติ คนไทยทุกคนใชภาษาไทยเปนเครื่องมือ ในการติดตอส่ือสารและเปนแสวงหาความรู ดังนั้นหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 จึงกําหนดภาษาไทยเปนสาระหนึ่งใหคนไทยทุกคนตองศึกษาเรียนรู พรอมทั้งระบุถึงความสําคัญของภาษาไทยไว ดังนี้ ภาษาไทยเปนเอกลักษณประจําชาติเปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพและเสริมสรางความเขาใจและความสัมพันธที่ดีตอกัน ทําใหสามารถประกอบธุรกิจการงานและดํารงชีวิตรวมกันในสังคมประชาธิปไตยไดอยางมีความสุขและเปนเครื่องมือในการแสวงหา

1

Page 16: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

2

ความรู ประสบการณจากแหลงขอมูล สารสนเทศตาง ๆ เพื่อพัฒนาความรู ความคิด วิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยีตลอดจนนําไปใชในการพัฒนาอาชีพ ใหมีความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเปนส่ือแสดงถึงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี ชีวทัศน โลกทัศนและสุนทรียภาพ โดยบันทึกไวเปนวรรณคดีอันลํ้าคา ภาษาไทยจึงเปนสมบัติของชาติที่ควรแก การเรียนรู เพื่ออนุรักษและสืบสานใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ข : บทนํา) กระทรวงศึกษาธิการมีความตระหนักถึงความสําคัญของภาษาไทยและตองการยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาไทยใหไดมาตรฐาน เพื่อใหผูเรียนมีความสามารถในการใชภาษาไทย มีนิสัยรักการอาน การเขียนและการแสวงหาความรู ตลอดจนเห็นคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมของชาติตามควรแกวัย จึงไดจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยและการใชภาษาไทย โดยกําหนดเปนโครงการและกิจกรรมสงเสริมทักษะดานการใชภาษาไทย เชน โครงการสงเสริมนิสัยรักการอาน โครงการพัฒนาทักษะการเขียน ในแตละโครงการไดกําหนด เปาหมาย มาตรการ วิธีดําเนินการ ตัวบงชี้ความสําเร็จ ไวอยางชัดเจนเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติและพัฒนาใหผูเรียนมีทักษะการเขียนที่ดีขึ้น และยังเปนการปลูกฝงใหผูเรียนมีนิสัยรักการอานอีกดวย (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ค : 1 – 18) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยไดกําหนดสาระที่เปนองคความรูซ่ึงเปนแกนความรูทางภาษาและผูสอนจะตองนําไปจัดใหเหมาะสมกับผูเรียนและสภาพแวดลอมในทองถ่ิน โดยแบงออกเปน 5 กลุมสาระ คือ 1) การอาน 2) การเขยีน 3) การฟง การดู และการพูด 4) หลักการใชภาษา 5) วรรณคดีและวรรณกรรม ในแตละสาระไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูไวอยางชัดเจน ดังนี้ สาระการอาน กําหนดมาตรฐานการเรียนรูไววา ใหผูเรียนใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหา และสรางวิสัยทัศนในการดํารงชีวิต และมีนิสัยรักการอาน สาระการฟง การดู และการพูด กําหนดมาตรฐานการเรียนรูไววา ผูเรียนสามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิดความรูสึก ในโอกาสตาง ๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค สวนสาระ หลักการใชภาษา กําหนดมาตรฐาน การเรียนรูไววา ผูเรียนเขาใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษาและรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ และสามารถใชภาษาแสวงหาความรูเสริมสรางลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ และความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจําวัน สาระวรรณคดีและวรรณกรรม กําหนดมาตรฐานการเรียนรูไววา ผูเรียนเขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใช

Page 17: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

3

ในชีวิตจริง สําหรับสาระการเขียน ไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูไววา ใหผูเรียนใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ,กรมวิชาการ 2545 ง : 17) นอกจากนี้จุดมุงหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ขอที่ 2 ที่กําหนดใหผูเรียนตองมีคุณลักษณะดังนี้ คือ มีความคิดสรางสรรค ใฝรู ใฝเรียน รักการอาน รักการเขียน และรักการคนควา ขอ 8 กําหนดวา ผูเรียนตองมีจิตสํานึกในการอนุรักษภาษาไทย ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดลอม (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ก : 4) และเกณฑการผานชวงชั้นและการจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชวงชั้นที่ 1, 2 และ 3 ขอท่ี 2 กําหนดไววาผูเรียนจะตองผานการประเมิน การอาน คิดวิเคราะหและเขียน ตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ก : 26) กลาวไดวาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ใหความสําคัญตอภาษาไทยโดยเฉพาะทักษะการอานและการเขียน ทั้งนี้เพราะทักษะทั้งสองนั้นมีความสัมพันธกัน กลาวคือ เมื่อผูอานตองการสื่อสารหรือถายทอด ความรู ความคิด ขอเท็จจริง ขอคิดเห็นตลอดจนจินตนาการและอารมณตาง ๆ ใหผูอ่ืนไดรับทราบนั้น นอกเหนือจากการพูดหรือเลาใหฟงแลวยังสามารถถายทอดไดดวยการเขียน โดยเขียนไดหลายรูปแบบตามจุดมุงหมายของการเขียน เชน การเขียนเพื่อเลาเรื่อง การเขียนเพื่ออธิบาย การเขียนเพื่อจูงใจ การเขียนเพื่อสรุปใจความสําคัญ เปนตน ภาษาเขียนจึงเปนภาษาที่เครงครัดตอการใชคําและหลักภาษา เพื่อส่ือสารใหถูกตอง สุภาพ และเขียนเปนประโยคที่สละสลวย ที่สําคัญตองเลือกใชถอยคําใหเหมาะสมกับสถานการณ ไมใชคําฟุมเฟอย การเขียนยังเปนทักษะที่สําคัญตอการศึกษาทั้งวิชาภาษาไทยและวิชาอ่ืน ๆ เพื่อใชถายทอดความรูความคิดและความเขาใจใหครูและผูอ่ืนทราบ สําหรับในชีวิตประจาํวนัมนษุยตองใชการเขียนในการติดตอส่ือสาร การประกอบอาชีพ ตลอดจนการเขียนหรือบันทึก โดยยอเร่ืองราวตาง ๆ ที่ไดพบเห็น การเขียนจึงผานกระบวนการคิดอยางมีแบบแผน และสรุปเรื่องราวใหไดใจความอันสมบูรณครบถวน ไมวาจะเปนการสรุปจากเรื่องที่ฟง เร่ืองที่อาน การเขียนสรุปความ จึงมีสวนชวยใหงานอื่น ๆ ประสบความสําเร็จ ซ่ึงนับวาเปนประโยชนสูงสุด นอกจากนี้ การเขยีนสรุปความยังมีบทบาทสําคัญตอผูเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาเปนอยางยิ่ง เพราะการจัดการเรียนรู ในระดับนี้ จําเปนตองมีการสื่อสารกันระหวางครูและผูเรียนตลอดเวลา นอกจากจะตองสื่อสารดวยคําพูดแลว ยังตองเขียนสรุปความเพื่อแสดงความรู ความเขาใจ ตลอดจนแสดงความคิดเห็นใหผูอ่ืนทราบดวย ดังที่ กุหลาบ มัลลิกะมาส และ วิพุธ โสภวงศ (2538 : 77, อางถึงใน สรวีย เคียนสันเทียะ

Page 18: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

4

2545 : บทนํา) ไดกลาวถึงความสําคัญของการเขียนสรุปความวา การเขียนสรุปความมีความจําเปน ตอผูเรียนในการเรียนและการดํารงชีวิตประจําวันมักเกี่ยวของกับการวิเคราะหเรื่องราวที่ไดยินไดฟงเพื่อประโยชนในการสื่อสารกับบุคคลอื่น เนื่องจากการสื่อสารในปจจุบันตองการความรวดเร็วภาษาที่ใชเขียนจึงตองมีความกระชับแตมีใจความสมบูรณ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี (2529 : 12 – 13, อางถึงใน ขนิษฐา แสงภักดี2540 : 3) ทรงสรุปปญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาไทย จากที่ประชุมครูภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนปลายวา ทักษะการเขียนที่นักเรียนมีปญหาคือ ลายมือ การเขียนสะกดผิด เขียนหนังสือไมไดใจความสําคัญ และปญหาการเขียนสรุปความนั้น นักเรียนสวนใหญออนทักษะในการสรุปประเด็นสําคัญจากขอความที่อานและฟง สวน ฟอน เปรมพันธุ (2542 : 19) ไดกลาวถึงปญหาดานการเขียนไววา นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นของตนเองไมกระจาง เขียนสรุปความ หรือยอความไมเปนเพราะจับใจความสําคัญไมได ขาดทักษะและความสนใจในการเขียน ซ่ึงสอดคลองกับ สรวีย เคียนสันเทียะ (2545 : 2) ที่ไดกลาวถึงปญหาการเขียนสรุปความของนักเรียนวานักเรียน มักจะเขียนผิด เรียบเรียงขอความไมถูกตอง ไมสามารถสรุปประเด็นสําคัญและไมสามารถตีความเรื่องที่อานหรือฟงได เพราะขาดการฝกฝน เนื่องจากครูมีภาระหนาที่มาก ไมมีเวลาในการจัด กิจกรรมเพื่อฝกนักเรียน สําหรับ บันลือ พฤกษะวัน (2535 : 73) กลาววาปญหาการสรุปความมีสาเหตุจากวิธีสอน ครูสวนมากจะแนะนําใหอานขอความแลวขีดเสนใตใจความสําคัญแลวรวมเปนเรื่อง วิธีการดังกลาวทําใหนักเรียนขาดทักษะการใชภาษา การเรียบเรียงขอความและการลําดับ เร่ืองราวจึงไมสามารถเขียนสรุปความได และ สุพิศ กลิ่นบุบผา (2545 : 5) ไดศึกษาปญหาที่ทําใหนักเรียนมีความสามารถทางการเขียนต่ํา พบวาเกิดจากสาเหตุ 3 ประการ คือ สาเหตุจากตัวนักเรียน พบวานักเรียนสวนใหญไมชอบทักษะการเขียน ไมสนใจและไมมีความคิดที่จะเขียน สาเหตุจากครูผูสอน พบวาครูผูสอนขาดเทคนิคการสอน หรือขาดวิธีการกระตุนใหนักเรียนอยากเขียน ตัวผูสอนเอง ขาดทักษะทางการเขียนและ สาเหตุจากสื่อและวิธีสอน พบวา ครูใชส่ือการสอนนอยและใชวิธีสอนแบบเดิม ๆ คือ ใหนักเรียน อาน ดูตัวอยางแลวปฏิบัติตาม จะเห็นไดวาสาเหตุของการเขียนสรุปความไมไดนั้นมีหลายประการ และจากที่ได กลาวมาแลวขางตนวา การเขียนสรุปความมีความสําคัญตอการเรียนรูเพราะชวยใหผูเรียนสรุปบทเรียนได ดังนั้น เมื่อผูเรียนสรุปความไมเปนจึงสงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษาไทยต่ํา ดังจะเห็นไดจากการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 4,505 คน ปการศึกษา 2546 ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 พบวา วิชาภาษาไทย คะแนนเต็ม 40 คะแนน แบงเปนความรูทางดานโครงสรางทางภาษา 15 คะแนน นักเรียนสอบไดคะแนน คะแนนเฉลี่ย 8.12 ความรูทางดานกระบวนการ 25 คะแนน นักเรียนสอบไดคะแนนเฉลี่ย 12.56

Page 19: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

5

คะแนนรวมทุกภาคความรูคิดเปน รอยละ 40.97 ซ่ึงต่ํากวาเปาหมายที่สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 กําหนดไวคือรอยละ 52.00 มีจํานวนนักเรียนที่ควรปรับปรุงรอยละ 50.68 (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2, กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา 2546 : 15) จากขอมูลขางตนคะแนนความรูทางดานโครงสรางทางภาษา ซ่ึงประกอบไปดวยความสามารถในการสงสารและรับสาร หมายถึง ทักษะการฟง พูด อานและเขียน มีผลคะแนนเฉล่ียต่ํากวาดานอื่น ๆ ฝายวิชาการโรงเรียนในศูนยเครือขายสถานศึกษาตําบลบอสุพรรณ ประกอบดวยโรงเรียนบานหัววัง โรงเรียนบานหนองเฝา โรงเรียนบานหนองกระดี่ โรงเรียนบานดอนตําลึง โรงเรียนวัดหัวกลับ โรงเรียนวัดทับกระดาน โรงเรียนวัดเวฬุวัน และโรงเรียนวัดหนองพันเทา เปนโรงเรียนที่สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ไดนําผลการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมปที่ 6 ของโรงเรียนในศูนยเครือขายสถานศึกษาตําบลบอสุพรรณ ประจําปการศึกษา 2546 มาศึกษาและจากการที่ผูวิจัยไดสัมภาษณ นายสัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองพันเทา และประธานศูนยเครือขายสถานศึกษาตําบลบอสุพรรณ พบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามจุดประสงคทักษะการเขียน โดยเฉพาะการเขียนสรุปความ ยังไมบรรลุผลตามเกณฑที่กําหนดไว โดยมีนักเรียนที่ผานจุดประสงคดานการเขียนสรุปความประมาณรอยละ 43.00 แตมีนักเรียนไมผานจุดประสงคดานการเขียนสรุปความประมาณรอยละ 57.00 ซ่ึงต่ํากวาเกณฑที่โรงเรียนในศูนยเครือขายสถานศึกษาตําบลบอสุพรรณกําหนด คือนักเรียนตองผานเกณฑรอยละ 60.00 (สัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา 2548) จากสภาพความสําคัญและปญหาดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาการเขียนสรุปความ เปนทักษะที่มีความสําคัญในการติดตอส่ือสาร การทํางาน การศึกษาหาความรู จึงสมควรที่จะไดรับการปรับปรุงและพัฒนาใหดีขึ้นโดยครูผูสอน เพราะครูเปนผูที่มีบทบาทสําคัญในการจัดการเรียนรูซ่ึงหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มาตรฐาน ท 2.1 : ทักษะการเขียน ไดกําหนดใหผูเรียนตองเรียนเกี่ยวกับการเขียนอยางเปนกระบวนการอันประกอบดวย การเขียนสื่อสาร การเขียนเรียงความ การเขียนยอความ การเขียนรายงาน การเขียนเรื่องราวใน รูปแบบตาง ๆ จนสามารถเขียนไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ก : 12) นับเปนภาระงานการสอนที่สําคัญของครู สําหรับผูเรียนนั้นนอกจากจะตองมีการเสริมแรงเพื่อจูงใจใหเขียนแลว ยังจะตองหมั่นฝกฝนอยูเสมอจึงจะมีความชํานิชํานาญในการเขียน สามารถเขียนไดดีและหลากหลาย ดวยลักษณะดังกลาวครูจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองใชกลวิธีการสอน ที่นาสนใจ โนมนําผูเรียนใหหันมาใสใจในการเขียน และฝกปฏิบัติการเขียนดวยความพอใจ เต็มใจ ผลงานของผูเรียนจึงจะสรางความประทับใจและเกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนการสอน อีกทั้งตอง

Page 20: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

6

คํานึงถึงองคประกอบหลายประการหนึ่งในองคประกอบสําคัญ ไดแก องคประกอบดานเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนรู ทั้งนี้หากผูสอนสามารถเลือกใชวิธีการจัดการเรียนรูไดอยางเหมาะสมกับนักเรียนยอมทําผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ การเลือกเทคนิควิธีการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับผูเรียนนั้นมีเกณฑพิจารณา ดังนี้ 1) สอดคลองกับวัตถุประสงคของการจัดการเรียนรู 2) สอดคลองกับลักษณะเนื้อหาวิชาหรือทักษะที่นําเสนอ 3) สอดคลองกับลักษณะของนักเรียน 4) สอดคลองกับลักษณะของผูสอน 5) เหมาะสมกับเวลา สถานที่ และเครื่องอํานวยความสะดวก (ณัฐวุฒิ กิจรุงเรือง และคณะ 2545 : 48) นอกจากนี้ ครูควรตองพัฒนาวิธีการจัดการเรียนรูดวย การนํานวัตกรรมทางการศึกษามาใชประกอบการเรียนการสอนเพื่อใหบรรลุผลสําเร็จตามจุดมุงหมาย นวัตกรรมจึงเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่งที่ทําใหเกิดการพัฒนากาวหนาไปสูส่ิงที่ดีกวาเพราะถาหากการศึกษาหยุดนิ่งไมมีการเปลี่ยนแปลงก็เทากับลาหลัง นวัตกรรมทางการศึกษาหมายถึง การนําวิธีการหลักปฏิบัติและแนวความคิดใหม ๆ ทางการศึกษาที่ไดผาน การทดลอง พิสูจน และพัฒนาเปนขั้นตอนอยางเปนระบบมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อใชเปนแนวการปฏิบัติทางการศึกษาโดยมีจุดมุงหมาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการศึกษาใหสูงขึ้น นอกจากนี้ครูควรนํานวัตกรรมทางการศึกษาประเภทเทคนิคและวิธีการใหม ๆ มาจัดการเรียนรู เชน การจัดการเรียนรูแบบโครงงาน (Project Work) เปนการจัดการเรียนรูที่กําหนดใหนักเรียนไดศึกษาคนควาตามหัวขอที่นักเรียนสนใจ นักเรียนจะตองฝกกระบวนการทํางานอยางมีขั้นตอน และวางแผนการดําเนินงานดวยการเขียนโครงงานเสนอผูสอน เมื่อไดรับการอนุมัติก็จะดําเนินงานตามแผน เก็บขอมูล วิเคราะหขอมูล สรุปผลการดําเนินงาน และรายงานผลการปฏิบัติงาน รายงานสภาพปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะแนวทางแกไข การจัดการเรียนรูโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI : Computer Assited Instruction) เปนการจัดการเรยีนรูทีน่าํคอมพวิเตอรเปนเครือ่งมอืในการสรางกิจกรรมโดยนักเรียนจะเรียนบทเรียนจากคอมพิวเตอร ในบทเรียนประกอบดวยเนื้อหาทั้งในรูปตัวหนังสือ ภาพการฟก แบบฝกหัด แบบทดสอบ และแหลงอางอิงซึ่งจัดอยูในรูปของโปรแกรมคอมพิวเตอร ในขณะที่นักเรียนทํากิจกรรม จะมีการแสดงผลการเรียนรูดวยขอมูลปอนกลับ (Feedback) อยางสม่ําเสมอ (วุฒิชัย ประสารสอย 2543 : 10 – 13) การจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ชวยใหครูและผูเรียนรวมกันวิเคราะหสาระการเรียนรู จนเกิดความกระจางในความคิดและสรางขอสรุปจากเนื้อหา โดยสรางออกมาในรูปของผังความสัมพันธความหมาย (Semantic Mapping) หรือแผนภูมิเนื้อหาหรือผังสรางความคิดรวบยอด (Conceptual Framework) ในรูปแบบของแผนภูมิกราฟกชนิดตาง ๆ ซ่ึงจากผลการวิจัยเร่ืองผลของการเขียนโดยใชเทคนิคระดมสมองและแผนผังความคิดตอความสามารถในการเขียนเชิงสรางสรรคของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ของ จุติมา นาควรรณ (2544 : 109) พบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนเขียน

Page 21: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

7

โดยใชเทคนิคระดมสมองและผังความคิด (Mind Mapping) คะแนนความสามารถในการเขียน เชิงสรางสรรคสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนตามปกติ อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 นอกจากนี้ โทนี บูซาน (Tony Buzan 1991 : 117) กลาววา ธรรมชาติของ Mind Mapping นั้นเชื่อมโยงอยางแนบแนนกับการทํางานของหัวคิด และยังสามารถนําไปใชกับแทบทุกกิจกรรมที่เกี่ยวของกับความคิด การฟนความจํา การวางแผนหรือการใชความคิดสรางสรรค ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ สมศักดิ์ สินธุรเวชญ (2542 :1, อางถึงใน สุพิศ กล่ินบุบผา 2545 : 9) กลาวถึง แผนที่ความคิด (Mind Mapping) วา แผนที่ความคิดชวยใหประหยัดเวลาในการเรียนรูเกี่ยวกับ การจัดกลุมเนื้อหา การปรับปรุงการระลึกการสรางสมความคิดสรางสรรค มีคุณคาอยางยิ่งสําหรับการคิดไตรตรองและการเรียนรู แผนที่ความคิดใชไดกับผูเรียนทุกระดับอายุและทุกวิชา อีกทั้ง ในคูมือในการจัดการเรียนรูภาษาไทยของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ยังไดเสนอแนะการนําแผนผังความคิด (Mind Mapping) มาใชในการเขียนไววา การเตรียมการเขียน หากใหผูเขียนชวยกันระดมสมองและจัดความคิดเขาเปน โครงเรื่องที่จะเขียนแลวนําความคิด เชื่อมโยงเปนหัวขอเร่ืองยอยและทําแผนภาพโครงเรื่องก็จะนําไปสูการเขียนรางตอไป (กรมวิชาการ 2545 ข : 131) สวน ผจงกาญจน ภูวิภาดาวรรธน (2533 : 88 – 89, อางถึงใน อมรรัตน วิศวแสวงสุข 2543 : 6) ใหทัศนะวา การสรุปขอความหรือความคิดในรูปของแผนภูมิความหมาย (Mind Mapping) จะชวยใหผูเรียนวิเคราะหและจัดกลุมความคิดที่สําคัญได การใหนักเรียนเสนอการสรุปความคิดในแผนภูมิความหมายใหเพื่อนฟงเปนการฝกการพูดที่ดี และถาใหผูเขียนเขียนเรื่องเกี่ยวกับหัวขอนั้นขึ้นมาใหมโดยใชแผนภูมิความหมาย (Ming Mapping) เปนเคาโครงเรื่อง ก็จะเปนการฝกใหนักเรียนเขียนสรุปใจความไดอีกทาง นอกจากนี้มาตรฐานการเรียนรูสาระการเรียนรูภาษาไทย ชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 สาระการเขียน กําหนดวา ใชแผนที่ความคิดมาพัฒนางานเขียนและเขียนรายงานและเขียนสื่อสารไดตามจุดประสงคอยางมีมารยาททางสังคม (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ข : 22) จากประโยชนของวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) และความเห็นของนักวิชาการหลาย ๆ ทาน ทําใหผูวิจัยสนใจนําวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) มาใชในการจัดการเรียนรูการเขียนสรุปความในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดหนองพันเทา ซ่ึงผลการวิจัยคร้ังนี้มีประโยชนตอนักเรียน กลาวคือ นักเรียนสามารถนําวิธีการเขียนสรุปความ วิธีการของแผนผังความคิดไปสรุปบทเรียนในรายวิชาอื่น ๆ ไดและเปนแนวทางสําหรับครูผูสอนนําไปใชในการจัดการเรียนรูเร่ืองการเขียนสรุปความตอไป

Page 22: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

8

กรอบแนวคิดในการวิจัย จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัย พบวาวิธีการจัดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพในการสอนทักษะการอานและเขียนสรุปความเนื้อเร่ืองที่อาน คือ กระบวนการแผนภูมิความหมาย (Semantic Mapping) ซ่ึงเปนวิธีการที่มีลําดับขั้นตอนชัดเจนและสามารถสรุปความจากเรื่องที่อานหรือสรุปความจากบทเรียนไดเปนอยางดี ดังที่ ณัฐวุฒิ กิจรุงเรือง และคณะ (2545 : 35) ไดกลาวไววา การจัดการเรียนรูโดยใชแผนผังความคิดเปนเครื่องมือในการจัดรวบรวมและสรุปความคิดหรือขอมูลสําคัญใหเชื่อมโยงกันในรูปแบบตาง ๆ เชน แผนภูมิ หรือภาพทําใหเห็นโครงสรางของความรูหรือเนื้อหานั้น ๆ ซ่ึงกระบวนการแผนภูมิความหมายนั้นมีช่ือเรียกหลากหลายตามจุดประสงคของผูใช เชน ผังความเขาใจ (Cognitive Mapping) บันทึกยอท่ีมีรูปแบบ (Patterned Note Taking) ผังใยแมงมุม (Web) กระบวนวิธีสราง (Construct) แผนภูมิเร่ือง (Story Mapping) แผนภูมิความคิดรวบยอด (Concept Mapping) แตชื่อเรียกที่เราคุนหูและมีการแพรหลายในปจจุบัน คือ แผนผังความสัมพันธความหมาย (Semantic Mapping) สวนชื่อเรียกเปนภาษาไทยมีหลายชื่อดวยกัน เชน ผังความสัมพันธของความหมาย แผนผังสรุปโยง แผนภูมิความหมาย (อมรรัตน วิศวแสวงสุข 2543 : 6) แผนที่ความคิด แผนภูมิกราฟก แผนภาพโครงเรื่อง แผนผังมโนทัศน ในที่นี้ผูวิจัย ขอใชคําวา แผนผังความคิด (Mind Mapping) ซ่ึงผูวิจัยไดศึกษาคนควาจากแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยตาง ๆ เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาวิธีการจัดการเรียนรู ดังนี้ มิซิคนาติ (Miccinati, 1988 : 546 – 549, อางถึงใน อมรรัตน วิศวแสวงสุข 2543 : 70) ไดเสนอแนวทางในการจัดการเรียนรูแบบแผนภูมิความหมาย 6 ขั้นตอน คือ 1) ครูใหนักเรียน นึกถึงเรื่องราวที่อาน แลวเขียนออกมาเปนคําจํากัดความ 2) ตรวจสอบเนื้อเร่ืองที่อาน แลวกาํหนดโครงสรางของขอมูลที่ผูเขียนใชระบุในสวนที่เปนบทนํา เนื้อเร่ือง สรุป 3) ใหแผนภูมิที่สมบูรณแสดงโครงสรางที่ผูเขียนไดแสดงความสัมพันธ 4) ใหนักเรียนอานเนื้อเรื่องอีกครั้งและเติมบางสวนของแผนภูมิ 5)ใหแผนภูมิขอความที่นักเรียนไมเคยอานเพื่อตัดสินวาแผนภูมิใดเหมาะสมกวากัน 6) นักเรียนสรางแผนภูมิความหมายแลกเปลี่ยนกับเพื่อนเพื่อศึกษาวิธีดึงเนื้อหาเขามาสูแผนภูมิ สําหรับ จอหนสันและคณะ (Johnson et. al. 1990 : 778 – 783) ไดเสนอแนวทางการจัดการเรียนรูดวยแผนที่ความคิดไว 6 ขั้นตอน เชนกัน คือ 1) เขียนคําศัพทที่เปนหัวใจของเรื่องบนกระดานดําหรือในกระดาษแลววาดกรอบสี่เหล่ียมหรือวงกลมลอมรอบคํานั้น 2) ใหนักเรียนทั้งชั้นระดมความคิดหาคําที่สัมพันธกับคําที่เปนหัวใจของเรื่องนั้นแลวจดบันทึกไว 3) จัดคําศัพทใหเปนหมวดหมู แลวเขียนออกมาในรูปแผนภูมิ 4) ใหนักเรียนหาคําศัพทใหมเติมลงไปในแผนผังใหสมบูรณ 5) พัฒนาแผนผังใหสมบูรณยิ่งขึ้นโดยขยายคําศัพทจากวลีเปนประโยค 6) เขียนผังความสัมพันธของความหมายที่ไดไปเขียนเปนเรื่องที่สมบูรณ สวน สุพิศ กล่ินบุบผา (2545 : 46 – 49)

Page 23: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

9

ไดศึกษาความสามารถการเขียนความเรียงภาษาไทยที่ใชวิธีแผนที่ความคิด (Mind Mapping) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ไดเสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรูดวยวิธีแผนที่ความคิดไว 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1) เขียนคําหนึ่งคําที่เปนคําสําคัญหรือคําหลักไวกลางกระดานดําหรือกลางหนากระดาษ 2) ผูสอนกระตุนดวยคําถามเพื่อใหนักเรียนตอบแลวเขียนคําตอบลง รอบ ๆ คําที่กําหนดให แลวลากเสนจากคําหลักไปหาคํายอยเพื่อเชื่อมความสัมพันธ 3) เมื่อไดความคิดยอยชุดที่หนึ่งแลว จึงนําคําแตละคําที่เปนความคิดยอยนั้นไปแตกแขนงเปนความคิดยอย ๆ อีกตอไป โดยใหไดความคิดยอยมากที่สุด 4) เมื่อไดปริมาณความคิดยอยมากที่สุดแลวจึงนําขอมูลนั้นมาจัดลําดับความสําคัญของขอมูลโดยใชหมายเลขกํากับ 5) นําขอมูลที่ไดมาวางโครงเรื่องโดยเรียงลําดับโครงเรื่องตามหมายเลขที่กํากับไวและตกแตงใหสวยงาม 6) เขียนความเรียงตามโครงเรื่องที่วางไวโดยใช คํายอย ๆ ในแผนที่ความคิด เพราะแผนที่ความคิดที่สรางขึ้นนั้นเปนการระดมความคิดและเปน การเพิ่มปริมาณของขอมูลที่จะนํามาเขียนเรื่องเทานั้น 7) เมื่อเขียนเรื่องจบแลวจึงตั้งชื่อเร่ือง ช่ือเร่ืองที่ตั้งขึ้นนั้นไมจําเปนตองเปนคําสําคัญที่กําหนดขึ้นก็ได ผลการวิจัยพบวา ความสามารถของการเขียนความเรียงภาษาไทยหลังจากเรียนโดยใชวิธีแผนที่ความคิดของนักเรียนเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งในภาพรวมและแยกตามองคประกอบการเขียนความเรียงภาษาไทยทุกองคประกอบยกเวนองคประกอบดานกลไกทางภาษา สวน วีรวรรณ พูนดี (2544 : 87) ไดศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเปรียบเทียบการสอนอานดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบใชแผนภูมิความหมายกับการจัดการเรียนรูตามคูมือครูที่มีผลสัมฤทธิ์ตอการอานเพื่อความเขาใจและความคงทนในการจําของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง ไดเสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรูโดยใชแผนภูมิความหมายไว 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ครูสรางแผนภูมิความหมายที่เปนโครงราง (Skeleton Mapping) ซ่ึงเปนโครงรางที่ไมสมบูรณ (Incomplete Mapping) และแผนภูมิที่สมบูรณ (Completed Mapping) 2) ขั้นกอนการอาน (Pre–Reading) เพื่อเปนการใหความรูพื้นฐานเกี่ยวกับเรือ่งทีจ่ะอาน ครูใหนักเรียนรวมกันทํากิจกรรม ดังนี้ 2.1) ครูเขียนคําสําคัญหรือหัวขอเร่ืองบนกระดานดําแลวใหนักเรียนชวยกันระดมความคิด คําศัพทหรือขอความสําคัญ โดยครูเพิ่มคําศัพทหรือขอความสําคัญเพื่อชวยเหลือนักเรียน 2.2) ครูเสนอแผนภูมิความหมายที่ไมสมบูรณใหกับนักเรียนแลวใหนักเรียนและครูชวยกันจัดขอมูลลงในแผนภูมิ 3) ขั้นการอาน (While–Reading) ครูบอกวัตถุประสงค ในการอานใหกับนักเรียนและครูชวยกันจัดขอมูลลงในแผนภูมิ 4) ขั้นหลังการอาน (Post Reading) นําขอมูลใหมที่ไดจากการอานมาปรับปรุงแกไข 5.) ตอบคําถามเกี่ยวกับความเขาใจทําแบบฝกหัด ผลการวิจัย พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการอานภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงช้ันปที่ 1 สาขาการบัญชีที่เรียนโดยใชวิธีการจัดการเรียนรูแบบใชแผนภูมิความหมายมีคาเฉลี่ยของคะแนนสูงกวานักศึกษาที่เรียนโดยวิธีการจัดการเรียนรูตามคูมือครู อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05

Page 24: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

10

จากผลการศึกษาเอกสารและงานวิจัยเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรูพบวา การจัดการเรียนรูโดยใชแผนผังความคิด (Mind Mapping) สามารถพัฒนาผลการเรียนรูของนักเรียนใหสูงขึ้นได ซ่ึงผูวิจัยสังเคราะหและพัฒนาขั้นตอนการจัดการเรียนรูโดยใชแผนผังความคิด 7 ขั้นตอน ดงันี ้ ขัน้นาํ นําเขาสูบทเรียนดวยกิจกรรมที่เหมาะสม เชน เลนเกม ทบทวนความรูเดิม ขั้นสอน 1) ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเรื่องที่อานแลวเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับเรื่องที่อาน 2) ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายอีกครั้งหนึ่งเพื่อเขียนชื่อเร่ืองหรือคําสําคัญในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันไดถาเลือกใชแผนผังความคิด แบบกางปลาใหเขียนผลที่เกิดขึ้น (เปนขั้นตอนที่นักเรียนเริ่มเขียนแผนผังความคิด) 3) นักเรียนเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบคําสําคัญหรือช่ือเร่ืองในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิด แบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกแผนผังแบบกางปลานิยมเขียนโครงรางเปนรูปหัวปลา 4) ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาใจความสําคัญของเรื่องที่อาน เชน ใคร ทําอะไร ที่ไหน ผลเปนอยางไร หรือสาเหตุคืออะไร 5) นักเรียนเขียนใจความสําคัญของเรื่องและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบแลวโยงเสนจากคําสําคัญหรือช่ือเร่ืองมายังใจความสําคญัในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกแผนผังแบบกางปลาใหเขียนสาเหตุลงในกางปลาจนครบทุกสาเหตุ 6) นักเรียนเขียนใจความสนับสนุนและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ พรอมทั้งโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุนในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกแผนผังแบบกางปลาใหเขียนสาเหตุสนับสนุนลงในกางปลาจนครบ 7) นักเรียนชวยกันสรุปใจความสําคัญของเรื่องจากแผนผังความคิดแลวเขียนสรุปใจความสําคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่งดวยสํานวนภาษาของตนเอง ขั้นสรุป นักเรียนสรุปสาระสําคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่ง ซ่ึงสามารถสรุปไดตามแผนภูมิที่ 1 ดังนี้

Page 25: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

11

วัตถุประสงคการวิจัย

แผนภูมิที่ 1 กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย

วิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผงัความคดิ

ขั้นนํา นําเขาสูบทเรียนดวยกิจกรรมที่เหมาะสม โดยการ เลนเกม ทวนความรูเดิม ขั้นสอน

1) ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเรื่องเพื่อเลือก แผนผังความคิด 2) ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายอีกครั้งหนึ่งเพื่อเขียนชื่อเร่ืองหรือคําสําคัญ

3) นักเรียนเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบ คําสําคัญหรือช่ือเร่ือง 4) ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรยีนหาใจความสําคัญของเรื่องที่อาน 5) นักเรียนเขยีนใจความสําคัญของเรื่องและเขียนโครงรางลอมรอบแลวโยงเสนจากคําสําคัญหรือช่ือเร่ืองมายังใจความสําคัญ

6) นักเรียนเขียนใจความสนับสนุนและเขยีน โครงรางลอมรอบ พรอมทั้งโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุน 7) นกัเรียนเขยีนสรุปใจความสําคัญ ขั้นสรุป นักเรียนสรุปสาระสําคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่ง

ความสามารถใน การเขียนสรุปความ

ความสามารถใน การสรางแผนผัง

ความคิด

ความคิดเหน็ของ นักเรียนที่มีตอ

วิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด

Page 26: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

12

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 กอนและหลังวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 2. เพื่อศึกษาความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 หลังวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด คําถามการวิจัย 1. ความสามารถของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ในการเขียนสรุปความกอนและหลังวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด แตกตางกันหรือไม 2. ความสามารถในการสรางแผนผังความคิด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 หลังวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดอยูในระดับใด 3. ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดเปนอยางไร สมมติฐานการวิจัย ความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 กอนและหลังการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดแตกตางกัน ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 โรงเรียนในศูนยเครือขายสถานศึกษาตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 8 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนบานหัววัง โรงเรียนบานหนองเฝา โรงเรียนบานหนองกระดี่ โรงเรียนบานดอนตําลึง โรงเรียนวัดหัวกลับ โรงเรียนวัดทับกระดาน โรงเรียนวัดเวฬุวัน และโรงเรียนวัดหนองพันเทา มีนักเรียนทั้งหมด 207 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียน วัดหนองพันเทา ตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 30 คน

Page 27: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

13

2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรตน (Independent Variable) ไดแก วิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 2.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) - ความสามารถในการเขียนสรุปความ - ความสามารถในการสรางแผนผังความคิด

- ความคิดเห็นที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 3. สาระการเรียนรู สาระการเรียนรูภาษาไทยสาระที่ 2 การเขียน ชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 เกี่ยวกับบันเทิงคดี สารคดี และบทรอยกรอง 4. ระยะเวลา ใชเวลาการทดลองจํานวน 4 สัปดาห สัปดาหละ 2 วัน วันละ 2 ช่ัวโมง รวมทั้งหมด 16 ช่ัวโมง ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2549 นิยามศัพทเฉพาะ เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน ผูวิจัยจึงกําหนดนิยามศัพทเฉพาะของการวิจัยคร้ังนี้ ดังนี้ 1. การเขียนสรุปความ หมายถึง การเขียนเฉพาะเนื้อหาสําคัญของเรื่องที่อานซึ่งเปนเร่ืองประเภท บันเทิงคดี สารคดี บทรอยกรอง โดยใหไดใจความสมบูรณที่สุดดวยสํานวนของ ตนเองและถูกตองตามหลักการใชภาษา 2. วิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ในขั้นสอน 7 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นนํา นําเขาสูบทเรียนดวยกิจกรรมที่เหมาะสม เชน เลนเกม ทบทวนความรูเดิม ขั้นสอน 1) ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเรื่องเพื่อเลือกแผนผังความคิด 2) ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายอีกครั้งหนึ่งเพื่อเขียนชื่อเร่ืองหรือคําสําคัญ 3) นักเรียนเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบคําสําคัญหรือช่ือเร่ือง 4) ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาใจความสําคัญของเรื่องที่อาน 5) นักเรียนเขียนใจความสําคัญของเรื่องและเขียนโครงรางลอมรอบแลวโยงเสนจากคําสําคัญหรือช่ือเร่ืองมายังใจความสําคัญ 6) นักเรียนเขียนใจความสนับสนุนและเขียนโครงรางลอมรอบ พรอมทั้งโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุน 7) นักเรียนเขียนสรุปใจความสําคัญ ขั้นสรุป นักเรียนสรุปสาระสําคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่ง 3. ความสามารถในการเขียนสรุปความ หมายถึง คะแนนความสามารถในการเขียนสรุปเนื้อเร่ืองใหไดใจความสมบูรณ เขียนประโยคและเขียนสะกดคําไดถูกตอง จากเรื่องประเภท

Page 28: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

14

บันเทิงคดี สารคดี บทรอยกรอง ของนักเรียนที่ไดจากการทําแบบทดสอบวัดความสามารถ ในการเขียนสรุปความ กอนและหลังวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดที่ผูวิจัยสรางขึ้น 4. ความสามารถในการสรางแผนผังความคิด หมายถึง คะแนนความสามารถ ในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได แบบจําแนกประเภทและแบบกางปลา จากงานเขียนประเภทบันเทิงคดี สารคดีและบทรอยกรอง ของนักเรียนที่ไดจากการทําแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความ ที่ผูวิจัยสรางขึ้น 5. ความคิดเห็นของนักเรียน หมายถึง ความรูสึกของนักเรียนที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดในดาน การจัดการเรียนรู บรรยากาศในการเรียนรู ประโยชนที่ไดรับ ที่ไดจาก การตอบแบบสอบถามความคิดเห็นที่ผูวิจัยสรางขึ้น 6. นักเรียน หมายถึง ผูเรียนที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดหนองพันเทา ตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548

Page 29: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

บทท่ี 2

วรรณกรรมที่เก่ียวของ

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการวิจัย ดังนี้ 1) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 2) หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองพันเทา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 3) ทักษะการเขียนและการเขียนสรุปความ 4) ความสนใจในการอาน 5) วิธีการจัด การเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6) การจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 7) งานวิจัยที่เกี่ยวของ

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยเปนสาระหนึ่งที่ถูกกําหนดไวในหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ใหคนไทยทุกคนไดเรียนรู กอนที่จะกลาวถึงรายละเอียดตาง ๆ ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยนั้น ผูวิจัยขอกลาวถึงประเด็นสําคัญของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ ดังตอไปนี้ หลักการ เพื่อใหการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนไปตามแนวนโยบายการจัดการศึกษาของประเทศจึงกําหนดหลักการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไว ดังนี้ 1. เปนการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มุงเนนความเปนไทยควบคูกับ ความเปนสากล 2. เปนการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนจะไดรับการศึกษาอยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน โดยสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา 3. สงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาและเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดยถือวา ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ 4. เปนหลักสูตรที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระ เวลา และการจดัการเรียนรู 5. เปนหลักสูตรที่จัดการศึกษาไดทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมายสามารถเทียบโอนผลการเรียนรูและประสบการณ

15

Page 30: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

16

จุดหมายของหลักสูตร หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ เปนคนดี มีปญญา มีความสุข และมีความเปนไทย มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดจุดหมายซึ่งถือเปนมาตรฐานการเรียนรูใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค ดังตอไปนี้ 1. เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึงประสงค 2. มีความคิดสรางสรรค ใฝรู ใฝเรียน รักการอาน รักการเขยีน และรักการคนควา 3. มีความรูอันเปนสากล รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการ การสื่อสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทํางานไดเหมาะสมกับสถานการณ 4. มีทักษะและกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ทักษะการคิด การสรางปญญา และทักษะในการดําเนินชีวิต 5. รักการออกกําลังกาย ดูแลตนเองใหมีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี 6. มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค มีคานิยมเปนผูผลิตมากกวาเปนผูบริโภค 7. เขาใจในประวัติศาสตรของชาติไทย ภูมิใจในความเปนไทย เปนพลเมืองดียึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 8. มีจิตสํานึกในการอนุรักษภาษาไทย ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดลอม 9. รักประเทศชาติและทองถ่ิน มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามใหสังคม โครงสราง เพื่อใหการจัดการศึกษาเปนไปตามหลักการ จุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูที่ กําหนดไวใหสถานศึกษาและผูที่เกี่ยวของมีแนวปฏิบัติในการจัดหลักสูตรสถานศึกษาจึงไดกําหนดโครงสรางของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. ระดับชวงชั้น กําหนดหลักสูตรเปน 4 ชวงชั้น ตามระดับพัฒนาการของผูเรียน ดังนี้ ชวงชั้นที่ 1 ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 – 3 ชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ชวงชั้นที่ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 – 3 ชวงชั้นที่ 4 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6

Page 31: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

17

2. สาระการเรียนรู กําหนดสาระการเรียนรูตามหลักสูตร ซ่ึงประกอบดวยองคความรู ทักษะหรือกระบวนการการเรียนรู และคุณลักษณะหรือคานิยม คุณธรรม จริยธรรมของผูเรียนเปน 8 กลุม ดังนี้ 2.1 ภาษาไทย 2.2 คณิตศาสตร 2.3 วิทยาศาสตร 2.4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.5 สุขศึกษาและพลศึกษา 2.6 ศิลปะ 2.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.8 ภาษาตางประเทศ สาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุมนี้ เปนพื้นฐานสําคัญที่ผูเรียนทุกคนตองเรียนรู โดยอาจจัดเปน 2 กลุมคือ กลุมแรก ประกอบดวย ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตรและสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเปนสาระการเรียนรูที่สถานศึกษาตองใชเปนหลักในการจัดการเรียนการสอนเพื่อสรางพื้นฐานการคิดและเปนกลยุทธในการแกปญหาและวิกฤตของชาติ กลุมที่สอง ประกอบดวย สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาตางประเทศ เปนสาระการเรียนรู ที ่เสริมสรางพื้นฐานความเปนมนุษย และสรางศักยภาพในการคิดและ การทํางานอยางสรางสรรค (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ก : 1-5) 3. เวลาเรียน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดเวลาในการจัดการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนา ผูเรียนไวดังนี้ ชวงชั้นที่ 1 ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 – 3 มีเวลาเรียนประมาณ 800 – 1,000 ช่ัวโมง โดยเฉลี่ยวันละ 4 – 5 ช่ัวโมง ชวงชั้นที่ 2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 – 6 มีเวลาเรียนประมาณ 800 – 1,000 ช่ัวโมง โดยเฉลี่ยวันละ 4 – 5 ช่ัวโมง ชวงชั้นที่ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 – 3 มีเวลาเรียนประมาณ 1,000 – 1,200 ช่ัวโมง โดยเฉลี่ยวันละ 5 – 6 ช่ัวโมง ชวงชั้นที่ 4 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 มีเวลาเรียนไมนอยกวา 1,200 ช่ัวโมง โดยเฉลี่ยวันละ 6 ช่ัวโมง

Page 32: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

18

สาระและมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรูเปนเกณฑในการกําหนดคุณภาพของผูเรียนเมื่อเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงกําหนดไวเฉพาะสวนที่จําเปนสําหรับเปนพื้นฐาน ในการดํารงชีวิตใหมีคุณภาพ ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน สําหรับสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทยมีรายละเอียด ดังนี้ วิสัยทัศน ภาษาไทยเปนเครื่องมือของคนในชาติเพื่อการสื่อสารทําความเขาใจกันและใชภาษา ในการประกอบกิจการงานทั้งสวนตน ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและประเทศชาติ ดังนั้น การเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนรูเพื่อใหเกิดทักษะอยางถูกตองเหมาะสมในการสื่อสาร เปนเครื่องมือในการเรียนรู แสวงหาความรูและประสบการณเรียนรูในฐานะเปนวัฒนธรรมทางภาษา ใหเกิดความชื่นชมซาบซึ้ง และภูมิใจในภาษาไทย โดยเฉพาะคุณคาทางวรรณคดี และภูมิปญญาทางภาษาของบรรพบุรุษที่ไดสรางสรรคไว อันเปนสวนเสริมสรางความงดงามในชีวิต การเรียนรูภาษาไทยยอมเกี่ยวพันกับความคิดของมนุษย เพราะภาษาเปนสื่อกลางของความคิดการเรียนรูภาษาไทยจึงตองสงเสริมใหผูเรียน ไดคิดสรางสรรค คิดวิพากษวิจารณ คิดตัดสินใจแกปญหา และวินิจฉัยอยางมีเหตุผล ขณะเดียวกันการใชภาษาอยางมีเหตุผล ใชในทางสรางสรรคและใชภาษาอยางสละสลวยงดงาม ยอมสรางเสริมบุคลิกภาพของผูใชภาษาใหเกิด ความนาเชื่อถือและเชื่อภูมิดวย ภาษาไทยเปนทักษะที่ตองฝกฝนจนเกิดความชํานาญในการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร การอานและการฟงเปนทักษะของการรับรูเร่ืองราว ความรูและประสบการณ สวนการพูดและ การเขียนเปนทักษะการแสดงออกดวยการแสดงความคิดความเห็น ความรูและประสบการณ การเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนเพื่อการสื่อสารใหสามารถรับรูขาวสารไดอยางพินิจพิเคราะหสามารถเลือกใชคําเรียบเรียง ความคิด ความรู และใชภาษาไดถูกตองตามกฎเกณฑไดตรงตามความหมาย และถูกตองตามกาลเทศะ บุคคล และมีประสิทธิภาพ ภาษาไทยมีสวนที่เปนเนื้อหาสาระ ไดแก กฎเกณฑทางภาษา ซ่ึงผูใชภาษาจะตองรูและใชภาษาใหถูกตอง นอกจากนั้นยังมีวรรณคดีและวรรณกรรม ตลอดจนบทรองเลนของเด็ก เพลงกลอมเด็ก ปริศนาคําทาย เพลงพื้นบาน วรรณกรรมพื้นบาน เปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรม ซ่ึงมีคุณคา การเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนวรรณคดี วรรณกรรม ภูมิปญญาทางภาษาที่ถายทอดความรูสึกนึกคิด คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีตและความงดงาม ของภาษาในบทประพันธทั้งรอยแกวรอยกรองประเภทตาง ๆ เพื่อใหเกิดความซาบซึ้งและ ความภาคภูมิใจในสิ่งที่บรรพบุรุษไดส่ังสมและสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ง : 7) สําหรับการกําหนดจุดมุงหมาย สาระการเรียนรู และมาตรฐานการเรียนรูนั้น มีรายละเอียดและประเด็นสําคัญ ดังตอไปนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ง : 17)

Page 33: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

19

จุดมุงหมาย เมื่อจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแลว ผูเรียนตองมีความรูความสามารถและ คุณธรรมจริยธรรมและคานิยม ดังนี้ 1. สามารถใชภาษาสื่อสารไดอยางดี 2. สามารถ อาน เขียน ฟง ดูและพูด ไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. มีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผลและคิดอยางเปนระบบ 4. มีนิสัยรักการอาน การเขียน การแสวงหาความรูและใชภาษาในการพัฒนาตนและสรางสรรคอาชีพ 5. ตระหนักในวัฒนธรรมการใชภาษาและความเปนไทย ภูมิใจและชื่นชมใน วรรณคดีและวรรณกรรมซึ่งเปนภูมิปญญาของคนไทย 6. สามารถนําทักษะทางภาษามาประยุกตใชในชีวิตจริงไดอยางมีประสิทธิภาพและถูกตองตามสถานการณและบุคคล 7. มีมนุษยสัมพันธที่ดี และสรางความสามัคคีในความเปนชาติไทย 8. มีคุณธรรมจริยธรรม มีวิสัยทัศน โลกทัศนที่กวางไกลและลึกซึ้ง สาระการเรียนรูภาษาไทย รายละเอียดของหลักสูตรสาระการเรียนรูภาษาไทยที่เปนองคความรู ทักษะ หรือกระบวนการเรียนรูและคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมประกอบดวย สาระที่ 1 การอาน สาระที่ 2 การเขียน สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด สาระที่ 4 หลักการใชภาษา สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรูเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุมภาษาไทย ประกอบดวย สาระที่ 1 การอาน มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดไปใชตัดสินใจแกปญหาและสรางวิสัยทัศนในการดําเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 1.2 ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสาระสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

Page 34: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

20

สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 1.3 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด ความรูสึกในโอกาสตาง ๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค สาระที่ 4 หลักการใชภาษา มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ มาตรฐาน ท 4.2 สามารถใชภาษาแสวงหาความรู เสริมสรางลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและความสัมพันธระหวางภาษาและวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจําวัน สาระที่ 5 วรรณคดี และวรรณกรรม มาตรฐานที่ ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง สําหรับสาระที่ 2 การเขียน มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2 (ป.4 – ป.6) กําหนดรายละเอียด ไวดังนี้ 1. สามารถเขียนเรียงความ ยอความ ช้ีแจงการปฏิบัติงาน การเขียนรายงาน เขียนจดหมายส่ือสารไดเหมาะสมกับโอกาสและจุดประสงค เขียนเรื่องราวจากจินตนาการหรือเรื่องราวที่สัมพันธกับชีวิตจริงรวมทั้งใชกระบวนการเขียน พัฒนาการเขียน 2. มีมารยาทการเขียนและนิสัยรักการเขียนและการศึกษาคนควาโดยใชทักษะการเขียนจดบันทึกขอมูล ความรู ประสบการณ และการสังเกตอยางเปนระบบ นําวิธีการแผนภาพความคิดมาพัฒนางานเขียนส่ือสารไดตามจุดประสงคอยางมีมารยาททางสังคม ซ่ึงในสาระการเขียนนี้ไดกําหนดเนื้อหาที่ตองเรียนไว ดังแผนผัง

Page 35: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

21

การอานโวหาร การบรรยาย การพรรณนา การเปรียบเทียบ การจับใจความ แยกขอเท็จจรงิ ขอคิดเห็น วเิคราะหความ สรุปความ การใชบริบทในการอานและเขาใจความหมาย ของคํา ประโยค ขอความ

การอานในใจ

การอานคําที่มีตัวการันต อักษรควบ อักษรนํา การผันวรรณยุกต

การอานอักษรยอ เครื่องหมายวรรคตอน

การแนะนําหนังสือ หลักเกณฑการฟง การดู และการพูด

การจับใจความ แยกขอเท็จจริง และขอคิดเห็น การวิเคราะห

การสรุปความเรื่องที่ฟงและดู

การเขาใจจุดประสงคของเรื่องและของผูพูด เขาใจถอยคํา น้ําเสียง กิริยา ทาทาง ของผูพูด การพูดรายงาน การพูดวิเคราะห การตั้งขอสังเกต เปรียบเทียบ การสนทนา โตตอบ

การอาน ภาษาไทย ป.6

การฟง การดู และการพูด

การเขียน

นิทาน ตํานาน

เรื่องสั้น

สารคดี บทความ

บทละคร บทรอยกรอง

การรวบรวมนิทานพื้นบาน

หลักการพิจารณาหนังสือ

การนําความรูจากการอานไปใชประโยชน ในการตัดสินใจ คาดการณ แกปญหาและพัฒนาตน

วรรณคดีและวรรณกรรม

การอานออกเสียง การอานรอยแกวและรอยกรอง

การอานทํานองเสนาะ

การทองบทอาขยานและนําไปใชอางอิง

การเขียนสะกดคําและการเขียนตามคําบอก

การคัดลายมือ และเขียนหวัดแกมบรรจง

การเขียนเรียงความ ยอความเรื่องจากจินตนาการและ เรื่องที่สัมพันธกับชีวิตจริง การเขียนรายงานและเขียนชี้แจงการปฏิบัติงาน

การเขียนจดหมายกิจธุระ

การกรอกรายการ

การใชเลขไทย

หลักเกณฑและทักษะ

มารยาทและ นิสัยรักการเขียน

คุณธรรม จริยธรรม คานิยม

มารยาทและนิสัยรักการอาน

การเลือกอานหนังสือและสื่ออิเล็กทรอนิกส

คุณธรรม จริยธรรม คานิยม

ทักษะ หลักการอาน

หลักเกณฑ และทักษะ

คุณธรรม จริยธรรม และคานิยม

การใชคํา กลุมคํา ตามชนิดและหนาที่เรียบเรียงเปนประโยค

หลักการใชประโยค

การใชคําที่มีความหมายโดยตรงและโดยนัย

การใชพจนานุกรม

คําราชาศัพทและคําสุภาพ

คําภาษาตางประเทศในภาษาไทย

การแตงคําประพันธ

การใชภาษาพูดและภาษาเขียน

การใชภาษาของกลุมบุคคลในสังคม และคําในกลุมสาระการเรียนรูอื่น

หลักการใชภาษา มารยาทการฟง การดู การพูด

แผนภูมิที่ 2 ผังโมนทัศนสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ, การจัดสาระการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2546), 29.

Page 36: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

22

การวัดผลและประเมินผล การวัดผลและประเมินผลเปนสวนหนึ่งของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซ่ึงตองดําเนินควบคูกันไป การบูรณาการหรือการประสมประสานการวัดผลและประเมินผลกับการเรียนการสอนเขาดวยกันจะสงผลตอการพัฒนาการศึกษาหลายประการ ในสวนที่เกี่ยวของกับผูเรียน ซ่ึงเปนศูนยกลางของการพัฒนานั้น การวัดผลและประเมินผลจะมีบทบาทสําคัญตอการเรียนรู ทั้งนี้เพราะการวัดผลและประเมินผลและการเรียนรูมีความสัมพันธกันอยางใกลชิดโดยการประเมินจะมีผลทั้งทางตรงและทางออมตอการเรียนรู ทางตรงก็คือ จะใหขอมูลยอนกลับที่สําคัญเพื่อนําไปสูการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สวนผลทางออมคือ จะเปนส่ิงชี้นําการเรียนการสอน ดังนั้น ผูจัดการศึกษาจึงสามารถนําผลทั้งสองลักษณะที่เกิดขึ้นมาใชใหเกิดประโยชนอยางแทจริงตอ การจัดการศึกษาได (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ข : 24) การวัดและประเมินผลการเรียนภาษาไทย การวัดและประเมินผลการเรียนรูดานภาษา เปนงานที่ยากซึ่งตองการความเขาใจที่ถูกตองแทจริงเกี่ยวกับการทํางานของภาษาและการพัฒนาทางภาษา ดังนั้นผูปฏิบัติหนาที่วัดผลการเรียนรู ดานภาษา จําเปนตองเขาใจหลักการของการเรียนรูภาษา เพื่อเปนพื้นฐานการดําเนินงาน ดังนี้ 1. ทักษะทางภาษา ฟง พูด อาน เขียน ด ู มีความสําคัญเทา ๆ กัน และทักษะเหลานี้มีความเกี่ยวเนื่องกันและความกาวหนาของทักษะหนึ่งจะมีผลตอพัฒนาการทักษะอื่น ๆ 2. ผูเรียนตองไดรับการพัฒนาความสามารถทางภาษาเชนเดียวกับทักษะการคิด ทักษะทางสังคม เมื่อผูเรียนมีโอกาสใชภาษาตามความตองการที่แทจริงของตนเอง และในสภาพการณจริงทั้งในบริบททางวิชาการในหองเรียนและชุมชนที่กวางออกไป 3. ผูเรียนตองเรียนรูการใชภาษาพูดภาษาเขียนอยางถูกตอง ดวยการฝกฝน มิใชการเรียนรูกฎเกณฑภาษาแตอยางเดียว การเรียนการใชภาษาที่ประกอบดวยไวยากรณการสะกดคํา และเครื่องหมายตาง ๆ จะคอย ๆ เพิ่มขึ้น เมื่อผูเรียนไดพัฒนาทักษะทางภาษาของตน 4. ผูเรียนทุกคนตองผานขั้นตอนการพัฒนาทางภาษาเชนเดียวกัน แตจะตางกันในจังหวะกาว และวิธีการเรียน 5. ภาษาและวัฒนธรรมมีความสัมพันธกันอยางใกลชิดหลักสูตรที่ใหความสําคัญใหความเคารพและเห็นคุณคาของเชื้อชาติ วัฒนธรรม ภูมิหลังทางภาษาและความหลากหลายของภาษาจะชวยใหผูเรียนพัฒนาความรูสึกที่ดีเกี่ยวกับตนเองและกระตุนใหผูเรียนเรียนรู

Page 37: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

23

หลักการของการประเมินผลในชั้นเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ ประการแรก : การประเมินในชั้นเรียนที่มปีระสิทธิภาพ จะตองสงเสริมการเรียนรูของผูเรียน ประการที่สอง : การประเมินผลตองใชขอมูลจากแหลงขอมูลที่หลากหลาย ประการที่สาม : การประเมินตองมีความเทีย่งตรง เชื่อถือไดและยุติธรรม 1. การวางแผนการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการประเมินผลการเรียน หลังจากที่ผูสอนกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนแลว ผูสอนจะตองพิจารณากําหนดวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลผลการเรียนรูที่ไดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดังกลาว ทั้งนี้โดยพิจารณาองคประกอบสําคัญตอไปนี้ 2. ผลการเรียนรูที่ตองการกิจกรรมการเรียนการสอน คืออะไร ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการเรียนรูไดมาจากมาตรฐานการเรียนรูระดับตางๆ ซ่ึงถูกกําหนดไวโดยครอบคลุมความรู ทักษะ และคุณธรรม จริยธรรม คานิยมตางๆ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง จะนําไปสูการเลือกวิธีการเก็บขอมูลที่มีประสิทธิภาพ เชน ผูสอนกําหนดวา ผลการเรียนรูที่ตองการคือ ความสามารถ ในการเขียนบทความที่โนมนาว ชักชวนผูสอนจะตองเก็บรวบรวมตัวอยางผลงานที่เคยมอบหมายใหผูเรียนไดจัดทําเกี่ยวกับเรื่องนี้ และประเมินโดยเทียบเกณฑที่กําหนด ผลการประเมินจึงจะเที่ยงตรงเชื่อถือไดแตถาผูสอนใชแบบทดสอบแบบชนิดเลือกตอบในการเก็บรวบรวมขอมูล ถือวาผูสอนใชวิธีการไมเหมาะสม 3. ความมุงหมายของการประเมินคืออะไรและใครจะเปนผูนําผลการประเมินไปใช ความมุงหมายของการประเมินและผูจะนําผลการประเมินไปใช จะชวยใหสามารถเลือกวิธีใช การประเมินไดเหมาะสม รวมทั้งสามารถกําหนดแนวทางในการรายงานผลการประเมินได การประเมินเพื่อวินิจฉัยจุดเดนจุดดอยในการเรียน กับการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน มีความมุงหมายตางกัน การประเมินเพื่อวินิจฉัย ตองการขอมูลเพื่อการปรับปรุงพัฒนาผูเรียน ดังนั้นวิธีการประเมินจะมีลักษณะที่มุงเนนในรายละเอียดทุกขั้นตอนแหงการเรียนรูเพื่อเปนขอมูลในการแกปญหาเกี่ยวกับการเรียนของผูเรียน เหมาะที่จะนํามาใชระหวางกระบวนการเรียนการสอน สวนการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนจะเปนการประเมินสรุปผลการเรียนรูทั้งหมดแนว ทางการวัดจึงมีลักษณะที่นํามาเฉพาะเปาหมายหลักสําคัญที่จะแสดงภาพรวมเกี่ยวกับสัมฤทธิผลของผูเรียนตามความคาดหวังมาประเมิน เปนตน

Page 38: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

24

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลผลการเรียนของผูเรียน วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีถูกนํามาใชในการประเมินโดยทั่วไป เชน การสังเกต การตรวจงานหรือผลงาน การทดสอบความรู การตรวจสอบการปฏิบัติ และการแสดงออกอยางไรก็ตามมีการนําเสนอแนวทางการเก็บรวบรวมขอมูล โดยพิจารณาจากเปาประสงคของการประเมินที่เฉพาะเจาะจงในรายละเอียด เพื่อขอมูลท่ีไดจะสามารถนํามาใชประโยชนตอการปรับปรุงพัฒนากระบวนการเรียนรูไดอยางแทจริง ดังนี้ 1. การใหตอบแบบทดสอบ ทั้งในลักษณะที่เปนแบบเลือกคําตอบ ไดแก ขอสอบแบบเลือกตอบ ถูก–ผิด และขอสอบชนิดใหผูสอบสรางคําตอบ ไดแก เติมขอความในชองวาง คําตอบส้ันเปนประโยค เปนขอความ เปนแผนภมูิ 2. การดูจากผลงาน เชน เรียงความ รายงานการวิจัย บันทึกประจําวัน รายงานการทดลอง บทละคร บทรอยกรอง แฟมผลงาน เปนตน ผลงานจะเปนสิ่งแสดงใหเห็นการนําความรูและทกัษะไปใชในการปฏิบัติของผูเรียน 3. ดูการปฏิบัติ โดยผูสอนสามารถสังเกตการนําทักษะและความรูไปใชโดยตรงในสถานการณที่ใหปฏิบัติจริง วิธีการนี้จะนําไปใชอยางกวางขวางในการประเมินการปฏิบัติที่มี ระเบียบขอบังคับ เชน การรองเพลง ดนตรี พลศึกษา การโตวาที การกลาวสุนทรพจนละครเวที 4. ดูกระบวนการ วิธีการนี้จะใหขอมูลเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู กระบวนการคิดของผูเรียนมากกวาที่จะดูผลงานหรือการปฏิบัติ ซ่ึงจะทําใหทราบกระบวนการคิดที่ผูเรียนใชวิธีการที่พบวาครูผูสอนใชอยูเปนประจําในกระบวนการเรียนการสอน คือ การใหนักเรียนคิดดัง ๆ การตั้งคําถามใหนักเรียนตอบ โดยครูจะเปนผูสังเกตวิธีการคิดของผูเรียน วิธีการเชนนี้เปนกระบวนการที่จะใหขอมูลเพื่อการวินิจฉัย และเปนขอมูลยอนกลับแกผูเรียน โดยการเก็บรวบรวมขอมูลอยางตอเนื่องซึ่งเหมาะกับการประเมินพัฒนาการดานคุณธรรม จริยธรรม และลักษณะนิสัย จากแนวทางการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการประเมินผลการเรียนรูดังกลาวขางตนสามารถนํามาพิจารณากําหนดแนวทางการเก็บรวบรวมขอมูลทักษะทางภาษาได โดยการสังเกตผานพฤติกรรมตาง ๆ เชน การเลาเรื่อง การใหคําชี้แจง การเลาประสบการณ การรวมกิจกรรมตาง ๆ การปฏิสัมพันธกับกลุมบุคคล หากผลการเรียนรูที่ตองการจากการเรียนคือ ความรู ความคิดเกี่ยวกับกฎเกณฑของภาษา การใชภาษา วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการประเมินที่เหมาะสม คือ การใชขอสอบซึ่งอาจเปนแบบเลือกตอบหรือใหสรางคําตอบ (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ข : 25)

Page 39: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

25

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองพันเทา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชวงชั้นท่ี 2 (ป.4 – ป.6)

โรงเรียนวัดหนองพันเทา เปนโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ซ่ึงประกอบไปดวย โรงเรียนในเขตอําเภอสองพี่นอง อําเภออูทองและอําเภอดอนเจดีย สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดจัดการเรียนรูตามแนว พระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 โดยจัดการเรียนการสอนในชวงชั้นที่ 1 และ 2 มีครู 11 คน นักเรียน 316 คน และจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู สําหรับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยนั้น มีรายละเอียด ดังนี้ วิสัยทัศน ภาษาไทยเปนเครื่องมือส่ือสารของคนในชาติและใชภาษาในการประกอบกิจการ ทั้งสวนครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและประเทศชาติ เปนเครื่องมือการเรียนรู การบันทึกเร่ืองราวจากอดีตถึงปจจุบันและเปนวัฒนธรรมของชาติ ดังนั้นการเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนรูเพื่อใหเกิดทักษะอยางถูกตองเหมาะสม การสื่อสารเปนเครื่องมือในการเรียนรู แสวงหาความชื่นชม ซาบซึ้ง และภูมิใจในภาษาไทย โดยเฉพาะคุณคาของวรรณคดีและภูมิปญญาทางภาษาของบรรพบุรุษ ที่ไดสรางสรรคไว อันเปนสวนสงเสริมความงดงามในชีวิต การเรียนรูภาษาไทยยอมเกี่ยวกับความคิดของมนุษย เพราะภาษาเปนสื่อของความคิด การเรียนรูภาษาไทยตองสงเสริมใหผูเรียนไดคิดสรางสรรค วิพากษวิจารณ คิดตัดสินใจแกปญหา และวินิจฉัยอยางมีเหตุผล ขณะเดียวกันการใชภาษาอยางมีเหตุผล ใชในทางสรางสรรคและใชภาษาอยางสละสลวยงดงาม ยอมสรางเสริมบุคลิกภาพของผูใชภาษาใหเกิดความนาเชื่อถือและเชื่อภูมิดวย ภาษาไทยเปนทักษะที่ตองฝกฝนจนเกิดความชํานาญในการใชภาษา เพื่อการสื่อสาร การอาน การอานและการฟงเปนทักษะของการรับรูเร่ืองราว ความรูและประสบการณ สวนการพูดและการเขียนเปนทักษะการแสดงออกดวยการแสดงความคิดความเห็น ความรู และประสบการณ การเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนเพื่อการสื่อสารใหสามารถรับรูขาวสารไดอยางพินิจพิเคราะหสามารถเลือกใชคํา เรียบเรียงความคิด ความรู และใชภาษาไดถูกตองตามกฎเกณฑไดตรงตามความหมาย และถูกตองตามกาลเทศะ บุคคล และมีประสิทธิภาพ ภาษาไทยมีสวนที่เปนเนื้อหาสาระ ไดแก กฎเกณฑทางภาษา ซ่ึงผูใชภาษาจะตองรูและใชภาษาใหถูกตอง นอกจากนั้นยังมีวรรณคดีและวรรณกรรม ตลอดจนบทรองเลนของเด็ก

Page 40: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

26

เพลงกลอมเด็กปริศนาคําทาย เพลงพื้นบาน วรรณกรรมพื้นบาน เปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมซึ่งมีคุณคา การเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนวรรณคดี วรรณกรรม ภูมิปญญาทางภาษาที่ถายทอดความรูสึกนึกคิด คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของสังคมในอดีตและความงดงามของภาษาในบทประพันธทั้งรอยแกวรอยกรองประเภทตาง ๆ เพื่อใหเกิดความซาบซึ้งและความภาคภูมิใจใน ส่ิงที่บรรพบุรุษไดส่ังสมและสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน (โรงเรียนวัดหนองพันเทา 2546 : 4) คุณภาพของผูเรียน เมื่อจบหลักสตูรการศึกษาขัน้พื้นฐานแลว ผูเรียนตองมีความรูความสามารถ ดังนี ้ 1. สามารถใชภาษาสื่อสารไดเปนอยางด ี 2. สามารถอาน เขียน ฟง ดูและพูดไดอยางมปีระสิทธิภาพ 3. มีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผลและคิดเปนระบบ 4. มีนิสัยรักการอาน การเขียน การแสวงหาความรูและใชภาษาในการพัฒนาตนและ สรางสรรคงานอาชีพ 5. ตระหนักในวัฒนธรรม การใชภาษาและความเปนไทย ภูมิใจและชื่นชมในวรรณคดี และวรรณกรรมซึ่งเปนภูมิปญญาของคนไทย 6. สามารถนําทักษะทางภาษามาประยุกตใชในชีวิตจริง ไดอยางมีประสิทธิภาพและถูกตองตามกาลเทศะและบุคคล 7. มีมนุษยสัมพันธที่ดี และสรางความสามัคคีในความเปนชาติไทย 8. มีคุณธรรม จริยธรรม มีวิสัยทัศน โลกทัศนกวางไกลลึกซึ้ง เมื่อจบแตละชวงชั้น ผูเรียนตองมีความรู ความสามารถดังนี ้ ชวงชั้นท่ี 2 ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 – 6 1. สามารถอานไดคลองและอานไดเร็วขึ้น 2. เขาใจความหมายของคํา สํานวน โวหาร การเปรียบเทียบ จับประเด็นสําคัญ แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น วิเคราะหความ ตีความ สรุปความ 3. นําความรูที่ไดจากการอานไปใชแกปญหา ตัดสินใจ คาดการณและใชการอานเปนเครื่องมือในการพัฒนาตน 4. เลือกอานหนังสือและสื่อสารสนเทศจากแหลงเรียนรู 5. เขียนเรียงความ ยอความ สรุปความ จดหมาย เขียนอธิบาย เขียนชี้แจงการปฏิบัติงานและรายงาน เขียนเรื่องราวจากจินตนาการและเรื่องราวที่สัมพันธกับชีวิตจริง จดบันทึกความรูประสบการณ เหตุการณ และการสังเกตอยางเปนระบบ

Page 41: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

27

6. สรุปความ วิเคราะหเร่ืองที่ฟงที่ดูได และเปรียบเทียบกับประสบการณกับชีวิตจริงได 7. สนทนา โตตอบ พูดแสวงหาความรู ความคิด ความตองการ พูดวิเคราะหเร่ืองราว พูดตอหนาชุมชน และพูดรายงาน 8. ใชทักษะทางภาษาเปนเครื่องมือการเรียน การดํารงชีวิต และการอยูรวมกันในสังคมรวมทั้งใชไดถูกตองเหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ 9. เขาใจลักษณะของคําไทย คําภาษาถิ่น และคําภาษาตางประเทศที่ปรากฏอยูในภาษาไทย 10. ใชทักษะทางภาษาเพื่อประโยชนไดตามจุดประสงค 11. ใชหลักการพิจารณาหนังสือ พิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรมใหเห็นคุณคาและ นําประโยชนไปใชในชีวิต 12. สามารถแตงกาพยและกลอนงาย ๆ ได 13. สามารถเลานิทานพื้นบานและตํานานพืน้บานในทองถ่ินได 14. มีมารยาทการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด มีนิสัยรักการอานและ การเขียน

Page 42: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

28

โครงสรางของหลักสูตร ตารางที่ 1 แสดงโครงสรางของหลักสูตร

ชวงชั้นท่ี 1 (ป.1- ป.3)

ชวงชั้นท่ี 2 (ป.4 -6) กลุมสาระการเรียนรู

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 - ภาษาไทย - คณิตศาสตร - วิทยาศาสตร - สังคมศึกษา ศาสนาและวฒันธรรม - สุขศึกษาและพลศึกษา - ศิลปศึกษา - การงานพืน้ฐานอาชีพและเทคโนโลยี - ภาษาตางประเทศ

280 200 80 80 80 80 80 40

280 200 80 80 80 80 80 40

280 200 80 80 80 80 80 40

200 200 120 80 80 80 80 80

200 200 120 80 80 80 80 80

200 200 120 80 80 80 80 80

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 80 80 80 80 80 80 รวมเวลา 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชวงชั้นที ่ 1

- แนะแนว 1 ช.ม. - ลูกเสือ-เนตรนารี 1 ช.ม.

ชวงชั้นที ่ 2 - แนะแนว 1 ช.ม. - ลูกเสือ-เนตรนารี 1 ช.ม.

ที่มา : โรงเรียนวดัหนองพนัเทา, หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดัหนองพันเทา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย (สุพรรณบุรี : ฝายวิชาการ, 2546), 7.

Page 43: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

29

มาตรฐานการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชวงชั้นท่ี 2 (ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6) ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนวา รายละเอียดของหลักสูตรภาษาไทยที่เปนองคความรู ทักษะ หรือกระบวนการเรียนรูและคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมนั้น ประกอบดวย 5 สาระ คือ การอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด หลักการใชภาษา วรรณคดีและวรรณกรรม ในแตละสาระจะมีมาตรฐานเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูและกําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวัง เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามมาตรฐานและผลการเรียนรูที่กําหนดไว ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยจะขอกลาวเฉพาะมาตรฐานและผลการเรียนรูสาระการเขียนเทานั้น ดังนี้ สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท.2.1 สามารถเขียนเรียงความ ยอความ ช้ีแจงการปฏิบัติงาน การเขียนรายงาน เขียนจดหมายสื่อสารไดเหมาะสมกับโอกาสและจุดประสงค เขียนเรื่องราวจากจินตนาการหรือเร่ืองราวที่สัมพันธกับชีวิตจริงรวมทั้งใชกระบวนการเขียน พัฒนาการเขียน มาตรฐาน ท.2.2 มีมารยาทการเขียนและนิสัยรักการเขียนและการศึกษาคนควา โดยใชทักษะการเขียนจดบันทึกขอมูล ความรู ประสบการณ และการสังเกตอยางเปนระบบ นําวิธีการของแผนภาพความคิดมาพัฒนางานเขียนส่ือสารไดตามจุดประสงคอยางมีมารยาททางสังคม ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังรายป สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐานที่ ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนสื่อสารเขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาคนควาไดอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับการกําหนดมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นและผลการเรียนรูที่คาดหวัง โรงเรียนวัดหนองพันเทาไดกําหนดไวในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองพันเทา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย (โรงเรียนวัดหนองพันเทา 2546 : 78 – 79) มีความสอดคลองกับหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ดังนี้ มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6 สามารถเขียนเรียงความ ยอความ ช้ีแจงการปฏิบัติงาน การเขียนรายงาน เขียนจดหมายส่ือสารไดเหมาะสมกับโอกาสและจุดประสงค เขียนเรื่องราวจากจินตนาการหรือเรื่องราวที่สัมพันธกับชีวิตจริงรวมทั้งใชกระบวนการเขียน พัฒนาการเขียน ตามรายละเอียดในตารางที่ 2

Page 44: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

30

ตารางที่ 2 ตารางผลการเรียนรูที่คาดหวัง

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ชั้นประถมศึกษาปท่ี 4 ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

1. สามารถเขียนเรียงความได 1. สามารถเขียนเรียงความไดถูกตองมากขึ้น

1. สามารถเขียนเรียงความไดถูกตองมากยิ่งขึ้น

2. สามารถเขียนยอความ เขียนสรุปความได

2. สามารถเขียนยอความ เขียนสรุปความไดถูกตอง มากขึ้น

2. สามารถเขียนยอความ เขียนสรุปความไดถูกตองมากยิ่งขึ้น

3. สามารถเขียนจดหมายส่ือสารเหมาะสมกับโอกาสและตามจุดประสงค

3. สามารถเขียนจดหมายส่ือสารเหมาะสมกับโอกาสและตามจุดประสงคมากขึ้น

3. สามารถเขียนจดหมายส่ือสารเหมาะสมกับโอกาสและตามจุดประสงคมากยิ่งขึ้น

4. สามารถเขียนเรื่องราวจากจินตนาการหรอืเร่ืองราวที่สัมพันธกับชีวติจริงได

4. สามารถเขียนเรื่องราวจากจินตนาการหรอืเร่ืองราวที่สัมพันธกับชีวติจริงไดมากขึน้

4. สามารถเขียนเรื่องราวจากจินตนาการหรอืเร่ืองราวที่สัมพันธกับชีวติจริงไดมาก ยิ่งขึ้น

5. สามารถเขียนรายงานได

5. สามารถเขียนรายงานได ถูกตองมากขึ้น

5. สามารถเขียนรายงานได ถูกตองมากยิ่งขึ้น

6. สามารถเขียนชี้แจงการปฏิบัติงานได

6. สามารถเขียนชี้แจงการปฏิบัติงานไดมากขึ้น

6. สามารถเขียนชี้แจงการปฏิบัติงานไดมากยิ่งขึ้น

7. สามารถเขียนเรื่องราวจากจินตนาการได

7. สามารถเขียนเรื่องราวจากจินตนาการไดมากขึ้น

7. สามารถเขียนเรื่องราวจากจินตนาการไดมากยิ่งขึ้น

8. สามารถใชกระบวนการเขียนพัฒนางานเขียนได

8. สามารถใชกระบวนการเขียนพัฒนางานเขียนได มากขึ้น

8. สามารถใชกระบวนการเขียนพัฒนางานเขียนไดมากยิ่งขึ้น

จากการศึกษามาตรฐานการเรียนรูที่ 2.1 ของสาระการเขียนพบวา มีผลการเรียนรูที่คาดหวังจํานวน 8 ขอ สําหรับการวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยคัดเลือกเฉพาะผลการเรียนรูที่คาดหวังที่เกี่ยวของกับการเขียนสรุปความเทานั้น คือผลการเรียนรูที่คาดหวังขอที่ 2 สามารถเขียนยอความ เขียนสรุปความ ไดถูกตองมากยิ่งขึ้น

Page 45: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

31

ทักษะการเขียนและการเขียนสรุปความ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยนั้น มีทักษะสําคัญที่ผูเรียนจะตองเรียนรู คือ การฟง การพูด การอาน และการเขียน สําหรับการวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเกี่ยวกับการเขียนสรุปความ ดังนั้น จึงขอนําเสนอประเด็นสําคัญเกี่ยวกับทักษะการเขียนซ่ึงเปนทักษะที่เกี่ยวของกับ การเขียนสรุปความ ดังนี้ ความหมายของการเขียน การเขียนนับวาเปนทักษะที่สําคัญ เพราะการเขียนจะชวยใหสามารถติดตอส่ือสารกับผูอ่ืนได ชวยจดบันทึกส่ิงตาง ๆ เชน เขียนตอบคําถาม เขียนถายทอดแสดงความคิดเห็น เขียนเลาเรื่อง เขียนจดหมาย เขียนยอความ เปนตน ดังนั้นผูเขียนจะตองมีความสามารถในการใชภาษาใหถูกตองตามระเบียบแบบแผน อีกทั้งยังมีความสามารถในการใชถอยคําลีลาในการเขียนเพื่อส่ือสารไดตรงตามวัตถุประสงคของตนและเหมาะสมกับสถานการณตาง ๆ ได ดังนั้น การฝกใหนักเรียนเปนผูมีความสามารถทางการเขียนจึงเปนสิ่งสําคัญ นักภาษาศาสตรและผูเชี่ยวชาญทางภาษาหลายทานไดใหคํานิยามคําวาการเขียนไว ดังนี้ กันตดนัย วรจิตพล (2542 : 12) นภดล จันทรเพ็ญ (2542 : 91) สนิท สัตโยภาส (2542 : 142) จุติมา นาควรรณ (2544 : 14) วรรณี โสมประยูร (2544 : 139) มนวิภา เสนียวงศ ณ อยุธยา (2545 : 48) อรอุมา ตั้งพัฒนาสมบูรณ (2546 : 27) เพลินตา โมสกุล (2548) เบอรน (Byrne 1991 : 4 – 5, อางถึงใน อมรรัตน วิศวแสวงสุข 2543 : 17) มารีนา ซัลสรวล (2548) ใหความหมายของการเขียนในทํานองเดียวกันวา การเขียน คือการถายทอดความรู ความคิด ความตองการและประสบการณตาง ๆ โดยการรวบรวมและเรียบเรียงเปนลายลักษณอักษรเพื่อส่ือสารใหผูอานไดตรงตามจุดประสงค สวน สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย (2536 : 115) ไดกลาวถึงความหมายของการเขียนวา การเขียน คือ การเรียบเรียงความรู ความคิด ประสบการณตาง ๆ ตลอดจนความรูสึกนึกคิดและจินตนาการออกมาเปนลายลักษณอักษร จะเปนขอความสั้น ๆ หรือบทกวีนิพนธก็ได ขอเขียนตาง ๆ เหลานี้ มีเอกภาพ มีความเปนตัวของตัวเองทั้งในดานของความคิด และการใชภาษาเรียบเรียง แต ไวท (White 1981 : 16) กลาววา การเขียนคือ การลําดับประโยคที่เชื่อมโยงกันอยางถูกตองตามหลักไวยากรณ และสมเหตุสมผล และเขียนไดเหมาะสมกับวัตถุประสงค โดยที่ผูเขียนสามารถส่ือสารตามที่ตองการได การเขียนจะตองไมคลุมเครือ กลาวคือ จะตองประกอบดวยความถูกตองของภาษา (Correctness of form) ความเหมาะสมของรูปแบบงานเขียน (Appropriateness of style) และเอกภาพของเรื่อง (Unity of theme and topic)

Page 46: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

32

ซาเมล (Zamel 1982 : 197) และเทเลอร (Taylor 1984 : 1 – 15) กลาวในทํานองเดียวกันวา การเขียนเปนการสํารวจความคิดและการเรียนรูงานดานความคิด เปนกระบวนการแสวงหา เชิงสรางสรรค (Discovery creative procedure) โดยมีลักษณะผสมผสานระหวางเนื้อหาและภาษา กลาวคือ เปนการใชภาษาเพื่อการคนหาสิ่งที่นอกเหนือความรูเดิมที่มีอยู การเขียนจึงเปนเครื่องมือในการคนหาความหมายจากประสบการณของผูเขียน เพื่อจะไดนําสิ่งเหลานั้นมาเสนอผูอาน ในความคิดของเทเลอร การเขียนมิใชเปนเพียงเครื่องมือสะทอนความคิดของผูเขียนหากแตยังเปนตัวกระตุนใหเกิดความคิดไดอีกดวย ดังนั้นการเขียนจึงเปนกระบวนการทั้งการใหและการรับ จากคําจํากัดความขางตนสรุปไดวา การเขียนคือ การถายทอดความรู ความคิด ความรูสึก ของผูสงสาร โดยผานกระบวนการคิดอยางเปนระบบออกมาเปนลายลักษณอักษรเพื่อส่ือสารใหผูรับสารเขาใจ ประเภทของการเขียน การเขียนเปนการถายทอดความรู ความคิดและความเขาใจของตนเอง ออกมาเปน ลายลักษณอักษรใหผูอ่ืนเขาใจ นอกจากนี้การเขียนยังเปนเครื่องมือในการเรียนรู เปนสื่อตาง ๆ ที่ชวยจรรโลงใจใหผูอานเกิดความสุข คลายความทุกขได ตามประเภทของการเขียนนั้น ๆ ซ่ึงมี ผูแบงประเภทของการเขียนไว ดังนี้ มณีปน พรหมสุทธิรักษ (2541 : 120) ไดจําแนกประเภทของการเขียนตามจุดมุงหมายของการเขียน ดังนี้ 1. การเขียนเพื่อเลาเรื่อง คือ การเขียนเพื่อถายทอดประสบการณ ความรู สวนใหญใชในการเขียนชีวประวัติ การเขียนขาว การเขียนสารคดี การเขียนแบบนี้ผูเขียนตองเลาเรื่องตามลําดับเหตุการณและใชขอมูลถูกตองตามความเปนจริง 2. การเขียนเพื่ออธิบาย คือ การเขียนเพื่อบอกวิธีการทําสิ่งหนึ่ง ช้ีแจงตอบปญหา ผูเขียนตองลําดับขั้นตอนของเรื่องเปนอยางดี และใชภาษาที่รัดกุม ชัดเจนเพื่อใหผูอ่ืนเขาใจงาย 3. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น คือ การเขียนแสดงความคิดเห็นของผูเขียน ซ่ึงอาจมีขอคิด คติ หรือแนวคิดที่นาสนใจแทรกอยูดวย 4. การเขียนเพื่อโฆษณา คือการเขียนจูงใจ เชิญชวนใหผูอานสนใจสิ่งที่เขียนแนะนํา เชน การเขียนคําโฆษณา คําขวัญ คําที่ใชควรใหส้ัน มีการเลนลีลาของคํา เพื่อใหผูอานสนใจ 5. การเขียนเพื่อสรางจินตนาการ คือ การถายทอดความรูสึก จินตนาการ ใหผูอานเกิดความรูสึกเห็นภาพตามผูเขียน ตองใชคําประณีต มีความหมายแฝง เชน การเขียนเรื่องนวนิยาย เปนตน

Page 47: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

33

จุไรรัตน ลักษณะศิริ (2548 : 189 – 190) ไดจําแนกประเภทของการเขียนตามจุดมุงหมายไว ดังนี้ 1. การเขียนเพื่อเลาเรื่อง การเขียนเพื่อเลาเรื่อง คือ การนําเหตุการณหรือเรื่องราวที่เปนลําดับอยูแลวมาถายทอดเปนขอเขียน อาจเปนเรื่องราวที่ผูเขียนประสบเองหรือเปนเรื่องราวที่เกิดขึ้นกับบุคลใดบุคลหนึ่งหรือเกิดขึ้นในสังคมโดยทั่วไป การเขียนเพื่อเลาเรื่องสวนใหญเปนการเขียนเลาประวัติ เลาเหตุการณหรือประสบการณตาง ๆ เชน การเขียนสารคดีและเขียนขาว เปนตน ส่ิงสําคัญสําหรับการเขียนเลาเรื่องคือจะตองคํานึงถึงความถูกตองตามความเปนจริงและตองเลาเรื่องไปตามลําดับเหตุการณที่ เกิดขึ้น 2. การเขียนเพื่ออธิบาย การเขียนเพื่ออธิบาย คือการเขียนเพื่อช้ีแจง อธิบาย เชน อธิบายวิธีใช วิธีทํา ขั้นตอนการทํา โดยมีวัตถุประสงคใหผูอานเกิดความเขาใจและปฏิบัติตามได เชน อธิบายวิธีใชเครื่องมือ ขั้นตอนการปรุงอาหาร ขั้นตอนการตอนกิ่งติดตาตนไม การดูแลรักษาเครื่องใชในบานหรืออธิบายเปรียบเทียบของสองสิ่ง เปนตน การเขียนเพื่ออธิบายตองระวังเรื่องการใชภาษา ตองใชภาษาที่ส้ันกระชับ เขาใจงาย และเปนไปตามลําดับขั้นตอน 3. การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็น การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นเปนการเขียนเพื่อวิเคราะห วิจารณ แนะนําหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อาจเปนการแสดงความคิดเห็นอยางเดียวหรืออาจมีขอเสนอแนะประกอบดวยโดยตองคํานึงถึงพื้นฐานขอเท็จจริงอีกทั้งตองมีหลักเกณฑและมีเหตุผล ตัวอยางการเขียนแสดงความคิดเห็น เชน การเขียนบทความ การเขียนบทวิจารณและการเขียน บทบรรณาธิการหนังสือพิมพ เปนตน 4. การเขียนเพื่อสรางจินตนาการ การเขียนเพื่อสรางจินตนาการเปนการเขียนที่ผูเขียนมีจุดมุงหมายที่จะใหผูอานมีอารมณคลอยตามและเกิดจินตนาการเห็นภาพตามที่ผูเขียนตองการ การใชถอยคําภาษาในงานเขียนลักษณะนี้ ตองใชถอยคําภาษาที่ประณีต งดงาม สามารถสื่ออารมณและความรูสึกใหเกิดแกผูอานได ซ่ึงในบางครั้งก็ตองใชถอยคําที่มีความหมายแฝง มีความหมายเชิงสัญลักษณ หรือมีความหมายเชิงเปรียบเทียบเพื่อชวยสรางจินตนาการใหเกิดแกผูอาน การเขียนตามจุดมุงหมายนี้จะปรากฏ ในการเขียนประเภทบันเทิงคดีเปนสวนใหญ

Page 48: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

34

5. เขียนเพื่อโนมนาวใจ การเขียนเพื่อโนมนาวใจ เปนการเขียนที่ผูเขียนมีจุดประสงคที่จะชักจูง โนมนาวใจใหผูอานยอมรับในสิ่งที่ผูเขียนเสนอ เชน การเขียนโฆษณา การเขียนคําขวัญ การใชภาษาในงานเขียนประเภทนี้ตองใชภาษาที่ส้ันกระชับรัดกุม สะดุดตา สะดุดใจผูอาน อาจเลนคํา เลนสํานวน เพื่อใหเกิดความคลองจองทําใหผูอานจดจําไดในเวลาอันรวดเร็ว 6. การเขียนเพื่อลอเลียนและเสียดสี การเขียนเพื่อลอเลียนเสียดสีเปนการเขียนที่ผูเขียนมีจุดประสงคที่จะตองตําหนิส่ิงใดส่ิงหนึ่ง อาจเปนบุคคล เหตุการณหรือสถานการณ แตเปนการตําหนิอยางนุมนวล ทํานองติเพื่อกอ การเขียนลักษณะนี้ตองไมมีลักษณะการกลาวรายหรือมุงทําลาย การใชภาษาในงานเขียนประเภทนี้ตองสุภาพ นุมนวล อาจแทรกอารมณขันทํานองยั่วลอดวยถอยคําหรือดวยเรื่องราว 7. การเขียนเพื่อกิจธุระ การเขียนเพื่อกิจธุระ คือการเขียนที่ผูเขียนมีจุดประสงคอยางใดอยางหนึ่ง การเขียนชนิดนี้จะมีรูปแบบการเขียนและลักษณะการใชภาษาที่แตกตางกันไปตามประเภทของงานเขียน เชน การเขียนหนังสือราชการ การเขียนจดหมายธุรกิจ การเขียนโทรเลข การเขียนประกาศแจงความ เปนตน สมพร มันตะสูตร (2540 : 8 – 10) ไดจําแนกประเภทของการเขียนตามจุดมุงหมายของการเขียน ดังนี้ 1. บันเทิงคดี (Fiction) หมายถึง เรื่องที่เขียนขึ้นจากการสมมุติผสมกับจินตนาการ โดยยึดหลักความสมจริงใหมากที่สุด แบงเปน นวนิยาย เรื่องสั้น บทละคร หัสคดีหรือปกิณกะอ่ืน ๆ 2. สารคดี (Feature or non–fiction) คือ งานเขียนที่ผูเขียนมีจุดมุงหมายที่จะใหความรู เนื้อหาสาระเชิงวิชาการแกผูอานมากกวาความเพลิดเพลิน แตก็มีสารคดีประเภทที่ใหความบันเทิงปะปนอยูดวย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับฝมือของผูเขียนเปนสําคัญ ลักษณะที่สําคัญของสารคดี คือ 2.1 มีจุดมุงหมายที่ใหความรูเปนเบื้องตน 2.2 ตองใหทั้งความคิดและความจริงที่เชื่อถือได 2.3 ใหคุณคาทางปญญาแกผูอาน จากแนวคิดดังกลาวขางตนสามารถสรุปไดวา การเขียนสามารถจําแนกออกเปนประเภทตาง ๆ ไดตามจุดมุงหมายหรือวัตถุประสงคของผูเขียนวาตองการสื่อสารใหผูรับสารเขาใจในเรื่องใด

Page 49: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

35

สําหรับการเขียนสรุปความนั้น เปนการเขียนที่ตองผานกระบวนการคิดอยางมีแบบแผน แลวจึงสรุปเรื่องราวตาง ๆ ใหไดใจความสมบูรณครบถวน ซ่ึงการเขียนสรุปความนี้นับวาเปนประโยชนตอผูเรียนอยางมากเพราะสามารถนําไปใชในการสรุปเนื้อหาของบทเรียนหรือเพื่อส่ือสารใหผูอ่ืนไดรับรูหรือเขาใจในสิ่งที่ตนเสนอไดเปนอยางดี การเขียนสรุปความ ความหมายการเขียนสรุปความ การเขียนสรุปความเปนการเขียนสรุปเฉพาะประเด็นสําคัญของเรื่องที่อานโดยใชหลักการเขียนตอบคําถามใหไดสาระวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทําไม อยางไร และนําเนื้อหาสําคัญดังกลาวมาเรียบเรียงใหมใหสละสลวย ตอเนื่องอยางชัดเจนและกะทัดรัด (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2545 ง : 224 ) ซ่ึงนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายการเขียนสรุปความไว ดังนี้ ขนิษฐา แสงภักดี (2540 : 7) นฤมล มวงไทย (2543 : 8) จุไรรัตน ลักษณะศิริ (2548 : 229) สรวีย เคียนสันเทียะ (2545 : 9) ใหความหมายของการเขียนสรุปความไวทํานองเดียวกันวา การเขียนสรุปความ หมายถึง การเขียนเฉพาะประเด็นสําคัญของเรื่องโดยผานกระบวนการคิดใครครวญอยางมีเหตุผล เพื่อใหไดใจความสั้น กะทัดรัด และสละสลวยดวยสํานวนของผูเขียนเอง สมาคมนักเขียน (The Writers’s Workshop 2005) ใหความหมายของการเขียนสรุปความไววา การเขียนสรุปความ คือการเขียนเนื้อเร่ืองซ้ําใหมอีกครั้งหนึ่งดวยสํานวนของตนเอง การเขียนสรุปความมีหลายชนิดแตกตางกันไปตามความสามารถในการเขียนอธิบายหรือวิเคราะหของผูเขียน ซ่ึงอาจมีความยาวหลายหนากระดาษหรืออาจมีความยาวเพียง หนึ่งหรือสองประโยค ลินดา บีฮัน และ สก็อต ลอยด เดวิท (Lynda Behan and Lioyd Dewitt 2005) กลาววา การเขียนสรุปความ เปนการสะทอนความเขาใจของผูอานจากงานเขียนตาง ๆ โดยผานการสังเคราะหแลวเขียนดวยถอยคําที่กระชับ รัดกุม ดวยสํานวนภาษาของผูเขียนเอง หรือจะกลาววา การเขียนสรุปความ ก็คือการจับประเด็นหรือจุดสําคัญของเรื่องที่อานเพื่อบุคคลที่ไมไดอานตนฉบับ จากความหมายดังกลาวขางตนสรุปไดวา การเขียนสรุปความเปนการเขียนเฉพาะเนื้อหาสําคัญของเรื่องที่อานหรือฟงใหไดใจความครบสมบูรณที่สุดดวยภาษาสํานวนของตนเอง ความสําคัญของการเขียนสรุปความ การเขียนสรุปความเปนทักษะที่มีความสําคัญในการติดตอส่ือสาร เพราะจะชวยใหจดจําเรื่องราวหรือประเด็นสําคัญจากสิ่งที่ฟงหรืออานไดดวยการถายทอดออกมาเปนลายลักษณอักษร ซ่ึงตองมีทั้งกระบวนการทางความคิดและความสามารถในการใชภาษาดังที่ บันลือ พฤกษะวัน

Page 50: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

36

(2535 : 79) กลาววา การเขียนสรุปความจะอํานวยประโยชนใหผูเรียนนําไปใชในการอานและคนควารายงาน และเปนปจจัยสําคัญในความสําเร็จ ซ่ึงสอดคลองกับ กุหลาบ มัลลิกะมาส และวิพุธ โสภวงศ (2538 : 77, อางถึงใน ขนิษฐา แสงภักดี 2540 : 23) กลาวถึงความสําคัญของ การเขียนสรุปความวา มีความสําคัญและจําเปนตอนักเรียน เพราะในการเรียนและการดํารงชีวิตประจําวันมักจะเกี่ยวของกับการคิด การวิเคราะห เร่ืองราวที่ไดยินไดฟงเพื่อประโยชนในการสื่อสาร กับบุคลอื่น เนื่องจากการสื่อสารในชีวิตประจําวันตองการความรวดเร็วภาษาที่ใชเขียนจึงตองมี ความกระชับแตมีใจความสมบูรณที่สุด นอกจากนั้น การเขียนสรุปความยังสามารถทําใหมนุษยประสบความสําเร็จในชีวิตทั้งในการศึกษาเลาเรียนและการประกอบอาชีพ สวน พร้ิมเพรา หันตรา (2541 : 79) กลาววา การเขียนสรุปความเปนทักษะการใชภาษาที่มีความสําคัญและจําเปนในการสื่อสาร เพราะจะชวยใหจดจําสาระสําคัญจากสิ่งที่ไดฟงและอาน การใชภาษาเพื่อเขียนสรุปความใหไดดีนั้นตองอาศัยการฝกฝนอยางถูกหลักเกณฑจึงจะทําใหการเขียนสรุปความมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จากความสําคัญของการเขียนสรุปความ สามารถสรุปไดวา การเขียนสรุปความมีความสําคัญตอบุคคลโดยทั่วไปและนักเรียนทุกระดับชั้นเพราะการไดอาน ไดยิน ไดฟงเรื่องราวตาง ๆ ตองมีการสรุปความเพื่อจดจําสาระสําคัญของเรื่องราวและนําไปใชในการสื่อสารกันได อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชนในการศึกษา การทํางาน และใชในชีวิตประจําวัน วิธีการเขียนสรุปความ จุไรรัตน ลักษณะศิริ (2548 : 222) ไดกลาวถึงวิธีการเขยีนสรุปความไว ดังนี้ 1. อานเรื่องที่ตองการสรุปใหจบ ทางที่ดีควรอานสองครั้ง ครั้งแรกอานแบบคราว ๆ ใหเขาใจเรื่องหรือจับความโดยสวนรวมกอน แลวจึงอานครั้งที่สองเพื่อจับใจความสําคัญที่เปนความคิดหลักของผูเขียนในแตละยอหนา (หรือกลุมยอหนา) บางครั้งความคิดหลักอาจปรากฏเปนประโยคความสําคัญเดนชัด ผูสรุปความก็ทําเครื่องหมาย เชน ขีดเสนใต หรือเขียนสรุปใจความสําคัญแตละยอหนาไว ถายอหนาใดผูเขียนไมไดแสดงประโยคใจความสําคัญไวเดนชัด หรือไมไดแสดงความคิดหลักเปนประโยคใจความสําคัญไว แตผูสรุปสามารถอานพิจารณาความคิดหลักของคนเขียนได ก็สามารถเขียนสรุปความคิดหลักของยอหนานั้น ๆ ดวยภาษาของตนเองได แตถาอานจนจบยอหนาและพิจารณาแลวไมเห็นวาประโยคใดเปนใจความสําคัญ หรือเห็นวาเปนใจความสําคัญ พอ ๆ กันหมดจนไมอาจสรุปความคิดหลักได ใหทดลองอานอีกครั้งหนึ่งขณะที่อานก็ใหคํานึงถึงหลักการเขียนยอหนาที่ดีไปดวยเสมอ บางยอหนาเราอาจผานโดยไมตองสรุปเพราะเปนเพียง สวนขยายความแตบางยอหนาอาจตองเขียนสรุปความที่ยาวกวาปกติ เนื่องจากพิจารณาวาเปนความคิดสําคัญที่เกี่ยวเนื่องกัน

Page 51: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

37

2. นําผลจากการอานสรุปใจความจากแตละยอหนาตามที่ไดทําเครื่องหมายหรือเขียนสรุปยอ ๆ เอาไวมาพิจารณารวมกันเพื่อเรียบเรียงสรุปความเปนภาษาเขียนของตนเอง ปกติเรามักเรียบเรียงขอความใหตอเนื่องตามลําดับยอหนาที่ไดอานสรุปไวดวยภาษาที่กระชับรัดกุม และเชื่อมโยงแตละความคิดหลักแตละประโยคใจความสําคัญดวยคําเชื่อมที่เหมาะเจาะ เปนเหตุเปนผลตามลําดับขั้นตอนที่เหมาะสม แตบางครั้งก็อาจเรียงลําดับความหลักเสียใหม เพื่อใหการเขียนสรุปกระชับรัดกุมยิ่งขึ้น ทั้งนี้แลวแตเร่ืองที่ตองสรุป ไพรถ เลิศพิริยกมล (2543 : 113) กําหนดขั้นตอนการเขียนสรุปความ ไวดังนี้ ขั้นที่ 1 เปนขั้นพิจารณาสารวามีเนื้อหาเปนอยางไร รูปแบบของสารเปนอะไร ขั้นที่ 2 เปนขั้นการยอเนื้อหาของเรื่องจากเรื่องทั้งหมดใหเหลือประมาณหนึ่งในสามพรอมทั้งคิดชื่อเร่ืองดวย ขั้นที่ 3 เปนขั้นสรุปเรื่องใหส้ันและกะทัดรัด โดยหาขอความหรือคํามาทดแทนประโยคหรือขอความยาว ๆ ใหเหลือขอความที่ส้ันใหได ในขั้นนี้คิดปรับปรุงถอยคําและชื่อเร่ืองใหกระชับรัดกุมกวาเดิม ขั้นนี้ถือเปนสรุปความไดแลว ขั้นที่ 4 เปนขั้นสุดทายคือ ขั้นการสรุปรวบยอดเรื่องราวทั้งหมดใหเหลือเฉพาะใจความสาํคญัจริง ๆ หรือใหเหลือประเด็นหลักเพียงประเด็นเดียว ขั้นนี้เปนขั้นตอนสําคัญที่สุดและเปนขั้นตอนที่ยากที่สุดดวย ลินดา บีฮัน และ สก็อต ลอยด เดวิท (Lynda Behan and Lioyd Dewitt 2005) ใหขอเสนอแนะสําหรับการเขียนสรุปความไว ดังนี้ 1. ขีดเสนใต หรือวงกลมประโยค วลี ที่สําคัญ 2. อานแตละยอหนาเหมือนเปนหนวยความคิด 3. ใชพจนานุกรมสําหรับคําที่ไมเขาใจความหมาย 4. สรุปจุดสําคัญดวยถอยคําไมกี่คํา 5. พิจารณาวาสิ่งที่อานนั้นมีรากฐานจากความคิดเห็น หลักฐาน หรือ ตรรกะ และทําไมสิ่งเหลานั้นจึงสําคัญ 6. คิดถึงความสําคัญระหวาง หัวขอ – คนอาน – คําอธิบาย – จุดมุงหมาย 7. มองหาหลักฐาน การวิเคราะหทางตรรกะและเหตุผล 8. ไมเขียนแสดงความคิดเห็นสวนตัว 9. แยกถอยคําหรือวลีที่สําคัญออกมาแลวเขียนบันทึกคํา วลีหรือประโยคที่สําคัญเหลานั้น 10. ทบทวนและศึกษารายละเอียดอีกครั้งหนึ่งเพื่อจัดลําดับแลวเขียนสรุป

Page 52: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

38

สมาคมนักเขียน (The Writers’s Workshop 2005) ใหขอเสนอแนะในการเขียนสรุปความ ดังนี้ 1. อานตนฉบับหรือขอความเดิมอยางรอบคอบ 2. ใชดินสอเนนขอความหรือขีดเสนใตเมื่อพบใจความสําคัญ หรือจดบันทึกลงบริเวณขอบกระดาษหรือบันทึกลงในกระดาษอื่น ๆ 3. รางขอความที่สรุปเปนแผนผังโดยสังเขปหรือเขียนเปนเคาโครงอยางงาย 4. เขียนสรุปใจความสําคัญดวยสํานวนของตนเอง 5. เขียนที่มาของเนื้อหาตนฉบับ จากวิธีการเขียนสรุปความขางตนสามารถสรุปไดวา การเขียนสรุปความนั้นมีขั้นตอนการเขียน ดังนี้ 1. อานเนื้อเร่ืองอยางรอบคอบหรืออานซ้ําหลาย ๆ คร้ัง จนเกิดความเขาใจทีละยอหนา 2. ขีดเสนใตขอความที่เปนใจความสําคัญของเรื่องหรือจดบันทึกไว 3. นําขอความที่ขีดเสนใตหรือจดบันทึกไวมาเขียนเปนแผนผังหรือเคาโครงงาย ๆ ดวยสํานวนของตนเอง 4. จากนั้นจึงเรียบเรียงขอความใหมใหไดใจความที่ส้ันกระชับแตไดใจความที่สมบูรณ 5. เขียนบอกที่มาของขอความตนฉบับ เกณฑการใหคะแนนการเขียนสรุปความ การใหคะแนนการเขียนสรุปความนั้นมีผูกําหนดเกณฑไวมากมายแตกตางกันไปทั้งนี้ขึ้นอยูกับวาผูสอนตองการพัฒนานักเรียนในดานใดมากที่สุด ก็จะกําหนดเกณฑในดานนั้นใหมาก เชน ขนิษฐา แสงภักดี (2540 : 35 – 36) กําหนดเกณฑประเมินการเขียนสรุปความไว ดังนี้ สวนที่ 1 เนื้อเร่ืองยอ คะแนนเต็ม 4 คะแนน 1. เขียนสรุปเนื้อเร่ืองไดใจความสําคัญครบถวน ส้ัน กะทัดรัด 4 คะแนน 2. เขียนสรุปเนื้อเร่ืองไดใจความสําคัญประมาณ 3 ใน 4 3 คะแนน 3. เขียนสรุปเนื้อเร่ืองไดใจความสําคัญประมาณ 2 ใน 3 2 คะแนน 4. เขียนสรุปเนื้อเร่ืองไดใจความสําคัญประมาณ 1 ใน 4 1 คะแนน 5. เขียนสรุปเนื้อเร่ืองไมไดใจความสําคัญ 0 คะแนน

Page 53: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

39

สวนที่ 2 การใชภาษา คะแนนเต็ม 6 คะแนน 1. การใชถอยคําสํานวน 4 คะแนน 1.1 เขียนประโยครัดกุม ส่ือความหมายไดเขาใจใชถอยคํา ตรงความหมายตลอดเรื่อง 4 คะแนน 1.2 เขียนประโยครัดกุม ส่ือความหมายไดเขาใจใชถอยคํา ตรงความหมายประมาณ 3 ใน 4 3 คะแนน 1.3 เขียนประโยครัดกุม ส่ือความหมายไดเขาใจใชถอยคํา ตรงตามความหมาย 2 ใน 4 2 คะแนน 1.4 เขียนประโยครัดกุม ส่ือความหมายไดเขาใจใชถอยคํา ตรงตามความหมาย 1 ใน 4 1 คะแนน 1.5 เขียนประโยครัดกุม ส่ือความหมายไมเขาใจใชถอยคํา ไมตรงความหมาย 0 คะแนน 2. การเขียนสะกดคํา คะแนนเต็ม 2 คะแนน 2.1 เขียนถูกตองทั้งหมด 2 คะแนน 2.2 เขียนผิด 1 – 3 คํา 1 คะแนน 2.3 เขียนผิดเกิน 3 คําขึ้นไป 0 คะแนน สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย (2544 : 10) กําหนดหลักเกณฑการเขียนสรุปความไว ดังนี้ 1. สรุปใจความถูกตอง คะแนนเต็ม 4 คะแนน 1.1 สรุปใจความไดตรงทุกประเด็น 4 คะแนน 1.2 สรุปใจความไดตรงแตขาด 1 ประเด็น 3 คะแนน 1.3 สรุปใจความไดตรงแตขาด 2 ประเด็น 2 คะแนน 1.4 สรุปใจความไดตรงแตขาด 3 ประเด็น 1 คะแนน 1.5 สรุปใจความไดนอยแตขาดประเด็นสําคัญ 4 ประเด็นขึ้นไป 0 คะแนน 2. สะกดคําและวางวรรณยุกตถูกตอง คะแนนเต็ม 2 คะแนน 2.1 เขียนสะกดคําและวางวรรณยุกตถูกตองทุกคํา 2 คะแนน 2.2 เขียนสะกดคําผิดหรือวางวรรณยุกตผิดที่ 2 – 4 คํา 1 คะแนน 2.3 เขียนสะกดคําผิดหรือวางวรรณยุกตผิดที่เกิน 4 คํา 0 คะแนน 3. เขียนประโยคถูกตอง คะแนนเต็ม 2 คะแนน 3.1 เขียนประโยคถูกตองตามหลักภาษาทุกประโยค 2 คะแนน 3.2 เขียนประโยคผิดหลักไวยากรณ 1 ประโยค 1 คะแนน 3.3 เขียนประโยคผิดหลักไวยากรณ 2 ประโยคขึ้นไป 0 คะแนน

Page 54: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

40

4. ความสะอาดและเปนระเบียบ คะแนนเต็ม 2 คะแนน 4.1 สะอาดและเปนระเบียบทั้งหมด 2 คะแนน 4.2 ขีดฆาหรือสกปรก 1 – 2 ที่ 1 คะแนน 4.3 ขีดฆาหรือสกปรก 3 ที่ขึ้นไป 0 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมด 10 คะแนน จากเกณฑการใหคะแนนการเขียนสรุปความดังกลาวขางตน สามารถสรุปไดดังนี้ 1. การสรุปใจความสําคัญ 4 คะแนน 1.1 สรุปใจความสําคัญไดตรงประเด็นครบถวน ส้ัน กะทัดรัด 4 คะแนน 1.2 สรุปใจความสําคัญไดตรงประเด็นครบถวน ส้ัน กะทัดรัด แตขาด 1 ประเด็น 3 คะแนน 1.3 สรุปใจความสําคัญไดตรงประเด็นครบถวน ส้ัน แตขาด 2 ประเด็น 2 คะแนน 1.4 สรุปใจความสําคัญไดตรงประเด็นครบถวน ส้ัน แตขาด 3 ประเด็น 1 คะแนน 1.5 สรุปใจความสําคัญไมไดใจความ 0 คะแนน 2. การใชภาษา 6 คะแนน 2.1 เขียนประโยคไดถูกตอง 2 คะแนน 2.1.1 เขียนประโยคถูกตองตามหลักภาษาทุกประโยค 2 คะแนน 2.1.2 เขียนประโยคผิดหลักไวยากรณ 1 ประโยค 1 คะแนน 2.1.3 เขียนประโยคผิดหลักไวยากรณ 2 ประโยคขึ้นไป 0 คะแนน 2.2 การสะกดคํา 2 คะแนน 2.2.1 เขียนสะกดคําและวางวรรณยุกตถูกตองทุกคํา 2 คะแนน 2.2.2 เขียนสะกดคําและวางวรรณยุกตผิดหลักไวยากรณ 2 – 3 คํา 1 คะแนน 2.2.3 เขียนสะกดคําและวางวรรณยุกตผิดหลักไวยากรณ 4 คําขึ้นไป 0 คะแนน 2.3 ความสะอาดเปนระเบียบ 2 คะแนน 2.3.1 สะอาดเปนระเบียบทั้งหมด 2 คะแนน 2.3.2 ขีดฆาหรือสกปรก 1 – 2 ที่ 1 คะแนน 2.3.3 ขีดฆาสกปรกมากกวา 2 ที่ 0 คะแนน

Page 55: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

41

ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนวา ผูวิจัยมีความสนใจที่จะพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยใหสรุปความจากเรื่องที่อาน เพื่อเปนการจูงใจใหนักเรียนสนใจในการอาน และไดอานเรื่องที่มีเนื้อหาเหมาะสมกับวัย และความสนใจในการอานของนักเรียน ผูวิจัยจึงศึกษา ประเด็นความสนใจในการอานดังรายละเอียดตอไปนี้ ความสนใจในการอาน ความสนใจและความตองการในการอานของเด็กนั้นมีความแตกตางกันไปตามบริบทตาง ๆ เชน วัย เพศ อายุ ประสบการณ ความถนัด ความสนใจ ตลอดจนสิ่งแวดลอม ซ่ึง ณรงค ทองปาน (2526 : 7 – 9) ฉวีวรรณ คูหาภินันท (2527 : 50 – 54, 2545 : 45 – 49) กรรณิการ พวงเกษม (2543 : 19 – 20 ) จินตนา ใบกาซูยี (2534 : 38 – 40) พรจันทน จันทวิมลและคณะ (2534 : 11 – 12) ไดกลาวถึงความสนใจและความตองการในการอานของเด็กวัย 6 – 12 ป ไว ดังนี้ อายุ 6 – 8 ป เด็กอายุในชวงนี้สามารถเขาใจและมีความคิดในเรื่องที่เปนนามธรรม ไดรูจักคําศัพทมากขึ้น สนใจเรื่องตาง ๆ และสิ่งแวดลอมมากขึ้น ชอบเรื่องตนไม ดอกไม การปลูก และการเพาะชํางาย ๆ และนิทานตาง ๆ เชน สัตว การตูน มีความสนใจในการอานยาวขึ้นการอานแตกฉานขึ้นและเริ่มอานเรื่องสนุกสนาน ตลกขบขัน เชน นิทาน นิทานพื้นบาน ตํานานตาง ๆ และนิยาย อายุ 9 – 10 ป เด็กวัยนี้ชอบอานนิทานเกี่ยวกับชนชาติ เกี่ยวกับเรื่องสัตวตาง ๆ แตชอบเรื่องที่เปนความจริง ไมใชสัตวมาพูดเปนภาษามนุษย ชอบการผจญภัย เร่ืองราวเกีย่วกบัชวีติในบาน ในโรงเรียน สําหรับเด็กผูชายจะสนใจการอานเรื่องการคนพบสิ่งใหม ๆ มากขึ้น อายุ 11 – 12 ป เด็กอายุ 11 ป เด็กผูชายชอบอานหนังสือเกี่ยวกับเรื่องลึกลับ การคนควาประดิษฐ สวนเด็กผูหญิงชอบอานหนังสือประเภทชีวิตในบาน เชน การแตงกาย เสื้อผา นวนิยาย และทั้งเด็กผูหญิงและเด็กผูชายชอบเหมือนกันคือ วรรณคดี นิยายสําหรับเด็กงาย ๆ เทพบุตร ชาดก สุภาษิต คําพังเพยตาง ๆ และเรื่องตลก สวนเด็กวัย 12 ป เปนวัยท่ีเร่ิมเขาสูวัยรุนความสนใจในการอานกวางมากขึ้น ชอบเรื่องบุคคลสําคัญ เร่ืองโรงเรียน งานอดิเรก เร่ืองสัตว แมลงตาง ๆ วิทยาศาสตร เร่ืองทองถ่ิน เด็กผูชายสนใจวิทยาการที่อยูใกลตัว คณิตศาสตร การประดิษฐ การทดลอง เด็กผูหญิงสนใจนวนิยายรัก ทั้งเด็กหญิงและเด็กชายชอบแมลง เชน ผีเสื้อ จากความสนใจและความตองการในการอานของเด็กที่กลาวขางตนสามารถสรุปไดวา เด็กมีความสนใจในการอานแตกตางกันไปตามวัย แตเร่ืองที่เด็กในชวงอายุ 11 – 12 ป ชอบและสนใจเหมือนกัน คือ นิทาน นิยาย วรรณคดี เร่ืองเกี่ยวกับสัตวและเรื่องใกลตัว

Page 56: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

42

วิธีการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย การจัดการเรียนรูใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพนั้น จะตองคํานึงถึงองคประกอบหลาย ๆดาน เชน วัยของนักเรียน ความสามารถในการเรียนรู ความสนใจ วิธีการเรียนรูของนักเรียน วัตถุประสงคของเนื้อหาและที่สําคัญคือ วิธีการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับรายวิชา สําหรับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยมีนักการศึกษาเสนอวิธีการจัดการเรียนรูไวหลายทาน ดังนี้ ประคอง กองเงิน (2545 : 5) เสนอวิธีการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยแบบหลากหลาย ประกอบดวย 1) สรางศรัทธา 2) พาสนุก 3) ปลูกคุณธรรม 4) นํากระบวนการ 5) สรางผลงาน 6) ประสานประเมินผล ครูผูสอนตองดําเนินการสรางศรทัธากอนการสอนดวยการพดูหรือสรางแรงจูงใจใหนักเรียนเกิดความรักความศรัทธา ตามหลักธรรมของพระพุทธเจา คือใหเกิดฉันทะ คือความรักความพอใจในตัวครูและวิชาที่เรียนและ ตองพยามยามหาเกม หรือวิธีการเรียนอยางสนุก ที่ทาทายความสามารถมาใหนักเรียนไดเรียนเพื่อใหเกิดการเรียนรู โดยสอดแทรกคุณธรรมในขณะจัดกิจกรรม นอกจากนี้ครูตองนํากระบวนการตาง ๆ เชน กระบวนการกลุม กระบวนการแกปญหา กระบวนการปฏิบัติ เพื่อใหผูเรียนสรางผลงาน และมีสวนรวมในการประเมิน ผลงานที่ทํา ปราณี กันชัย (2545 : 5) เสนอการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย แบบสรางเสริมประสบการณทักษะทางภาษา 5 ขั้นตอน คือ 1) สรางเสริมประสบการณ เปนการเรียนรูเรื่องราวที่เกี่ยวของกับประสบการณจริงของผูเรียนซึ่งจะทําใหผูเรียนจําไดและสนุกสนาน 2) วางแผนอยางเขาใจ โดยการแสดงบทบาทสมมติเพื่อถายทอดความรูสึก ฝกการใชภาษาในการสื่อสารใหเกิดความเขาใจและแกปญหาเฉพาะหนาไดดี 3) ฝกทักษะภาษาไทย คือการทํางานกลุม การแสดงความคิดเห็น ผสมผสานแนวความคิดที่หลากหลายเปนความคิดสรางสรรค 4) นําไปใชบูรณาการ ผูเรียนมีอิสระทางความคิด มีความคิดเปนของตัวเองและ ฝกประชาธิปไตยในการแสดงความคิดเห็น 5) พัฒนางานไมหยุดยั้ง จัดการเรียนรูแบบบูรณาการใหเกิดประสบการณที่หลากหลายและเปนการฝกทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวันอยางแทจริง ณัฐวุฒ ิ กิจรุงเรือง และคณะ (2545 : 34 – 35) กลาวถึงวธีิสอนแบบ Jigsaw ดังนี ้ การสอนแบบ Jigsaw เปนวิธีการจัดการเรียนรูที่เนนการจัดสภาพแวดลอมในการเรียนรูใหแกผูเรียนไดเรียนรูรวมกันในกลุมยอย โดยที่ผูเรียนแตละคนมีบทบาทและหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความรวมมือและถายทอดความรูระหวางเพื่อนในกลุม นิยมใชการสอนนี้ในรายวิชาที่ผูเรียนตองเรียนเนื้อหาวิชาจากตําราเรียน เชน ภาษาไทย สังคม มีขั้นตอนการสอน ดังนี้

Page 57: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

43

1. ผูสอนแบงเนือ้หาที่จะเรียนออกเปนหวัขอยอย ๆ เทากับจํานวนสมาชิกกลุม 2. จัดกลุมผูเรียนโดยใชมีความสามารถคละกัน เรียกวา กลุมบาน (home groups) แลวมอบหมายใหสมาชิกแตละคนศึกษาหัวขอที่แตกตางกัน 3. ผูเรียนที่ไดรับหัวขอเดียวกันจากแตละกลุม มานั่งดวยกัน เพื่อทํางานและศึกษา รวมกันในหัวขอดังกลาว เรียกวา “กลุมผูเชี่ยวชาญ” (expert groups) 4. สมาชิกแตละคนออกจากกลุมผูเชี่ยวชาญกลับไปกลุมเดิมของตน หลังจากนั้นผลัดกันอธิบายเพื่อถายทอดความรูที่ตน 5. ผูสอนทดสอบเนื้อหาที่ศึกษาแลวใหคะแนนเปนรายบุคคล กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2545 จ : 73) ไดวิเคราะหงานวิจัยเกี่ยวกับนวัตกรรม การเรียนการสอนระดับประถมศึกษา พบวิธีการจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทยที่มีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. วิธีการจัดการเรียนรูแบบการเรียนเพื่อรอบรู (Mastery learning) เปนการจัดการเรียนรูที่ทําใหผูเรียนทุกคนประสบความสําเร็จตามเกณฑที่ตั้งไวใหมากที่สุด โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล และกําหนดเวลาใหเหมาะสมกับผูเรียนแตละคน หากผูเรียนคนใดยังไมผานเกณฑก็ตองสอนซอมเสริมจนกวาจะผานเกณฑ ซ่ึงไมควรตั้งไวสูงเกินรอยละ 80 ขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบการเรียนเพื่อรอบรู มี 8 ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ 1 แบงบทเรียนออกเปนหนวยยอยตามที่เห็นสมควร ขั้นที่ 2 ช้ีแจงโดยบอกเกณฑหรือขอตกลงใหผูเรียนทราบ ขั้นที่ 3 ตรวจสอบความรูพื้นฐานกอนเรียนดวยแบบทดสอบวินิจฉัย ขั้นที่ 4 เสริมสรางพื้นฐานเปนรายบุคคลกับผูเรียนที่มีขอบกพรอง ขั้นที่ 5 กอนเริ่มเรียนใหแจงวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของแตละหนวยและเกณฑที่ใชประเมินผลในตอนทายบทเรียน ขั้นที่ 6 สรางแบบทดสอบ 2 ชุด (ชุด ก. และชุด ข.) ซ่ึงครอบคลุมเนื้อหาและวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมเดียวกัน ขั้นที่ 7 หลังจากจบการเรียนแตละหนวย ทําการทดสอบยอย ดวยแบบทดสอบชุด ก. หากผูเรียนคนใดไมผานเกณฑรอยละ 80 ตองทําการสอนซอมเสริม โดยครูอธิบายเปนรายบุคคลหรือใหกลุมเกงสอนกลุมออน ขั้นที่ 8 หลังจากสอนซอมเสริมแลว ทดสอบอีกครั้งดวยแบบทดสอบชุด ข. ถาผานเกณฑรอยละ 80 จึงจะเรียนหนวยตอไป 2. วิธีสอนแบบอุปมาน (Inductive method) เปนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนเรียนรูสวนยอยหรือสอนจากตัวอยางนําไปสรุปเปนสวนรวมอันเปนหลักการตาง ๆ โดยครูเปนผูแสดง

Page 58: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

44

ตัวอยางของจริงที่เห็น แลวใหผูเรียนรูจักการสังเกต สรุปคิดคนอยางมีเหตุผล วิธีจัดการเรียนรูแบบนี้นอกจากจะเหมาะกับวิชาภาษาไทยแลว ยังเหมาะกับการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับการคํานวณ การคนควา ทดลองตาง ๆ ดวย เชน วิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบอุปมาน มี 5 ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม ทบทวนความรูเดิม จูงใจ เปนขั้นความเราใจและอธิบายความมุงหมายใหผูเรียนเขาใจ ขั้นที่ 2 ขั้นสอน เปนการเสนอกรณีหรือตัวอยางที่ตองการสอนแกผูเรียน จะตองมีหลายกรณีใหมากพอที่จะสังเกตและสรุปไดจากตัวอยาง ขั้นที่ 3 ขั้นเปรียบเทียบและรวบรวม เปนขั้นหาองคประกอบรวมจากตัวอยางเพื่อเตรียมสรุปกฎเกณฑ ขั้นที่ 4 ขั้นสรุป เปนการสรุปกฎเกณฑ นิยาม หลักการหรือสูตรดวยตัวผูเรียนไมใชตัวครู ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช เปนขั้นทดสอบความเขาใจของผูเรียนใหเกิดการพัฒนา นําหลักการไปใชแกปญหา ทําแบบฝกหัด 3. วิธีการจัดการเรียนรูแบบอนุมาน (Deductive method) เปนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนเรียนรูเกี่ยวกับกฎเกณฑ หรือหลักความจริงโดยทั่ว ๆ ไปกอนแลวจึงสอนสวนปลีกยอยอยางละเอียด มุงเนนที่จะฝกหัดใหผูเรียนเปนคนมีเหตุผลไมเชื่ออะไรงาย ๆ โดยปราศจากการพิสูจน ขั้นตอนการจัดกิกรรมการเรียนการเรียนรูแบบอนุมาน มี 4 ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ 1 อภิปรายปญหา ขั้นที่ 2 อภิปรายสรุป ขั้นที่ 3 ตกลงใจ เปนขั้นเลือกขอสรุป กฎหรือนิยาม ที่จะนํามาใชแกปญหา ขั้นที่ 4 พิสูจนแลวเปนความจริง จึงยอมรับไดวาเปนความรูถูกตอง 4. วิธีสอนแบบศูนยการเรียน เปนการจัดประสบการณเรียนรูที่ใหผูเรียนไดประกอบกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเองมากที่สุด โดยอาศัยส่ือการสอนแบบประสม และหลักการของกระบวนการกลุมสัมพันธเขาชวยในการจัดการเรียนรู ซ่ึงเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูอยางหลากหลายตรวจสอบผลการเรียนรูดวยตัวเองทันที ประสบการณที่ไดรับทําใหเกิดความภาคภูมิใจในความสําเร็จและเกิดความรูทีละนอยตามลําดับ ขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบศูนยการเรียน มี 6 ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ 1 แบงผูเรียนออกเปน 4 – 6 กลุม เรียกวา ศูนยกิจกรรม ขั้นที่ 2 แตละศูนยประกอบกิจกรรมแตกตางกันไปตามที่กําหนดไวในชุดการสอน

Page 59: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

45

ขั้นที่ 3 แตละศูนยกิจกรรมมีการกําหนดเวลาใหใชประมาณ 15-25 นาที ขั้นที่ 4 เมื่อผูเรียนทุกศูนยประกอบกิจกรรมเสร็จแลวก็จะมีการเปลี่ยนศูนยกิจกรรมจนกระทั่งครบทุกศูนย จึงจะถือวาเรียนเนื้อหาในแตละหนวยครบตามกําหนด ขั้นที่ 5 ครูทําหนาที่ประสานงานสอน คอยดูและและกระตุนการเรียนของผูเรียนแตละคน ขั้นที่ 6 ชุดการสอนที่ใชในแตละศูนยจัดระบบไวแลว มีคํานํา วิธีการดําเนินกิจกรรม และบทสรุป 5. วิธีการจัดการเรียนรูแบบมุงประสบการณทางภาษา (มปภ.) เปนการจัดการเรียนรูโดยสรางประสบการณทางภาษาใหได คิด ฟง พูด อาน และเขียนเปนหลัก การสอนอานโดยใชประสบการณทางภาษานี้จะสัมพันธกับการพูด ฟง และเขียน ขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบมุงประสบการณภาษา มี 5 ขั้นตอน ไดแก ขั้นที่ 1 สรางประสบการณรวมเปนการสนทนาหรือเลาเรื่องหรืออานเรื่องใหผูเรียนฟง ขั้นที่ 2 กระตุนใหคิดหลังจากฟงเรื่องแลว มีการซักถามใหคิดและอภิปรายรวมกัน ขั้นที่ 3 บันทึกขอความ เมื่อผูเรียนเขาใจเรื่องตรงกันแลวใหผูเรียนเลาเรื่องที่ฟงครูบันทึกขอความของผูเรียนบนกระดานหรือแผนภูมิ หากผูเรียนใชภาษาผิดครูจะชวยแกไขให ขั้นที่ 4 อานขอความที่บันทึก เมื่อครูเขียนขอความในขั้นที่ 3 แลวใหผูเรียนฝกอานใหคลองทั้งชั้นพรอมกัน และรายบุคคล ขั้นที่ 5 จัดกิจกรรมสงเสริมการอานและเขียน วัชรา เลาเรียนดี (2547 : 53 – 87) กลาวถึงวิธีการจัดการเรียนรูแบบตาง ๆ ดังนี้ 1. เทคนิคการจัดการเรียนรูแบบ 4 MAT เปนรูปแบบวิธีการจัดการเรียนรูแบบหนึ่งที่เหมาะสมกับผูเรียนทุกวัย ทุกระดับชั้น ทุกสาระวิชา โดยยึดหลักความเชื่อที่วามนุษยทุกคนสามารถเรียนรูไดและมนุษยแตละคนมีแบบหรือวิธีการเรียนรู (Larning styles) ที่แตกตางกัน วิธีการจัดการเรียนรูแบบ 4 MAT เปนการจัดการเรียนรูที่มุงให นักเรียนไดใชสมองทั้งซีกซายและซีกขวาอยางเทาเทียมกัน 2. เทคนิคการจัดการเรียนรูแบบเอ็กซพลิซิท (Explicit teaching model) มีขั้นตอน 6 ขั้นตอน คือ 1) การทบทวนประจําวัน (Providing daily review) 2) การสอนหรือการนําเสนอสาระใหม ทักษะใหม (Presenting new material) 3) ใหการฝกปฏิบัติโดยครูคอยแนะนําอยางใกลชิด (Conducting guided practice) 4) การใหขอมูลยอนกลับและการแกไขขอบกพรอง (Providing feedback and corrections) 5) การใหฝกปฏิบัติโดยอิสระตามลําพัง (Assigning independent practice) 6) การทบทวนเปนรายสัปดาห และเปนรายเดือน (Providing weekly and monthly review)

Page 60: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

46

จากวิธีการจัดการเรียนรู ดังกลาวขางตน สามารถสรุปไดวา การจัดการเรียนรูใน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยนั้นมีหลากหลายวิธี สวนใหญจัดการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญและใชกระบวนการกลุมสงเสริมใหผูเรียนไดปฏิบัติจริง มีการทบทวนความรูเดิมและสรางองคความรูใหม ซ่ึงสรุปเปนขั้นตอนสั้น ๆ ดังนี้ 1. ทบทวนความรูเดิม 2. กระตุนใหคิดเพื่อสรางประสบการณใหม 3. ใชกระบวนการกลุมเพื่อฝกปฏิบัติจริง 4. สรุปเปนนิยามและนําไปใช

การจัดการเรียนรูแบบแผนผงัความคดิ

ความหมายของแผนผงัความคิด แผนผังความคิด (Mind Mapping) เปนการแสดงโครงสรางของการคิด กระบวนการคิด และความสัมพันธของกระบวนการคิดตั้งตนจนจบ ชวยใหมองเห็นภาพรวมของความคิดและเคาโครง ของความคิดในเรื่องที่กําลังคิด ทําใหมองเห็นความสัมพันธของความคิด ทําไดโดยเขียนความคิดหลักไวตรงกลางและโยงเสนใหสัมพันธกับความคิดรอง ความคิดยอย และความคิดที่แยกยอยที่มีความสัมพันธเชื่อมโยงกัน ก็สามารถขยายตอไปไดอีกไมมีทิศทางที่กําหนดตายตัว (ชาตรี เกิดธรรม : 2545 :22) ซ่ึงมีผูใหความหมายไวมากมาย ดังนี้ ศิริรัตน นีละคุปต (2532 : 27) กลาวถึงความหมายของแผนผังความคิด (Mind Mapping) วา คือการจดบันทึกเนื้อความจากสิ่งที่อานมาเขียนเปนแผนภูมิ ซ่ึงตองคิดวิเคราะหประเมินขอมูลที่จะเติม และใหเหตุผลเชิงวิพากษวิจารณวา นักเรียนจะตองเรียบเรียง และจําแนกความคิดตามแบบการเขียนของผูเขียน อาจกลาวไดวาการเติมขอมูลในแผนภูมิเปนแบบฝกหัดความคิดที่นักเรียนตองใชสติปญญา ถานักเรียนเขียนแผนภูมิไดก็แสดงวาอานเขาใจ สวน มนัส บุญประกอบ (2533 : 26, อางถึงใน คชานนท สุวรรณพันธ 2543 : 30) กลาววา แผนผังความคิดมีลักษณะเปนแผนภูมิอยางหนึ่ง ที่แสดงความสัมพันธระหวางกลุมมโนทัศนดวยเสนและคําเชื่อมที่เหมาะสมทําใหอานความสัมพันธ จากแผนผังมโนทัศนนั้นเปนประโยคหรือขอความที่มีความหมายได สวน น้ําผ้ึง มีนิล (2545 : 6) กลาววา แผนผังความคิด (Mind Mapping) หมายถึง วิธีการนําขอมูลหรือขอความที่ผานการประมวลความรูแลวโดยการนําเสนอดวยผังความคิดแบบตาง ๆ เพื่อเปนการสื่อสารใหผูอานเขาใจงาย และมีความชัดเจนยิ่งขึ้น ประกอบดวย ผังการจําแนกขอมูล ผังมโนทัศน ผังแวนนไดอะแกรม ผังใยแมงมุม ผังกางปลา ผัง Flowchart และผังเรียงลําดับ สําหรับ วัฒนา วิชิตชาญ (2546 : 13)

Page 61: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

47

กลาววา แผนผังความคิด (Mind Mapping) หมายถึง การสรางภาพรวมจากหัวขอหัวขอหนึ่งโดยอาศัย คําหลัก (Keywords) เปนศูนยกลางที่กอใหเกิดความคิดเสริมตอ แตกแขนงออกไปเปนคําเกี่ยวของ (Trigger words) อีกจํานวนมาก ซ่ึงโยงใยใหเห็นสัมพันธภาพเชิงบูรณาการของขอมูลทั้งหมดอยางชัดเจน ซ่ึงสอดคลองกับ คชานนท สุวรรณพันธ (2543 : 6) และ ศิริมณฑา ขุนศิริ (2546 : 18) ที่กลาววา แผนผังความคิด (Mind Mapping) หมายถึง การเขียนแผนผังเชื่อมโยงระหวางมโนทัศนอยางเปนลําดับจากความรูความเขาใจของแตละบุคคลในเรื่องนั้น ๆ โดยมีคําเชื่อมระหวางมโนทัศนแตละมโนทัศน สวน ธัญญา ผลอนันต (2548) กลาววา แผนที่ความคิด (Mind Mapping) เปนเครื่องมือสําหรับรวบรวมความคิด จัดรูปความคิดรวบรวมขอมูลจํานวนมากลงในหนากระดาษหนาเดียว โดยการคิดคําสําคัญ (Keyword) แลวแตกกิ่งกานสาขาองคประกอบยอยของคําสําคัญนั้น เชื่อม-โยง-ตอ ออกไปจากจุดศูนยกลางตามจินตนาการของความคิดที่ไหลออกมา ทําใหผูวาดแผนที่ความคิด (Mind Mapping) มองเห็นความสัมพันธภาพรวมระหวางความคิดของตนเอง และหากใชในการประชุมก็ทําใหมองเห็นความสัมพันธระหวางความคิดของตนเองกับผูอ่ืน จากความหมายขางตนสามารถสรุปไดวา แผนผังความคิด (Mind Mapping) หมายถงึ แผนผังที่แสดงถึงความรู ความคิด ความเขาใจของผูเรียน ที่ผานการประมวลความรูความคิด ตามลําดับขั้นตอนและเชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหม ดวยการเขียน คํา ประโยค วลี สัญลักษณและเสนเชื่อม โดยใหคําสําคัญหรือหัวเร่ืองอยูตรงกลางหรือดานบนสุดของแผนผังสวนใจความรองกระจายออกไปหรือแตกสาขาออกมา ซ่ึงประกอบไปดวยสวนสําคัญ 3 สวน คือ คําสําคัญ เสนเชื่อมโยง และคําหรือวลีที่แสดงถึงขอมูลหรือคําสําคัญนั้น ๆ ขั้นตอนการจัดการเรียนรูดวยแผนผงัความคิด (Mind Mapping) จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของกับวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดนั้น มีผูเสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรูไวหลากหลาย ดังนี้ ประทุม วิชาโคตร (2544 : 72) สุพิศ กล่ินบุบผา (2545 : 46-50) รุงนภา ทศภานนท (2544 : 65 – 67) เสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ไวทํานองเดียวกัน ดังนี้ 1. หากระดาษเปลาไมมีเสน เขียนคําสําคัญหรือช่ือเร่ืองตรงกึ่งกลางของกะดาษ 2. ครูกระตุนใหผูเรียนคิดถึงใจความสําคัญของเรื่อง แลวเขียนรอบ ๆ หรือตอลงมา จากคําสําคัญหรือช่ือเรื่อง แลวลากเสนจาก คําสําคัญหรือช่ือเร่ืองมายังใจความสําคัญเพื่อเชื่อมความสัมพันธระหวางคํา

Page 62: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

48

3. กระตุนใหผูเรียนแตกแขนงใจความยอยจากใจความสําคัญ และลากเสนจากใจความสาํคญัมายังใจความยอยเพื่อเชื่อมความสัมพันธระหวางคํา 4. แตกแขนงขอมูลตอจากใจความยอย จนไดรายละเอียดมากที่สุด (ระดับที่ 3, 4) 5. จากนั้นใสหมายเลขกํากับตามลําดับความสําคัญ แลวตกแตงใหสวยงาม 6. เขียนความเรียงตามลําดับหมายเลขที่กํากับไว 7. เมื่อเขียนจบแลวจึงตั้งชื่อเร่ืองหรือจะใชช่ือตรงกับคําสําคัญก็ได สวน จุติมา นาควรรณ (2544 : 60) อมรรัตน วิศวแสวงสุข (2543 : 84 – 85) วีรวรรณ พูนคี (2544 : 87) เสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ไวทํานองเดียวกัน ดังนี้ 1. ขั้นกอนการอาน/กอนการเขียน ทบทวนความรูเดิมเพื่อเชื่อมโยงกับความรูใหม โดยครูกําหนดแผนผังความคิดที่ไมสมบูรณ ใหนักเรียนระดมสมองแลวเติมขอความใหสมบูรณ 2. ขั้นระหวางการอาน/ระหวางการเขียน ครูบอกวัตถุประสงคในการอานหรือการเขียนจากนั้นใหนักเรียนอานเนื้อเร่ืองแลวรวมกันสรางแผนผังความคิด โดยเขียนใจความสําคัญของเรื่องเปนแกนกลางของแผนภูมิแลวใชเสนเชื่อมโยงความสัมพันธจากใจความสําคัญไปยังใจความสนับสนุน 3. ขั้นหลังการอาน/หลังการเขียน 3.1 สรางแผนผังความคิดเปนรายกลุมหรือรายบุคคลตามความเหมาะสม 3.2 แกไขและปรับปรุงแผนผังความคิดใหสมบูรณยิ่งขึ้น 3.3 ทําแบบฝกหัด สําหรับ สุชาติ ผลภาษี (2546 : 65 – 66) ดุษิต พรหมชนะ (2546 : 53 – 55) และ วีรพงษ ขําเหม (2544 : 54) เสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ไวทํานองเดียวกัน ดังนี้ 1. ช้ีแจงจุดประสงคการเรียนรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน นําเขาสูบทเรียนดวยกิจกรรมที่เหมาะสมกับเนื้อหา เชน การเลานิทาน การดูรูปภาพ การรองเพลง ฯลฯ 2. ขั้นสอน 2.1 นักเรียนฝกความสามารถในการคิดดวยการอาน การอภิปราย การซักถาม การรวบรวมขอมูล การสังเคราะหขอมูล ฯลฯ

Page 63: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

49

2.2 วางแผนและสรางแผนผังความคิด โดยกํากับใจความหลัก ใจความรองและใจความยอยแลวเชื่อโยงความสัมพันธดวยเสน 3. ขั้นสรุป นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายสรุปแผนผังความคิดแลวใหนักเรียนไปพัฒนาแผนผังความคิดของตนใหสมบูรณ 4. ขั้นประเมินผล สังเกตจากการอาน การอภิปราย การตอบขอซักถาม ฯลฯ และจากแบบประเมินผลงานการสรางแผนผังความคิด รอยซเซล (Reutzel 1985 : 400 – 401) ไดเสนอแนะแนวการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด ดังนี้ 1. หาใจความสําคัญของเรื่อง เหตุการณสําคัญ ตัวละครสําคัญนํามาสรุปและจัดอันดับ 2. เขียนใจความสําคัญของเรื่อง เปนแกนกลางของแผนที่ความคิด 3. เขียนเสนโยงใหมีลักษณะสมดุลกันจากจุดศูนยกลางไปสูเหตุการณสําคัญ ตัวละครสําคัญ โดยอาศัยรายการที่สรุปได 4. เติมความคิดรวบยอดหลักลงในแผนที่ความคิด ในลักษณะตามเข็มนาฬิกา รอบจุดศูนยกลาง 5. เติมเหตุการณยอย ๆ หรือความคิดยอย ๆ ในลักษณะตามเข็มนาฬิกาเรียงลําดับ รอบ ๆ ความคิดรวบยอดหลัก โทนี บูซาน (Tony Buzan 2005) กลาวถึงขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดดังนี้ 1. ใชกระดาษสีขาวขนาด เอ 4 วางแนวนอน 2. รวบรวมปากกาหลากสี ตั้งแตขนาดปลายแหลม ขนาดกลางและปากกาสําหรับเนนขอความ 3. เลือกหัวขอ ปญหา หรือเร่ืองสําหรับเขียนแผนผังความคิด 4. เริ่มจากศูนยกลางดวยภาพที่ไมมีโครงราง ความกวางและความยาวประมาณ 6 เซนติเมตร สําหรับผูใชกระดาษเอ 4 และความกวางและความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร สําหรับผูใชกระดาษเอ 3 5. ใชสีอยางนอยที่สุด 3 สี ตรงภาพศูนยกลางเพื่อที่จะดึงดูดความสนใจและชวยในการจํา 6. ทํากิ่งกานที่หนาขึ้นใหติดกับศูนยกลางมากที่สุด แลวตอเสนเปนคลื่นและเขียนหัวขอใหตรงกับเสนกิ่งกาน 7. ทําเสนกิ่งกานที่บางกวาออกจากสวนปลายขอความ เพื่อใชเปนขอมูลสนับสนุน

Page 64: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

50

8. ภาพหรือถอยคําควรอยูบนเสนที่เปนแนวเดียวกัน 9. ใชสีตกแตงแลวจัดแนวความคิดทั้งหมดใหเปนระเบียบสวยงาม จากขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบ แผนผังความคิด (Mind Mapping) ดังกลาวขางตน สามารถสรุปไดวา การจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) มีลําดับขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน

นําเขาสูบทเรียนดวยกิจกรรมที่เหมาะสมกับเนื้อหา เชน การเลานิทาน การดูรูปภาพ การรองเพลง ทบทวนความรูเดิม ฯลฯ

2. ขั้นสอน 2.1 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเรื่องที่อานแลวเลือกแผนผังความคิดใหเมาะสมกับเรื่องที่อาน 2.2 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายอีกครั้งหนึ่งเพื่อเขียนชื่อเร่ืองหรือคําสําคัญ ในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกใช แผนผังความคิดแบบกางปลาใหเขียนผลที่เกิดขึ้น (เปนขั้นตอนที่นักเรียนเริ่มเขียนแผนผังความคิด) 2.3 นักเรียนเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบคําสําคัญหรือช่ือเร่ืองในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกแผนผังความคิดแบบกางปลานิยมเขียนโครงรางเปนรูปหัวปลา 2.4 ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาใจความสําคัญของเรื่องที่อาน เชน ใคร ทําอะไร ที่ไหน ผลเปนอยางไร หรือสาเหตุคืออะไร 2.5 นักเรียนเขียนใจความสําคัญของเรื่องและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบแลวโยงเสนจากคําสําคัญหรือช่ือเร่ืองมายังใจความสําคัญ ในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิด แบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกแผนผังความคิดแบบกางปลาใหเขียนสาเหตุลงในกางปลาจนครบทุกสาเหตุ 2.6 นักเรียนเขียนใจความสนับสนุนและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ พรอมทั้ง โยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุน ในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิดแบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกแผนผังความคิดแบบกางปลาใหเขียนสาเหตุสนับสนุนลงในกางปลาจนครบ 2.7 นักเรียนชวยกันสรุปใจความสําคัญของเรื่องจากแผนผังความคิดแลวเขียนสรุป ใจความสําคัญของเรื่องดวยสํานวนภาษาของตนเอง 3. ขั้นสรุป นักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่ง

Page 65: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

51

ประโยชนของแผนผังความคิด วิธีการของแผนผังความคิด มีประโยชนตอครูและนักเรียนในหลาย ๆ ดาน ดังนี้ น้ําผ้ึง มีนิล (2545 : 30) กลาวถึงประโยชนของแผนผังความคิด ในดานตาง ๆ ดังนี้ 1. เปนเครื่องมือที่ใชสํารวจความรูเดิมของผูเรียน ทําใหไดขอมูลท่ีเปนประโยชนสําหรับการสอนของครู 2. เปนเครื่องมือที่ชวยใหผูเรียนเกิดทักษะการคิดและแสดงแบบของการคิดที่เขาใจงายสามารถอธิบาย และมองเห็นไดอยางเปนระบบชัดเจน 3. เปนเครื่องมือสําหรับการเรียนรู โดยใชผังกราฟฟกสรุปสิ่งที่เรียนเพื่อจะทําใหเกิด ความคงทนของการเรียนรูเพราะผูเรียนจะเห็นถึงความสัมพันธของสิ่งที่เรียนไปทั้งหมด 4. ชวยพัฒนาสมองทั้งซีกซายและซีกขวาของผูเรียน สมศักดิ์ สินธุรเวชญ (2544 : 21) กลาวถึงประโยชนของแผนผังความคิด (Mind Mapping) กับการใชงานดานการจัดการเรียนรู ดังนี้ 1. ดานผูเรียน ผูเรียนสามารถนําแผนผังความคิด (Mind Mapping) มาใชสําหรับจดบนัทกึความรู การสรุป การอภิปราย ทบทวนความรูเดิม การจัดระบบขอมูลท่ีกระจัดกระจายใหเปนระเบียบ ตลอดจนการวางแผนการทํางาน การเสนอผลงาน และการเขียนรายงาน 2. ดานผูสอน ครูผูสอนสามารถนําแผนผังความคิด (Mind Mapping) มาใชเปนเครื่องมือ ในการวางแผนการสรางหลักสูตร แผนการสอน การประเมินผลการเรียนรู การประเมินโครงการ การเตรียมบทเรียน การเสนอผลงาน การบันทึกการประชุม การสรุป การอภิปราย ใชในการระดมความคิด การตรวจสอบความรูของผูเรียนและใหผูเรียนสรุปความเขาใจจากบทเรียน ทวีศักดิ์ ภวนานันท (2545 : 27) กลาวถึงประโยชนของแผนผังความคิด ดังนี้ 1. สําหรับขอมูลที่ซับซอนหากเขียนดวย แผนผังความคิด จะชวยทําใหเกิดความรวดเร็วมากกวาการเขียนเปนคําหรือเปนประโยค 2. เนื่องจากแผนผังความคิดเปนวิธีการคิดที่ตองใชสมองทั้งสองขางซึ่งสมองซีกซายจะทําหนาที่ในการวิเคราะหคํา ภาษา สัญลักษณ ระบบ ลําดับ ความเปนเหตุเปนผล ตรรกวิทยา สวนสมองซีกขวาจะทําหนาที่สังเคราะห คิดสรางสรรค จินตนาการ ความงาม ศิลปะ จังหวะ โดยมีแถบเสนประสาทคอรปสคอโลซั่มเปนเสมือนสะพานเชื่อม 3. ชวยทําใหระลึกถึงขาวสารที่เคยคิด วาดไวไดงาย เพราะแผนผังขอมูลไดถูกบันทึกในความทรงจําอยางมีโครงสรางเปนระบบ

Page 66: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

52

4. ชวยจัดการกับขาวสารตาง ๆ ในรูปของโครงสรางความสัมพันธ 5. สมองดานขวาที่เกี่ยวของกับความคิดริเร่ิมสรางสรรคหรือแนวคิดใหม ๆ จะถูกพัฒนา และใชงานมากขึ้น จะเห็นไดวา แผนผังความคิด (Mind Mapping) สามารถนํามาใชในกิจกรรมการเรียนรูไดอยางเหมาะสมตอครูและนักเรียน กลาวคือ ครูนําแผนผังความคิดมาใชสําหรับการวางแผน การจัดการเรียนรูและตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน สําหรับนักเรียนนั้น แผนผังความคิด (Mind Mapping) เปนเครื่องมือที่ชวยในการจดจํา การวางแผนการทํางาน การทบทวนความรูเดิมและการสรุปเรื่องราวตาง ๆ ไดเปนอยางดี การใหคะแนนแผนผังความคิด การใหคะแนนแผนผังความคิด ใชหลักการการประเมินผลการเรียนรูตามทฤษฎีการเรียนรูอยางมีความหมายของ ออซูเบล (Ausubel) โดยพิจารณาความสมบูรณ ความสมเหตุสมผลของแผนผังความคิดในการใหคะแนน โนแวค และ โกวิน (Novak and Govin 1984 : 105) กลาววา การใหคะแนนแผนผังความคิด มีหลักดังนี้ 1. นับความสัมพันธทั้งหมดที่สมเหตุสมผลและใหคะแนนความสัมพันธละ 1 คะแนน 2. นับจํานวนของการเรียงลําดับขั้น การใหคะแนนลําดับขั้นนําตัวเลขตัวใดมาคูณกับลําดับขั้นนั้นขึ้นอยูกับความพอใจของผูสอนไมมีกฎเกณฑตายตัว ซ่ึงโดยทั่วไปอยูระหวาง 3 – 10 เทา ของความสัมพันธแลวนํามาคูณกับจํานวนลําดับขั้นของที่ผูเรียนสรางขึ้นที่มีแขนงสาขามากที่สุดมานับเปนจํานวนลําดับขั้น และจะไมใหคะแนนถามีการจัดลําดับขั้นไมชัดเจน 3. การเชื่อมโยงระหวางสายของมโนมติที่แสดงความสัมพันธอยางสมเหตุสมผลจะใหคะแนน 2 – 10 เทา ของคะแนนที่ใหในแตละระดับคูณดวยจํานวนความสัมพันธที่เกิดจากการเชื่อมโยงระหวางสายของมโนมติ 4. ใหนักเรียนยกตัวอยางมโนมติที่เปนเหตุการณ หรือวัตถุที่อยูในแผนผังมโนมติเพื่อใหเกิดความแนใจวานักเรียนเขาใจถูกตองและใหคะแนนเชนเดียวกับความสัมพันธอ่ืน ๆ คือ 1 คะแนน หรืออาจจะใหคร่ึงคะแนนก็ได เพราะทําไดงายกวาการหาความสัมพันธ

Page 67: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

53

เกณฑในการใหคะแนนแผนผังความคิด มีดังตอไปนี้ 1. ประพจนที่แสดงความสัมพันธระหวาง 2 มโนมติ ที่เชื่อมกันโดยใชคําเชื่อมและทําใหประพจนสมเหตุสมผล จะได 1 คะแนน 2. การจัดลําดับมโนมติที่อยูรองลงมา จะไดคะแนน 5 คะแนน ของทุกระดับที่จัดลําดับไดสมเหตุสมผล 3. การเชื่อมขามสายของมโนมติ การเชื่อมระหวางชุดของมโนมติแสดงใหเห็นถึงความสามารถในการคิดสรางสรรคจึงควรไดรับคะแนนพิเศษ ถาความสัมพันธถูกตองจะได 10 คะแนน 4. ตัวอยาง ไมวาจะเปนตัวอยางวัตถุหรือเหตุการณ จะใหคะแนนตัวอยางละ 1 คะแนน 5. เกณฑการใหคะแนนอาจสรางขึ้นใหมไดขึ้นอยูกับสิ่งที่นํามาสรางแผนผังความคิดอาจแบงคะแนนออกเปนสวน ๆ และนํามาเปรียบเทียบกันโดยทําเปนคะแนนรอยละนักเรียนบางคน อาจทําไดดีกวาคะแนนที่ตั้งไว ทําใหไดคะแนนมากกวา 100% ดังตัวอยางในการใหคะแนน แผนผังความคิดที่เสนอไว

Page 68: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

54

เชื่อม เหตุการณ เหตุการณ การคิดคะแนน ความสัมพันธ = 14 คะแนน ลําดับขั้น 4 × 5 = 20 คะแนน เชื่อมขามสาย 10 × 2 = 20 คะแนน ตัวอยาง 4 × 1 = 4 คะแนน รวม = 58 คะแนน แผนภูมิที่ 3 เกณฑการใหคะแนน

มโนทัศนหลัก

มโนทัศนทั่วไป มโนทัศนทั่วไป

มโนทัศน มโนทัศน

มโนทัศน

มโนทัศนแคบลง

มโนทัศน แคบลง

มโนทัศน

มโนทัศนเฉพาะ

มโนทัศนเฉพาะ

มโนทัศนเฉพาะ

เช่ือม

เช่ือม เช่ือม

ตัวอยาง ตัวอยาง

วัตถุ วัตถุ

เช่ือม เช่ือม

เช่ือม

เช่ือม

เช่ือมขามสาย

ตัวอยาง ตัวอยาง

เช่ือม เช่ือม เช่ือม

เช่ือมขามสะพาน

มโนทัศนทั่วไป

Page 69: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

55

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2546 : 42) เสนอเกณฑการสรางแผนผังความคิดไว ดังนี้ 1. มโนทัศนที่เชื่อมโยงกันในผังมโนทัศนซ่ึงสรางไดถูกตอง ควรกําหนดใหคะแนน 1 มโนทัศน ตอ 1 คะแนน และถามีการยกตัวอยางหรือเหตุการณประกอบมโนทัศน ก็ควรใหคะแนนเพิ่มขึ้นดวย 2. การจัดลําดับขั้นตอนของการเชื่อมโยงระหวางมโนทัศนไดถูกตอง ควรกําหนดคะแนนแตละขั้นอยูในชวง 3 – 5 คะแนน 3. การเชื่อมโยงมโนทัศนระหวางกลุมคําหรือใชคําที่กํากับการเชื่อมโยงไดถูกตองแสดงวาผูเรียนสามารถคิดไดอยางซับซอนมากขึ้น จึงควรกําหนดคะแนนเชื่อมโยง ระหวางกลุมมโนทัศนเปน 50 – 10 คะแนน ทรัพยทวี อภิญญาวาท (2543 : 153 – 155) กําหนดเกณฑการใหคะแนนแผนผังมโนมติ ไวดังนี้ เกณฑที่ 1 มโนมติสําคัญและมโนมติทั่วไป ก. 5 มีการนําเสนอมโนมติจากบญัชีคําคิดเปนจํานวนรอยละ 90 หรือ มากกวาและมจีุดเนนมโนมติชัดเจน 4 มีการนําเสนอมโนมติจากบญัชีคําคิดเปนจํานวนรอยละ 80 หรือ มากกวาและมจีุดเนนมโนมติชัดเจน 3 มีการนําเสนอมโนมติจากบญัชีคําคิดเปนจํานวนรอยละ 70 หรือ มากกวาและมจีุดเนนมโนมติชัดเจน 2 มีการนําเสนอมโนมติจากบญัชีคําคิดเปนจํานวนรอยละ 60 หรือ มากกวาและมจีุดเนนมโนมติชัดเจน 1 มีการนําเสนอมโนมติจากบญัชีคําคิดเปนจํานวนรอยละ 50 หรือ มากกวาและมจีุดเนนมโนมติชัดเจน ข. 5 มีการนําเสนอมโนมติอ่ืน ๆ นอกเหนือจากบัญชีคําแตเกี่ยวของกับเรื่อง ที่นําเสนอ คิดเปนจํานวนรอยละ 50 หรือมากกวา 4 มีการนําเสนอมโนมติอ่ืน ๆ นอกเหนือจากบัญชีคําแตเกี่ยวของกับเรื่อง ที่นําเสนอ คิดเปนจํานวนรอยละ 40 หรือมากกวา 3 มีการนําเสนอมโนมติอ่ืน ๆ นอกเหนือจากบัญชีคําแตเกี่ยวของกับเรื่อง ที่นําเสนอ คิดเปนจํานวนรอยละ 30 หรือมากกวา 2 มีการนําเสนอมโนมติอ่ืน ๆ นอกเหนือจากบัญชีคําแตเกีย่วของกับเรื่อง ที่นําเสนอ คิดเปนจํานวนรอยละ 20 หรือมากกวา

Page 70: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

56

1 มีการนําเสนอมโนมติอ่ืน ๆ นอกเหนือจากบัญชีคําแตเกีย่วของกับเรื่อง ที่นําเสนอ คิดเปนจํานวนรอยละ 10 หรือมากกวา เกณฑที ่ 2 การเชื่อมโยงอยางมีความหมาย ค. 5 ความสัมพันธระหวางมโนมติ 2 มโนมติแสดงดวยคําเชือ่มที่สําคัญ ความหมายของคําที่ใชเปนคาํเชื่อมชัดเจน สมเหตุสมผล ประมาณรอยละ 90 4 ความสัมพันธระหวางมโนมติ 2 มโนมติแสดงดวยคําเชือ่มที่สําคัญ ความหมายของคําที่ใชเปนคาํเชื่อมชัดเจน สมเหตุสมผล ประมาณรอยละ 80 3 ความสัมพันธระหวางมโนมติ 2 มโนมติแสดงดวยคําเชือ่มที่สําคัญ ความหมายของคําที่ใชเปนคาํเชื่อมชัดเจน สมเหตุสมผล ประมาณรอยละ 70 2 ความสัมพันธระหวางมโนมติ 2 มโนมติแสดงดวยคําเชือ่มที่สําคัญ ความหมายของคําที่ใชเปนคาํเชื่อมชัดเจน สมเหตุสมผล ประมาณรอยละ 60 1 ความสัมพันธระหวางมโนมติ 2 มโนมติแสดงดวยคําเชือ่มที่สําคัญ ความหมายของคําที่ใชเปนคาํเชื่อมชัดเจน สมเหตุสมผล ประมาณรอยละ 50 หรือนอยกวา (ขาดคําเชื่อมที่เปนไปไดมากมาย) เกณฑที ่ 3 รูปแบบโดยรวม ในแตละสวนของผังมีความหมาย จ. 5 ผังจะแสดงนยัสําคัญและความหมายเชื่อมระหวางสวนหนึ่งกับสวน อ่ืน ๆ ในแนวตั้งประมาณรอยละ 90 หรือมากกวา 4 ผังจะแสดงนยัสําคัญและความหมายเชื่อมระหวางสวนหนึ่งกับสวน อ่ืน ๆ ในแนวตั้งประมาณรอยละ 80 หรือมากกวา 3 ผังจะแสดงนยัสําคัญและความหมายเชื่อมระหวางสวนหนึ่งกับสวน อ่ืน ๆ ในแนวตั้งประมาณรอยละ 70 หรือมากกวา 2 ผังจะแสดงนยัสําคัญและความหมายเชื่อมระหวางสวนหนึ่งกับสวน อ่ืน ๆ ในแนวตั้งประมาณรอยละ 60 หรือมากกวา 1 ผังจะแสดงนยัสําคัญและความหมายเชื่อมระหวางสวนหนึ่งกับสวน อ่ืน ๆ ในแนวตั้งประมาณรอยละ 50 หรือนอยกวา

Page 71: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

57

ฉ. 5 ผังจะแสดงการแตกสาขาทั้งแนวตั้งและแนวราบอยางมคีวามหมาย มโนมติและตวัอยางมีความสัมพันธกันประมาณรอยละ 90 หรือมากกวา 4 ผังจะแสดงการแตกสาขาทั้งแนวตั้งและแนวราบอยางมคีวามหมาย มโนมติและตวัอยางมีความสัมพันธกัน ประมาณรอยละ 80 หรือมากกวา 3 ผังจะแสดงการแตกสาขาทั้งแนวตั้งและแนวราบอยางมคีวามหมาย มโนมติและตวัอยางมีความสัมพันธกัน ประมาณรอยละ 70 หรือมากกวา 2 ผังจะแสดงการแตกสาขาทั้งแนวตั้งและแนวราบอยางมคีวามหมาย มโนมติและตวัอยางมีความสัมพันธกัน ประมาณรอยละ 60 หรือมากกวา 1 ผังจะแสดงการแตกสาขาทั้งแนวตั้งและแนวราบอยางมคีวามหมาย มโนมติและตวัอยางมีความสัมพันธกัน ประมาณรอยละ 50 หรือนอยกวา จากเกณฑดังกลาวขางตนสรุปไดวาการใหคะแนนแผนผังความคิดมีลําดับขั้นตอน ดังนี้ นับความสัมพันธทั้งหมดที่สมเหตุสมผลและใหคะแนนความสัมพันธของการเชื่อมโยงมโนมติ และการยกตัวอยางและการเชื่อมโยงขามสาย ตามดุลพินิจของครูผูสอนแลวนํามาเปรียบเทียบเปนคะแนนรอยละ

Page 72: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

58

ประเภทของแผนผังความคิด แมเรียน บี ชมิดท (Marion B. Schmidt 1986 : 82 – 84) ไดจําแนกแผนที่ความคิดไว 5 รูปแบบ คือ 1. แผนผังรูปแมงมุม (Spider Map) สําหรับขอความที่ใจความสําคัญและรายละเอียด สนับสนุนไวชัดเจน

แผนภูมิที ่4 แผนผังรูปแมงมุม (Spider Map) 2. แผนผังรูปขั้นบันได (Time ladder Map) สําหรับขอความที่แสดงลําดับเวลา กระบวนการหรือขั้นตอน เชน

แผนภูมิที ่5 แผนผังรูปขั้นบันได (Time ladder Map)

กระตายพบเตา/ทาเตาว่ิงแขง

กระตายชะลาใจ/พักหลับ/เตาแซง

กระตายตกใจตื่น รีบว่ิงตามกระตาย

สายเกินไป/เตาถึงเสนชัยกอน

ปญหาการสอนภาษาไทย

เขียน

ฟง

พูด

อาน

Page 73: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

59

3. แผนผังแสดงเหตุผล (Cause/effect Map) สําหรับขอความที่แสดงเหตุผล เชน

แผนภูมิที ่6 แผนผังแสดงเหตุผล (Cause/effect Map) 4. แผนผังแสดงการเปรียบเทียบ (Comparison/Contrast Map) สําหรับขอความที่แสดงการเปรียบเทียบหรือความตรงกันขาม เชน HUM MIND COMPUTER

แผนภูมิที ่7 แผนผังแสดงการเปรียบเทียบ (Comparison/Contrast Map)

Can use can information in new and different way.

must be told what to with information

can store and recall informatio

โจรเขาบานขโมยววั

คนเลี้ยงววัลอมคอก

Page 74: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

60

5. แผนผังแบบผสมผสาน (Combined Map) สําหรับขอความที่มีเนื้อหาซับซอน หรือผสานความคิดแบบตาง ๆ ไวในเรื่องเดียวกัน รูปแบบของแผนที่ความคิดเปนลักษณะกิ่งที่แตกแขนงความคิดออกรอบทิศทางไรขอบเขต

แผนภูมิที ่8 แผนผังแบบผสมผสาน (Combined Map)

Friend

Hobbies

Like

Skills

Strong sides

Weak sides

Experience

ME

Page 75: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

61

สวนสินาทราและคณะ (Sinatra et. al. 1986, อางถึงใน พิพัฒน งอกเสมอ 2539 : 47) ไดจําแนกรูปแบบแผนผังความคิดออกเปน 4 รูปแบบ คือ 1. แผนผังความสัมพันธความหมาย แบบบรรยายลําดับเหตุการณ (Narrative organization or sequential episodic Map) ใชแสดงเรื่องเลาที่จัดองคประกอบตามลําดับ โดยมีลูกศรเปนเครื่องแสดงลําดับและเชื่อมโยงรายละเอียดสนับสนุนในแตละกรอบ ดังรูป

หมายเหต ุ:

1 = ช่ือเร่ืองหรือใจความหลัก 2 = เหตุการณรอง 3, 4 = รายละเอียดสนับสนุน

แผนภูมิที ่9 แผนผังความสัมพันธความหมาย แบบบรรยายลําดับเหตุการณ (Narrative organization or sequential episodic Map)

1

4 4 4 4 4 4

2

3

3

2

3

3

2

3

3

Page 76: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

62

2. แผนผังความสัมพันธทางความหมายแบบพรรณนา (Thematic or Descriptive Map) ใชแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับบุคลสถานที่ หรือ ส่ิงของ โดยมีใจความสําคัญอยูตรงกลางโยง ความสัมพันธจากใจความสําคัญตาง ๆ ดวยเสนตรง และโยงความสัมพันธของรายละเอียดปลีกยอยเขากับหัวขอสําคัญ ดังรูป หมายเหต ุ 1 = ใจความสําคัญ 2 = หัวขอสําคัญ 3 = รายละเอียดปลีกยอย แผนภูมิที ่10 แผนผังความสัมพันธทางความหมายแบบพรรณนา (Thematic or Descriptive Map)

2

2

2 2

3

3

3

3

3

3

1

3 3

3

3

3

Page 77: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

63

3. แผนผังความสัมพันธทางความหมายเชิงเปรียบเทียบความแตกตางและความเหมือน (Comparative and Contrastive Map) กรอบบนสุดเปนหัวเรื่องที่จะเปรียบเทียบ เครื่องหมายลูกศรตรงโยงลงไปตรงกรอบดานซายมือ ใชแสดงความเหมือน (Sameness) ลูกศรประเชื่อมโยงกรอบดานขวามือแสดงความแตกตางและมีรายละเอียดยอย ๆ ทั้งสองฝายอยูในกรอบดานขาง ดังรูป

หมายเหต ุ 1 = หัวเร่ืองที่จะเปรียบเทียบ 2 = ความเหมือน 3 = ความแตกตาง 4 = ลักษณะที่เหมือน 5 = ลักษณะที่แตกตาง 6 = รายละเอียดสนับสนนุ แผนภูมิที่ 11 แผนผังความสัมพันธทางความหมายเชิงเปรียบเทียบความแตกตางและความเหมือน (Comparative and Contrastive Map)

4

3 6

6 2

6

6

6

6 4

6

6

6

6

6

6

5

5

1

Page 78: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

64

4. แผนผังความสัมพันธทางความหมายแบบจําแนกประเภท (Classification Map) ผังรูปนี้เหมาะกับขอเขียนแบบพรรณนาโวหาร (Expository Discourse) จะแสดงความสัมพันธ หัวเร่ือง ตัวอยาง คุณสมบัติ/คุณลักษณะ โดยหัวเร่ืองที่กลาวถึงจะอยูบนสุด ตัวอยางและคุณสมบัติหรือรายละเอียดสนับสนุนจะโยงลงมาขางลางในหัวเร่ืองนั้น ๆ ดังรูป

หมายเหต ุ 1 = หัวเร่ือง 2 = ตัวอยาง ลักษณะ คุณสมบัติ 3 = รายละเอียดสนับสนุน แผนภูมิที ่12 แผนผังความสัมพันธทางความหมายแบบจาํแนกประเภท (Classification Map)

2

3

2 2 2

3 3 3

1

Page 79: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

65

สําหรับ ชาตรี เกิดธรรม (2545 : 22 – 26) ไดเสนอรูปแบบของโครงสรางความรูหรือแผนผังความคิดไว 7 ประเภท ดังนี้ 1. แผนผังความคดิ (Mind Mapping) แผนผังความคิดเปนการแสดงโครงสรางของการคิด กระบวนการคิด และความสัมพันธของกระบวนการคิดตั้งแตตนจนจบ ชวยใหมองเห็นภาพรวมของความคิดและ เคาโครงของความคิด ทําใหมองเห็นความสัมพันธของความคิด ทําไดโดยเขียนความคิดหลักไวตรงกลางและโยงเสนใหสัมพันธกับความคิดรอง ความคิดยอย และความคิดที่แยกยอยที่มีความสัมพันธเช่ือมโยงกัน ก็สามารถขยายตอไปไดอีก ไมมีทิศทางที่กําหนดแนนอนตายตัว ดังตัวอยางตอไปนี้

แผนภูมที ่13 แผนผังความคดิ (Mind Mapping)

ไมมีดอก

พืช

มีดอก

ไวรัส

โปรติสต

สัตว สัตวปก

สัตวน้ํา

สัตวบก

ไขไมมีเปลือกแข็งหุม ไขมีเปลือกแขง็หุม

ออกลูกเปนตวั ออกลูกเปนไข

ส่ิงมีชีวิต

Page 80: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

66

2. แผนผังใยแมงมุม (Web) แผนผังใยแมงมุมเปนการคิดแบบโยงใยสัมพันธ เพื่อสรางความคิดใหกระจางชัด มองเห็นความสัมพันธของความคิดที่เกี่ยวของ มีลักษณะคลายแผนผังความคิด (Mind Mapping) แตจะเขียนในลักษณะวงกลมโดยเขียนหัวขอหลักไวตรงกลาง แลวเขียนหัวขอรองที่มีความสัมพันธกับหัวขอหลักไวตามแขนงของวงกลม และถามีความคิดยอยที่เกี่ยวของสัมพันธก็สามารถ แตกความคิดออกไปไดอีก สามารถใชในการระดมสมองโดยเสนอความคิดตาง ๆ ที่ยังไมตัดสินถูกผิด เปนเพียงการระบุส่ิงเกี่ยวของที่สัมพันธกันใหมากที่สุด ใชไดในการเรียนการสอนทุกวิชา และใชกับกิจกรรมไดอีกตามตัวอยาง ดังตอไปนี้

แผนภูมิที ่14 แผนผังใยแมงมุม (Web)

อาชีพ

รับจาง ครู-อาจารย

ทนายความ พยาบาล

แพทย พอคา

เกษตรกร

ทหาร

ทหารอากาศ

ทหารเรือ

ทหารบก

Page 81: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

67

3. แผนผังรูปแบบเวนน (Vann Diagram) แผนผังรูปเวนนเปนการวิเคราะหหาความสัมพันธของสิ่งของหรือแนวคิดตั้งแต สองสิ่งขึ้นไปวาสวนใด ลักษณะใด ที่มีความเหมือนหรือแตกตางกัน เปนการคิดแบบหาตัวรวมในสิ่งที่เหมือนกัน ชวยใหผูเรียนรูจักจําแนกความเหมือนและความตางของสิ่งของ สถานที่และบุคคล หรืออ่ืน ๆ ไดดี โดยการเขียนเปนแผนภาพแสดงความสัมพันธ ดังตัวอยางตอไปนี้ ผิดพลาด! แผนผังที่ 15 แผนผังรูปแบบเวนน (Vann Diagram)

4. แผนผังความคดิแบบวงจร (The Circle) แผนผังความคิดแบบวงจรเปนการคิดแบบวงจรหรือวงกลม โดยในวงกลมจะไมมีจุดเริ่มตนหรือจุดจบ เพื่อเสนอขั้นตอนตาง ๆ ที่สัมพันธ เรียงลําดับเปนวงกลม ตัวอยางเชน วงจรชีวิตของผีเสื้อ

แผนผังที่ 16 แผนผังความคดิแบบวงจร (The Circle)

เปด วายน้ําได เทามีพังผืด ปากแบน

ออกไข มีปก มีขา 2 ขา

ไก วายน้ําไมได เทาไมมีพังผืด ปากแหลม

ไข

ดักแด

ตัวเต็มวัย หนอน วงจรชีวิตผีเสื้อ

Page 82: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

68

5. แผนผังกางปลา (The fish bone) แผนผังกางปลา เปนการคิดหาสาเหตุของปญหา เชน แดงหนีเรียนเพราะสาเหตุใดเปนตน การเขียนแผนผังทําไดโดยกําหนดเรื่อง แลวหาสาเหตุและผลตาง ๆ ในแตละดาน ผิดพลาด! แผนผังที่ 17 แผนผังกางปลา (The fish bone) 6. แผนผังแบบจาํแนกรายละเอยีด (The grid) แผนผังแบบจําแนกรายละเอียดเปนการคิดแบบจําแนกรายละเอียดของสิ่งที่คิด ฝกการมองใหเห็นถึงรายละเอียดของสิ่งนั้น เชน อาหารแตละชนิดตอไปนี้มีสารอาหารอะไรบาง

สารอาหาร รายการอาหาร คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกล่ือแร วิตามิน

1. ราดหนาทะเล 2. ขาวผัด 3. แกงเนื้อ 4. น้ําพริกปลาทู 5. ……………. 6. ……………..

แผนผังที่ 18 แผนผังแบบจาํแนกรายละเอยีด (The grid)

สาเหตุ ที่แดง ขาดเรียน

การเรียน

หยาราง

ทะเลาะวิวาท

ครูดุ ครูสอนไมรูเร่ือง

ถูกครูตี

เพื่อนชักชวน

เขากับเพื่อนไมได

คะแนนสอบไมดี ไมทําการบาน

ครอบครัว เพื่อน

ครู

Page 83: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

69

7. แผนผังความคิดแบบเปรียบเทียบเรียงลําดับ (The ranking ladder) แผนผังความคิดแบบเปรียบเทียบเรียงลําดับเปนการคิดแบบเรียงลําดับ เชน มาก–นอย ต่ํา-สูง กอน-หลัง ออน-แก การเรียงลําดับมีทั้งรูปธรรมและนามธรรม ดังตัวอยาง

การสอนใหผูเรียนวางแผนและจัดลําดับกอนหลัง ในการทําโครงงาน

5. สรุปผล เผยแพร 4. ลงมือทําโครงงาน

3. ออกแบบการทําโครงงาน 2. ตั้งสมมติฐาน 1. คิดหาหวัขอเร่ือง

การเรียงลําดับวงจรชีวิตของมนุษยจากออนไปแก

1 2 3 4 5 แผนผังที่ 19 แผนผังความคดิแบบเปรียบเทียบเรียงลําดบั (The ranking ladder) ณัฐวุฒิ กิจรุงเรือง และคณะ (2545 : 36 – 47) จําแนกประเภทของแผนผังความคิดไว 7 ประเภท ดังนี้ 1. บันไดจดัอนัดับ (Ladder)

ใหเหตุผล ตรวจสอบอันดับที่จัด

จัดลําดับตามเกณฑ มีเหตุการณ มีประเด็น รูเกณฑตดัสิน

แผนผังที่ 20 แผนผังความคดิแบบบันไดจดัอันดับ (Ladder)

วัยเด็ก แรกเกิด วัยชรา วัยผูใหญ หนุมสาว

Page 84: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

70

เปาหมาย รูปแบบบันไดจัดอันดับมีเปาหมายเพื่อชวยใหผูเรียนรูจักการจัดอันดับของปจจัยของเรื่องที่ตองการศึกษา ซ่ึงผูสอนสามารถใชรูปแบบบันไดจัดอันดับกับการจัดกิจกรรมทุกวิชาที่ตองการใหมีการจัดอันดับความสําคัญของความคิดงาน เหตุการณ กระบวนการ ตลอดจนใชในกิจกรรมที่ตองการแสดงใหเห็นขั้นตอนของกระบวนการหรือเหตุการณ 2. ผังวงกลมซอน (Venn Diagram) ผิดพลาด! แผนผังที่ 21 แผนผังความคดิแบบวงกลมซอน (Venn Diagram) เปาหมาย รูปแบบวงกลมซอน (Venn Diagram) มีเปาหมายเพื่อชวยใหผูเรียนรูจักจําแนกความเหมือนและความแตกตางของ 2 ส่ิง ของสถานการณหรือในดานคุณลักษณะ คุณสมบัติ บุคลิกภาพ คุณคา และเครื่องหมายสําคัญ ซ่ึงผูสอนสามารถใชไดกับทุกวิชาที่ตองการใหมีการศึกษาเปรียบเทียบโดยวงกลมอาจใชมากกวา 2 วง ก็ได 3. เสนลําดับ (Spectrum) รูปแบบเสนลําดับ เปนรูปแบบของชวงของการแปรผันที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องของความคิดหรือเหตุการณ

แผนผังที่ 22 แผนผังแบบ เสนลําดับ (Spectrum)

นิยามปญหา เร่ืองลําดับทางเลือก

เลือกทางเลือก หนึ่ง

ลองทําดู

แตกตาง เหมือน แตกตาง

Page 85: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

71

เปาหมาย เพื่อชวยใหมองเหน็ลําดับขั้นของเหตุการณ ซ่ึงสามารถใชกับหัวเร่ืองที่ประสงคใหนกัเรียนรวมกันวิเคราะหลําดบัขั้นของเหตกุารณที่ศึกษาจากเอกสาร สถานการณจริงหรือใบความรู 4. Web แผนผังที่ 23 แผนผังแบบ Web เปาหมาย เพื่อชวยผูเรียนสรางความคิดที่กระจางชัดเจนโดยสามารถคิดอยางมีประเด็นพรอม ๆ กับมองเห็นความสัมพันธของความคิดที่เกี่ยวของ ซ่ึงสามารถใชไดกับทุกกิจกรรม และใชเปนจุดเริ่มตนของ Mind Mapping

กิจกรรมรวมพลัง กิจกรรมรูจักเพื่อน

เขาคายพักแรม

กิจกรรมเขาคายผูนําเยาวชน

(ความคิดสําคัญ)

แคมปไฟ

Page 86: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

72

5. แผนที่ความคดิ (Mind Map)

แผนผังที่ 24 แผนที่ความคดิ (Mind Map) เปาหมาย แผนที่ความคิด ผังความคิด หรือแผนภูมิ ชวยสรางความกระจางชัด ในการวิเคราะหความสัมพันธของความคิด ซึ่งผูสอนสามารถนําแผนที่ความคิดใชกับทุกเรื่อง ที่ตองการศึกษาความคิด และความสัมพันธของความคิดที่ขยายออกไปสูประเด็นที่เกี่ยวของอื่น ๆ 6. Pie chart รูปแบบ Pie chart เปนรูปแบบของการแยกยอยความคิด หรือวัตถุออกเปนสวนยอย ๆ และศึกษาวาแตละสวนสัมพันธกับสวนรวมอยางไร แผนผังที่ 25 แผนผังแบบ Pie chart

ชีวประวัต ิ

งานอดิเรก

การศึกษา

ทําสวน

ประวัติสวนตวั

อุปนิสัย ครอบครัว

ประสบการณ

การทํางาน

กรรมการนักเรียน

อานหนังสือ ฟงดนตร ี

ระดับมัธยม

ระดับอุดมศึกษา ระดับประถม

Page 87: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

73

เปาหมาย การใชรูปแบบ Pie chart เพื่อชวยใหผูเรียนรูจักประมาณการสัดสวนความสัมพันธหรือความสําคัญของปจจัยที่เกี่ยวของ ซ่ึงสามารถนําไปใชกับเรื่องที่ตองการพิจารณาใหความสัมพันธในรูปของสัดสวน เพื่อทําใหมีความชัดเจนในการสื่อสารมากขึ้น 7. กางปลา (Fish bone) รูปกางปลาเปนรูปแบบของการฝกทักษะการคิดถึงปจจัยที่เปนสาเหตุของผลหรือปญหา แผนผังที่ 26 แผนผังกางปลา (Fish bone) เปาหมาย รูปแบบกางปลาเพื่อชวยใหผูใชสามารถแยกแยะสิ่งที่อาจเปนสาเหตุของผลหรือปญหาที่นํามาศึกษา ซ่ึงผูสอนสามารถนําไปใชในวิชาสังคมศึกษาวิทยาศาสตรและวรรณคดีในสวนที่มีเนื้อหาเปนเหตุเปนผลกัน จากประเภทของแผนผังความคิดดังกลาวขางตนสามารถเลือกชนิดของแผนผังความคดิใหเหมาะกับสาระที่นํามาเขียนสรุปความไดดังนี ้ 1. แผนผังรูปขั้นบันได (Time ladder Map) หรือ บันไดจัดอันดับ (Ladder) สําหรับขอความที่แสดงลําดับเวลา การจัดอันดับของปจจัยของเรื่องที่ตองการศึกษา ซ่ึงผูสอนสามารถใชรูปแบบบันไดจัดอันดับกับการจัดกิจกรรมทุกวิชาที่ตองการ ใหมีการจัดอันดับความสําคัญของความคิดงาน เหตุการณ กระบวนการ ตลอดจนใชในกิจกรรมที่ตองการแสดงใหเห็นขั้นตอนของกระบวนการหรือเหตุการณ ใชสําหรับแผนการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับนิทาน เร่ืองสั้น สารคดี บทรอยกรอง 2. แผนผังความสัมพันธทางความหมายแบบจําแนกประเภท (Classification Map) ผังรูปนี้เหมาะกับขอเขียนแบบพรรณนาโวหาร (Expository discourse) จะแสดงความสัมพันธ หัวเร่ือง ตัวอยาง คุณสมบัติ คุณลักษณะ ใชสําหรับแผนการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับ ประเภทของแผนผังความคิด

ผลหรือปญหา

กลุมของเหตุทีเ่ปนไปได

กลุมของเหตุทีเ่ปนไปได

เหตุยอย

Page 88: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

74

3. แผนผังกางปลา (Fish bone) ชวยใหผูใชสามารถแยกแยะหรือคิดหาสาเหตุของผลหรือปญหาที่นํามาศึกษา ซ่ึงผูสอนสามารถนําไปใชในวิชาสังคมศึกษาวิทยาศาสตรและวรรณคดีในสวนที่มีเนื้อหาเปนเหตุเปนผลกัน ใชสําหรับการจัดการเรียนรูเกี่ยวกับสารคดี กลอนบทละคร สวนแผนผังความคิดประเภทอื่น ๆ เชน แผนผังความคิดแบบใยแมงมุม เหมาะสําหรับขอความที่มีเนื้อหาซับซอน ลักษณะของแผนผังความคิดจะแตกออกไปอยางไรขอบเขต แผนผังความคิดแบบวงจร เปนการคิดแบบวงกลมเพื่อเสนอขั้นตอนเปนวงกลม แผนผังความคิด แบบเปรียบเทียบเรียงลําดับ สําหรับการวางแผนกอนหลัง แผนผังความคิดแบบบันไดจัดลําดับ สําหรับจัดลําดับความสําคัญ ความคิด งาน และแผนผังรูปแวนน สําหรับวิเคราะหความสัมพันธของสิ่งของ เปนตน จะเห็นไดวาลักษณะเฉพาะของแผนผังความคิดที่กลาวมา เหมาะสมกับ การใชเพื่อเสนอความคิดอยางไรขอบเขต การวางแผน หรือลําดับความสําคัญมากวาที่จะใชเพื่อเขียนสรุปความจากเรื่องที่อาน ผูวิจัยจึงไมนํามาใชสําหรับการวิจัยในครั้งนี้

งานวิจัยท่ีเก่ียวของกับวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผงัความคิด งานวิจัยในประเทศ ประทุม วิชาโคตร (2544 : บทคัดยอ, 72) วิจัยและศึกษาเรื่อง ผลสัมฤทธิ์ในการเขียนเชิงสรางสรรควิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ฝกโดยวิธีการเขียนแผนที่ความคิด ซ่ึงใชแผนผังแบบใยแมงมุม (Spider Mapping) โดยกําหนดขั้นตอนการจัดการเรียนรูไว 12 ขั้น คือ 1) หากระดาษเปลาไมมีเสน 2) วางกระดาษตามแนวนอน 3) เร่ิมที่กึ่งกลางหนากระดาษ 4) กําหนดขอความ คํา ภาพวาดที่เปนขอใหญใจความของเรื่องที่เขียนหรือคิด 5) คิดถึงหัวขอสําคัญที่เกี่ยวกับขอความ คํา หรือภาพศูนยกลางแลวเขียนดวยตัวอักษรหนาบนเสนที่ยาวเทากับตัวหนังสือตอตรงออกมา 6) เติมกิ่งสาขาของหัวขอสําคัญดวยจินตนาการ 7) แตกแขนงออกมายังระดับความคิดที่สอง ซ่ึงคําหรือภาพจะแตกแขนงออกมาเสนตองตอเนื่องกันและบางลงไป คําที่เขียนตัวเล็กลง 8) แตกแขนงขอมูลไปยังระดับที่สามและสี่ตามความคิดที่ไหลออกมาอยางอิสระ โยกไปยายมายังกิ่งกานสาขาตาง ๆ 9) เพิ่มความลึกในแผนที่ความคิดโดยตีกรอบ ใสกลองรอบ ๆ คําหรือภาพ 10) ใชสีตามรูปแบบของกิ่งกานสาขา 11) ใสลูกศรเพื่อชวยในการแสดงแนวคิดวามีความเชื่อมโยงกันอยางไร 12) ทําใหแผนที่ความคิดดูสวยขึ้น มีศิลปมากขึ้น มีสีสดใสขึ้นมาดวยจินตนาการเพิ่มความลึกหรือมิติลงไป แทรกอารมณขึ้นทําใหหรูหราเทาที่จะทําได ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ในการเขียนเชิงสรางสรรคโดยวิธีการเขียนแผนที่ความคิด กอนเรียนและหลังเรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และสําหรับความกาวหนาของผลสัมฤทธิ์

Page 89: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

75

ในการเขียนเชิงสรางสรรควิชาภาษาไทยของนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนที่มีความสามารถ สูง ปานกลาง และต่ํา ที่ไดรับการฝกโดยวิธีการเขียนแผนที่ความคิดนั้นไมแตกตางกัน จุติมา นาควรรณ (2544 : บทคัดยอ, 60) ศึกษาผลการสอนโดยใชเทคนิคระดมสมองและผังความคิดที่มีตอความสามารถในการเขียนสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5โรงเรียนวัดทายาง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใชแผนผังแบบใยแมงมุม (Spider Mapping) และกําหนดขั้นตอนการเรียนรูไว 5 ขั้น คือ 1) ขั้นกอนการเขียน เปนการทบทวนและสรางความรูเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมและใหแนวทางในการเรียนรู 2) ขั้นระดมสมองและสรางผังความคิด 3) ขั้นการราง เขียนเรียบเรียงเรื่องใหสัมพันธตอเนื่องและใหไดใจความ 4) ขั้นปรับปรุงแกไข เปนการอานบทความ ตรวจสอบปรับปรุงแกไขเพื่อใหไดงานเขียนที่ดีที่สุด 5) ขั้นการนําเสนอผลงาน เปนการนําเสนอผลงานตอบุคคลอื่นดวยวิธีการตาง ๆ ผลการวิจัย พบวา 1) คะแนนความสามารถการเขียนเชิงสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ไดรับการสอนโดยใชเทคนิคระดมสมองและผังความคิดสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนตามปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) ระดับความคิดเห็นของนักเรียนกลุมทดลองเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนการสอนโดยภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด 3) ระดับความคิดเห็นของนักเรียนกลุมทดลองเกี่ยวกับการเรียนรูของตนเองโดยภาพรวมของแตละดานอยูในระดับมาก รุงนภา ทศภานนท (2544 : บทคัดยอ, 65 – 67) ศึกษาและวิจัยเร่ือง ผลของการใชเทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศนทีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนตระกูลประเทืองวิทยาคม จังหวัดยโสธร โดยใชแผนผังแบบใยแมงมุม (A spider Mapping) แผนผังมโนทัศนแบบลูกโซ (Chin Mapping) และแผนผังมโนทัศนแบบเรียงลําดับ (Hierarch Mapping) ซ่ึงมีขั้นตอนการสอนดังนี้ 1) ครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนเกิดมโนทัศนโดยใชวิธีการสอนแบบตาง ๆ 2) ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจความหมายและยกตัวอยางของมโนทัศน 3) ใหนักเรียนระบุมโนทัศนที่สําคัญจากบทเรียน 4) ครูอธิบายและยกตัวอยางการจัดเรียงลําดับมโนทัศน 5) ใหนักเรียนจัดกลุมมโนทัศนที่มีความสัมพันธกันไวในกลุมเดียวกัน 6) ครูอธิบายลักษณะและยกตัวอยางคําเชื่อม 7) ใหนักเรียนเชื่อมโยงความสัมพันธของมโนทัศนตางๆ เขาดวยกัน ผลการวจิยั พบวา 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่เรียนโดยใชเทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศนในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรผานเกณฑรอยละ 50 ที่กําหนดไว 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่เรียนโดยใชแผนผังมโนทัศนในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวานักเรียนกลุมที่เรียนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่เรียนโดยใชเทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตรมีความสามารถในการสรางแผนผังมโนทัศน ทางคณิตศาสตรผานเกณฑ

Page 90: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

76

รอยละ 50 ที่กําหนดไว 4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรมีความสัมพันธทางบวกกับความสามารถในการแผนผังมโนทัศนทางคณิตสาสตรของนักเรียนกลุมที่เรียนโดยใชเทคนิคการจัดแผนผัง มโนทัศนทางคณิตศาสตรในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 โดยม ี คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธโพรดัคโมเมนตเทากับ 0.070 จากการวิจัยดังกลาวพบวา การใชเทคนคิแผนผังมโนทัศนเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู ทําใหนักเรียนมีผลการเรียนรูสูงขึ้น วีรวรรณ พูนคี (2544 : บทคัดยอ, 87) ศึกษาการเปรียบเทียบการสอนอานดวยวิธีสอนแบบใชแผนภูมิความหมายกับการสอนตามคูมือครูที่มีผลสัมฤทธิ์ตอการอานเพื่อความเขาใจและความคงทนในการจําของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง แผนกวิชาการบัญชีวิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม จังหวัดนครปฐม ใชแผนผังความคิด 4 รูปแบบ คือ แผนผังความคิดแบบบรรยาย (Thematic or descriptive Map) 2) แผนภูมิแบบแยกประเภท (Classification Map) 3) แผนภูมิแบบเปรียบเทียบ 4) แผนภูมิแบบแสดงลําดับเหตุการณหรือเวลา (Narrative sequential organization Map/sequence Map) โดยกําหนดขั้นตอนการเรียนรูไว 5 ขั้น ดังนี้ 1) ครูสรางแผนภูมิความหมายที่เปนโครงราง (skeleton Map) ซ่ึงเปนโครงรางที่ไมสมบูรณ (Incomplete Map) และแผนภูมิที่สมบูรณ (Completed Map) 2) ขั้นกอนการอาน (Pre–reading) เพื่อเปนการใหความรูพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่จะอาน ครูใหผูเรียนทํากิจกรรม ดังนี้ 2.1) ครูเขียนคําสําคัญแลวผูเรียนชวยกันระดมความคิด คําศัพทหรือขอความสําคัญ โดยครูอาจเพิ่มคําศัพทหรือขอความสําคัญเพื่อชวยนักเรียน 2.2) ครูเสนอแผนภูมิความหมายที่ไมสมบูรณใหกับนักเรียนแลวใหนักเรียนและครูชวยกันจัดขอมูลลงในแผนภูมิ 3) ขั้นการอาน (While–reading) ครูบอกวัตถุประสงคในการอานใหกับนักเรียนตอจากนั้นนักเรียนอานเนื้อเรื่องเพื่อนําขอมูลมาเติมลงในแผนภูมิ 4) ขั้นหลังการอาน (Post–reading) นําขอมูลใหมที่ไดจากการอานมาปรับปรุงแกไขในแผนภูมิเดิมใหถูกตอง 5) ตอบคําถามเกี่ยวกับความเขาใจและทําแบบฝกหัด ผลการวิจัย พบวา 1) นักศึกษาที่เรียนการอานโดยวิธีสอนแบบใชแผนภูมิความหมาย มีคะแนนความเขาใจการอานสูงกวานักศึกษาที่เรียนการอานโดยวิธีสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 2) นักศึกษาที่เรียนการอานโดยวิธีสอนแบบใชแผนภูมิความหมายมีคะแนนความคงทนในการจําสูงกวานักศึกษาที่เรียนโดยวิธีสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 3) นักศึกษาที่เรียนโดยวิธีสอนแบบใชแผนภูมิความหมายมีความคิดเห็นตอกิจกรรมการอานที่สอนดวยแผนภูมิความหมายอยูในระดับสูง โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.00 วีระพงศ ขําเหม (2544 : บทคัดยอ, 76) ศึกษาโครงสรางความรูและการปรับเปลี่ยนมโนทัศนในวิชาวิทยาศาสตรกายภาพชีวภาพ เร่ือง ไฟฟาและเครื่องอํานวยความสะดวก โดยใชแผนผังมโนทัศนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนแกลง วิทยาสถาวร จังหวัดระยอง ดวยการสอนใหนักเรียนรูจักวิธีการสรางแผนผังมโนทัศนแตไมไดกําหนดชนิดของแผนผังมโนทัศน

Page 91: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

77

ใหนักเรียน ในการสรางแผนผังมโนทัศนที่ 2 และ 3 นักเรียนจะใชวิธีการเสรางแผนผังมโนทัศนโดยการแกไขเพิ่มเติมหรือปรับเปลี่ยนมโนทัศนจากครั้งกอน ๆ ผลการวิจัย พบวา นักเรียนที่ไดรับการเรียนการสอนโดยใชเทคนิคแผนผังมโนทัศนมีโครงสรางทางความรู เ ร่ืองไฟฟาและ เครื่องอํานวยความสะดวก มีคะแนนเฉลี่ยของการเขียนของแผนผังมโนทัศนครั้งที่ 1 คร้ังที่ 2 และ 3 แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และยังพบวา มโนทัศนทางวิทยาศาสตรของนักเรียนกอนและหลังการสอนมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 วัฒนา วิชิตชาญ (2546 : บทคัดยอ, 13) ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอาน เพื่อความเขาใจภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่สอนดวยวิธีสอนแบบเทคนิค การสรางแผนที่ความคิดและวิธีสอนเพื่อการสื่อสาร โดยใชแผนผังความคิด 3 รูปแบบ คือแผนผังความคิดแบบพรรณนารายละเอียด (Thematic or descriptive) แผนผังความคิดลําดับเหตุการณ (Narrative sequential Mapping) แผนผังความคิดเปรียบเทียบความแตกตาง (Comparative and contrastive Mapping) ซึ่งมีขั้นตอนการจัดการเรียนรู 3 ขั้น ดังนี้ 1) ขั้นกอนการอาน (Pre–read) เปนการทบทวนความรูเดิมเพื่อเชื่อมโยงกับความรูใหม และสอนคําศัพทใหมโดยใชเทคนิคการสรางแผนที่ความคิด 2) ขั้นระหวางการอาน (While–reading) อานเรื่องที่กําหนดและอภิปรายเรื่องที่อานรวมกัน โดยการตอบคําถามเกี่ยวกับ ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร ฯลฯ แลวสรางรูปแบบแผนที่ความคิดรวมกันกับครู 3) ขั้นหลังการอาน (Post–reading) สรางแผนที่ความคิดของกลุม และนําเสนอหนาชั้นเรียน แกไขเพิ่มเติมและจดบันทึก จากนั้นทํากิจกรรมเสริมทักษะการอาน เชน ทําแบบฝกหัด ตอบคําถาม เกม เพลง บทบาทสมมุติ เปนตน ผลการวิจัย พบวา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการอานเพื่อความเขาใจภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ที่สอนดวยวิธีสอนแบบเทคนิคการสรางแผนที่ความคิด และวิธีสอนเพื่อการสื่อสารแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยนักเรียนที่สอนดวยวิธีสอนแบบเทคนิคการสรางแผนที่ความคิดมีผลสัมฤทธิ์ทางการอานเพื่อความเขาใจภาษาอังกฤษสูงกวานักเรียนที่สอนดวยวิธีสอนเพื่อการสื่อสาร 2) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนการสอนดวยวิธีสอนแบบเทคนิคการสราง แผนที่ความคิด ในดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียนไดมีสวนรวมในการทํากิจกรรมรวมกัน ไดชวยเหลือกัน ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันและกัน ทําใหเกิดปฏิสัมพันธกันมากที่สุด ในดานบรรยากาศการเรียนนักเรียนไดรับความสนุกสนานนาสนใจเกิดความพึงพอใจมากที่สุด น้ําผ้ึง บุญวิชัย (2547 : 137) ศึกษาและวิจัยเรื่องการพัฒนาชุดการเรียนรูโดยใชแผนผังมโนทัศน เร่ืองของชีวิตและชีวิตพืชสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชแผนผังมโนทัศน 4 ประเภท คือ แผนผังมโนทัศนแบบลําดับขั้นตอน แผนผังมโนทัศนแบบแมงมุม แผนผังมโนทัศนแบบวีไดอะแกรมและแผนผังมโนทัศนแบบกางปลา ซึ่งผลการทดลองใชชุดการเรียนรูโดยใช

Page 92: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

78

แผนผังมโนทัศนพบวา นักเรียนใหความรวมมือในการปฏิบัติกิจกรรม มีความตั้งใจในการเรียนรูและสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดบรรลุตามวัตถุประสงค มีความคิดสรางสรรคในการสรางแผนผังมโนทัศน สามารถนําความรูที่ไดจากการศึกษาคนความาสรุปเปนแผนผังมโนทัศไดอยางถูกตอง งานวิจัยตางประเทศ แอวเวอรแมน (Alverman 1982 : 754 – 758) ไดศึกษาผลการใชแผนผังสรุปโยงเรื่องเปนแบบฝกหัดชนิดเติมคํากับนักเรียนระดับ 10 จํานวน 30 คน แบงออกเปน 2 กลุม กลุมละ 15 คน กลุมแรกเรียนการอานดวยการใชแผนผังสรุปโยงเรื่อง กลุมที่สองเรียนโดยใชกิจกรรม การอานแบบธรรมดา ในขณะอานบทอาน ผูเรียนในกลุมแรกจะตองเติมขอความในแผนผังที่เวนไว จากนั้นก็จะมีการอภิปรายสรุปใจความสําคัญของเรื่องจากแผนผังสรุปโยงเร่ืองที่ทําเสร็จแลวเครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือแบบทดสอบเขียนถายทอดความจําเรื่องที่อาน ผลการวิจัย พบวา นักเรียนที่เรียนดวยแผนผังสรุปโยงเรื่องที่อาน สามารถจําความสําคัญของเรื่องที่อานไดถึงรอยละ 73 ในขณะที่กลุมที่เรียนดวยการอานแบบธรรมดาสามารถจําไดรอยละ 57 ผลการวิจัยสรุปวาแผนผังสรุปโยงเรื่องชวยใหนักเรียนสามารถจําใจความสําคัญของเรื่องที่อานไดดียิ่งขึ้น Williams (1998 : Abstract) ไดศึกษาผลของการใชยุทธวิธีแผนผังความคิด (Mind Mapping) ในการฝกอบรมเรื่องสิ่งแวดลอมแกผูใหญ โดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ระหวางการใชฝกโดยเขียนแผนผังความคิด (Mind Mapping) กับการฝกโดยวิธีธรรมดา ผลปรากฏวาผูฝกอบรมที่ใชกระบวนการฝกเขียนแผนผังความคิดมีผลสัมฤทธิ์สูงกวาการฝกโดยวิธีปกติ Pearsall และคณะ (1997 : Abstract) ไดศึกษาการปรับโครงสรางความรูของนักเรียนในวิชาชีววิทยา ที่เรียนวิชาเอกวิทยาศาสตร เพื่อตรวจสอบการเปลี่ยนมโนทัศนและการปรับโครงสรางความรูในหนึ่งภาคเรียน โดยกลุมตัวอยางจะสรางแผนผังความคิด 4 คร้ัง ตลอดทั้งเทอม แผนผังความคิดจะใชประเมินโครงสรางความรูของนักเรียน ผลการวิจัยพบวา นักเรียนมีการปรับโครงสรางความรู โดยมีการพอกโครงสราง (Accretion) และการปรับโครงสราง (Tuning) คิดเปนรอยละ 75 ของการเปลี่ยนโครงสรางทั้งหมด และมโนทัศนที่ลึกซึ้งและมโนทัศนที่สําคัญจะมี การเปลี่ยนแปลงในชวงของ 4 สัปดาหแรก ของการเรียนการสอน จอหนสัน (Johnson Martha Russell 1988, อางถึงใน วัฒนา วิชิตชาญ 2546 : 73) ไดทําการศึกษาผลการใชไดอะแกรมสรุปโยงเรื่องเปนแบบฝกหัด ชนิดเติมคําที่มีตอความเขาใจ ในการอาน โดยแบงกลุมตัวอยางออกเปน 3 กลุม กลุมแรกเรียนโดยการทําไดอะแกรมสรุปโยงเร่ืองดวยตนเองหลังการอาน กลุมที่สองเรียนโดยการเติมขอความลงในไดอะแกรมที่ครูสรางขึ้น กลุมที่สาม เรียนโดยการตอบคําถามหลังการอานเรื่อง เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย คือ แบบทดสอบ

Page 93: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

79

วัดความเขาใจในการอานและแบบทดสอบวัดความคงทนในการจํา ผลการวิจัยพบวา ความเขาใจในการอานของกลุมที่เรียนโดยการทําไดอะแกรมสรุปโยงเรื่องดวยตนเอง แตกตางจากกลุมที่เรียนดวยการตอบคําถามอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตไมพบความแตกตางระหวางทั้งสองกลุมที่เรียนโดยไดอะแกรมสรุปโยงเรื่อง และระหวางกลุมที่ใชไดอะแกรมสรุปเรื่องเปนแบฝกหัดชนิดเติมคํา กับกลุมที่เรียนโดยการตอบคําถาม

สรุป การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เกี่ยวกับ หลักการ จุดหมาย สาระและมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย การวัดและประเมินการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนวัดหนองพันเทา เกี่ยวกับ วิสัยทัศน เปาหมาย โครงสราง มาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ศึกษาจากเอกสารและอินเตอรเน็ทที่มีสาระเกี่ยวของกับทักษะการเขียน การเขียนสรุปความ และศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ การจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ภายในประเทศและตางประเทศ จึงสรุปไดวาการพัฒนาทักษะการเขียนสรุปความนั้นตองศึกษา ความหมายและประเภทของการเขียน ศึกษา การเขียนสรุปความ ในประเด็นที่ เกี่ยวกับ ความหมาย ความสําคัญ วิธีเขียนสรุปความ เกณฑการใหคะแนนการเขียนสรุปความ ศึกษาวิธีการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย การจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ตลอดจนความสําคัญและประโยชนของแผนผังความคิดรวมทั้งการใหคะแนนแผนผังความคิด ใหเขาใจอยางถองแทเพื่อเปนแนวทาง ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู และเพื่อใหการจัดกิจกรรมการเรียนรูเกิดประสิทธิภาพตอนักเรียนอยางสูงสุด เพื่อใหผูเรียนมีความรูความเขาใจในเนื้อหาสาระการเรียนรูภาษาไทยในเรื่องการเขียนสรุปความและสามารถนําเทคนิคแผนผังความคิดควบคูกับการเขียนสรุปความไปเปนเครื่องมือ ในการศึกษาเรียนรูในรายวิชาอ่ืนได

Page 94: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

บทท่ี 3

การดําเนินการวิจัย การวิจัย เรื่องการพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยมีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนในศูนยเครือขายสถานศึกษาตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 8 โรงเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 เปนหนวยวิเคราะห (Unit of Analysis ) ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลโดยนําเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แผนการจัดการเรียนรู แบบทดสอบและแบบสอบถามความคิดเห็น ที่ผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน นําไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไมใชกลุมทดลอง จํานวน 2 แผน แลวจึงนําไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดหนองพันเทา ศูนยเครือขายสถานศึกษาตําบลบอสุพรรณ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 จํานวน 30 คน ดวยการทดสอบกอนเรียนจากนั้นดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรู แลวจึงทดสอบหลังเรียน และสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนกลุมทดลองโดยใชแบบสอบถามความคิดเห็น ซ่ึงมีรายละเอียดและขั้นตอน การดําเนินการวิจัยดังนี้ ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้เปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนในศูนยเครือขายสถานศึกษาตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 8 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนบานหัววัง โรงเรียนบานหนองเฝา โรงเรียนบานหนองกระดี่ โรงเรียนบานดอนตําลึง โรงเรียนวัดหัวกลับ โรงเรียนวัดทับกระดาน โรงเรียนวัดเวฬุวัน โรงเรียนวัดหนองพันเทา ที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 จํานวน 207 คน

กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางในการวิจัยคร้ังนี้คือนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่6โรงเรียนวัดหนองพันเทา อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี ที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2

80

Page 95: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

81

ปการศึกษา 2548 จํานวน 30 คน ซ่ึงไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ทั้งนี้เพราะเปนกลุมตัวอยางที่ผูวิจัยสามารถ ดูแล ดําเนินการหรือจัดการไดเปนอยางดี 1. ตัวแปรที่ใชในการศึกษา ตัวแปรที่ใชในการวิจยัคร้ังนีไ้ดแก 1.1 ตัวแปรตน คือ วิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) 1.2 ตัวแปรตาม ประกอบดวย 1.2.1 ความสามารถในการเขยีนสรุปความ 1.2.2 ความสารถในการสรางแผนผังความคิด 1.2.3 ความคิดเหน็ทีม่ีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 2. ระยะเวลา ระยะเวลาในการทดลองครั้งนี้ผูวิจัยดําเนินการทดลองในเดือนกุมภาพันธ ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 โดยใชเวลา 4 สัปดาห สัปดาหละ 2 วัน วันละ 2 ช่ัวโมง รวม 16 ช่ัวโมง แบบแผนการทดลองของการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) แบบ One group Pre–test Post–test Design (Tuckman 1999 : 160)

O1 X O2

O1 หมายถึง คะแนนทดสอบกอนเรียน X หมายถึง การทดลองเรียนดวยการจดัการเรียนรูแบบแผนผังความคดิ O2 หมายถึง คะแนนทดสอบหลังเรียน เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย การวิจยัคร้ังนีผู้วิจัยไดกําหนดเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ดังนี ้ 1. แผนการจัดการเรียนรูเร่ืองการเขียนสรุปความดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 จํานวน 8 แผน แผนละ 2 ช่ัวโมง 1.1 การกําหนดเวลาการจัดการเรียนรูผูวิจัยพิจารณาจาก หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนวัดหนองพันเทา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย สาระการเขียน ซ่ึงกําหนดเวลาเรียนไว 50 ช่ัวโมง ใหนักเรียนตองเรียนในเรื่องตอไปนี้ การเขียนเรียงความ การเขียนยอความสรุปความ

Page 96: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

82

การเขียนปฏิบัติงาน การเขียนรายงาน การเขียนเร่ืองราวจากจินตนาการ การเขียนเร่ืองราวใหสัมพันธกับชีวิตจริง การเขียนเพื่อพัฒนางานเขียน การฝกมารยาทในการเขียนฝกนิสัยรักการเขียน จดขอมูลความรูประสบการณ การเขียนแผนภาพความคิด การเขียนรายงาน เขียนสื่อสาร การมีมารยาททางสังคม 1.2 การเลือกเรื่องสําหรับสรุปใจความสําคัญ ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับหนังสือสําหรับเด็กของ ฉวีวรรณ คูหาภินันท (2524 : 54 , 2545 : 45 – 49) ณรงค ทองปาน (2526 : 8) และ กรรณิการ พวงเกษม (2534 : 20) พบวา เด็กวัย 11 ป เด็กผูชายชอบอานหนังสือเกี่ยวกับเรื่องลึกลับ การคนควาประดิษฐ สวนเด็กผูหญิงชอบอานหนังสือประเภทชีวิตในบาน เชน การแตงกาย เส้ือผา นวนิยาย และทั้งเด็กผูหญิงและเด็กผูชายชอบเหมือนกันคือ วรรณคดี นิยายสําหรับเด็กงาย ๆ เทพบุตร ชาดก สุภาษิต คําพังเพยตาง ๆ และเรื่องตลก สวนเด็กวัย 12 ป เปนวัยที่เร่ิมเขาสูวัยรุนความสนใจในการอานกวางมากขึ้น ชอบเรื่องบุคคลสําคัญ เร่ืองโรงเรียน งานอดิเรก เร่ืองสัตว แมลงตาง ๆ วิทยาศาสตร เร่ืองทองถ่ิน เด็กผูชายสนใจวิทยาการที่อยูใกลตัว คณิตศาสตร การประดิษฐ การทดลอง เด็กผูหญิงสนใจนวนิยายรัก ทั้งเด็กหญิงและเด็กชายชอบแมลง เชน ผีเส้ือ เนื่องจากนักเรียนในกลุมตัวอยางมีอายุระหวาง 11-12 ป ผูวิจัยจึงเลือกเนื้อหาใหเหมาะสมกับวัยของนักเรียนโดยมีสาระดังนี้ บันเทิงคดี ไดแก นิทาน เร่ืองสั้น สารคดี ไดแก สารคดีเกี่ยวกับสุขภาพ ขาว บทรอยกรอง ไดแก กลอนสุภาพ และกลอนบทละคร 1.3 การเลือกรูปแบบของแผนผังความคิด ผูวิจัยคัดเลือกตามลักษณะเฉพาะของแผนผังใหสอดคลองกับเนื้อหาที่จะเรียน เชน ใชแผนผังจําแนกประเภทกับการจัดการเรียนรูเรื่องประเภทของแผนผังความคิด เพราะตองจําแนกประเภทของแผนผังความคิดใหชัดเจน ใชแผนผังรูปขั้นบันไดกับ การจัดการเรียนรูเร่ือง ขั้นตอนการเขียนสรุปความ เพราะมีเนื้อหาเปนลําดับขั้นตอน เปนตน

Page 97: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

83

ตารางที่ 3 ตารางกําหนดการจัดการเรยีนรู แผนการจัดการเรียนรูท่ี

สาระการเรียนรู

เวลา(ชั่วโมง)

การจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด

1 ประเภทของแผนผังความคิด

2 แผนผังความคดิ แบบจําแนกประเภท

2 ความหมายและขั้นตอนการเขียนสรุปความ

2 แผนผังความคดิ แบบขั้นบันได

3 4

สรุปความจากบันเทิงคด ี- นิทานสุภาษติ - เร่ืองสั้น

2 2

แผนผังความคดิแบบ ขั้นบันได

5

6

สรุปความจากสารคดี - สารคดีเกี่ยวกับสุขภาพ - ขาว

2

2

แผนผังความคดิแบบกางปลา แผนผังความคดิแบบ ขั้นบันได

7 8

บทรอยกรอง - กลอนสุภาพ - กลอนบทละคร จากวรรณคด ี

2 2

แผนผังความคดิ แบบขั้นบันได

1.4 การจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด ผูวิจัยไดศึกษา วิเคราะหและสังเคราะหขั้นตอนการสอนเอกสารและงานวิจัยตาง ๆ จนสามารถสรุปเปนขั้นตอนการสอนได ดังนี้ ขั้นนําเขาสูบทเรียน นําเขาสูบทเรียนดวยกจิกรรมที่เหมาะสมกบัเนื้อหา เชน การเลานิทาน การดูรูปภาพ การรองเพลง ทบทวนความรูเดมิ ฯลฯ ขั้นสอน 1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเร่ืองที่อานแลวเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับเรื่องที่อาน 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายอีกครั้งหนึ่งเพื่อเขียนชื่อเร่ืองหรือคําสําคัญในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกใชแผนผังความคิดแบบกางปลาใหเขียนผลที่เกิดขึ้น (เปนขั้นตอนที่นักเรียนเริ่มเขียนแผนผังความคิด)

Page 98: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

84

3. นักเรียนเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบคําสําคัญหรือช่ือเร่ืองในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกแผนผังแบบกางปลานิยมเขียนโครงรางเปนรูปหัวปลา 4. ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาใจความสําคัญของเรื่องที่อาน เชน ใคร ทําอะไร ที่ไหน ผลเปนอยางไร หรือสาเหตุคืออะไร 5. นักเรียนเขียนใจความสําคัญของเร่ืองและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบแลวโยงเสนจากคําสําคัญหรือชื่อเร่ืองมายังใจความสําคัญในกรณีที่เลือกใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกแผนผังความคิดแบบกางปลาใหเขียนสาเหตุลงในกางปลาจนครบทุกสาเหตุ 6. นกัเรียนเขียนใจความสนับสนุนและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ พรอมทั้งโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุนในกรณีที ่เลือกใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทและแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ถาเลือกแผนผังความคิดแบบกางปลาใหเขียนสาเหตุสนับสนุนลงในกางปลาจนครบ 7. นักเรียนชวยกันสรุปใจความสําคัญของเรื่องจากแผนผังความคิดแลวเขียนสรุปใจความสําคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่งดวยสํานวนภาษาของตนเอง ขั้นสรุป นักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญของเรื่องที่เขียนอีกครั้งหนึ่ง 2. แบบทดสอบกอนเรียน (Pre–test) และหลังเรียน (Post–test) วัดความสามารถในการเขียนสรุปความและสรางแผนผังความคิดจากเรื่องที่อาน เปนแบบทดสอบฉบับเดียวกัน แบงออกเปน 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 เปนแบบทดสอบแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 20 ขอ 20 คะแนน กําหนดใหคะแนน คือ ตอบถูกได 1 คะแนน ตอบผิดได 0 คะแนน ตอนที่ 2 เปนแบบทดสอบแบบอัตนัย วัดความสามารถในการเขียนสรุปความและการสรางแผนผังความคิด จํานวน 4 ขอ 40 คะแนน ดังนี้ ขอ 2.1 วัดความสามารถในการเขียนสรุปความจากเรื่องที่กําหนดใหนักเรียนอาน ในประเด็นตอไปนี้ การสรุปใจความสําคัญ 5 คะแนน การเขียนประโยคไดถูกตอง 3 คะแนน การสะกดคํา 2 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมด 10 คะแนน ขอ 2.2 วัดความสามารถการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันไดจากเรื่องที่กําหนดใหนักเรียนอานในประเด็นตอไปนี้ การจับใจความสําคัญ 4 คะแนน การลําดับความ 4 คะแนน การเขียนโครงราง 2 คะแนน รวมคะแนน 10 คะแนน

Page 99: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

85

ขอ 2.3 วัดความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทจากเรื่องที่กําหนดใหนักเรียนอานในประเด็นตอไปนี้ การจําแนกใจความสําคัญของเรื่อง 4 คะแนน การเขียนใจความสนับสนุน 4 คะแนน การเขียนโครงราง 2 คะแนน รวมทั้งหมดคะแนน 10 คะแนน ขอ 2.4 วัดความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลาจากเรื่องที่กําหนด ใหนักเรียนอานในประเด็นตอไปนี้ การกําหนดสาเหตุของผลหรือปญหา 5 คะแนน การเขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหา 5 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมด 10 คะแนน สําหรับการทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความผูวิจัยใชแบบทดสอบ ตอนที่ 1 เปนขอสอบแบบปรนัย จํานวน 20 ขอ 20 คะแนน และแบบทดสอบอัตนัย ตอนที่ 2 ขอ 2.1 จํานวน 10 คะแนน รวมคะแนนวัดความสามารถดานการเขียนสรุปความทั้งหมด 30 คะแนน การทดสอบวัดความสามารถในการสรางแผนผังความคิดผูวิจัยใชแบบทดสอบตอนที่ 2 เปนขอสอบแบบอัตนัย ขอ 2.2, 2.3 และ 2.4 จํานวน 3 ขอ รวมคะแนนวัดความสามารถดาน การสรางแผนผังความคิดทั้งหมด 30 คะแนน ตารางที่ 4 ตารางวิเคราะหแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความ

ประเภทของขอสอบ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง จํานวน (ขอ) 1. แบบปรนัยจํานวน 20 ขอ - วัความสามารถในการเขียน สรุปความ

1. สามารถสรุปความจากงานเขียน ประเภทบนัเทิงคดีได 2. สามารถสรุปความจากงานเขียน ประเภทสารคดีได 3. สามารถสรุปความจากงานเขียน ประเภทบทรอยกรอง

7

7

6

2. แบบอัตนัย จํานวน 4 ขอ 2.1 วัดความสามารถในการเขียน สรุปความ(10 คะแนน) 2.2 วัดความสามารถในการสราง แผนผังความคิด (10 คะแนน) 2.3 วัดความสามารถในการสราง แผนผังความคิด (10 คะแนน) 2.4 วัดความสามารถในการสราง แผนผังความคิด (10 คะแนน)

1. สามารถเขียนสรุปความจากเรื่องที่ อานได 2 สามารถสรางแผนผังความคิดแบบ ขั้นบันไดได 3 สามารถสรางแผนผังความคิดแบบ จําแนกประเภทได 2 สามารถสรางแผนผังความคิดแบบ กางปลาได

1

1

1

1

Page 100: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

86

หลังจากการทดสอบความสามารถในการเขียนสรุปความและความสามารถในการสรางแผนผังความคิด ผูวิจัยใชแบบประเมินเพื่อประเมินความสามารถดังกลาว ดังนี้ 1. แบบประเมินความสามารถการเขียนสรุปความกอนและหลังเรียน ผูวิจัยศึกษา และพัฒนาเกณฑประเมินความสามารถการเขียนสรุปความของ ขนิษฐา แสงภักดี (2540 : 35) สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย (2544 : 10 – 11) ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

แบบประเมินความสามารถในการเขยีนสรุปความ คําชี้แจง : ใหผูประเมนิขีดเครื่องหมาย แสดงความคิดเห็นที่มีตอการเขียนสรปุความของ นักเรียนประเด็นดังตอไปนี ้ ตารางที่ 5 แบบประเมินความสามารถในการเขยีนสรุปความ

การสรุป เนื้อเร่ือง

เขียนประโยคไดถูกตอง

การสะกดคํา รวม

เลข ท่ี

ชื่อ - สกุล

5 4 3 2 1 3 2 1 2 1 10

Page 101: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

87

ตารางที่ 6 เกณฑการประเมินความสามารถการเขียนสรุปความของนักเรียน

คําอธิบายคะแนน องคประกอบท่ีประเมิน 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

การสรุปใจความสําคัญ (5 คะแนน)

เขียนเนื้อหาสําคัญของเร่ืองไดใจความสมบูรณดวยสํานวนภาษาของตนเอง

เขียนเนื้อหาสําคัญของเรื่องไดใจความสมบูรณโดยใชสํานวนภาษาเดิมของเรื่องที่อาน

เขียนเนื้อหาสําคัญของเรื่องไดสามในสี่สวนโดยใชสํานวนภาษาเดิมของเรื่อง ที่อาน

เขียนเนื้อหาสําคัญของเร่ืองไดสองในส่ีสวนโดยใชสํานวนภาษาเดิมของเรื่อง ที่อาน

เขียนเนื้อหาสําคัญไดบางโดยคัดลอกจากขอความเดิมของเรื่องที่อาน

เขียนประโยค ไดถูกตอง (3 คะแนน)

เขียนประโยคถูกตองตามหลักไวยากรณทุกประโยค

เขียนประโยค ผิดหลักไวยากรณ 1 ประโยค

เขียนประโยค ผิดหลักไวยากรณ มากกวา 2 ประโยคขึ้นไป

การสะกดคํา (2 คะแนน)

-

เขียนสะกดคําและวางวรรณยกุตถูกตองตามหลักไวยากรณ ทุกคํา

เขียนสะกดคําและวางวรรณยกุตผิดหลักไวยากรณมากกวา 1 คํา

กําหนดเกณฑการประเมิน 8 – 10 คะแนน อยูในระดับดมีาก 7 คะแนน อยูในระดับด ี 6 คะแนน อยูในระดับพอใช 5 คะแนน อยูในระดับตองปรับปรุง

Page 102: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

88

2. แบบประเมินความสามารถการสรางแผนผังความคิด ผูวิจัยศึกษาและพัฒนาวิธีการสรางแบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิดตามหลักเกณฑของ บอลท (Bolte 1999 : 30) ซ่ึงเสนอเกณฑการใหคะแนนแบบองครวม (Holistic Scoring Criteria) ไววา แตละแผนผังความคิดใหคะแนน 10 คะแนน โดยใหคะแนนการจัดแผนผังความคิด (Organization) 6 คะแนน และความถูกตอง (Accurace) 4 คะแนน เกณฑการใหคะแนนของ โนแวค (Novak 1984 : 37, อางถึงใน ละออ อางนานนท (2542 : 35) สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) การประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) โดยใชหลักเกณฑของรูบริคส (Rubrics) สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน (2544 : 137) เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได (Time ladder map) คําชี้แจง : ใหผูประเมนิขีดเครื่องหมาย แสดงความคิดเห็นที่มีตอการสรางแผนผังความคิด ของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี ้ ตารางที่ 7 แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได

การจับใจความสําคัญ การลําดับความ การเขียน โครงราง

เลข ท่ี

ชื่อ - สกุล

4 3 2 1 4 3 2 1 2 1

รวม 10

Page 103: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

89

ตารางที่ 8 เกณฑประเมินความสามารถการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได

คําอธิบายคะแนน องคประกอบท่ีประเมิน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

การจับใจความสําคัญ (4 คะแนน)

สรุปใจความสําคัญของเรื่องครบทุกประเดน็

สรุปใจความสําคัญของเรื่องขาดไป 1 ประเด็น

สรุปใจความสําคัญของเรื่องขาดไป 2 ประเด็น

สรุปใจความสําคัญของเรื่องขาดไป 3 ประเด็น

การลําดับความ (4 คะแนน)

เรียงลําดับ เนื้อหาถูกตองจากลําดับแรกถึงลําดับสุดทาย

เรียงลําดับเนื้อหาสลับที่ 2 ตําแหนง

เรียงลําดับเนื้อหา สลับที่ 4 ตําแหนง

ลําดับเนื้อหา สลับที่ 6 ตําแหนง

การเขียน โครงราง (2 คะแนน)

-

เขียนโครงรางลอมรอบขอความ โดยใชรูปทรง ที่หลากหลาย

เขียนโครงรางลอมรอบขอความดวยรูปทรงซ้ํา ๆ

กําหนดเกณฑการประเมิน 8 – 10 คะแนน อยูในระดับดมีาก 7 คะแนน อยูในระดับด ี 6 คะแนน อยูในระดับพอใช 5 คะแนน อยูในระดับตองปรับปรุง

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท คําชี้แจง : ใหผูประเมนิขีดเครื่องหมาย แสดงความคิดเห็นที่มีตอการสรางแผนผังความคิด ของ นักเรียนตามประเด็นดงัตอไปนี ้ ตารางที่ 9 แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท

การจําแนกใจความสําคญัของเนื้อเร่ือง

การเขียนใจความสนับสนุน

การเขียนโครงราง

รวม

เลข ท่ี

ชื่อ - สกุล 4 3 2 1 4 3 2 1 2 1 10

Page 104: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

90

ตารางที่ 10 เกณฑประเมนิความสามารถการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท (Classification Map)

คําอธิบายคะแนน องคประกอบท่ีประเมิน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

การจําแนกใจความสําคัญของเนื้อเร่ือง (4 คะแนน)

จําแนกใจความสําคัญของเนื้อเร่ืองถูกตองครบทุกประเดน็

จําแนกใจความสําคัญของเนื้อเร่ืองขาดไป 1 ประเด็น

จําแนกใจความสําคัญของเนื้อเร่ือง ขาดไป 2 ประเด็น

จําแนกใจความสําคัญของเนื้อเร่ือง ขาดไป มากกวา 2 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุน (4 คะแนน)

เขียนใจความสนับสนุนใจ ความสําคัญถูกตองครบทุกประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนใจความสําคัญ ไมถูกตอง 1 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนใจความสําคัญไมถูกตอง 2 – 3 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนใจความสําคัญไมถูกตองมากกวา 3 ประเด็น

การเขียน โครงราง (2 คะแนน)

-

เขียนโครงรางลอมรอบขอความ โดยใชรูปทรงที่หลากหลาย

เขียนโครงรางลอมรอบขอความดวยรูปทรงซ้ําๆ

กําหนดเกณฑการประเมิน 8 – 10 คะแนน อยูในระดับดมีาก 7 คะแนน อยูในระดับด ี 6 คะแนน อยูในระดับพอใช 5 คะแนน อยูในระดับตองปรับปรุง

Page 105: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

91

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา คําชี้แจง : ใหผูประเมนิขีดเครื่องหมาย แสดงความคิดเห็นที่มีตอการสรางแผนผังความคิด ของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี ้ตารางที่ 11 แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา

การกําหนดสาเหตุของผลหรือปญหา

การเขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหา

รวม เลข

ท่ี

ชื่อ - สกุล 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 10

ตารางที่ 12 เกณฑประเมนิความสามารถการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา

คําอธิบายคะแนน องคประกอบ ท่ีประเมิน 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

การกําหนดสาเหตุของผลหรือปญหา (5 คะแนน)

กําหนดสาเหตุของผลหรือปญหาของเร่ืองไดถูกตองครบทุกประเดน็

กําหนดสาเหตุของผลหรือปญหาของเร่ืองขาด 1 ประเด็น

กําหนดสาเหตุของผลหรือปญหาของเรื่องขาด 2 ประเดน็

กําหนดสาเหตุของผลหรือปญหาของเร่ืองขาด 3 ประเด็น

กําหนดสาเหตุของผลหรือปญหาของเร่ืองขาดมากกวา 3 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหา (5 คะแนน)

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหาถูกตองทุกประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหาไมถูกตอง 1 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหาไมถูกตอง 2 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหาไมถูกตอง 3 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผล หรือปญหาไมถูกตองมากกวา 3 ประเด็น

กําหนดเกณฑการประเมิน 8 – 10 คะแนน อยูในระดับดมีาก 7 คะแนน อยูในระดับด ี 6 คะแนน อยูในระดับพอใช 5 คะแนน อยูในระดับตองปรับปรุง

Page 106: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

92

4. แบบสอบถามความคิดเหน็ทีม่ีตอวิธีจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) เปนแบบสอบถามแบบปลายเปด (Open Form) จํานวน 1 ฉบับ แบงออกเปน 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 นักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงความคิดเห็นในประเด็นตอไปนี้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู บรรยากาศในการเรียนรู ประโยชนที่ไดรับ ตอนท่ี 2 นักเรียนเขียนพรรณนาความคิดเห็นตามแผนผังความคิดในตอนที่ 1 ประกอบดวย 1) ใหเขียนพรรณนาความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู 2) ใหเขียนพรรณนาความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรยากาศในการเรียน 3) ใหเขียนพรรณนาความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนที่ไดรับ การสรางและหาคุณภาพของเครื่องมือการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนเครื่องมือท่ีผูวิจัยสรางขึ้น ซ่ึงมีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบเครื่องมือ ดังนี้ 1. การสรางแผนการจัดการเรียนรูเรื่องการเขียนสรุปความดวยการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิดมีขั้นตอนการสราง ดังนี้ 1.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยในดานมาตรฐานการเรียนรู คําอธิบายรายวิชา ผลการเรียนรูที่คาดหวัง สาระการเรียนรูเร่ืองการเขียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 1.2 ศึกษาแนวความคิด ทฤษฏี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ซ่ึงในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดเลือกรูปแบบแผนภูมิความหมาย ของ แมเรียน บี ชมิดท (Marion B. Schmidt 1986 : 82 – 84) สินาทรา และคณะ (Sinatra et al 1986, อางถึงใน พิพัฒน งอกเสมอ 2539 : 47) ณัฐวุฒิ กิจรุงเรือง และคณะ (2545 : 36 – 47) จํานวน 3 รูปแบบ คือ แผนผังแบบขั้นบันได แผนผังจําแนกประเภทและแผนผังแบบกางปลา โดยเลือกใชใหเหมาะสมกับเนื้อหาที่นักเรียนอาน 1.3 จัดทําโครงการสอนเรื่องการเขียนสรุปความ 1.4 เขียนแผนการจัดการเรียนรูเร่ืองการเขียนสรุปความดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ใชเวลาทั้งส้ิน 8 คาบ 1.5 นําแผนการจัดการเรียนรูที่เขียนขึ้นเสนอตอคณะกรรมการผูควบคุมวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญดานภาษาไทยและวิธีสอนจํานวน 3 ทาน เพื่อตรวจสอบความความสอดคลองของแผนการสอนในดาน เวลา เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือ การวัดผลประเมินผล แลววิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence : IOC) โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

Page 107: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

93

ใหคะแนนเทากับ +1 เมื่อแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูนั้นมีความสอดคลอง ใหคะแนนเทากับ 0 เมื่อไมแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูนั้น มีความสอดคลองหรือไม ใหคะแนนเทากับ -1 เมื่อแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูนั้นไมมี ความสอดคลอง คาดัชนีความสอดคลองตั้งแต 0.5 ขึ้นไปถือวามีความสอดคลองกันในเกณฑที่ยอมรับได IOC = N

R∑ IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคลองของแผนการสอนที่สรางขึ้น ∑R หมายถึง ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ N หมายถึง จํานวนผูเชี่ยวชาญ แผนการจัดการเรียนรูมีคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ระหวาง 0.97 – 1.00 (ดังภาคผนวก ง หนา 242) 1.6 ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทาน ตามประเด็น ดังนี้ 1.6.1 ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูที่ 1 สวนที่เปนสาระการเรียนรู เร่ืองประเภทของงานเขียนเปนประเภทของแผนผังความคิด 1.6.2 ปรับปรุงรูปแบบของใบงานและใบความรูในทุก ๆ แผนการจัดการเรียนรูใหมีลักษณะสวยงาม นาสนใจ เหมาะสมกับวัยของผูเรียน โดยใสกลองขอความในขอความตาง ๆ ใสรูปภาพใหเหมาะสมกับเนื้อเร่ือง 1.6.3 ปรับปรุงบันทึกหลังการสอนทุก ๆ แผนการจัดการเรียนรู โดยเพิ่มเติมขอเสนอแนะของผูบริหาร 1.7 นําแผนการจัดการเรียนรูที่ไดรับการปรับปรุงแลวไปทดลองใชกับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานหัววัง ซ่ึงมีสภาพการจัดการเรียนการรูตลอดจนคุณลักษณะของผูเรียนใกลเคียงกับกลุมตัวอยางจํานวน 30 คน หลังจากการทดลองใช พบวา นักเรียนอานขอความที่กําหนดใหไมเขาใจ จึงกําหนดใหนักเรียนอานขอความไดมากกวา 1 จบ 1.8 นําแผนการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ไปใชเปนเครื่องมือในการวิจัย (ดังรายละเอียด แผนภูมิที่ 26)

Page 108: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

94

สรุปขั้นตอนการสรางแผนการจัดการเรียนรูที่จัดการเรียนรูแบบแผนผงัความคิด ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 6 ขั้นที่ 7 ขั้นที่ 8 แผนภูมิที ่27 ขั้นตอนการสรางแผนการจดัการเรียนรูเร่ืองการเขียนสรุปความดวยการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด (Mind Mapping)

ศึกษาหลักสูตร ดานมาตรฐานการเรียนรู คาํอธิบายรายวชิา ผลการเรียนรู ที่คาดหวัง สาระการเรียนรูเรื่องการเขียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารงานวิจยัที่เกีย่วของกับการจดัการเรียนรู แบบแผนผังความคิด (Mind Mapping)

จัดทําโครงการสอนเรื่องการเขียนสรุปความ

ปรับปรุงแผนการจัดการเรยีนรูตามคําแนะนําของอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญ

นําแผนการจดัการเรียนรูเสนอตออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความสอดคลองดานเนื้อหา กิจกรรม ส่ือ การวัดและประเมินผล

เขียนแผนการจัดการเรียนรูเรื่องการเขียนสรุปความที่ใชวิธีการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด (Mind Mapping)

นําแผนการจดัการเรียนรูเร่ืองการเขียนสรปุความที่ใชวิธีการจัดการเรยีนรู แบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ไปใชเปนเครื่องมอืการวิจยั

นําแผนการจดัการเรียนรูไปใชกับกลุมนักเรยีนที่ไมใชกลุมตัวอยาง เพื่อหาขอผิดพลาดและขอบกพรองและปรบัปรุงแกไข

Page 109: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

95

2. แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความและสรางแผนผังความคิดจากเร่ืองที่อานผูวิจัยดําเนินการสราง ดังนี้ 2.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยเกี่ยวกับคําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 2.2 ศึกษาหลักและวิธีการสรางแบบทดสอบวดัความสามารถในการเขียนสรุปความจากเอกสารหลักสูตรและงานวิจยัที่เกีย่วของ 2.3 สรางแบบทดสอบความวัดสามารถในการเขียนสรุปความที่ครอบคลุม จุดประสงค เนื้อหา 2.4 นําแบบทดสอบวัดความสามารถที่สรางขึ้นใหอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงดานเนื้อหา (Content Validity) และนําตารางวิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence : IOC ) ของผูเชี่ยวชาญ มาคํานวณคาดัชนีความสอดคลองแลวเลือกขอสอบที่มี คาดัชนีความสอดคลองตั้งแต 0.05 ขึ้นไปถือวามีความสอดคลองกันในเกณฑที่ยอมรับได โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ +1 หมายถึง แนใจวาขอสอบวัดตรงกับจดุประสงคขอนั้น 0 หมายถึง ไมแนใจวาขอสอบวัดตรงกบัจุดประสงคขอนั้น -1 หมายถึง แนใจวาขอสอบวัดไมตรงกบัจุดประสงคขอนั้น แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความที่ผูวิจัยสรางขึ้น มีคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ระหวาง 0.67 – 1.00 (ดังภาคผนวก ง หนา 250 ) 2.5 นําแบบทดสอบวัดความสามารถที่อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทาน ตรวจสอบแลวมาปรับปรุงแกไข ดังนี้ 2.5.1 ปรับปรุงขอความที่นํามาเปนขอคําถามใบแบบทดสอบ โดยบอกแหลงที่มาของขอความทุกขอความใหชัดเจน 2.5.2 ปรับปรุงคําตอบของขอคําถามในแตละขอ โดยจัดเรียงคําตอบที่มีเนื้อหาสั้นไปหาคําตอบที่มีเนื้อหายาว จากนั้นจึงนําแบบทดสอบไปทดลองใช (Try Out) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนบานหัววัง จํานวน 30 คน ที่ศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 พบวา นักเรียนทําขอสอบไมเสร็จในเวลาที่กําหนด จึงปรับปรับเวลาในการทําแบบทดสอบใหมากขึ้น

Page 110: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

96

2.6 นําผลการทดลองมาวิเคราะหรายขอ เพื่อหาคุณภาพของขอสอบ ดังนี ้ 2.6.1 ขอสอบปรนัย 2.6.1.1 การตรวจสอบคาความยากงาย คือ สัดสวนระหวางจํานวนผูตอบถูกในแตละขอตอจํานวนผูเขาสอบทั้งหมด โดยใชเกณฑความยากงายระหวาง 0.20 – 0.80 (พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 129) แตเนื่องจากขอสอบมีจํานวนเกิน 20 ขอ ผูวิจัยจึงเลือกขอสอบโดยใชเกณฑ ดังนี้ 1) มีจํานวนขอสอบในแตละจุดประสงคใกลเคียงกันและกระจายใหครบทุกจุดประสงคใกลเคียงกันใหครบทุกจุดประสงค 2) มีความยากงาย (P) ระหวาง 0.20 – 0.80 (ดังภาคผนวก ง หนา 255) 2.6.1.2 การตรวจสอบหาคาอํานาจจําแนก (Discrimination) คือการตรวจสอบวาขอสอบสามารถจําแนกนักเรียนเกงและนักเรียนออนไดเพียงใด โดยใชเกณฑคาอํานาจจําแนกตั้งแต 0.20 ขึ้นไป(พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 130) แตเนื่องจากขอสอบมีจํานวนเกิน 20 ขอ ผูวิจัยจึงเลือกขอสอบโดยใชเกณฑ ดังนี้ 1) มีจํานวนขอสอบในแตละจุดประสงคใกลเคียงกันและกระจายใหครบทุกจุดประสงคใกลเคียงกันใหครบทุกจุดประสงค 2) มีอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต 0.20 – 0.27 (ดังภาคผนวก ง หนา 256) 2.6.1.3 การตรวจสอบหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) คือการตรวจสอบผลการวัดที่สม่ําเสมอและคงที่ โดยผูวิจัยเลือกขอสอบที่ผานเกณฑได 20 ขอ นํามาหาคาความเชื่อมั่น โดยใชวิธีการของ คูเดอร ริชารดสัน (Kuder Richardson, อางถึงใน พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 123) ดวยสูตร KR 20 ไดคาความเชื่อมั่น 0.80 (ดังภาคผนวก ง หนา 256) 2.6.2 ขอสอบอัตนัย การตรวจสอบหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) คือการตรวจสอบผลการวัดที่สม่ําเสมอและคงที่ โดยใชสูตร Alpha efficient ของ Cronbach (พวงรัตน ทวีรัตน 2543 : 125 – 126) โดยกําหนดความเชื่อมั่น 0.80 ไดคาความเชื่อมั่น 0.80 (ดังภาคผนวก ง หนา 258) 2.7 นําแบบทดสอบที่สรางขึ้นไปใชเปนเครื่องมือในการวิจัย โดยทดสอบความสามารถในการเขียนสรุปความ และความสามารถในการสรางแผนผังความคิด กอนและหลังการจัดการเรียนรู (ดังรายละเอียด แผนภูมิที่ 28)

Page 111: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

97

สรุปขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 6 ขั้นที่ 7 แผนภูมิที่ 28 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความ

ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยเกีย่วกับคําอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

ศึกษาหลักและวิธีการสรางแบบทดสอบวดัความสามารถในการเขียนสรุปความ จากเอกสารหลักสูตรและงานวิจยัที่เกีย่วของ

นําแบบทดสอบไปใชเปนเครื่องมือในการวิจัย

นําแบบทดสอบวัดความสามารถที่สรางขึ้นใหอาจารยผูควบคุมวิทยานพินธและผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงดานเนื้อหา (Content Validity)

สรางแบบทดสอบความวัดสามารถในการเขียนสรุปความที่ครอบคลุม จุดประสงค เนื้อหา

นําผลการทดลองมาวิเคราะหรายขอ เพื่อหาคุณภาพของขอสอบ การตรวจสอบ คาความยากงาย การตรวจสอบหาคาอํานาจจําแนก (Discrimination)

การตรวจสอบหาคาความเชือ่มั่น (Reliability)

นําแบบทดสอบวัดความสามารถที่อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญ ทั้ง 3 ทาน ตรวจสอบแลวมาปรับปรุงแกไข และทดลองใช (Try Out)

กับนักเรยีนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดหัววัง

Page 112: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

98

3. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) ผูวิจัยดําเนินการดังนี้ 3.1 ศึกษาหลักการ เทคนิค งานวิจัยและเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสรางแบบสอบถามความคิดเห็น 3.2 สรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) เปนแบบสอบถามแบบปลายเปด (Open From) จํานวน 1 ฉบับ 3.3 นําแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่สรางขึ้นไปใหอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธและผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน ตรวจสอบหาความเที่ยงตรงดานเนื้อหา (Content Validity) และนําตารางวิเคราะหคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ของผูเชี่ยวชาญมาคํานวณคาดัชนีความสอดคลองกําหนดคาตั้งแต 0.50 ขึ้นไปถือวา มีความสอดคลองกันในเกณฑที่ยอมรับได ไดคาดัชนีความสอดคลอง ระหวาง 0.67 – 1.00 (ดังภาคผนวก ง หนา 252) 3.4 ปรับปรุงแกไขแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด ตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ คือปรับปรุงแบบสอบถาม ตอนที่ 1 โดยเพิ่มเติมโครงรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทเพื่อใหนักเรียนเติมขอความ 3.5 นําแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดไปใชเปนเครื่องมือในการวิจัย (ดังรายละเอียด แผนภูมิที่ 29)

Page 113: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

99

สรุปขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็น ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 ขั้นที่ 5 แผนภูมิที ่29 ขั้นตอนการสรางแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด (Mind Mapping)

ศึกษาหลักการ เทคนิค งานวิจัยและเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ การสรางแบบสอบถามความคิดเห็น

สรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนกัเรยีนที่มีตอการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด

เสนอแบบสอบถามที่สรางเสร็จแลวตออาจารยผูควบคุมวิทยานพินธและผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน ตรวจสอบความถูกตอง

ปรับปรุงแกไขแบบสอบถามความคิดเหน็ของนักเรียนทีม่ีตอ การจัดการเรยีนรูแบบแผนผงัความคิด ตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ

นําแบบสอบถามความคิดเหน็ของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด ไปใชเปนเครื่องมือในการวจิัย

Page 114: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

100

การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองโดยดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรไปถึงผูบริหารสถานศึกษา โรงเรียนวัดหัววังเพื่อขอความอนุเคราะหในการทดลองใชเครื่องมือ 2. ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง ในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2549 กับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดหนองพันเทา โดยดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1 ผูวิจัยปฐมนิเทศนักเรียนกลุมตัวอยางเพื่อทําความเขาใจถึงวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด จุดประสงคในการเรียนและวิธีการประเมินผลการเรียนรู 2.2 ทดสอบกอนเรียน (Pre-test) ดวยแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความและเก็บคะแนนที่ไดจากการทดสอบกอนเรียน 2.3 ดําเนินการจัดการเรียนรูตามแผนการจัดการเรียนรู จํานวน 8 แผน แผนละ 2 ช่ัวโมง สัปดาหละ 2 ครั้ง รวม 4 สัปดาห ระหวางวันที่ 1 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2549 ดังตารางที่ 13 ตารางที่ 13 การดําเนินการจัดการเรียนรู แผนการจัดการ

เรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน สื่อการเรียนรู

1 ใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท 2, 3, 4, 6, 7, 8 ใชแผนผังแบบขั้นบันได

ขั้นนํา - ครูจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับเนื้อหา เชน เลนเกม เลานิทานทบทวนความรูเดิม ขั้นสอน - ครูแจกใบความรู ใบงาน - ครูอภิปรายรวมกับนักเรียนเพื่อเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับเร่ืองที่อาน - ครูอภิปรายรวมกับนักเรียนเพื่อใหนักเรยีนเขียนชื่อเร่ืองหรือ

- ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ครูจัด -นักเรยีนอานใบความรู - นักเรยีนรวมกันอภิปรายเนือ้เร่ืองและเลือกชนดิของแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับเนื้อหา - นักเรยีนอภปิรายรวมกนัและเขียนชื่อเร่ืองหรือคําสําคัญลงใน

เกม นิทาน ฯลฯ ใบความรู ใบงาน ใบงาน

Page 115: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

101

ตารางที่ 13 (ตอ) แผนการจัดการ

เรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน สื่อการเรียนรู

คําสําคัญ - ครูใชคําถามกระตุนเพื่อใหนักเรยีนหา ใจความสําคัญ - ครูคอยใหคําแนะนํา ขั้นสรุป - ครูคอยใหคําแนะนําและสรุปเพิ่มเติม

ลงในใบงานจากนั้นจึงเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบคําสําคัญหรือช่ือเร่ืองนั้น - นักเรยีนหาใจความสําคัญและเขียนลงในกระดาษ จากนัน้จึงเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบใจความสําคัญแลวโยงเสนจากคําสําคัญหรือช่ือเร่ืองมายังใจความสําคัญ - เปดโอกาสใหนักเรยีนเขยีน ใจความสนับสนุนดวยตนเองและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบใจความสนับสนุนแลวโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุน - นักเรยีนชวยกันสรุปใจความสําคัญของเรื่องตามแผนผังความคิดแลวเขียนสรุปความ -นักเรยีนชวยกันสรุปสาระสําคัญอีกครั้งหนึ่ง

Page 116: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

102

ตารางที่ 13 (ตอ) แผนการจัดการ

เรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน สื่อการเรียนรู

5 ใชแผนผังแบบ

กางปลา

ขั้นนํา - ครูจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับเนื้อหา เชน เลนเกม เลานิทาน ทบทวนความรูเดิม ฯลฯ ขั้นสอน - ครูแจกใบความรู ใบงาน - ครูอภิปรายรวมกับนักเรียนเพื่อเลือกแผนผังความคดิใหเหมาะสมกับเรื่อง - ครูอภิปรายรวมกับนักเรียนเพื่อใหนักเรยีนเขียน ผลที่เกิดขึ้น - ครูใชคําถามกระตุนเพื่อใหนักเรยีนหาสาเหตุที่กอใหผล - ครูคอยใหคําแนะนําเพิ่มเติม ขั้นสรุป ครูคอยใหคําแนะนําและสรุปเพิ่มเติม

- ปฏิบัติกิจกรรมตามที่ครูจัด -นักเรยีนอานใบความรู - นักเรยีนรวมกันอภิปรายเนือ้เร่ืองเพื่อเลือกชนิดของแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับเรื่องที่อาน - นักเรยีนอภปิรายรวมกนัและเขียนผลที่เกิดขึ้นลงในใบงานแลวเขียนโครงรางรูปหัวปลาลอมรอบผล - นักเรยีนหาสาเหตุที่เกดิขึ้นแลวเขียนลงในกางปลา - เปดโอกาสใหนักเรยีนไดเขียนสาเหตุสนับสนุนลงในกางปลาจนครบ -นักเรยีนชวยกันสรุปใจความสําคัญของเรื่องตามแผนผังความคิดแลวเขียนสรุปความ -นักเรยีนชวยกันสรุปสาระสําคัญอีกครั้งหนึ่ง

เกม นิทาน ฯลฯ ใบความรู ใบงาน ใบความรู ใบงาน

Page 117: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

103

2.4 ขั้นสรุป สรุปผลจากการเรียนรูในแตละเรื่องที่ไดเรียน และสรุปผลการเรียนรูในภาพรวมทั้งหมดทุกเรื่องที่จัดการเรียนรู 2.5 ทดสอบหลังเรียน (Post–test) ดวยแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความ และวัดความสามารถในการสรางแผนผังความคิด การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยวิเคราะหขอมูลโดยสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคร้ังนี้ ประกอบดวย 1. วิเคราะหความสามารถในการเขียนสรุปความและความสามารถในการเขียนแผนผังความคิด ไดแก คะแนนเฉลี่ย ( X ) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบคาที (t–test) แบบ dependent 2. วิเคราะหความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนกอนและหลังเรียนโดยใชคะแนนเฉลี่ย ( X ) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3. วิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด โดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ตารางที่ 14 สรุปการดําเนินการวิจัย

วัตถุประสงค วิธีการดําเนินการวิจัย กลุมตัวอยาง เคร่ืองมือ/การวิเคราะหขอมูล

1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 กอนและหลังวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคดิ

ทดสอบวัด ความสามารถในการเขียนสรุปความ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดหนองพันเทา จํานวน 30 คน

1. แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความกอนและหลังเรียน ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 ขอ 2.1 วิเคราะหขอมูลโดย คาเฉลี่ย ( X ), คาสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน(S.D.), การทดสอบคาที (t–test) แบบ dependent

Page 118: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

104

ตารางที่ 14 (ตอ)

วัตถุประสงค วิธีการดําเนินการวิจัย กลุมตัวอยาง เคร่ืองมือ/การวิเคราะหขอมูล

2. เพื่อศึกษาความสามารถในการสรางแผนผังความคิด 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนกัเรียนที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด

ทดสอบวัดความสามารถในการสรางแผนผังความคิด สอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการจัดการเรยีนรูแบบแผนผังความคดิ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดหนองพันเทาจํานวน 30 คน นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียน วัดหนองพันเทา จํานวน 30 คน

แบบทดสอบวดัความสามารถ ในการเขยีนสรุปความกอนและหลังเรียน ตอนที่ 2 ขอ 2.2, 2.3 และ 2.4 วิเคราะหขอมูลโดย คาเฉลี่ย ( X ), คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3. แบบสอบถาม ความคิดเหน็ของนักเรียน วิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

Page 119: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

บทท่ี 4

การวิเคราะหขอมูล การวิจัยคร้ังนี้ เปนการศึกษาผลการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยดานการเขียนสรุปความจากเรื่องที่อาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) เพื่อเปนการตอบวัตถุประสงคและขอคําถามในการวิจัย ผูวิจัยจึงขอเสนอผลการวิเคราะหขอมูล โดยแบงเปน 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ความสามารถของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ืองการเขียนสรุปความกอนและหลังการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด ตอนที่ 2 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยเรื่องการเขียนสรุปความ ตอนที่ 3 ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด ตอนที ่1 ความสามารถของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ในการเขียนสรุปความกอนและหลังการจัดการเรียนรูแบบแผนผงัความคิด การวิเคราะหเพื่อตอบคําถามของการวิจัยขอที่ 1 ผลการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยดานการเขียนสรุปความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด กอนและหลังการจัดการเรียนรูแตกตางกันหรือไม (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก จ หนา 263) ดังนี้

105

Page 120: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

106

ตารางที่ 15 เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสรุปความกอนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด การทดลอง N คะแนนเต็ม X S.D. t-test Sig

กอนเรียน 30 30 13.53 1.66 หลังเรียน 30 30 26.47 1.36

29.80 .000

จากตารางที่ 15 พบวา คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการเขียนสรุปความ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ดวยการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด กอนและหลังการจัดการเรียนรูแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซ่ึงยอมรับสมมติฐานการวิจัยขอท่ี 1 ที่กําหนดไวโดยคะแนนหลังเรียน ( X = 26.47, S.D. = 1.36 ) สูงกวากอนเรียน ( X = 13.53, S.D. = 1.66 ) ตารางที่ 16 ความสามารถในการเขียนสรุปความตามประเภทงานเขียน ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด

ประเภทของงานเขียน N คะแนนเต็ม (30 คะแนน) X S.D. รอยละ

(%) ลําดับที่

บันเทิงคด ี 30 7 6.73 0.05 96.19 1 สารคดี 30 17 14.84 0.39 87.29 2 บทรอยกรอง 30 6 4.9 0.20 81.66 3 จากตารางที่ 16 พบวา นักเรียนมีความสามารถในการเขียนสรุปความจากงานเขียนประเภทบันเทิงคดีมากที่สุด คิดเปนรอยละ 96.19 รองลงมาคือความสามารถในการเขียนสรุปความจากงานเขียนประเภทสารคดี คิดเปนรอยละ 87.29 และลําดับสุดทายคือ ความสามารถในการเขียนสรุปความจากงานเขียนประเภทบทรอยกรอง คิดเปนรอยละ 81.66

Page 121: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

107

ตอนที ่2 ความสามารถในการสรางแผนผังความคดิ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยเรื่องการเขียนสรุปความ การวิเคราะหเพื่อตอบคําถามของการวิจัยขอที่ 2 ศึกษาความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูดวยแผนผังความคิด ผูวิจัยไดประเมินความสารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนตามเกณฑการประเมิน (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก จ หนา 264) ดังนี้ ตารางที่ 17 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจดัการเรียนรูแบบแผนผังความคิด

การสรางแผนผังความคิด คะแนน X S.D. ระดับความสามารถ 1 แผนผังความคิดแบบขั้นบนัได 2 แผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท 3 แผนผังความคิดแบบกางปลา

10 10 10

9.17 8.46 8.26

0.15 0.28 0.32

ดีมาก ดีมาก ดีมาก

รวม 30 25.89 0.75 ดีมาก จากตารางที่ 17 พบวา นักเรียนมีความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันไดมากที่สุด ( X = 9.17, S.D.= 0.15) รองลงมาคือความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท ( X = 8.46, S.D. =0.28) และลําดับสุดทายคือ ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา ( X = 8.26, S.D. = 0.32)

Page 122: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

108

ตารางที่ 18 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ตามองคประกอบที่กําหนด

แผนผังความคิดแบบขัน้บันได คะแนนเต็ม (10 คะแนน) X S.D. รอยละ

(%) 1 การจับใจความสําคัญ 2 การลําดับความสําคัญ 3 การเขียนโครงราง

4 4 2

3.70 3.60 1.87

0.05 0.07 0.03

92.50 90.00 93.33

จากตารางที ่ 18 พบวา นักเรียนมีความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได

ดานการเขยีนโครงรางมากที่สุด คิดเปนรอยละ 93.33 รองลงมาคือความสามารถในการจับใจความสําคัญ คิดเปนรอยละ 92.50 ลําดับสุดทายคือการลําดับความสําคัญ คิดเปนรอยละ 90.00 ตารางที่ 19 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท ตามองคประกอบที่กําหนด

แผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท คะแนนเต็ม (10 คะแนน) X S.D. รอยละ (%)

1 การจําแนกใจความสําคัญของเรื่อง 2 การเขียนใจความสนับสนนุ 3 การเขียนโครงราง

4 4 2

3.63 3.23 1.60

0.07 0.14 0.07

90.83 80.83 80.00

จากตารางที่ 19 พบวา นักเรียนมีความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท ดานการจําแนกใจความสําคัญของเรื่องมากที่สุด คิดเปนรอยละ 90.83 รองลงมาคือความสามารถดานการเขียนใจความสนับสนุน คิดเปนรอยละ 80.83 ลําดับสุดทายคือการเขียน โครงราง คิดเปนรอยละ 80.00

Page 123: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

109

ตารางที่ 20 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลาตามองคประกอบที่กําหนด

แผนผังความคิดแบบขัน้บันได คะแนน X S.D. รอยละ(%) 1 กําหนดสาเหตุของผล 2 เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือ ปญหา

5 5

4.43 3.83

0.10 0.21

88.67 76.67

จากตารางที่ 20 พบวา นักเรียนมีความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบ กางปลา ดานกําหนดสาเหตุของผลมากที่สุด คิดเปนรอยละ 88.67 รองลงมาคือความสามารถดานเขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหา คิดเปนรอยละ 76.67 ตารางที่ 21 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6

ความสามารถของนักเรียน ดีมาก

8 – 10 คะแนน ดี

7 คะแนน ประเภทของแผนผังความคดิ จํานวน นักเรียน

จํานวน (คน)

รอยละ (%)

จํานวน (คน)

รอยละ (%)

1 แผนผังความคิดแบบขั้นบนัได 2 แผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท 3 แผนผังความคิดแบบกางปลา

30 30 30

30 23 20

100 76.66 66.67

- 7

10

- 23.33 33.33

จากตารางที่ 21 พบวา นักเรียนมีความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ระดับดีมาก จํานวน 30 คน คิดเปนรอยละ 100 รองลงมาไดแก ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนก ระดับดีมาก จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 76.66 ลําดับสุดทาย นักเรียนมีความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา ระดับดีมาก จํานวน 20 คน คิดเปนรอยละ 66.67

Page 124: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

110

ตอนที ่3 ความคิดเห็นของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีมีตอวธีิการจัดการเรียนรู แบบแผนผงัความคิด การวิเคราะหขอมูลเพื่อตอบคําถามการวิจัยขอที่ 3 คือ ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด จากการตอบแบบสอบถามของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ดานการจัดการเรียนรู นักเรียนแสดงความคิดเห็นดานการจัดการเรียนรูเรียงตามลําดับ ดังนี้ 1) การจัดการเรียนรูเปนลําดับขั้นตอนทําใหเขาใจเรื่องที่เรียนไดงาย ทํางานเสร็จตามเวลาที่กําหนดไว โดยนักเรียนสวนใหญรอยละ 71.30 ใหความคิดเห็นดังที่เขียนพรรณนาความวา การเรียนเปนขั้นตอน เขาใจงาย ไดทํากิจกรรมเปนลําดับและทํางานเสร็จในชั่วโมงเรียน 2) ไดทํากิจกรรมหลากหลาย โดยนักเรียนรอยละ 16.67 ใหความคิดเห็นดังที่เขียนพรรณนาความวา การเรียนในแตละครั้งไดทํากิจกรรมหลายอยาง เชน เลนเกม อานนิทาน เขียนหนังสือ วาดภาพ ระบายสีและนําเสนอผลงานตนเอง 3) มีส่ือประกอบการเรียนรู โดยนักเรียนรอยละ 13.33 ใหความคิดเห็นดังที่เขียนพรรณนาความวา มีแผนภูมิใหดูเปนตัวอยาง และมีเร่ืองที่หลากหลายใหอานในใบงาน 2. ดานบรรยากาศในการเรียนรู นักเรียนแสดงความคิดเห็นดานบรรยากาศในการจัดการเรียนรู ดังนี้ บรรยากาศดี มีความสุข มีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน โดยนักเรียนรอยละ 100 ใหความเห็นดังที่เขียนพรรณนาความวา สนุกสนาน เพลิดเพลิน ไมเครียด ไดวาดภาพระบายสีตามที่ตองการ ครูและเพื่อน ๆ ชวยเหลือแนะนํา 3. ประโยชนท่ีไดรับ นักเรียนนักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชนที่ไดรับตามลําดับ ดังนี้ 1) ทําใหสรุปความเปนและสามารถนําไปใชกับวิชาอื่น ๆ ได โดยนักเรียนรอยละ 56.67 ใหความคิดเห็นดังที่เขียนพรรณนาความวา ทําใหสรุปไดงายไดเรียนศิลปะและนําไปใชในวิชาตาง ๆ ได 2) มีความคดิสรางสรรค โดยนักเรียนรอยละ 26.67 ใหความคิดเห็นดังที่เขียนพรรณนาความวา ไดจินตนาการเร่ืองรูปภาพตาง ๆ ตามความตองการที่เหมาะสมแลวจึงระบายสี 3) มีสมาธิในการทํางาน โดยนักเรียนรอยละ 16.67 ใหความคิดเห็นดังที่เขียนพรรณนาความวา มีสมาธิในการวาดภาพระบายสี ในการทํากิจกรรม เรียนแลวเพลิดเพลินและทําใหใจเย็นมากขึ้น

Page 125: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

บทท่ี 5

สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การวิจัยเร่ือง การพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยมีวัตถุประสงคการวิจัย 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 กอนและหลังวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีการจัด การเรียนรูแบบแผนผังความคิด ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2548 โรงเรียนในศูนยเครือขายสถานศึกษาตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 8 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนบานหัววัง โรงเรียนบานหนองเฝา โรงเรียนบานหนองกระดี่ โรงเรียนบานดอนตําลึง โรงเรียนวัดหัวกลับ โรงเรียนวัดทับกระดาน โรงเรียนวัดเวฬุวัน และโรงเรียนวัดหนองพันเทา มีนักเรียนทั้งหมด 207 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดหนองพันเทา ตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 30 คน เครื่องมือในการวิจัยคร้ังนี้ ไดแก แผนการจัด การเรียนรูเร่ืองการเขียนสรุปความดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ผูวิจัยสรางขึ้น ผานการตรวจหาคาดัชนีความสอดคลอง ไดคาระหวาง 0.97 ถึง 1.00 แบบทดสอบวัดผลการเรียนรูดานการเขียนสรุปความกอนและหลังเรียนเปนแบบทดสอบฉบับเดียวกัน เปนแบบทดสอบแบบปรนัย จํานวน 20 ขอ แบบทดสอบแบบอัตนัย จํานวน 4 ขอ ซ่ึงใชทดสอบดานการเขียนสรุปความและการสรางแผนผังความคิดมีคาความเที่ยงตรง ระหวาง 0.67 ถึง 1.00 คาความเชื่อมั่นเทากับ 0.80 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิดที่ผานการตรวจหาคาดัชนีความสอดคลองไดคาระหวาง 0.67 ถึง 1.00 การวิจัยคร้ังนี้ใชแบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre–test Post–test Design คํานวณขอมูลโดยการคํานวณคะแนนเปนคารอยละ (%) การหาคาเฉลี่ย ( X ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบคาที (t–test) แบบ Dependent วิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด โดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) สรุปผลการวิจัยไดดังนี้

111

Page 126: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

112

สรุปผลการวิจัย การวิจัยเร่ืองการพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด มีผลการวิจัย ดังนี้ 1. ความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัด การเรียนรูแบบแผนผังความคิด กอนและหลังเรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซ่ึงพบวานักเรียนมีความสามารถในการเขียนสรุปความจากงานเขียนประเภทบันเทิงคดีมากที่สุด รองลงมา ไดแก ความสามารถในการเขียนสรุปความจากงานเขียนประเภทสารคดีและลําดับสุดทายคือความสามารถในการเขียนสรุปความจากงานเขียนประเภทบทรอยกรอง 2. ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยภาพรวม พบวา นักเรียนมีความสามารถอยูในระดับดีมาก โดยนักเรียนมีความสารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันไดมากที่สุด รองลงมา คือ ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท และลําดับสุดทาย คือ ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา เมื่อพิจารณาความสามารถในการสรางแผนผังความคิดตามองคประกอบที่กําหนด พบวา แผนผังความคิดแบบขั้นบันได นักเรียนมีความสามารถดานการเขียนโครงรางมากที่สุด แผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท นักเรียนมีความสามารถดานการจําแนกใจความสําคัญของเรื่องมากที่สุด แผนผังความคิดแบบกางปลา นักเรียนมีความสามารถดานการกําหนดสาเหตุของผลมากที่สุด 3. นักเรียนที่มีความคิดเห็นวาวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด ในดานการจัด การเรียนรู การเรียนเปนลําดับขั้นตอนทําใหเขาใจเรื่องที่เรียนไดงาย ทํางานเสร็จตามเวลาที่กําหนดไว ไดทํากิจกรรมหลากหลายและมีส่ือประกอบการเรียนรู ในดานบรรยากาศในการเรียนรู นักเรียนมีความคิดเห็นวา บรรยากาศในหองเรียนดี มีความสุข มีการชวยเหลือซึ่งกันและกันสวนประโยชนที่ไดรับ นักเรียนมีความคิดเห็นวา ทําใหสรุปความเปนและสามารถนําไปใชกับวิชาอื่น ๆ มีความคิดสรางสรรคและทําใหมีสมาธิในการทํางาน

อภิปรายผล

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด ผูวิจัยไดทําการอภิปรายผลจากขอคนพบในการทําวิจัย ดังนี้ 1. ความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัด การเรียนรูแบบแผนผังความคิด กอนและหลังเรียนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ

Page 127: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

113

0.05 ซ่ึงยอมรับสมมุติฐานขอที่ 1 ที่กําหนดไว ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา วิธีการของแผนผังความคิด ชวยใหนักเรียนไดฝกคิดอยางเปนระบบโดยเริ่มจากชื่อเรื่องหรือคําสําคัญ จากนั้นจึงหาใจความสําคัญและใจความรอง และชวยใหผูเรียนเห็นความสําคัญของเหตุการณและแนวคิดของเรื่องที่อาน โดยมีครูผูสอนคอยใหคําชี้แนะหรือตั้งคําถามเพื่อใหผูเรียนไดคําตอบที่เปนแนวทางเดียวกันจนสามารถสรุปเนื้อหาที่อานแลวสรางเปนแผนผังความคิดได ดังที่ มัวร และ รีเดนซ (Moore and Redence 1984 : 11 – 17, อางถึงใน วัฒนา วิชิตชาญ 2546 : 50) กลาววา การใชเทคนิคการสรางแผนที่ความคิดหลังการอาน ใหผลตอนักเรียนดีกวาการใชกอนอาน เพราะนักเรียนจะเกิดการตื่นตัวและใชความคิดเพื่อสรุปเนื้อความแสดงเปนแผนที่ความคิด ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของ วีระวรรณ พูนคี (2544 : 107) ที่เปรียบเทียบการสอนอานดวยวิธีสอนใชแผนภูมิความหมายกบัการสอนตามคูมือครูที่มีผลสัมฤทธิ์ตอการอานเพื่อความเขาใจและความคงทนในการจําของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม จังหวัดนครปฐม พบวา คะแนนความเขาใจในการอานของนักเรียนที่เรียนโดยวิธีการสอนแบบใชแผนภูมิความหมาย มีคะแนนเฉลี่ยสูงกวานักศึกษากลุมที่เรียนโดยวิธีสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเนื่องจากทักษะการเขียนสรุปความนั้นมีความเกี่ยวของกับทักษะการอานเปนอยางมาก เมื่อวิธีการของแผนที่ความคิดสามารถสรางความเขาใจในการอานใหแกนักเรียนไดเปนอยางดี จึงสงผลใหสามารถเขียนสรุปความไดดีอีกดวย ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของ อมรรัตน วิศวแสวงสุข (2543 : 143) ที่เปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ในการเขียนยอความบทอานภาษาอังกฤษที่สอนโดยกระบวนการแผนภูมิความหมายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่มีความสามารถภาษาอังกฤษตางกัน พบวา คะแนนผลสัมฤทธิ์ในการเขียนยอความบทอานภาษาอังกฤษหลังเรียน ซ่ึงสอนโดยกระบวนการแผนภูมิความหมาย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่มีความสามารถภาษาอังกฤษตางกัน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และที่พบวานักเรียนมีความสามารถในการเขียนสรุปความจากงานเขียนประเภทบันเทิงคดีมากที่สุด ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา ผูวิจัยไดพยายามคัดเลือกนิทานและเรื่องสั้นประเภทที่มีเนื้อหาสอดคลองกับความสนใจในการอานและวัยของผูเรียน ไดแก นิทานสุภาษิต เร่ืองสั้นเกี่ยวกับเดินทางหรือผจญภัย ดังที่ ฉวีวรรณ คูหาภินันท (2527 : 53) และ พรจันทร จันทวิมล (2534 : 12) กลาววา เด็กวัย 9 – 11 ป สนใจเกี่ยวกับการผจญภัย นิทานหรือนิยายที่เกี่ยวกับเทพบุตร สุภาษิตและคําพังเพย ตาง ๆ ประกอบกับเนื้อหาของนิทานและเรื่องสั้นนั้นมีเนื้อหาสนุกสนาน ไมซับซอน มีจุดสนใจเพียงจุดเดียว ฉากและตัวละครนอยจึงงายตอความเขาใจของผูเรียน เมื่อผูวิจัยใชวิธีการของแผนผังความคิดซ่ึงมีลําดับขั้นตอนในการปฏิบัติที่ชัดเจน และการเปดโอกาสใหผูเรียนรวมกันอภิปรายและการใชคําถาม ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร เพื่อเปนคําถามนําใหผูเรียนไดคิดคําตอบที่เปน

Page 128: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

114

ใจความสําคัญ แลวเขียนลงในแผนผังความคิดจึงสงผลใหผูเรียนสามารถสรุปความจากงานเขียนประเภทบันเทิงคดีไดเปนอยางดี แตนักเรียนมีความสามารถในการเขียนสรุปความจากงานเขียนประเภทบทรอยกรองนอยที่สุดนั้น ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา งานเขียนประเภทบทรอยกรอง เปนงานเขยีนที่มีลักษณะบังคับหรือฉันทลักษณ ซ่ึงแตกตางกันไปตามชนิดของบทรอยกรอง สําหรับประเภทบทกลอน จะบังคับเสียงวรรณยุกตของคําทายวรรค ประกอบกับถอยคําและภาษาที่ใชเขียนในบทกลอน เปนคําคลองจองและบางครั้งเปนศัพทที่ยากตอความเขาใจ จึงสงผลใหผูเรียนอานไมรูเร่ืองและ ถอดคําประพันธไมได ดังที่ วิจิตรา แสงพลสิทธ์ิ (2522 : 122) กลาววา การยอความจากบทรอยกรองนั้นนอกจากจะตองหาใจความสําคัญของเรื่องแลวผูยอตองตีความ บอกความหมาย อุปมา อุปไมย หรือสัญลักษณที่ปรากฏในรอยกรองนั้นดวย จากเหตุผลดังกลาวจึงสงผลใหนักเรียนเขียนสรุปความจากบทรอยกรองไดไมดีเทาที่ควร 2. ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวา โดยภาพรวมนักเรียนมีความสามารถในการสรางแผนผังความคิดอยูในระดับดีมาก เรียงตามลําดับ ดังนี้ นักเรียนมีความสารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันไดมากที่สุด รองลงมาคือความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท และลําดับสุดทายคือ ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลาทั้งนี้ อาจเปนเพราะวา ผูวิจัยจัดแผนการเรียนรูที่ 1ใหผูเรียนไดเรียนรูเรื่องประเภทของแผนผังความคิดทําใหผูเรียนไดผานการเรียนรูเร่ืองประเภทของแผนผังความคิดจนเกิดความรูความเขาใจ และผานการฝกสรางแผนผังความคิดมาตลอดระยะเวลาที่ผูวิจัยทําการทดลองสอน โดยใหผูเรียนฝกสรางแผนผังความคิดจากระดับงาย ดวยการกําหนดโครงรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันไดมาใหแลวใหผูเรียนเติมคําสําคัญ ในลักษณะเปนขั้นตอนจากบนลงลาง ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ ซิเนทราและคณะ (Sinatra et. al. 1984 : 25, อางถึงใน วีรวรรณ พูนคี 2544 : 43) ไดกําหนดแนวการสอนสรางแผนภูมิความหมายไว ดังนี้ ครูตองสรางแผนภูมิความหมายที่เปนโครงราง (Skeleton map) และโครงรางที่สมบูรณ (Completed map) แลวครูและนักเรียนจึงชวยกันเติมคําและความคิดรวบยอดในแผนภูมิโดยการระดมสมอง จากนั้นจึงใหนักเรียนฝกสรางแผนผังความคิดดวยตนเองจากเรื่องที่อานโดยครูคอยใหคําแนะนําหรือใชคําถาม เพื่อหาใจคามสําคัญของเรื่องตามลําดับขั้นตอน ดังที่ รัทเซล (Reutzel 1985 : 400 – 401) ไดเสนอแนวทางการสอนสรางแผนผังความคิดไววา หาใจความสําคัญของเรื่อง เหตุการณสําคัญ ตัวละครสําคัญ นํามาสรุปและจัดลําดับ และเขียนใจความสําคัญของเรื่องเปนแกนกลาง แลวเขียนเสนโยงจากจุดศูนยกลางไปยังเหตุการณสําคัญ จะเห็นไดวาวิธีการดังกลาวมีลําดับขั้นตอนที่ชัดเจน ซ่ึงสอดคลองกับวิธีการของแผนผังความคิดแบบขั้นบันได ดังนั้นจึงสามารถพัฒนาความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันไดไดเปนอยางดี ที่พบวา นักเรียนมีความสามารถ

Page 129: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

115

ในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลานอยที่สุดนั้น ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา แผนผังความคิดแบบกางปลาเปนแผนผังที่มีความซับซอน ในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลาตองใชความคิด เชิงวิเคราะห เพื่อหาสาเหตุของผลหรือปญหา ทําใหยากตอการเขาใจสงผลใหนักเรียนสรางแผนผังไดไมดีเทาที่ควร ดังที่ ณัฐวุฒิ กิจรุงเรือง (2545 : 46) กลาวถึง การใชแผนผังความคิดแบบกางปลาวา ขั้นสรางครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวิธีการใชแผนผังความคิดแบบกางปลาเพื่อวิเคราะหสาเหตุและผล ขั้นเสนอ นักเรียนรวมกันเลือกเอกสารจากตําราเรียน ขั้นสังเคราะห/วิเคราะห แบงผูเรียนเปนกลุมเพื่อชวยกันกําหนดปญหาและระบุตัวเหตุปจจัยในระดับกลุมและระดับเหตุยอย ขั้นสรุปเพื่อแสวงหา ผูเรียนนําเสนอผลการวิเคราะห พรอมกับอภิปรายความเปนไปไดหรือการมองตางมุม 3. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด พบวา นักเรียนเห็นดวยกับวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดและแสดงความคิดเห็นวา การเรียนเปนลําดับขั้นตอนทําใหเขาใจเรื่องที่เรียนไดงาย ทํางานเสร็จตามเวลาที่กําหนดไว ไดทํากิจกรรมหลากหลายและมีส่ือประกอบการเรียนรู นักเรียนมีความรูสึกตอบรรยากาศในการเรียนรูวา มีความสุข สนุก และมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกันบรรยากาศในหองเรียนดีไมเครียดและนักเรียนยังใหความรูสึกเกี่ยวกับประโยชนที่ไดรับวา ทําใหสรุปความเปนและสามารถนําไปใชกับวิชาอื่น ๆ ได มีความคิดสรางสรรค ไดใชจินตนาการเรื่องรูปภาพตางและไดวาดภาพระบายสีซ่ึงชวยใหมีสมาธิในการทํางานหรือทํากิจกรรมอันกอใหเกิดความเพลิดเพลิน ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา ในการจัดการเรียนรูครูผูสอนไดเนนการสอนตามลําดับขั้นตอน และคอยใหคําแนะนําชวยเหลือและยังเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นและทํากิจกรรมกลุม ทั้งการเลนเกมและการแขงขันกันสรางแผนผังความคิด กิจกรรมดังกลาวกอใหเกิดการเรียนรูและสนุกสนานจากการชวยกันคิดชวยกันทํา ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ น้ําผ้ึง มีนิล (2545 : 30) ที่กลาวถึงประโยชนของแผนผังความคิดไววา เปนเครื่องมือที่ชวยใหผูเรียนเกิดทักษะการคิดและแสดงแบบการคิดที่เขาใจงายสามารถอธิบาย และมองเห็นไดอยางเปนระบบชัดเจน และนอกจากนี้วิธีการของแผนผังความคิดยังชวยใหนักเรียนไดมีโอกาสใชความคิดสรางสรรคและจินตนาการในการสรางงานศิลปะ ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ ทวีศักดิ์ ภวนานันท (2545 : 27) ที่กลาวถึงประโยชนของแผนผังความคิดไววา แผนผังความคิดเปนวิธีการที่ตองใชสมองทั้งสองขางซึ่งสมองซีกซายจะทําหนาที่ในการวิเคราะหคํา ภาษา สัญลักษณ ระบบ ลําดับ ความคิดเปนเหตุเปนผล ตรรกวิทยา สวนสมองซีกขวาจะทําหนาที่สังเคราะห คิดสรางสรรค จินตนาการ ความงาม ศิลปะ จังหวะ โดยมีแถบเสนประสาทคอรปสคอโลซั่ม เปนเสมือนสะพานเชื่อม ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของ น้ําผ้ึง บุญวิชัย (2547 : 137) ที่ทําการวิจัยเร่ืองการพัฒนาชุดการเรียนรูโดยใชแผนผังมโนทัศน เร่ืองหนวยของชีวิตพืชสําหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ผลการวิจัย พบวา นักเรียนใหความรวมมือในการปฏิบัติกิจกรรม มีความตั้งใจ

Page 130: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

116

ในการเรียนรูและสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดบรรลุตามวัตถุประสงคและนักเรียนยังมีความคิดสรางสรรคในการสรางแผนผังมโนทัศน สามารถนําความรูที่ไดจากการศึกษาคนความาสรุปเปนแผนผังมโนทัศนไดอยางถูกตอง สําหรับความคิดเห็นดานประโยชนที่ไดรับ ซ่ึงนักเรียนกลาววา สามารถนําไปใชกับวิชาอ่ืน ๆ ไดนั้น ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา ครูผูสอนไดพยายามอธิบายใหนักเรียนเห็นประโยชนของวิธีการแผนผังความคิดจนเกิดความมั่นใจ นักเรียนจึงพยามฝกฝนจนสามารถนําไปใชประโยชนไดอยางแทจริง ดังที่ โนแวค (Novak 1984 :154, อางถึงใน สุชาติ ผลภาษี 2546 : 44) กลาวถึงประโยชนของแผนผังความคิดวา ใชผังมโนมติ ในการสรุปความหมาย สรุปความจากตําราและชวยใหจับใจความสําคัญจากขอความได และแนวคิดของ สมศักดิ์ สินธุรเวชญ (2544 : 21) ที่กลาวถึงประโยชนของแผนผังความคิดวา ผูเรียนสามารถนําแผนผังความคิดมาใชสําหรับจดบันทึกความรู การสรุป การอภิปราย การทบทวนความรู การจัดระบบขอมูลตลอดจนการวางแผนการทํางาน การเสนอผลงานและการเขียนรายงาน ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของ วีระพงศ ขําเหม (2544 : 76) ที่ศึกษาผลการสรางมโนทัศนทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โดยใหนักเรียนเขียนผังมโนทัศนสรุปรวมมโนทัศนที่ไดเรียนมา ผลการวิจัย พบวา คะแนนกอนและหลังการสอนแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ขอเสนอแนะ การวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะที่เห็นวานาจะเปนประโยชนตอการจัดการเรียนรูและการศึกษาครั้งตอไป ซ่ึงประกอบดวย ขอเสนอแนะทั่วไปเพื่อนําวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดไปใช และขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยคร้ังตอไป ดังนี้ ขอเสนอแนะเพื่อนําผลการวิจัยไปใช 1. ผลการวิจัย พบวา ความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่เรียนดวยวิธีจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดกอนและหลังเรียนแตกตางกัน โดยคะแนนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนนั้น แสดงวาวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นครูควรนําวิธีการดังกลาว ไปใชเพื่อพัฒนาการเขียนสรุปความของนักเรียน 2. ผลการวิจัย พบวา นักเรียนมีความสามารถในการเขียนสรุปความจากงานเขียนประเภทบันเทิงคดีมากที่สุด แสดงวางานเขียนประเภทบันเทิงคดีเหมาะสมกับการฝกเขียนสรุปความ ดังนั้น ครูควรฝกการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยงานเขียนประเภทบันเทิงคดี

Page 131: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

117

3. ผลการวิจัย พบวา นักเรียนมีความสามารถในการสรางแผนผังความคิดขั้นบันได มากที่สุด แสดงวาแผนผังความคิดแบบขั้นบันไดสามารถนํามาพัฒนาการเขียนสรุปความไดดีกวาแผนผังความคิดประเภทอื่น ๆ ดังนั้น ครูควรนําแผนผังความคิดแบบขั้นบันไดมาพัฒนาการเขียนสรุปความของนักเรียน 4. ผลการวิจัย พบวา นักเรียนใหความคิดเห็นตอวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดวา การเรียนเปนลําดับขั้นตอน ทําใหเขาใจงาย บรรยากาศในการเรียนดี สนุกไมเครียด ทําใหสรุปความเปนและสามารถนําไปใชกับวิชาอ่ืน ๆ ไดนั้น แสดงวาวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิดเปนวิธีการจัดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพกอใหเกิดการเรียนรูตอผูเรียนอยางแทจริง ดังนั้น ครูควรนําวิธีการดังกลาวไปใชจัดการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยใหเกิดประโยชนสูงสุดกับนักเรียนตอไป ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยในครั้งตอไป 1. ควรมีการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาความสามารถในการเขียนสรุปความดวยวิธีการจัด การเรียนรูแบบแผนผังความคิด โดยใชแผนผังความคิดแบบขั้นบนัได แผนผงัความคดิแบบจาํแนกประเภท และแผนผังความคิดแบบกางปลา 2. ควรมีการศึกษาวิจัย เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสรปุความ ระหวางงานเขยีนประเภทบันเทิงคดี สารคดีและบทรอยกรอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 3. ควรมีการศึกษาวิจัย เพื่อเปรียบความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได แผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท และแผนผังความคิดแบบกางปลาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่จัดการเรียนรูเร่ืองการเขียนสรุปความ 4. ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู ในกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด

Page 132: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

118

บรรณานุกรม กรรณิการ พลยุทธ. “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเขยีนเชงิสรางสรรคโดยใชแบบฝกการเขียน เชิงสรางสรรคเปนสื่อสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนวัดลาดปลาเคา.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2544. กรรณิการ พวงเกษม. การสอนเขียนเรื่องโดยใชจนิตนาการทางสรางสรรคในระดับ ประถมศึกษา. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพมหานคร : สํานักพมิพไทยวัฒนาพานิช, 2543. กระทรวงศกึษาธิการ. กรมวชิาการ. รายงานการวจิัยเร่ืองสภาพการผลิตและการพัฒนาหนังสือ สําหรับเด็ก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2541. . ก หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ คุรุสภาลาดพราว, 2545 . ข สาระและมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรู. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ องคการรับสงสินคาและวัสดุภณัฑ, 2545. . ค แผนพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ คุรุสภาลาดพราว, 2545. . ง คูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ คุรุสภาลาดพราว, 2545. . จ การวจิัยเพือ่พัฒนาการเรยีนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2545. . การจัดการเรยีนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว, 2546. กันตดนยั วรจิตติพล. “การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาองักฤษเพื่อการสื่อสารสําหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสถาบันราชภัฎนครปฐม จังหวดันครปฐม.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ ในฐานะภาษาตางประเทศ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร, 2542. กุหลาบ มัลลิกะมาส และ วิพุธ โสภวงศ. หนังสือเรียนภาษาไทยรายวิชา ท 041 การเขียน 1. พิมพคร้ังที่ 13. กรุงเทพมหานคร : สํานักพมิพอักษรเจรญิทัศน, 2538.

Page 133: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

119

ขนิษฐา แสงภกัด.ี “การใชแบบพัฒนาทักษะการเขยีนสรุปความจากบทรอยแกวของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนบานหมอ “พัฒนานุกูล” จังหวัดสระบุรี.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2540. คชานนท สุวรรณพันธ. “โครงสรางและการเปลี่ยนมโนทัศน เร่ือง ระบบนิเวศ ของนักเรียน ช้ันมัธยมศกึษาปที่ 1 โดยใชเทคนคิแผนผงัมโนทัศน.” วทิยานิพนธปริญญามหาบณัฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรสาสตร, 2543. จินตนา ใบกาซูยี. การจัดทําหนังสือสําหรบเด็ก. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสุวีริยาสาสน, 2534. จุติมา นาควรรณ. “ผลของการสอนเขียนโดยใชเทคนิคระดมสมองและแผนผังความคิดที่มี ตอความสามารถในการเขียนเชิงสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที ่5.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544. จุไรรัตน ลักษณะศิริ และ บาหยัน อ่ิมสําราญ. ภาษากบัการสื่อสาร. นครปฐม : บริษัท พรีเฟรท จํากัด, 2540. ฉวีวรรณ คูหาภินันท. การทาํหนังสือสําหรับเด็ก. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ อมรการพิมพ, 2527. ชาตรี เกิดธรรม. เทคนิคการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2545. ชาตรี สําราญ. หลากหลายวธีิสอนที่ไมหลอกหลอนวิธีเรยีนรู. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิสดศรีสฤษดิ์วงษ, 2545. ณรงค ทองปาน. การสรางหนังสือสําหรับเด็ก. กรุงเทพมหานคร : ชวนการพิมพ, 2526. ณัฐวุฒ ิ กิจรุงเรือง, วัชรินทร เสถียรยานนท และ วัชนีย เชาวดํารง ผูเรียนเปนสําคญั การเขียน แผนการจัดการเรียนรูสูครูมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสถาพรบุคส, 2545. ดวงใจ ไทยอุบุญ. ทักษะการเขียนภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจฬุาลงกรณ, 2543. ดุษิต พรหมชนะ. “การใชกระบวนการสรางผังความคิดเพื่อสงเสริมความสามารถในการคิด และสรางองคความรู ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที ่3 โรงเรียนปรินสรอแยลส วิทยาลัย จังหวดัเชียงใหม.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2546.

Page 134: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

120

ทรัพยทว ี อภญิญาวาท. “การใชเทคนิคแผนผังมโนมติในการศึกษาการปรับโครงสรางความรูและ การเปลี่ยนมโนมติในรายวิชา การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอมนกัศกึษา ระดับปริญญาตรี วิชาเอกวทิยาศาสตรทั่วไป.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาการสอนวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2543. ทวีศักดิ ์ ภวนานันท. “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่นําเสนอดวยเทคนิคการเขียน แผนที่ความคดิ เร่ือง การเพาะเลี้ยงปลากัด.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวยิาลัยเกษตรศาสตร, 2545. ธัญญา ผลอนันท. แผนที่ความคิด(Mind Mapping) [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ 2548. เขาถึงไดจาก http://web.lru.acth/-405001/Mind % 20 map.pdf. นภดล จันทรเพ็ญ. การใชภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพตนออ 1999, 2542. นฤมล มวงไทย. “การสรางแบบฝกการเขียนสรุปความอยางมีวิจารณญาณสําหรบันักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2543. น้ําผ้ึง บุญวิชัย. “การพัฒนาชุดการเรียนรูโดยใชแผนผังมโนทัศน เร่ืองหนวยของชีวติและชีวิตพืช สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาหลักสูตร และการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547. น้ําผ้ึง มีนิล. “ผลของการใชเทคนิคผังกราฟฟกในการเรียนการสอนวชิาโครงงานวิทยาศาสตรกับ คุณภาพชวีิตทีม่ีตอการใชระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร และความสามารถในการทํา โครงงานวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมธัยมศึกษาตอนตน.” วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545. บันลือ พฤกษะวัน. พัฒนาทักษะการเขียนเชิงสรางสรรค. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ ไทยวัฒนาพานิช, 2535. ประคอง กองเงิน. รวมปฏิบัติการเรียนรูครูตนแบบ. กรุงเทพมหานคร : สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.), 2545. ประทุม วิชาโคตร. “ผลสัมฤทธิ์ในการเขียนเชิงสรางสรรควิชาภาษาไทยของนักเรียน ช้ันประถมศกึษาปที ่5 ที่ฝกโดยวิธีการแผนที่ความคิด.” วิทยานิพนธปริญญามหาบณัฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2544. ปราณี กันชยั. รวมปฏิบัติการเรียนรูครูตนแบบ. กรุงเทพมหานคร : สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (สกศ.), 2545. พรจันทร จันทวิมล และคณะ. หนังสือสําหรับเด็ก. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพตนออ, 2534.

Page 135: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

121

พร้ิมเพรา หันตรา. การใชแบบฝกพัฒนาทักษะการเขียนสรุปความจากบทรอยแกว. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2541. พวงรัตน ทวีรัตน. วิธีการวิจยัทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพคร้ังที่ 8. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543. พิพัฒน งอกเสมอ. “ผลของกิจกรรมผังความสัมพันธของความหมายที่มีตอความสามารถ ในการเขยีนยอความภาษาองักฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่5.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2539. เพ็ญนภา ขุนโหร. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยเรื่องอักษรและ หลักการเขียนตัวอักษรที่สอนดวยชุดการสอนมินิคอรสและวิธีสอนแบบเอ็กซพลิซิท ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 1.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543. เพลินตา โมสกุล. การเขียนเชิงสรางสรรค [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อ 20 กุมภาพนัธ 2548. เขาถึงไดจาก http://e-learning.aru.ac.th/tsh3/e-new/lesson 1. html. ไพรถ เลิศพิริยกมล. การยอความ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพสุรีวิยาสาสน, 2543. ฟอน เปรมพนัธ. ศาสตรแหงการใชภาษาไทย. กาญจนบุรี : คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, 2542. มณีปน พรหมสุทธิรักษ. “พระปรีชาญาณดานภาษาในการตั้งนามสกุลของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว.” ภาษาและวรรณกรรม 20, 39 (มิ.ย. 40 – พ.ค. 41) : 37 – 53. มนวภิา เสนียวงศ ณ อยุธยา. “การพัฒนาบทอานนิทานเพื่อเพิ่มความสามารถดานการเขียน ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลยั.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ ในฐานะภาษาตางประเทศ มหาวิทยาลัยศลิปากร, 2545. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะมนษุยศาสตร. ภาควิชาภาษาไทยและภาคตะวนัตก. เอกสารประกอบการเรียนการสอนทักษะทางภาษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2534. มหาวิทยาลัยศลิปากร. คณะอักษรศาสตร. ภาควิชาภาษาไทย. ภาษากบัการสื่อสาร. นครปฐม : โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปกร, 2540. มารีนา ซัลสรวล. การเขียน (Reading) [ออนไลน]. เขาถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ 2548. เขาถึงไดจาก http://wwwThaigoodview.com/library/theachershow/pechburi/ marinawisan/work 4. html.

Page 136: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

122

รุงนภา ทศภานนท. “ผลการใชเทคนิคการจัดการจัดแผนผังมโนทัศนที่มีตอผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรและความสามารถในการสรางแผนผังมโนทัศนทาง คณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาคณิตศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2544. โรงเรียนวัดหนองพันเทา. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองพนัเทา กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย. สุพรรณบุรี : ฝายวิชาการ, 2546. ลออ อางนานนท. “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ ความคิดสรางสรรคกลุมสรางเสริมประสบการณชีวติ เร่ืองสิ่งแวดลอมทางสังคม ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ที่ไดรับการสอน โดยแผนผังมโนทัศน.” วิทยานิพนธปริญญามหาบณัฑิต สาขาวชิาการสอนวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2542. วรรณ ี โสมประยูร. การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ไทยวัฒนาพานิช, 2544. วัชรา เลาเรียนด.ี เทคนิควธีิการจัดการเรยีนรูสําหรับครูมืออาชีพ. นครปฐม : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศลิปากร, 2547. วัฒนา วิชิตชาญ. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอานเพื่อความเขาใจภาษาอังกฤษของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่4 ที่สอนดวยวีสอนแบบเทคนิคการสรางแผนที่ความคดิ และวิธีสอนเพือ่การสื่อสาร.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและ การนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศลิปากร, 2546. วิจิตรา แสงพลสิทธ. การใชภาษา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร, 2522. วีระพงศ ขําเหม. “โครงสรางความรูและการปรับเปลี่ยนมโนทัศนในวิชาวิทยาศาสตร เร่ืองไฟฟา และเครื่องอํานวยความสะดวก โดยใชแผนผังมโนทัศนของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษา ปที่ 4 โรงเรียนแกลง “วิทยถาวร” จังหวดัระยอง.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ สาขาการสอนวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2544. วีรวรรณ พูนคี. “การเปรียบเทียบการสอนอานดวยวิธีสอนแบบใชแผนภูมิความหมายกับการสอน ตามคูมือครูที่มีผลสัมฤทธ์ิตอการอานเพื่อความเขาใจและความคงทนในการจําของ นักศึกษาระดบัชั้นประกาศนียบัตรวิชาชพีช้ันสูงแผนกวิชาการบัญช ี วิทยาลัยอาชวีนครปฐม.” วทิยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอน ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544. วุฒิชัย ประสารสอย. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ ว.ีเจ พร้ินติ้ง, 2541.

Page 137: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

123

ศิริมณฑา ขุนศิริ. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองสารเคมีในชีวิตประจําวนั ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ที่สอนดวยวิธีสอนแบบมีสวนรวมโดยใช แผนผังมโนทัศนและวิธีสอนตามคูมือครู” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนเิทศ บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยศิลปากร, 2546. ศิริรัตน นิลคุปต. ทักษะการอานที่ตองพัฒนาเพื่อฝาฟนเขาสูประตูมหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : สมาคมการอานแหงประเทศไทย, 2532. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. คูมือการวัดผลประเมินผลวิทยาศาสตร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2546. สนิท สัตโยภาส. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและสืบคน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพธารอักษร, 2542. สมพร มันตะสูตร. การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, 2540. สมศรี กิตวิรพันธ. “การประเมินพัฒนาการทักษะการเขียนดวยแฟมสะสมงานของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2544. สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรณน. การยึดผูเรียนเปนศูนยกลางและการประเมินตามสภาพจริง. เชียงใหม : The Knowledge Center, 2544. สมศักดิ์ สินธุระเวชญ. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช, 2544. สรวีย เคียนสันเทียะ. “การใชเพลงลูกทุงเปนสื่อพัฒนาการเขียนสรุปความของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 4 อําเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา.” วิทยานพินธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2545. สัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา. ผูอํานวยการโรงเรียนวดัหนองพนัเทา. สัมภาษณ, 5 เมษายน 2548. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2. กลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา. รายงานผลการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่3 ช้ันประถมศึกษา ปที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2546. สุพรรณบุรี : กลุมงานวัดและประเมินผล การศึกษา, 2546. สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย. วิธีสอนภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษา. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2536.

Page 138: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

124

สุชาติ ผลภาษี. “ผลการใชกิจกรรมแผนผังมโนติในการเรียนแบบรวมมือดวยเทนิคจกิซอวที่มีตอ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาและความคงทนในการเรยีนรู ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1.” วิทยานิพนธปริญญามหาบณัฑิต สาขาวชิาหลักสูตรและการสอน สถาบันราชภัฏนครสวรรค, 2546. สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย. การประเมินผลภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2544. สุพิศ กลิ่นบุบผา. “การศึกษาความสามารถการเขียนความเรียงภาษาไทยที่ใชวิธีการ แผนที่ความคดิ (Mind Mapping) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่5 กรณีศึกษาโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย 2.” วทิยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนเิทศ บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยศิลปากร, 2545. อมรรัตน วิศวแสวงสุข. “การเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ในการเขียนยอความบทอาน ภาษาอังกฤษทีส่อนโดยกระบวนการแผนภูมิความหมาย ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปที่ 5 ที่มีความสามารถภาษาอังกฤษตางกนั โรงเรียนโพธิพิทยากร กรุงเทพมหานคร.” วิทยานพินธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ ในฐานะภาษาตางประเทศ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร, 2543. อรอุมา ตั้งพัฒนาสมบูรณ. “การพัฒนาแบบฝกเสริมทักษะการเขียนสะกดคําวิชาภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศกึษาปที ่2.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนเิทศ บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยศิลปากร, 2543. ภาษาตางประเทศ Alverman, Donna E. “Graphic Organizers : Cuing Devices For comprehending and Remembering Min Ideas.” In Teaching Main Idea Comprehension, 210 – 217 Edited by James F.Bauman. Newark, Delaware : International Reading Association, 1986. Buzan, Tony. Use Both Side of Your Brain. New York : Penquin Group, 1991. . Mind Maps [Online]. Accessed 22 February 2005. Available from http://www.mind-map com/EN/mind maps/ how-to.html. Johnson, David W., and Roger T. Johnson. Cooperative Learning in Mathematics. New York : Addison Westley Publishing Company, 1990.

Page 139: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

125

Lynda Behan and Lioyd Dewitt. Summary Writing. [Online]. Accessed 5 February 2005. Available from http://www.genral/lbs/summary.htm. Novak, Joseph D, and Govin D.Bob. Learning How to Learn. London : Cambridge University Press, 1984. Reutzel D. Ray. “Story Maps Improve Comprehension.” The Reading Teacher 38 (January 1985) : 400 – 405. Schmidt, Marion B. “The Shape of Content” The Reading Teacher, No. 32 (1996) : 42 – 43. Taylor, Barry P. “Content and Written Form : A two way Street.” Composition in a Second Language. Edited by Sandra Mckay Mass. London : Newbury House Publisker, Inc., 1984. The Writers ’Workshop. Writing Summaries [Online]. Accessed 22 February 2005. Available from.http://www.english.uiuc.edu/cws/workshop/advice/ writingsummaries.htm. Tuckman, Bruce W. Condcuting Educational Research. 5TH ed. Washingtion D.C. : Harcourt Brace & Company, 1999. Weir, C.J. Understanding and Developing Language Test. London : Prentic Hall, 1993. White. R.V. “Reading” In Communication in the Classroom. 87 – 92. Edited by K. Johnson and K. Morrow. Harlow Essex : Logman, 1981. Wycoff, Joyce. Mind Mapping. New York : Berkley Book, 1991. Zamel, V. “The Composing Processes of Advanced ESL Student Studies.” TESOL Quarterly, No.1 (1982) : 165 – 187.

Page 140: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

126

ภาคผนวก

Page 141: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

127

ภาคผนวก ก

รายชื่อผูเชี่ยวชาญ ผูตรวจเครื่องมือวิจัย

Page 142: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

128

รายชื่อผูเชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือ 1. นางวาสนา คงมั่น

ตําแหนง ศกึษานิเทศกชํานาญการ สํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษากาญจนบุรี เขต 2 ตําบลหนองโรง อําเภอพนมทวน จังหวดักาญจนบุรี

2. นางสาวจินตนา สุขสมแดน ตําแหนง ศกึษานิเทศกชํานาญการ สํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษากาญจนบุรี เขต 2 ตําบลหนองโรง อําเภอพนมทวน จังหวดักาญจนบุรี

3. นายไพศาล ยาทิพย ตําแหนง ศกึษานิเทศกชํานาญการ สํานักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ตําบลปากแพรก อําเภอเมอืง จังหวดักาญจนบุรี

Page 143: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

129

ภาคผนวก ข หนังสือขอเชิญเปนผูตรวจเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

และหนังสอืขอความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูล

Page 144: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

130

ที่ ศธ 0520.107 (นฐ) / 4741 บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร พระราชวังสนามจันทร นครปฐม 73000

30 กันยายน 2548 เร่ือง ขอเชิญเปนผูตรวจเครื่องมือวจิัย เรียน นายไพศาล ยาทิพย ดวย นางสาวกัณหา คําหอมกุล นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร กําลังทําวิทยานิพนธเร่ือง “การพัฒนา ความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด” มีความประสงคจะขอเรียนเชิญทานในฐานะผูเชี่ยวชาญเปนผูตรวจเครื่องมือวิจัย เพื่อประกอบการทําวิทยานิพนธ ในการนี้บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงขอความอนุเคราะห จากทานโปรดเปนผูตรวจเครื่องมือวิจัยใหกับนักศึกษาดังกลาวดวย จึงเรียนมาเพื่อโปรดใหความอนุเคราะห จกัขอบพระคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

(รองศาสตราจารย ดร.จิราวรรณ คงคลาย) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

สํานักงานบัณฑิตวิทยาลัย นครปฐม โทร. 0-3424-3435, 0-3421-8788

ปณิธานของบัณฑิตวิทยาลัย “มุงมั่นใหบรกิาร พัฒนางานใหมีคุณภาพ”

Page 145: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

131

ที่ ศธ 0520.107 (นฐ) / 4743 บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร พระราชวังสนามจันทร นครปฐม 73000

30 กันยายน 2548 เร่ือง ขอเชิญเปนผูตรวจเครื่องมือวจิัย เรียน นางวาสนา คงมั่น ดวย นางสาวกัณหา คําหอมกุล นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร กําลังทําวิทยานิพนธเร่ือง “การพัฒนา ความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด” มีความประสงคจะขอเรียนเชิญทานในฐานะผูเชี่ยวชาญเปนผูตรวจเครื่องมือวิจัย เพื่อประกอบการทําวิทยานิพนธ ในการนี้บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงขอความอนุเคราะห จากทานโปรดเปนผูตรวจเครื่องมือวิจัยใหกับนักศึกษาดังกลาวดวย จึงเรียนมาเพื่อโปรดใหความอนุเคราะห จกัขอบพระคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

(รองศาสตราจารย ดร.จิราวรรณ คงคลาย) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

สํานักงานบัณฑิตวิทยาลัย นครปฐม โทร. 0-3424-3435, 0-3421-8788

ปณิธานของบัณฑิตวิทยาลัย “มุงมั่นใหบรกิาร พัฒนางานใหมีคุณภาพ”

Page 146: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

132

ที่ ศธ 0520.107 (นฐ) / 4742 บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร พระราชวังสนามจันทร นครปฐม 73000

30 กันยายน 2548 เร่ือง ขอเชิญเปนผูตรวจเครื่องมือวจิัย เรียน นางสาวจินตนา สุขสมแดน ดวย นางสาวกัณหา คําหอมกุล นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร กําลังทําวิทยานิพนธเร่ือง “การพัฒนา ความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด” มีความประสงคจะขอเรียนเชิญทานในฐานะผูเชี่ยวชาญเปนผูตรวจเครื่องมือวิจัย เพื่อประกอบการทําวิทยานิพนธ ในการนี้บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงขอความอนุเคราะห จากทานโปรดเปนผูตรวจเครื่องมือวิจัยใหกับนักศึกษาดังกลาวดวย จึงเรียนมาเพื่อโปรดใหความอนุเคราะห จกัขอบพระคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

(รองศาสตราจารย ดร.จิราวรรณ คงคลาย) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

สํานักงานบัณฑิตวิทยาลัย นครปฐม โทร. 0-3424-3435, 0-3421-8788

ปณิธานของบัณฑิตวิทยาลัย “มุงมั่นใหบรกิาร พัฒนางานใหมีคุณภาพ”

Page 147: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

133

ที่ ศธ 0520.107 (นฐ) / 6013 บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร พระราชวังสนามจันทร นครปฐม 73000

15 ธันวาคม 2548 เร่ือง ขอความอนุเคราะหในการเกบ็รวบรวมขอมูล เรียน ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนวดัหนองพันเทา ดวย นางสาวกัณหา คําหอมกุล นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร กําลังทําวิทยานิพนธเร่ือง “การพัฒนา ความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด” มีความประสงคจะขอเก็บรวบรวมขอมูลจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนของทาน เพื่อประกอบการทําวิทยานิพนธ ในการนี้บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงขอความอนุเคราะหจากทานโปรดแจงนักเรียนทราบ เพื่อขอความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูลใหแกนักศึกษาดังกลาวดวย จึงเรียนมาเพื่อโปรดใหความอนุเคราะห จกัขอบพระคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

(รองศาสตราจารย ดร.จิราวรรณ คงคลาย) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

สํานักงานบัณฑิตวิทยาลัย นครปฐม โทร. 0-3424-3435, 0-3421-8788

ปณิธานของบัณฑิตวิทยาลัย “มุงมั่นใหบรกิาร พัฒนางานใหมีคุณภาพ”

Page 148: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

134

ที่ ศธ 0520.107 (นฐ) / 5521 บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร พระราชวังสนามจันทร นครปฐม 73000

22 พฤศจิกายน 2548 เร่ือง ขอทดลองเครื่องมือวิจัย เรียน ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนบานหัววัง ดวย นางสาวกัณหา คําหอมกุล นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร กําลังทําวิทยานิพนธเร่ือง “การพัฒนา ความสามารถในการเขียนสรุปความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ดวยการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด” มีความประสงคจะขอทดลองเครื่องมือวิจัยกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่6 ในโรงเรียนของทาน เพื่อประกอบการทําวิทยานิพนธ ในการนี้บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร จึงขอความอนุเคราะหจากทาน โปรดอนุญาตใหนักศึกษาดังกลาวไดทดลองเครื่องมือวิจัยดวย จึงเรียนมาเพื่อโปรดใหความอนุเคราะห จกัขอบพระคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

(รองศาสตราจารย ดร.จิราวรรณ คงคลาย) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

สํานักงานบัณฑิตวิทยาลัย นครปฐม โทร. 0-3424-3435, 0-3421-8788

ปณิธานของบัณฑิตวิทยาลัย “มุงมั่นใหบรกิาร พัฒนางานใหมีคุณภาพ”

Page 149: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

135

ภาคผนวก ค เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

- แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความกอนเรียน-หลังเรียน - แผนการจัดการเรียนรู ดวยวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด - แบบประเมินความสามารถในการเขียนสรุปความ - แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคิด - แบบสอบถามความคิดเห็น

Page 150: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

136

คําชี้แจงแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่องการเขียนสรุปความ

สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

1. แบบทดสอบฉบับนี้จัดทําขึ้นมีวัตถุประสงคเพื่อ ทดสอบทักษะดานการเขียนสรุปความจากเรื่องที่อาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 กอนและหลังการใชวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด 2. แบบทดสอบมีทั้งหมด 2 ตอน ใหนักเรียนอานคําสั่งทุกแหงใหเขาใจหากสงสัยใหสอบถามผูควบคุมการสอบ ตอนที่ 1 เปนแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 1. แบบทดสอบนี้เปนแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก มีขอคําถามทั้งหมด 20 ขอ กําหนดเวลาในการทําขอสอบ 40 นาที 2. เขียนเครื่องหมายกากบาท ( ) ลงในกระดาษคําตอบ ขอ ก. ข. ค. หรือ ง. ที่นักเรียนคิดวาเปนคําตอบที่ถูกตอง ดังนี้

ก ข ค ง จ

หากตองการเปลี่ยนคําตอบใหเขียนเครือ่งหมาย ( ) แลวจึงเลือกคําตอบที่ถูกตองใหม ดังนี้

ก ข ค ง จ

ตอนที่ 2 เปนแบบทดสอบอัตนัย (เขียนสรปุความและสรางแผนผังความคิด) จํานวน 4 ขอ โดยใหเขียนลงในกระดาษคําตอบ กําหนดเวลาในการทําขอสอบ 60 นาที

Page 151: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

137

แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เรื่องการเขียนสรุปความ ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดหนองพันเทา

ตอนที่ 1 แบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 1. ขอใดบอกความหมายของการเขียนสรุปความไดถูกตอง ก. การเขียนเนื้อเรื่องใหส้ันลงหรือยอเร่ืองดวยสํานวนภาษาของตนเอง ข. การเขียนสรุปเฉพาะสาเหตแุละผลของเรื่องดวยสํานวนภาษาของตนเอง ค. การเขียนเฉพาะประเดน็สําคัญของเรื่องใหสมบูรณที่สุดดวยสํานวนภาษาของตนเอง ง. การเขียนเฉพาะแกนของเรื่องและสวนขยายเพิ่มเติมพอเขาใจดวยสํานวนภาษาของ ตนเอง 2. ขอใดจัดลําดับขั้นตอนการเขยีนสรุปความไดถูกตอง 1. นําขอความทีข่ีดเสนใตหรือจดบันทึกไวเขียนเปนแผนผังหรือเคาโครงงาย ๆ 2. อานเนื้อเร่ืองอยางรอบคอบหรืออานซ้ํา ๆ หลายครั้งจนเกิดความเขาใจ

3. เรียบเรียงขอความใหมใหส้ันกะทดัรัดและไดใจความสมบูรณดวยสํานวนภาษาของ ตนเอง

4. ขีดเสนใตขอความหรือจดบนัทึกขอความที่เปนใจความสําคัญของเรื่องไว ก. 4 – 3 – 2 – 1 ข. 4 – 2 – 1 – 3 ค. 2 – 1 – 4 – 3 ง. 2 – 4 – 1 – 3

Page 152: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

138

คําชี้แจง อานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 3-4 3. จากขอความขางตนเราควรใชแผนผังความคิดแบบใดเพื่อสรุปใจความสําคัญ ก. ขั้นบันได ข. กางปลา ค. ใยแมงมุม ง. จําแนกประเภท 4. ขอใดสรุปใจความสําคัญของขอความขางตนไดถูกตอง ก. โรคอวนทั้งสองประเภทเปนอันตรายตอรางกาย ข. โรคอวนเปนสาเหตุของการเกิดโรคเรื้อรังมากมาย ค. โรคอวนที่เปนอันตรายตอรางกายแบงออกเปน 2 ชนิดและกอใหเกดิโรคเรื้อรัง ง. โรคอวนที่เปนอันตรายตอรางกายแบงเปน 2 ชนิดคือ โรคอวนทั้งตัวและโรคอวน ลงพุง

“ความอวนเปนปจจยัอยางหนึ่งที่ทําใหเกิดโรคเร้ือรังหลายโรค เชน โรค

ความดันโลหติสูง โรคไขมันผิดปกติในเลอืด ฯลฯ โรคอวนที่มีผลรายตอสุขภาพมีอยู 2 ประเภท คือ

1. โรคอวนทั้งตัว (overall obesity) เกิดจากทั้งรางกายมีไขมันมากกวาปกติ มิไดจํากดัอยูที่ตําแหนงใดตําแหนงหนึ่ง

2. โรคอวนลงพุง(visceral obesity/abdominal obesity) เกดิจากมีไขมนัของอวัยวะในชองทองมากกวาปกติโดยอาจมีไขมันใตผิวหนัง(subcutaneous fat) บริเวณหนาทองเพิ่มขึ้นดวย

(จากวารสารยา ฉบับเดือนมกราคม-กุมภาพันธ 2548)

Page 153: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

139

คําชี้แจง อานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 5 – 7 5. 5. พอทราบไดอยางไรวาเดินทางมาใกลถึงแมน้ําแลว ก. ไดกล่ินของไอน้ํา ข. ไดยินเสียงน้ําไหล ค. เดินทางมาหลายวัน ง. แสงของดวงตะวันที่สะทอนมา

วันนี้เปนวนัที่ 5 ของการเดนิทาง ที่คูนรูเพราะแมนับนิว้มือใหคนูดู วาวนัที่ผานมานั้นเปนบานตาํบลอะไรบาง แตคูนกจ็ําไมไดหรอกวาเปนที่แหงไหน ขณะนีเ้สียงเกวียนก ็ดังออด ๆ แอด ๆ ไปเรื่อย ๆ ดวงตะวนัสีหมากสุกก็กําลังลอยต่ําลงเรื่อย ๆ เมื่อแมบอกวา อีกไมนานก็ถึงริมฝงแมน้ําชีแลว คูนดใีจมาก บอกยี่สุนกับบุญหลายวา ทีนี้และเราจะไดเห็นแมน้ําใหญกันแลว

คูนขยับไปนั่งใกล ๆ พอ พอยิ้มใหคนูอีก แตดูสีหนาของพอมีรอยเมื่อยลากวาแม เพราะพอไมไดหลับนอนมากเทาแม บางคืนดึก ๆ คูนตืน่ขึ้นมาเหน็พอนั่งไลวัวหึ ๆ แตพอ ไมเคยบนวาเหนื่อยสักที “ลูกฟงเสียงอะไรซิ ” พอช้ีมือไปขางหนาแลวยิ้มอีก

คูนเงี่ยหฟูงก็ไดยินเสยีงหึ่ง ๆ ซา ๆ ดังมาแตไกล พอบอกวานัน่แหละคือเสียง แมน้ําไหล คูนจับไหลพอยนืขึ้นตะโกนไปดัง ๆ วา “เฮย จันดี เราสิถึงแมน้ําใหญแลว” จันดีตอบมาทนัใดวา “แมนแลว กูไดยนิเสียงน้ําไหลมาแลวเนอคูนเอย” (ลูกอีสาน : คําพูน บุญทวี)

Page 154: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

140

6. ขอใดเขียนแผนผังความคิดเพื่อสรุปใจความสําคัญของขอความขางตนไดถูกตองที่สุด ก.

ข.

ค. ง.

ลูกอีสาน

พอ แม คูน เพื่อนบาน

เดินทางไปแมน้ํา

ใชเวลา5 วัน

โดยเกวียน

พอ แม คูน เพื่อนบาน เดินทางไปแมน้ําชี ใชเวลา 5 วัน

ลูกอีสาน

ใชเวลาเดินทาง 5 วันถึงแมน้ําชี

พอ แม คูน และเพื่อนบาน

เดินทางไปแมน้ําชีโดยเกวียน

ลูกอีสาน

พอ แม คูนและเพื่อน เดินทางไปแมน้ําชี

ใชเกวียน 5 วันถึงแมน้ําชี

Page 155: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

141

7. ใจความสําคัญของขอความนี้คือ ก. คูน พอ แม และเพื่อนบานเดินทางใชเวลา 5 วัน ข. คูน พอ แมและเพื่อนบานเดนิทางโดยเกวยีน ใชเวลา 5 วันถึงแมน้ําช ี ค. คูน พอ แม และเพื่อนบานเดินทางใชเวลา 5 วันเมื่อถึงแมน้ําชีทุกคนดใีจมาก ง. คูน พอ แม และเพื่อนบานเดนิทางโดยเกวยีนใชเวลา 5 วันถึงแมน้ําชีระหวาง ทางพอรูสึกเหนื่อยลากวาแมเพราะเหนื่อย คําชี้แจง อานนิทานตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 8 – 9

กวางตวัหนึ่งหากินตามชายปา และเล็มหญาเหลือบเห็นนายพรานใหญ ถือหนาไมเดนิดอมมาแตไกล ก็ตกใจโดดหนีร่ีเขาดง พรานสะกดรอยรุดไมละลด กวางเห็นหมดชองหวังดังประสงค ก็หลบเขาถํ้าเสือดังจํานง เสือหมอบลงไมใหกวางเห็นตัว ปลอยใหเขากนถํ้ากระโจนจบั ปากงับคอฟดสะบัดหวั กอนส้ินใจกวางรองเสียงระรัว อันตรายยอมมทีั่วทุกแหงไป เราหนีคนพนแลวปะเสืออีก สุดเลี่ยงหลีกจงึชีวิตปลิดตักษัย (กวางกับเสือ ของ วลีรัตน ปานเพียร)

Page 156: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

142

8. แผนผังชนิดใดใชสรุปใจความสําคัญจากนิทานไดเหมาะสมที่สุด ก. กางปลา ข. ขั้นบันได ค. ใยแมงมุม ง. จําแนกประเภท 9. ใจความสําคัญของเรื่องนี้คือ ก. กวางตวัหนึ่งวิง่หนีนายพรานมาพบเสือจึงถูกเสือจับกินเปนอาหาร ข. กวางตวัหนึ่งหากินตามชายปาพบนายพรานจึงวิ่งหนีเขาไปหลบในถ้ําเสือ ค. กวางตวัหนึ่งหนีนายพรานโดยเขาไปหลบในถ้ําของเสือจึงถูกเสือจับกนิเปนอาหาร ง. กวางตวัหนึ่งหนีนายพรานมาพบเสือ เสือหลอกใหเขามาในถ้ําแลวจับกนิเปน อาหาร คําชี้แจง อานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 10 10. เหตุการณนี้เกดิขึ้นในเวลาใด ก. เชา ข. สาย ค. บาย ง. เย็น

เย็นวันนั้น ลอย ชูและคํา อยากใหนาบัวผันแปลกใจและดีใจ หลังจากทุกคน หมดหนาที่ชวยงานครอบครัวของตนเองแลว จึงไดพากันมาที่บานของอุดมพรอมดวย ปลาสามสี่ตัวที่พากันไปทอดแหไดเมื่อตอนกลางวัน โดยนัดแนะกับอุดมไวลวงหนาแลว ทุกคนตั้งใจจะมาทํากับขาวและกินขาวเย็นดวยกัน ลอยอาสาตมยําปลาชอนตัวใหญ สวนชูและคํา จะชวยกันปงปลาดุกใหสุขเหลืองนากิน แลวจะชวนนาบัวผันกินขาวมาก ๆ (จากหนังสือการอานจับใจความ ของ พรทิพย แฟงสุด)

Page 157: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

143

11. บุคคลใดนาจะอยูบานเดยีวกบั “นาบัวผัน” ก. อุดม ข. ลอย ค. ชู ง. คํา คําชี้แจง อานขาวตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 11

นายสรยุตม พรหมพจน เอกอัครราชฑูตไทย ณ กรุงมอสโก สหพันธรัฐรัสเซีย

เปดเผยวา ขณะนี้นักเรียนไทยมาศึกษาตอท่ีรัสเซีย ประมาณ 50 คน เปนนักเรียนทุนรัฐบาลไทยและทุนรัฐบาลรัสเซีย ซ่ึงถือวาเปนจํานวนนอยที่สุดในบรรดาประเทศในแถบอาเซียนที่สงนักเรียนมาเรียน เชน มาเลเซียสงมาประมาณ 1,000 คน และเพิ่มขึ้นทุกป เวียดนาม 5,000 คน อยางไรก็ตาม เวลานี้ทางประเทศไทยก็พยายามกระตุนใหเด็กไทยหันมาศึกษาตอท่ีรัสเซียมากขึ้น โดย พ.ต.ท. ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เห็นความสําคัญ โดยกําชับใหกระทรวงศึกษาธิการเนนการใหทุนกับผูที่จะมาเรียนในรัสเซีย เพราะรัสเซียกําลังเปดประเทศและ มีความสามารถในการพัฒนาไปอีกไกลในทุกดานโดยเฉพาะดานเศรษฐกิจและ การทองเที่ยว (จากหนังสือพิมพมติชน ฉบับวันพุธที่ 21 กันยายน 2548)

Page 158: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

144

12. ขอใดสรุปสาเหตุที่ พ.ต.ท. ดร.ทักษณิ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี พยายามกระตุนใหเดก็ไทย ไปศึกษาตอทีป่ระเทศรัสเซียไดถูกตอง ก. เพราะตองใหเดก็ไทยใชทุนการศึกษาใหคุม ข. เพราะประเทศไทยสงเด็กไปศึกษาตอทีป่ระเทศรัสเซียนอยที่สุด ค. เพราะประเทศในแถบอาเซียนนิยมสงเดก็ไปศึกษาตอที่ประเทศรัสเซีย ง. เพราะรัสเซียกาํลังเปดประเทศและมีความสามารถในการพัฒนาในทกุดาน โดยเฉพาะดานเศรษฐกจิและการทองเที่ยว คําชี้แจง อานกลอนสุภาพตอไปน้ีแลวตอบคําถามขอ 12 – 14

งานวันเกิด งานวันเกิดทีย่ิง่ใหญใครคนนั้น ฉลองกันในกลุมผูลุมหลง หลงลาภยศสรรเสริญเพลินทะนง วันเกิดสงชีพส้ันเรงวันตาย ณ มุมหนึ่งซ่ึงเหงานาเศราแท หญิงแกๆนั่งหงอยและคอยหาย โอวันนี้ในวนันั้นอันตราย แมคลอดสายโลหิตแทบปลิดปลงชนม วันเกิดลูกเกือบคลายวันตายแม เจ็บทองแทเทาไรก็ไมบน กวาอุมทองกวาคลอดรอดเปนคน เติบโตจนบัดนี้นี่เพราะใคร แมเจ็บเจียนขาดใจในวนันั้น กลับเปนวนัลูกฉลองกันผองใส ไดชีวิตแลวกเ็หลิงระเริงใจ ลืมผูใหชีวิตอนิจจา ไฉนเราเรียกกนัวาวันเกิด วันผูใหกําเนิดจะถูกกวา คําอวยพรที่เขยีนควรเปลีย่นมา ใหมารดาคณุเปนสุขจึงถูกแท เลิกจัดงานวันเกิดกันเถิดนะ ควรแตจะคุกเขากราบเทาแม ระลึกถึงพระคณุอบอุนแด อยามัวแตจัดงานประจานตวั

(จากวารสารสกุลไทย รายสัปดาห เดือนมกราคม 2549 ของ นภาลัย สุวรรณธาดา)

Page 159: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

145

13. บทประพันธ ใดที่กลาวเตือนสติผูที่จะจัดงานวันเกิดไดชัดเจนที่สุด ก. ไดชีวิตแลวกเ็หลิงระเริงใจ ลืมผูใหชีวิตอนิจจา ข. เลิกจัดงานวันเกิดกันเถิดนะ ควรแตจะคุกเขากราบเทาแม ค. คําอวยพรที่เขยีนควรเปลีย่นมา ใหมารดาคณุเปนสุขจึงถูกแท ง. โอวันนี้ในวนันั้นอันตราย แมคลอดสายโลหิตแทบปลิดปลงชนม 14. ใจความสําคัญของบทประพันธนี้คือ ก. ไมควรจัดงานวันเกิด ข. แมเจ็บปวดมากในวันที่ลูกเกดิ ค. เปลี่ยนงานวันเกิดเปนวันผูใหกําเนดิ ง. ในวนัเกดิควรระลึกลึกถึงพระคุณของแม คําชี้แจง อานกลอนบทละครตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 15 15. ขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหฝูงลิงทุกขใจ ก. นอนตื่นสาย ข. ไปรบไมทัน ค. กลัวอดน้ําตาย ง. เกิดเหตุอัศจรรย

บัดนั้น โยธาวานรทั้งหลาย คร้ันแสงทองสองแสงโพยมพราย นายไพรก็ไปยงัคงคา ก็ถึงที่ฟากฝงชลธี กระบี่จะลงลางหนา เห็นน้ําแหงถึงพื้นพสุธา วานรก็คิดอัศจรรย ตางทุกขที่จะอดน้ําตาย ไพรนายตกใจตัวส่ัน หมูลิงวิ่งวุนพลัวัน บางปรึกษากันอึงไป (จากเรื่องรามเกียรติ์ ตอนกุมกรรณทดน้ํา พระราชนิพนธในพระบาทสมเดจ็พระพุทธยอดฟาจฬุาโลก)

Page 160: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

146

คําชี้แจง อานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 16 – 17

.มินิเร็กซ. “กระตายขีป้ระจบ ตัวเล็กและหูสั้นแตมีราคาแพง”

ในบรรดาสายพันธุกระตายที่เล้ียงเปนสัตวสวยงามในขณะนี้ สายพันธุ “มินิเร็กซ” ไดรับความนิยมสูงสุด โดยเฉพาะที่ประเทศญี่ปุนและสหรัฐอเมริกา สําหรับประเทศไทย นั้นไดรับความนิยมตดิตอกันมา 2 ปแลว เนื่องจากกระตายมนิิเร็กซเปนกระตายที่พัฒนา ใหมีขนาดเล็ก หูส้ัน เมื่อดูดานขางจะตองเปนรูปครึ่งวงกลม เปนกระตายที่มีเสนหรงที่ นิสัยข้ีประจบ เชื่อง ตดิเจาของและอยากรูอยากเหน็ตลอดเวลา นอกจากนั้นยงัจัดวาเปน กระตายทีม่ีขนสั้นมาก ขนหนาแตนุมละเอียด หลายคนจึงเรียกกระตายสายพันธนี้วา “กระตายขนกํามะหยี”่ ทราบวากระตายมินิเร็กซนาจะมีถ่ินกําเนิดที่ประเทศฝรั่งเศส แตกลับไปพัฒนา สายพันธุ จนโดงดังที่ประเทศสหรัฐอเมริกา คุณหญิงมณฑิรา สุวรรณมาศ หนึ่งในผู ผูสนใจกระตายและเปนรายหนึ่งที่นาํเขาพอพันธุกระตายมินเิร็กซ จากสหรัฐอเมริกา ปจจุบันมพีอพันธุ-แมพนัธุจํานวน 32 ตัว เหตุผลทีก่ระตาย สายพันธนี้ไดรับความนิยม อยางรวดเร็วและตอเนื่อง เนื่องจากเปนกระตายที่มคีวามหลากหลายทางสีสัน กลาวคือ มีสีเยอะมากสําหรับผูเล้ียงในบานเราจะนิยม สีขาวเปนพื้นแลวแตมจุดดวยสีตาง ๆ เชน สีขาว-ดํา, ขาว-เทาและขาว-ทองแดง เปนตน .. (จากหนังสือพิมพเดลินิวส ฉบับวันเสารที ่ 8 ตุลาคม 2548) 16. ขอใดกลาวถึงลักษณะของกระตายสายพนัธุ “มินิเร็กซ” ไดถูกตองที่สุด ก. ลําตัวมีหลายส ี เมื่อดูดานขางจะตองเปนรูปครึ่งวงกลม ข. ลําตัวเล็ก หูส้ัน หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา”กระตายขนกาํมะหยี”่ ค. ตัวเล็กหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวากระตายขนกํามะหยี่ นิสัยเชื่องและมเีสนห ง. นิสัยเช่ืองติดเจาของและขี้ประจบลําตัวมีขนาดเล็กขนสัน้ หนาและนุมละเอียด

Page 161: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

147

17. กระตายมนิิเร็กซมีถ่ินกําเนิดที่ประเทศใด ก. ไทย ข. ญี่ปุน ค. ฝร่ังเศส ง. สหรัฐอเมริกา คําชี้แจง อานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 18 – 19 18. จากนิทานขางตน เราควรใชแผนผังชนิดใดสรุปใจความสําคัญ ก. ขั้นบันได ข. ใยแมงมุม ค. กางปลา ง. จําแนกประเภท

ยังมีวัวบานฝูงหนึ่ง เขาปลอยใหกินหญาอยูกลางทุงนา วัวตัวหนึ่งเจาปญญาคิดเห็นวา การที่หากินกับเพื่อนมากดวยกันเชนนั้นไมสูจะไดหญาออนและหญาชนิดที่ดี ๆ กินนัก คิดแลววัวตัวนั้นก็ออกจากฝูง เขาไปหาหญากินที่ชายปาแตโดยลําพัง ในมิชามินาน ราชสีหตัวหนึ่งไดสาบวัวก็เดินตามสาบออกมาทางชายปา พบวัวกําลังกินหญาเพลินอยูก็กระโจนเขาตบกัดฟดเหวี่ยงจนวัวตาย แลวราชสีหก็พาไปไวยังถํ้าที่ตีนเขา คร้ันตกบายลงคนเลี้ยงวัวออกมาจากที่พัก จะมาตอนฝูงวัวเขาคอก แตเมื่อมานับวัวดู เห็นวัวหายไปหนึ่งตัว จึงออกเที่ยวตามหาจนเหนื่อยก็ไมพบวัว คนเลี้ยงวัวหมดปญญา จึงลงนั่งกราบไหวบนบานเจาปา ขอใหชวยใหพบวัวแลวจะแกบนดวยหมูเปดไก พอบนแลวไดสักหนอย คนเลี้ยงวัวเดินไปพบถ้ําที่ราชสีหอยู เมื่อชะโงกเขาไปในถ้ํา เห็นราชสีหกําลังกินวัวอยู ก็ตกใจกลัวรองขึ้นวา “คราวนี้ถาตัวขาพเจารอดชีวิตไปไดแลว ขาพเจาจะถวายวัวใหแกเจาปาเพิ่มขึ้นอีกตัวหนึ่ง” นิทานเรื่องนี้ตรงกับสุภาษิตที่วา “เสียนอยเสียยาก เสียมากเสียงาย” http://www.rta.mi.th/chukiat/e_sob3.htm#xx 9 กันยายน 2548

Page 162: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

148

19. ขอใดสรุปใจความสําคัญของเรื่องไดถูกตอง ก. ววัโลภมากปลีกตัวไปหาหญากินลําพงัจึงถูกราชสีหจับกิน ข. ราชสีหจับวัวไปไวในถ้ําแลวรอใหเจาของมาตามหาจึงเริ่มกินวัวใหเห็นเพื่อขู ค. คนเลี้ยงววัตามหาววัที่พลัดออกจากฝูงไมเจอ จึงออนวอนใหเจาปาชวยโดย จะแกบนดวยหมูเปดและไก ง. คนเลี้ยงววัตามหาววัที่หายไปไมพบ จึงบนบานใหเจาปาชวยครั้นเมื่อพบวาราชสีห กําลังกินววัอยู จึงตองบนบานใหตนองปลอดภัยจากราชสีห คําชี้แจง อานขอความตอไปนี้แลวตอบคําถามขอ 20

การที่บางคนไมรับประทานอาหารเชาก็มีหลายสาเหตุ เชน ถาเปนเด็กอาจตองรีบไปโรงเรียนแตเชา หรือตื่นสายรับประทานอาหารไมทัน หนุมสาวกลัวจะอวน รูปราง ไมสวย ก็งดอาหารเชา สวนผูใหญบางคนไมไดทํางานหนัก ตอนเชาเลยไมรูสึกหิวหรือบางคนกลัวอวน อีกทั้งเขาใจวาอดอาหารเชาจะลดความอวนได จึงลดอาหารหนักแตกลับรับประทานเครื่องดื่ม หรืออาหารหวานแทน ซ่ึงเปน การเขาใจผิด (จากหนังสือการอานจบัใจความ ของ ทนิรัตน จันทราทินนัท)

Page 163: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

149

20. ขอใดใชแผนผังความคิดเพื่อสรุปใจความสําคัญไดเหมาะสมและถูกตองที่สุด ก.

ข.

ค. ง.

สาเหตุของการไมรับประทานอาหารเชา

เด็ก หนุมสาว

ผูใหญ

รีบไปโรงเรียน ต่ืนสาย

กลัวอวน

ทํางานหนัก ไมหิว กลัวอวน

รีบไปโรงเรียน กลัวอวน ต่ืนสาย

สาเหตุของการไมรับประทานอาหารเชา

ผูใหญทํางานหนัก ไมหิวและกลัวอวน

เด็กรีบไปโรงเรียนและนอนตื่นสาย

หนุมสาวกลัวอวน

ต่ืนสาย กลัวอวน

ทํางานหนัก ไมหิว

สาเหตุของการไมรับประทานอาหารเชา

Page 164: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

150

ตอนที่ 2 แบบทดสอบอัตนัยจํานวน 4 ขอ 40 คะแนน ใหเวลาในการปฏิบัติ 60 นาที

คําชี้แจง

ขอ 1. ใหนักเรียนอานขาวเรื่อง หุนยนตสงเอกสารเทคโนโลยีจากรถกระปอง

แลวเขียนสรุปความ (10 คะแนน) ขอ 2. ใหนักเรียนอานขาวเรื่อง หุนยนตสงเอกสารเทคโนโลยีจากรถกระปอง แลวสรางแผนผังความคิด (10 คะแนน) ขอ 3. ใหนักเรียนอานขอความเรื่อง เขื่อน แลวสรางแผนผังความคิด (10 คะแนน) ขอ 4. ใหนักเรียนอานสารคดีเร่ือง โรคติดตอและโรคไมติดตอ แลวสรางแผนผังความคิด (10 คะแนน)

Page 165: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

151

1. จงอานขอความตอไปน้ีแลวสรางแผนผงัความคดิและเขียนสรุปความ

หุนยนตสงเอกสารเทคโนโลยีจากรถกระปอง

หากคุนเคยกับหุนยนตที่ใชเทคโนโลยีช้ันสูง จนสามารถเลียนแบบพฤติกรรมมนุษยไดสารพัด ตั้งแตทํากับขาวไปจนถึงเลนดนตรี เราอาจจะคิดไมถึงวาเทคโนโลยีพื้น ๆ ก็สามารถสรางสรรคเปนหุนยนตได นนท ทองโปรงใส จากโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย จ.นครปฐม เปนนักเรียนทุนโครงการพัฒนาและสงเสริมผูมีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (พสวท.) ของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดทดลองทําโครงงานวิทยาศาสตร เรื่อง หุนยนตสงสารจากรถกระปอง นนทตองการสรางหุนยนตที่สามารถทํางานไดตามคําสั่งที่ปอนเขาไปไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยผนวกเทคโนโลยีสมัยใหมเขากับการทํางานในชีวิตประจําวัน หุนยนตสามารถตรวจจับ สงขอมูลประมวลผลและทํางานโดยใชวงจรรถกระปองแทนการใชไมโครคอนโทรลเลอรหรือหนวยประมวลขนาดจิ๋วซ่ึงมีราคาแพงมาก หุนยนตสงสาสนของนนททําหนาที่สงเอกสารไปตามอาคารเรียนภายในบริเวณโรงเรียนตามเปาหมายที่กําหนดไว คําส่ังจะถูกสงไปยังคอมพิวเตอรผานวงจรในรถกระปองเมื่อคอมพิวเตอรรับรูเปาหมายคําสั่ง ก็จะสั่งการใหหุนยนตเดินไปตามเปาหมายที่กําหนด จะมีเซ็นเซอรจับการสะทอนของเสนสะทอนแสงตามทางเดิน มีตัวตานทานรับเสียงเพื่อปองกันไมใหหุนยนตเดินออกนอกเสนทาง โปรแกรมประมวลผลนั้น นนททําบนโปรแกรมวิชวลเบสิก เขาใหเหตุผลวาใชงานงาย สามารถประยุกตใชไดหลากหลาย ขอดีของหุนยนตสงสาสนจากรถกระปอง คือ สามารถทํางานไดตามตองการราคาถูก ส่ังงานงาย ใชไฟนอย แตมีขอเสียก็คือ ไมสามารถทํางานไดหลากหลายเหมือนหุนยนตที่ใชไมโครคอนโทรลเลอร เนื่องจากขอจํากัดของรถกระปองและพอรตขนาน ถึงแมวาโครงงานของนนทจะยังไมสามารถนําไปประยุกตใชไดมากนัก แตก็เปนจุดเริ่มตนของกระบวนการประดิษฐหุนยนตที่ใชตนทุนต่ํา สามารถทําไดเองโดยไมตองอาศัยความรูมากมาย เด็กๆก็ทําไดโดยการประยุกตใชรถกระปอง นนทยอมรับวาโครงการนี้มีอุปสรรคมาก เพราะหากจะทําหุนยนตใหไดดี ตองอาศัยทักษะความชํานาญดานชางกล และตองมีเครื่องมือชาง แตเขาเปนนักเรียนสายสามัญที่ไมรูเร่ืองชางกล ไมมีเครื่องมือ จึงตองใชวิธีดัดแปลงหาวัสดุอ่ืนมาทดแทนซึ่งก็ไดผลในระดับหนึ่ง

(จากหนังสือพมิพมติชน ฉบบัวันพุธที่ 12 ตุลาคม 2548)

Page 166: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

152

2. จงอานขอความตอไปน้ีแลวสรางแผนผังความคิดเพื่อจําแนกประเภทของเขื่อน

“คนทั่วไปรูจักทําทํานบกั้นน้ําไวใชสอยในดานอุปโภคบริโภค ชาวบานทางภาคเหนือรูจักสรางฝายมาชวยในการเพราะปลูก ความคิดดังกลาวนี้ไดพัฒนามาเปนเขื่อนในภายหลัง เขื่อนที่สรางขึ้นมาในประเทศไทย ทําไดสองวิธี คือ เขื่อนคอนกรีตและเขื่อนดิน เขื่อนดินเปนเขื่อนที่ใชดินบดอัดเปนชั้น ๆ ช้ันละประมาณ 30 เซนติเมตร เขื่อนดินเปนเขื่อนที่ใชดินบดอัดเปนชั้น ๆ ช้ันละประมาณ 30 เซนติเมตร ใสดินทับถมกันหลาย ๆ ช้ันขึ้นมาใหสูงจนกั้นน้ําไดตามที่ตองการตรงกลางมีรองแกนเปนดินเหนียว อัดฉีดน้ําปูนลงไปในหินฐานรากตามหลักวิชาธรณีวิทยา เพื่อไมใหน้ําซึมผานฐานรากของเขื่อนได อัดฉีดเสร็จแลวก็ถมดินหินประเภทตางๆ ตามระดับชั้นตามแบบของเขื่อน เขื่อนประเภทนี้ไดแกเขื่อนแกงกระจานในลุมน้ําเพชร จังหวัดเพชรบุรี เขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี สวนเขื่อนคอนกรีตสรางดวยคอนกรีตระหวางหุบเขาสองดาน ปกติจะสรางเปนรูปเขื่อนโคงเพื่อใหตัวเขื่อนรับแรงดันของน้ํา แลวถายแรงไปยังหุบเขาซึ่งหุบเขาทั้งสองดานจะตองแข็งแรงพอที่จะสามารถรับแรงดันของน้ําใหเขื่อนอยูตัวได ในการสรางเขื่อนลักษณะนี้ไมตองใชคอนกรีตหนานัก แตถาสรางเปนเขื่อนคอนกรีตหนา ตัวเขื่อนจึงจะมีน้ําหนักชวยรับแรงดันของน้ําได เขื่อนชนิดนี้ไดแก เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก เขื่อนกิ่วลม จังหวัดลําปาง” (จากหนังสือเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 6)

Page 167: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

153

3. จงอานขอความตอไปน้ีแลวสรางแผนผังความคิดเพื่อบอกสาเหตุของการเกิดโรค

โรคติดตอและโรคไมติดตอ การแพทยแผนปจจุบันมีความเจริญกาวหนาและทันสมัยมากขึ้น สามารถรักษา โรครายตาง ๆ ใหหายได “ทําไมเราตองรอใหเกิดโรครายเพื่อใหหมอรักษา” “ทําไมเราไมดูแลรักษาตัวเองใหหางไกลจากโรครายที่จะเกิดขึ้น” คําตอบหนึ่งที่พอจะตอบไดคือ เราไมรูสาเหตุของการเกิดโรค นั่นเอง เมื่อไมรูสาเหตุจึงไมสามารถปองกันตนเองได ดังนั้นเราจึงควรเรียนรูเกี่ยวกับโรคซึ่งมีสาระดังนี้ โรคแบงออกเปน 2 ชนิด คือ 1. โรคติดตอเปนโรคที่ติดตอจากคนไปสูคนหรือจากสัตวไปสูคนได 1.1 โรคอหิวาตกโรค เปนโรคระบบทางเดินอาหารที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน ผูปวยที่เปนโรคนี้จะมีอาการปวดทอง ถายอุจาระเหลว คลายน้ําซาวขาว มีกล่ินคาว อาเจียน ออนเพลียและเปนตะคริวที่ขา เปนผลใหรางกายขาดน้ําและเกลือแร ถาไมไดรับการรักษาอาจถึงแกชีวิตได สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ติดตอไดจากการรับประทานอาหารหรือดื่มน้ําที่ปนเปอนอุจจาระหรืออาเจียนของผูปวย การรับประทานอาหารที่มีแมลงวันตอมหรือรับประทานหอยดิบ ๆ จากแหลงที่มีเชื้อนี้ 1.2 โรคไขมาลาเรีย มีช่ือเรียกหลายชื่อ เชน ไขจับส่ัน ไขปา เปนโรคติดตอที่เกิดขึ้นในเขตรอน และมียุงกนปลองเปนพาหะนําโรค การติดตอโรคเริ่มจากยุงกนปลองไปกัดผูปวยและดูดเลือดที่มีเชื้อไขมาลาเรียเขาไปดวย เมื่อยุงตัวนี้ไปกัดคนปกติก็จะปลอยเชื้อมาลาเรียทําใหผูปวยทีถูกยุงลายกัดปวยเปนไขมาลาเรีย 1.3 โรคซารส หรือโรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรายแรง เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดใหม ผูที่เปนโรคซารสจะมีอาการไขสูง 38-40 องศาเซลเซียส ไอแหบแหง หายใจขัด เมื่อนําตัวผูปวยเอกซเรยจะพบความผิดปกติที่ปอดซึ่งดูคลายปอดบวม

Page 168: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

154

นอกจากนั้นอาจมีอาการปวดศีรษะ หนาวสั่น กลามเนื้อตึง เบื่ออาหาร มึนงง และทองรวง แตอาการเหลานี้จะเกิดขึ้นหลังจากการฝงตัวของเชื้อโรคแลว 2 – 7 วันหรือ 3 – 5 วันเปนสวนใหญ กอนผูปวยจะรูสึกตัวเหมือนมีอาการคลายไขหวัดใหญ โรคซารสแพรระบาดโดยผาน ฝอยละอองน้ําลายของผูติดเชื้อที่ไอหรือจามประชิดตัวโดยที่เชื้อไวรัสซารสยังสามารถลอยตัวอยูในอากาศนอกตัวคนไขไดนานราว 3 – 6 ช่ัวโมง และเกาะติดอยูกับเครื่องใชบริเวณนั้น 2. โรคไมติดตอ เปนโรคไมสามารถติดตอไปยังผูอ่ืนได 2.1 โรคอวน คือ สภาวะรางกายมีน้ําหนักตัวมากกวา มีการสะสมไขมันใตผิวหนัง ผลของโรคอวนทําใหเกิดโรคตาง ๆ เชน โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ตลอดจนผลกระทบถึงปญหาทางจิตใจและทางดานสังคม สาเหตุของการเกิดโรคคือ รับประทานอาหารเกินความตองการของรางกายและออกกําลังกายนอย เกิดจากกรรมพันธุ เชน ถาพอแมอวน ลูกก็มีโอกาสอวนดวย เกิดจากความผิดปกติทางสมองทําใหการควบคุมการกินอาหารผิดปกติ เกิดจากความเครียด มีผลใหบางคนเกิดความอยากอาหารมากกวาปกติ 2.2 โรคเบาหวาน คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติของตับออนที่ไมสามารถหล่ังสารอินซูลิน เพื่อรักษาระดับน้ําตาลในเลือดได ซ่ึงทําใหเกิดโรคแทรกซอนไดหลายอยาง เชน ตาบอด ประสาทเสื่อม โรคไต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดตีบ สาเหตุของการเกิดโรค คือ เกิดจากพันธุกรรม โรคเบาหวานถายทอดทางพันธุกรรม เชน พอแมเปนโรคเบาหวาน ลูกก็เปนโรคเบาหวานดวย เกิดจากความอวน คนอวนมักกินอาหารมากเกิน โดยเฉพาะอาหารที่มีน้ําตาลมากมีรสหวานจัด เกิดจากความเครียด จะกระตุนใหฮอรโมนบางชนิดหล่ังออกมามากขึ้น ซ่ึงมีผลทําใหระดับน้ําตาลในเลือดสูง เกิดจากขาดการออกกําลังกาย ทําใหรางกายอวนไดงาย มีผลทําใหเปนเบาหวานไดงายโดยเฉพาะผูที่มีอายุมาก เมื่อเราทราบสาเหตุของการเกิดโรคแลว คิดวานาจะปองกันตนเองใหหางไกลโรคไดและใชชีวิตอยางมีความสุขไมตองไปหาหมอ.. (จากหนังสือแบบเรียนกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษา ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ของอักษรเจริญทัศน)

Page 169: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

155

(กระดาษคําตอบสําหรับเขียนแผนผังความคิด)

ช่ือ………………………………..……………………ช้ัน……………………เลขที่…………….

Page 170: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

156

(กระดาษคําตอบสําหรับเขียนสรุปความ) ช่ือ……………………………………………………….ช้ัน……………….เลขที่………………

……………………………………….

…………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………

Page 171: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

157

ขอที่ เฉลย ทักษะที่ประเมนิ

1 ค ความจํา 2 ง ความเขาใจ 3 ง การนําไปใช 4 ง การวิเคราะห 5 ข ความจํา 6 ค การนําไปใช 7 ข การวิเคราะห 8 ข การนําไปใช 9 ค การวิเคราะห 10 ง ความจํา 11 ก ความจํา 12 ง การวิเคราะห 13 ข การวิเคราะห 14 ง การวิเคราะห 15 ค ความจํา 16 ง การวิเคราะห 17 ค ความจํา 18 ก การนําไปใช 19 ง การวิเคราะห 20 ข การนําไปใช

เฉลยแบบทดสอบ

Page 172: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

158

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1 สาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง ประเภทของแผนผงัความคดิ ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เวลา 2 ชั่วโมง สาระสําคัญ การสรุปความโดยใชโครงสรางความรูหรือแผนผังความคิด เปนการฝกใหนักเรียนรวบรวมขอมูลจากการศึกษาคนควา การอาน การฟง แลวนําขอมูลจัดกลุมเปนแผนภาพใหเห็นโครงสรางความคิด ดังนั้นนักเรียนควรไดรูจักประเภทของแผนผังความคิด เพื่อนําแผนผังความคิดไปใชใหเหมาะสมกับเรื่องที่อาน การตอบคําถามจากเรื่องที่เรียนรูไดและนําคําตอบนั้นไปสรางเปนแผนผังหรือเคาโครงแลวเขียนสรุปความอีกครั้งหนึ่ง จะทําใหนักเรียนเกิดความรูความเขาใจและสรุปสาระสําคัญของเร่ืองได ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เพื่อใหนักเรยีนมีความรู ความสามารถดังตอไปนี ้ 1. นักเรียนสามารถจําแนกประเภทของแผนผงัความคิดได 2. นักเรียนสามารถเขียนแผนผงัความคิดจากเรื่องประเภทของแผนผังความคิดได 3. นักเรียนสามารถเขียนสรุปความเรื่องประเภทของแผนผงัความคิดได สาระการเรียนรู ประเภทของแผนผังความคิด กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน นักเรียนแบงกลุมละเทา ๆ กันจํานวน 3 กลุมพรอมทั้งเขียนชื่อสมาชิกและตําแหนงเปนแผนผังความคิดลงในกระดาษแผนใหญ โดยครูเปดเพลง 3 เพลงเปนสัญญาณเมื่อจบเพลงใหแตละกลุมออกมาแนะนําสมาชิกของตนเอง ขั้นสอน ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ 1. ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับแผนผังความคิด เชน “ใครรูจักแผนผังความคิดบาง” “แผนผังความคิดที่นักเรียนรูจักมีช่ือหรือไม” “และลักษณะของแผนผังเปนอยางไร” จากนั้นครูจึง

Page 173: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

159

อธิบายลักษณะและการเลือกใชแผนผังความคิดชนิดตาง ๆ ไดแก แผนผังความคิดแบบใยแมงมุม แผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท แผนผังความคิดแบบขั้นบันได และแผนผังความคิดแบบกางปลา 2. นักเรียนแตละกลุมศึกษาใบความรูเร่ืองประเภทของแผนผังความคิดอีกครั้งหนึ่ง 3. ครูแจกกระดาษแผนใหญและใบงานเรื่อง”เลือกใชใหถูก” จากนั้นใหทุกคนอาน ใบงานพรอมกนั แลวใหแตละกลุมเลือกขอความที่ตนพอใจ กลุมละ 1 ขอความ 4. นักเรียนแตละกลุมอภิปรายเพื่อเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับขอความ ที่เลือกโดยมีครูคอยใหคําแนะนํา 5. ครูใชคําถามนําเพื่อใหนักเรียนแตละกลุมเริ่มเขียนชื่อเร่ืองและเขียนโครงรางลอมรอบขอความ จากนั้นจึงเปดโอกาสใหนักเรียนแตละกลุมเขียนใจความสนับสนุนและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบขอความนั้น พรอมทั้งโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุน โดยครูคอยใหความชวยเหลือหรือแนะนําเพิ่มเติมในสวนที่นักเรียนไมเขาใจหรืออาจใชคําถามเพิ่ม 6. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานของตนเองใหเพื่อน ๆ ทราบและรวมกันอภิปรายหรือเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อใหแผนผังความคิดสมบูรณยิ่งขึ้น 7. นักเรียนทุกคนทําใบงานเรื่อง เขียนแผนผังความคิดประเภทของแผนผังความคิดและใบงานเขียนสรุปความประเภทแผนผังความคิด ขั้นสรุป

นักเรียนสรุปใจความสําคัญของเรื่องดวยการตอบคําถามจากครูผูสอน ดังนี ้ - แผนผังความคดิแบงออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง - แตละประเภทเหมาะสมกับงานเขียนชนิดใด

สื่อการเรียนรู 1. ใบความรู เร่ือง ประเภทของแผนผังความคิด 2. ใบงาน เร่ือง เลือกใชใหถูก 3. ใบงาน เร่ือง เขียนแผนผังความคิดประเภทของแผนผังความคิด 4. ใบงาน เร่ือง เขียนสรุปความประเภทของแผนผังความคดิ การประเมินผล 1. ตรวจผลงาน 2. ประเมินการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท 3. ประเมินการเขียนสรุปความ

Page 174: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

160

ขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา เปนแผนการสอนที่ใหผูเรียนรูจักการสรางองคความรูดวยการใชแผนผังความคิดโดยใหนกัเรียนสรุปความจากบทเรียนครูควรแนะนําขั้นตอนการสรุปความรู เพื่อใหนกัเรียนรูจักสรางองคความรูดวยตนเองใหมาก ๆ

(นายสัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา) ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนวดัหนองพันเทา

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู แผนผังความคิดที่นักเรียนสรางขึ้นเพื่อแนะนําสมาชิกภายในกลุมเปนแผนผังความคิดแบบใยแมงมุม เมื่อครูพูดคุยและซักถามถึงประเภทของแผนผังความคิด พบวา นักเรียนไมเคยทราบมากอนวาแผนผังความคิดมีหลายประเภท เมื่อใหนักเรียนศึกษาในใบความรูและทําใบงาน นักเรียนจึงใหความสนใจตอการเรียนรูเปนอยางดีแตก็ยังเลือกใชแผนผังความคิดแตละประเภทไดไมเหมาะสมนัก ครูจึงตองอธิบายเพิ่มเติมและอธิบายซ้ํา ๆ ในขณะที่นักเรียนทําใบงานทีละขั้นตอนอีกครั้งหนึ่ง

ลงชื่อ ผูบันทึก (นางสาวกณัหา คําหอมกุล)

ครู คศ. 1 โรงเรียนวัดหนองพันเทา

Page 175: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

161

ใบความรู เร่ือง ประเภทของแผนผงัความคิด

คําชี้แจง จงศกึษาใบความรูตอไปนี ้ แผนผังความคิด (Mind Mapping) หมายถึง แผนผังที่แสดง ถึงความรู

ความคิด ความเขาใจ ของผูเรียน ที่ผานการประมวลความรูความคิด ตามลําดับขั้นตอน ซ่ึงประกอบไปดวยสวนสําคัญ 3 สวน คือ คําสําคัญ เสนเชื่อมโยง และคําหรือวลี

ที่แสดงถึงขอมูลหรือคําสําคัญนั้น ๆ ซ่ึงสามารถจําแนกออกเปนประเภทได 4 ประเภท คอื

1. แผนผังความคิดแบบใยแมงมุม ใชสําหรับขอความที่มีใจความสําคัญ และรายละเอียดชัดเจนหรือสําหรับการเขียนแบบสรางสรรคที่สามารถแตก ความคิดไดหลากหลาย

ปลาฉลาม

การหาอาหาร

ชนิด ประโยชน

นิสัย

Page 176: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

162

2. แผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท จะแสดงความสัมพันธของหัวเร่ือง ตัวอยาง คุณสมบัติ คุณลักษณะและความแตกตาง ดังนั้นแผนผังชนิดนี้จึงเหมาะสมกับขอความ มีเนื้อหาที่บอกถึงความแตกตาง การจําแนก ออกเปนสวนๆ หรือจําแนกเปนประเภท เชน ชนิดของสัตว ประเภทของเครื่องใชไฟฟา

3. แผนผังความคิดแบบขัน้บันได เหมาะสําหรับขอความที่แสดงลําดับเวลา กระบวนการหรือข้ันตอนไวชัดเจน เชน นิทาน เร่ืองสั้น นิยาย เปนตน

กระตายพบเตา/ทาเตาวิ่งแขง

กระตายชะลาใจ/พักหลับ/เตาแซง

กระตายตกใจตื่น รีบวิ่งตามเตา

สายเกินไป/เตาถึงเสนชัยกอน

สัตว

สัตวบก สัตวน้ํา

Page 177: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

163

สาเหตุ ที่แดง ขาดเรียน

การเรียน

หยาราง

ทะเลาะวิวาท

ครูดุ ครูสอนไมรูเร่ือง

ถูกครูตี

เพื่อนชักชวน

เขากับเพื่อนไมได

คะแนนสอบไมดี

ไมทําการบาน

ครอบครัว เพื่อน

ครู

4. แผนผังความคิดแบบกางปลา ชวยใหผูใชสามารถแยกแยะสิ่งที่อาจเปนสาเหตขุองผลหรือปญหาหรือใชกบัเนื้อหาที่เปนเหตุเปนผลกัน

Page 178: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

164

ใบงาน เร่ือง เลือกใชใหถูก

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………... คําชี้แจง จงอานขอความตอไปนี้ แลวรวมกนัอภิปรายภายในกลุมเพื่อเลือกแผนผังความคิดให เหมาะสมกับเรื่องที่อาน ขอความที่ 1

แผนผังความคิดท่ีเลือกใชคอื………………………………..

เสือโครงตัวหนึ่งกลับมาถึงถํ้าก็ตะโกนขึ้นอยางหงุดหงิดวา “หาอาหารไดแลว หาอาหารไดแลว ใครหิวก็ออกมากินเอง” เมียเสือโครงจึงถามวา “อาว ! พี่ไมไดลากเหยื่อกลับมาหรือจะ” ”ไมไดลากมา !” เสือโครงตะโกนดังล่ันถํ้า “ฉันออกหาอาหารตั้งแตเชาจนเหนื่อยแลว เมื่อครูจับมาลายได ตัวหนึ่ง เลยทิ้งไวที่ชายทุงโนน” “โธพูดเบา ๆ หนอยสิจะ เดียวสัตวอ่ืนไดยินกันหมด’’ เมื่อไดยินเมียพูดเชนนั้น เสือโครงก็ฉุกคิดไดจึงรีบวิ่งกลับไปที่ชายทุง แตก็ไมพบซากเหยื่ออันโอชะของมันเสียแลว

(จากหนังสือ 50 นิทานอานเพลิน ของ พ.ศรีสมิต)

Page 179: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

165

ขอความที่ 2

แผนผังความคิดท่ีเลือกใช คอื…………………………………………………

สาเหตุของการเกิดโรคในผักสวนครัว

โรคที่พบมากในผักกาดขาวปลีและกระหล่ําดอก คือ โรคเนา คอดิน ซ่ึงเกิดจากเชื้อรา หรือบัคเตรีที่อยูตามดินและอาจจะกดักิน ตนผักได ดังนั้นการปองกนัจึงควรใชเมล็ดคลุกยาฆาเชื้อโรคกอนนํามาเพาะพันธุ สวนโรคที่พบมากในผกักาดเขียวปลี คือ โรคเหี่ยวเฉา ซ่ึงเปนโรคที่เกิดจากเชื้อรา สาเหตุเกดิจากการเตรียมดินไมดีและปลูกผักติดตอกันหลายครั้ง วิธีการปองกันโดยการฉีดยา ฆาเชื้อราและปลูกพืชชนิดอืน่หมุนเวยีนเมือ่พบพืชเปนโรคดังกลาว ควรถอนแลวนําไปเผาทิ้ง

(จากหนังสือแบบเรียนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีช้ันประถมศึกษาปที่ 6)

Page 180: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

166

ขอความที่ 3

แผนผังความคิดท่ีเลือกใช คอื…………………………………………

ประเภทของงานเขียน การเขียนเปนการถายทอดความรู ความคิดและความเขาใจของตนเองออกมาเปนลายลักษณอักษรใหผูอ่ืนเขาใจ ซ่ึงนักวิชาการไดจําแนกประเภทของงานเขียนไว 3 ประเภท ดังนี้

1. บันเทิงคดี เปนงานเขียนที่มุงเนนใหความบันเทิงแกผูอาน แตสอดแทรกความรูหรือขอคิดและคติธรรมไว เนื้อหาสาระเปนเรื่องราวที่ผูแตงสมมติขึ้น ไมใชเร่ืองที่เกิดขึ้นจริงมีการสมมติตัวละคร สมมติเหตุการณและสถานที่ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับตัวละคร ซ่ึงสามารถเขียนไดทั้งบทรอยแกวและบทรอยกรอง เชน นิทาน นวนิยาย เร่ืองสั้น เร่ืองแปล การตูน 2. หนังสือสารคดี เปนหนังสือท่ีเนนใหความรูแกผูอานแตสอดแทรกความบันเทิง ไวดวย เนื้อหาสาระเกี่ ยวกับความรู อาจเปนเรื่องราวเกี่ ยวกับวิชาการตาง ๆ เชน ประวัติศาสตร ภูมิศาสตร สัตว วิทยาศาสตร สุขภาพ เกี่ยวกับสถานที่และเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง เชน สารคดีชีวประวัติ สารคดีทองเที่ยว 3. บทรอยกรอง เปนงานเขียนประเภทบันเทิงคดีอีกรูปแบบหนึ่งที่ใหความสนุกสนานเพลิดเพลินแกผูอาน ผูฟงและสอดแทรกไวดวยความรูและคติธรรม เชน เพลงกลอมเด็ก เพลงปลอบเด็ก ปริศนาคําทาย บทกลอนสอนใจวัยรุน (จากหนังสือคูมือ การเขียนบันเทิงคดีและสารคดีสําหรับเด็ก ของ ดร.สมพร จารุนัฎ)

Page 181: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

167

ใบงาน เร่ือง เขียนแผนผังความคิด

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………... คําชี้แจง จงเขียนเติมขอความลงในแผนผังความคิดใหถูกตอง

ประเภทแผนผังความคิด

Page 182: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

168

ใบงาน เร่ือง เขียนสรปุความประเภทของแผนผังความคิด

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่………….. คําชี้แจง จงเขียนสรุปความตามแผนผงัความคิดดวยสํานวนของนกัเรียนเอง ……………………….. ………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………… ………………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………… ……………………………

Page 183: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

169

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคดิแบบจําแนกประเภท

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี ้ (ใชเกณฑการประเมินหนา 235)

การจําแนกความสําคัญของเนื้อเร่ือง การเขียนใจความสนับสนุน การเขียนโครงราง รวม เลขที ่4 3 2 1 4 3 2 1 2 1 10

1 8 2 8 3 10 4 8 5 8 6 8 7 8 8 8 9 8

10 8 11 10 12 10 13 10 14 10 15 8 16 8 17 10 18 10 19 10 20 10 21 10 22 10 23 10 24 10 25 8 26 8 27 8 28 8 29 10 30 10

Page 184: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

170

แบบประเมินความสามารถในการเขียนสรุปความ

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเห็นเกีย่วกับระดับความสามารถ ในการเขยีนสรุปความของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑการประเมินหนา 237)

การสรุปเนื้อเร่ือง เขียนประโยคไดถกูตอง การสะกดคํา รวม เลขที ่5 4 3 2 1 3 2 1 2 1 10

1 7 2 7 3 8 4 7 5 8 6 7 7 7 8 7 9 7

10 7 11 8 12 8 13 9 14 9 15 8 16 8 17 9 18 9 19 8 20 9 21 9 22 8 23 9 24 9 25 8 26 7 27 7 28 8 29 8 30 9

Page 185: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

171

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2 สาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง การเขียนสรุปความ ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เวลา 2 ชั่วโมง สาระสําคัญ การเขียนสรุปความ เปนทักษะการเขียนที่สืบเนื่องและสัมพันธกับการอานจับใจความ กลาวคือเปนการสื่อสารที่ผู เขียนตองแสดงทั้งสมรรถภาพในการอานจับใจความใหถูกตอง ตรงประเด็น และสามารถเรียบเรียงภาษาเขียน สละสลวย ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เพื่อใหนักเรยีนมีความรู ความสามารถดังตอไปนี ้ 1. นักเรียนสามารถตอบคําถามจากเรื่องที่อานได 2. นักเรียนสามารถเขียนแผนผงัความคิดของเรื่องอานได 3. นักเรียนสามารถเขียนสรุปความจากที่อานได สาระการเรียนรู ความหมาย ความสําคัญ และขั้นตอนการเขียนสรุปความ กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน นักเรียนแบงกลุม 3 กลุม กลุมละเทา ๆ กันแลวเลนเกม “แปลงราง” โดยใหนักเรียนสมาชิกในกลุม ยนื หรือนั่ง เพื่อสรางเปนแผนผังความคิดตามที่ครูกําหนด เชน “โอม ! ฮิมเมโจได เจาจงแปลงรางเปนแผนผังความคิดที่ใชจําแนกประเภทของเครื่องใชภายในบาน” “โอม ! ฮิมเมโจได เจาจงแปลงรางเปนแผนผังความคิดสําหรับใชกับขอความที่เปนเหตุเปนผลกัน” เปนตน ขั้นสอน ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ 1. นักเรียนอานใบความรูเร่ืองการเขียนสรุปความ ภายในเวลา 10 นาที ซ่ึงนักเรียนสามารถอานไดมากกวา 1 รอบ จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเรื่องที่อานแลวเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับเรื่องที่อาน

Page 186: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

172

2. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเรื่องการเขียนสรุปความอีกครั้งหนึ่งเพื่อใหนักเรียนเขียนชื่อเร่ืองลงตรงกึ่งกลางของกระดาษใบงานเรื่องเขียนแผนผังความคิดที่ครูแจกให จากนั้น เปดโอกาสใหนักเรียนเขียนโครงรางรูปแบบตางๆ ลอมรอบขอความหรืออาจจะใชวิธีตกแตงเพิ่มเติมจากโครงรางที่ครูกําหนดไวให 3. ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาใจความสําคัญของเรื่อง เชน 3.1 การเขียนสรุปความหมายถึง … 3.2 การเขียนสรุปความมีความสําคัญหรือไม อยางไร 3.3 การเขียนสรุปความมีขั้นตอนการปฏิบัติอยางไร 4. เมื่อนักเรียนไดคําตอบซึ่งเปนใจความสําคัญของเรื่องแลว จึงเขียนลงในกระดาษโดยเขียนตอจากชื่อเรื่องเปนแผนผังแบบขั้นบันได และเขียนโครงรางลอมรอบขอความพรอมทั้งโยงเสนจากชื่อเรื่องมายังใจความสําคัญตามลําดับ เชน ช่ือเร่ือง – ความหมาย – ความสําคัญ – ขั้นตอน การเขียนสรุปความ เปนตน 5. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนเขียนใจความสนับสนุนและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบขอความนั้น แลวโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุน โดยครูคอยใหคําปรึกษาหรือแนะนําเพิ่มเติมในสวนที่นักเรียนยังไมเขาใจ 6. นักเรียนและครูรวมกันทบทวนใจความสําคัญของเรื่องจากแผนผังความคิดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อแกไขหรือเพิ่มเติมใหแผนผังความคิดสมบูรณยิ่งขึ้น จากนั้นจึงเขียนสรุปความดวยสํานวนภาษาของตนเองลงในใบงาน เร่ืองเขียนสรุปความ พรอมทั้งตกแตงแผนผังความคิดใหสวยงาม ขั้นสรุป นักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญของเรื่องโดยสุมตัวอยางนักเรียน 2 – 3 คน ใหออกมานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน สื่อการเรียนรู 1. ใบความรู เร่ือง การเขียนสรปุความ 2. ใบงาน เร่ือง เขียนแผนผังความคิด 3. ใบงาน เร่ือง เขียนสรุปความ การประเมินผล 1. ตรวจผลงาน 2. ประเมินการเขยีนสรุปความ 3. ประเมินการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได

Page 187: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

173

ขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ทักษะการเขียนโดยการสรุปความ ครูควรแนะนําถึงวิธีการสรุปความใหนักเรียนทราบถึงขั้นตอนกอน แลวจึงฝกใหนักเรียนทําเองเพื่อสรางองคความรูและไมควรเนนรูปแบบมากนัก

(นายสัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา) ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนวดัหนองพันเทา

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู นักเรียนมีความสุขกับการทํากิจกรรม “แปลงราง” และจําประเภทของแผนผังความคิดไดมากขึ้น เมื่อใหทํากิจกรรมในใบงานจึงสามารถเลือกใชแผนผังความคิดไดเหมาะสมและเขียนสรุปความไดดีแตยังเขียนโครงรางลอมรอบขอความในแบบซ้ํา ๆ ครูจึงแนะนําใหนักเรียนคิดถึง เครื่องใชใกลตัว เพื่อลองนํามาเขียนโครงรางแผนผังความคิด เชน ดินสอ ปากกา กิ่งไม เปนตน

ลงชื่อ ผูบันทึก

(นางสาวกณัหา คําหอมกุล) ครู คศ. 1 โรงเรียนวัดหนองพันเทา

Page 188: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

174

ใบความรู เร่ือง การเขียนสรุปความ คําชี้แจง จงศึกษาใบความรูตอไปนี้

การเขียนสรุปความ เปนการเขียนสรุปเฉพาะประเด็นสาํคัญของ เร่ืองที่อาน โดยใชหลักการเขียนตอบคําถามใหไดสาระวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทําไม อยางไร และนําเนื้อหาสําคัญดังกลาวมาเรียบเรยีงใหมใหสละสลวยตอเนื่องอยาง ชัดเจนและกะทัดรัด การเขยีนสรุปความมีความสําคัญตอนักเรียนและบุคคลทั่วไป คือ

ใชสําหรับสรุปเรื่องราวที่ไดอานไดยินไดฟงและที่สําคญั ใชสรุปสาระสําคัญใน การเรียนรูในรายวิชาตาง ๆ นําไปใชในการสื่อสารกันไดอยางมีประสิทธิภาพ

การเขียนสรุปความมีขั้นตอน ดังนี ้ 1. อานเนื้อเร่ืองอยางรอบคอบหรืออานซ้ํา ๆ หลาย ๆ คร้ัง จนเกดิความเขาใจทีละยอหนา 2. ขีดเสนใตขอความที่เปนใจความสําคัญของเร่ืองหรือจดบนัทึกไว หรือใชคําถาม ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร แลวตอบคําถามตามประเดน็ที่ถาม 3. นําขอความที่ไดหรือที่จดบันทึกไวมาเขยีนเปนแผนผังความคิดหรือเคาโครงงาย ๆ 4. จากนั้นจึงเรียบเรียงขอความใหมที่ส้ันกระชับ แตไดใจความที่สมบูรณดวยสํานวนภาษาของตนเอง

Page 189: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

175

ใบงาน เร่ือง เขียนแผนผังความคิด

ช่ือ………………………………..…….นามสกุล……………………………….เลขที่…………….

คําชี้แจง จงอานขอความจากใบความรูเร่ืองการเขียนสรุปความแลวเติมประเดน็สําคัญ ลงในแผนผังความคิดและตอเติมแผนผังความคิดใหสมบรูณ

Page 190: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

176

ใบงาน เร่ือง เขียนสรปุความ

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่……….... คําชี้แจง จงเขียนสรุปความเรื่องการเขียนสรุปความ …………………………………………….. …………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………. …….……………………………………………… …………..…………………………………………… ………..…………………………………….. ………..…………………………………..

Page 191: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

177

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคดิแบบขั้นบันได (Time ladder map)

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี ้ (ใชเกณฑการประเมินหนา 234)

การจับใจความสําคัญ การจัดลําดับความ การเขียนโครงราง รวม เลขที ่4 3 3 1 4 3 2 1 2 1 10

1 8 2 8 3 8 4 7 5 7 6 8 7 8 8 8 9 8 10 8 11 10 12 10 13 10 14 10 15 9 16 9 17 10 18 10 19 9 20 10 21 10 22 9 23 10 24 8 25 8 26 8 27 8 28 10 29 10 30 10

Page 192: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

178

แบบประเมินความสามารถในการเขียนสรุปความ

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการเขยีนสรุปความของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑประเมินหนา 237)

การสรุปเนื้อเร่ือง เขียนประโยคไดถกูตอง การสะกดคํา รวม เลขที ่5 4 3 2 1 3 2 1 2 1 10

1 8 2 8 3 8 4 8 5 8 6 8 7 8 8 8 9 8

10 8 11 10 12 10 13 10 14 9 15 9 16 10 17 10 18 9 19 10 20 9 21 8 22 8 23 8 24 8 25 10 26 10 27 10 28 10 29 10 30 10

Page 193: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

179

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 3 สาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง การเขียนสรปุความจากนิทาน ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เวลา 2 ชั่วโมง สาระสําคัญ นิทานเปนเรื่องที่ผูแตงสมมติขึ้นโดยอาศัยเคาความเปนจริงบางเล็กนอยหรือไมมี เคาความจริงเลย ซ่ึงมีจุดมุงหมายเพื่อใหความบันเทิงแกผูอานและจบลงดวยขอคิดหรือคติธรรม การตอบคําถามจากนิทานที่นักเรียนอาน แลวนําคําตอบนั้นไปเขียนแผนผังความคิดแลวเขียนสรุปความอีกครั้งจะทําใหนักเรียนไดความรู ขอคิดและคติธรรมจากเรื่องที่อาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เพื่อใหนักเรยีนมีความรูความสามารถดังตอไปนี ้ 1. นักเรียนสามารถตอบคําถามจากนิทานเรื่องความสามัคคีได 2. นักเรียนสามารถเขียนแผนผงัความคิดนิทานเรื่องความสามัคคีได 3. นักเรียนสามารถเขียนสรุปความนิทานเรื่องความสามัคคีได สาระการเรียนรู การเขียนสรุปความจากนิทาน กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน นักเรียนฟงครูเลานิทานเรื่อง มิตรเทียม จากนั้นใหนักเรียนตอบคําถามลงในใบงานเร่ืองมิตรเทียม แลวสุมตัวอยางนักเรียน 3 คน ใหเลาเรื่องโดยยอ ขั้นสอน ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ 1. นักเรียนอานนิทานจากใบงานเรื่องความสามัคคี ภายในเวลา 10 นาที จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเรื่องที่อานแลวเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับเรื่อง 2. แบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม คือกลุมนักเรียนชาย กลุมนักเรียนหญิง จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับเนื้อเร่ืองอีกครั้งหนึ่ง แลวใหทั้งสองกลุมแขงขันกันเขียนแผนผังความคิดบนกระดานดําโดยสงตัวแทนครั้งละ 1 คน 3. ใหตัวแทนนักเรียนของทั้งสองกลุมออกไปเขียนโครงรางลอมรอบชื่อเร่ือง

Page 194: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

180

4. ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาใจความสําคัญของเรื่อง เชน 4.1 ตัวละครสําคัญของเรื่องไดแก (พอ ลูกๆ) 4.2 เหตุการณสําคัญ/ปญหาของเรื่องคือ (ลูกทั้ง 3 คนทะเลาะกันเสมอ) 4.3 แนวทางแกปญหาคือ (พอใหลูกทั้ง 3 คนไปหาแขนงไมไผมาใหแลวนําแขนงไมไผมัดรวมกัน ใหลูกๆ ลองหักดู จากนั้นใหลูกๆ ลองหักแขนงไมไผคนละ 1 อัน ) 4.4 ผลที่เกิดขึ้นคือ (ลูกๆ รักและสามัคคีกันไมทะเลาะกันอีก) 5. เมื่อไดคําตอบในขอ 4.1 – 4.4 แลวใหตัวแทนของกลุมออกไปเขียนคําตอบของ แตละขอบนกระดานดําแลวใหตัวแทนคนตอไปออกไปเขียนโครงรางลอมรอบขอความพรอมทั้งโยงเสนเชื่อมแผนผัง กลุมใดทําเสร็จกอนและถูกตองสวยงามที่สุดเปนฝายชนะ 6. นักเรียนและครูชวยกันทบทวนแผนผังความคิดของทั้งสองกลุม จากนั้นจึงใหนักเรียนทุกคนเขียนแผนผังความคิดจากเนื้อเรื่องนิทานเรื่องความสามัคคีลงในใบงานเรื่องแผนผังความคิดพรอมทั้งเขียนสรุปใจความสําคัญดวยสํานวนภาษาของตนเองลงในใบงานเรื่องเขียนสรุปความที่กําหนดให ขั้นสรุป นักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่งโดยสงตัวแทนออกมานําเสนอผลงานของตนเองหนาชั้นเรียน สื่อการเรียนรู 1. นิทาน เร่ือง มิตรเทียม 2. ใบงานนิทาน เรื่อง ความสามัคคี 3. ใบงาน เร่ือง แผนผังความคดิ 4. ใบงาน เร่ือง เขียนสรุปความ การประเมินผล 1. ตรวจผลงาน 2. ประเมินการเขยีนสรุปความ 3. ประเมินการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได

Page 195: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

181

ขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ควรใหนักเรียนสรุปขอคิดคติธรรมที่ไดจากนิทาน แลวนําไปปฏิบัติ ขอใดควรทํา ขอใดไมควรทํา จะเปนการสรางคุณธรรมจริยธรรมใหเกิดในตัวนักเรียนมากยิ่งขึ้น

(นายสัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา) ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนวดัหนองพันเทา

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู จากการที่นักเรียนไดฝกเขียนแผนผังความคิดโดยการปฏิบัติกิจกรรมกลุม แลวชวยกันทบทวนแผนผังความคิดอีกครั้งหนึ่ง จากนั้นจึงใหนักเรียนฝกเขียนแผนผังความคิดและสรุปความดวยตนเองซึ่งถือวาเปนการฝกแบบซ้ํา ๆ จึงสงผลใหนักเรียนเกิดความรูความเขาใจและสามารถสรางแผนผังความคิดและเขียนสรุปไดเปนอยางดี

ลงชื่อ ผูบันทึก

(นางสาวกณัหา คําหอมกุล) ครู คศ. 1 โรงเรียนวัดหนองพันเทา

Page 196: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

182

นิทาน

(สําหรับครูผูสอน)

คร้ังหนึ่งนกอนิทรีกับสุนัขจิง้จอก คบหาเปนเพื่อนกัน นกอินทรียทํารังอยูบน ยอดไมสูง สวนสุนัขจิ้งจอกก็ขุดโพรงทํารังอาศัยอยูใกล ๆ ตนไมใหญนั้นไมนานตอมา ทั้งนกอินทรียและ สุนัขจิ้งจอกตางก็มีลูกเลก็ๆ “ลูกเธอตัวอวนดีจัง” นกอนิทรียบอกสุนขัจิ้งจอก “ลูกฉันขนออนขึน้เต็มตัวแลว กําลังกินกาํลังนอน” วันหนึ่งสุนัขจิง้จอกผูเปนแมออกไปหาอาหารไกลจากโพรง นกอินทรียเห็นเปน โอกาสเหมาะ จึงโฉบลงมาจับลูกสุนัขไปตัวหนึ่ง “เจาตัวนี้คงทําใหลูกของเราอิ่มทองแน ๆ” แมนกอนิทรีนึกกระหยิม่ใจ “พรุงนี้เราจะแอบไปโฉบลูกสุนัขจิ้งจอกมาอีกตัว” นางสุนัขจิ้งจอกกลับมารัง รูเร่ืองจึงดั้นตนไปหานางนกอินทรี “ขอลูกฉันคืนเถอะ” นางสุนขัจิ้งจอกออนวอน “ลูกเธอ เธอก็รัก” “ไปใหพน ลูกฉันกําลังหวิ” “โธ ! เราเปนเพื่อนกันนะ ขอลูกฉันคืนเถอะ” “ฉันเลิกนับเจาเปนเพื่อนมานานแลว” นกอินทรีตัดไมตรี พลางบอกลูกๆ วา “เรามากินเนื้อแสนอรอยกันเถอะลูก ๆ” “โธลูกแม” นางสุนัขจิ้งจอกคร่ําครวญ “แกทําลูกฉันบาดเจ็บแมแตนดิหนึ่ง ฉันก็จะทําลูกแกบาง” “หนาอยางแกหรือจะทําฉันได” นางนกอินทรีหัวเราะ นางสุนัขจิ้งจอกเห็นวาพดูกนัอยางมิตรไมรูเร่ืองจึงวิ่งเขาไปในหมูบานคาบเอา ไมติดไฟมาทอนหนึ่งแลวเร่ิมสุมไฟที่โคนตนไม ไฟลุกโชติชวงรอนถึงรังนกอินทรี “โธ ! คุณสุนัขจิ้งจอก ฉันแคหยอกเธอเลน เธอก็เห็นเปนจริงไปได นีจ่ะลูกของเธอ” นางนกคาบเอาลุกสุนัขมาคืน “คนอยางเธอไมใชมิตรแท เปนมิตรเทียม” นางสุนัขพาลูกกลับเขาโพรง ตั้งแตวนันัน้มา ทั้งสองก็ไมเปนมิตรกนัอีกเลย (จาหนงัสือนิทานอีสปฉบับภาษาไทยเทยีบภาษาอังกฤษ ของ บอณ)

Page 197: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

183

ใบงาน เร่ือง มิตรเทียม

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………

คําชี้แจง ใหนกัเรียนตอบคําถามจากเนื้อเร่ืองที่ฟงลงในกรอบสี่เหล่ียม 1. ตัวละครสําคัญในเรื่องคือ 2. เหตุการณที่ 1 3. เหตุการณที่ 2 4. เหตุการณที่ 3 5. ผลที่เกิดขึ้น

Page 198: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

184

ใบงาน เร่ือง ความสามัคค ี

คําชี้แจง ใหนกัเรียนอานนิทานเรื่องความสามัคคีแลวเขียนแผนผังความคิด

ความสามัคคี

ชายชราคนหนึ่งมีบุตรชายหลายคน ลูกของเขาทุกคนเปนคนแข็งแรงและทํางานหนักแตพวกเขามักทะเลาะกันบอยๆ ชายชราจึงไมมีความสุข เขาตองการใหบุตรของเขารักใครปรองดองซึ่งกันและกัน อยูมาวันหนึ่ง ชายชราไดเรียกบุตรทุกคนมาพรอมกัน เขายกกิ่งไมมัดหนึ่งใหทุกคนดูเขากลาววา “เจาพยายามหักไมมัดนี้ดูซิ” ลูกชายเขาแตละคนก็ควาไมมัดนั้นพยายามหักมันดู เขาทั้งหลายไมสามารถหักมันได ไมมัดนั้นแข็งแรงมาก ชายชราเห็นดังนั้นก็แกเชือกมัดกิ่งไมออก เขาแบงไมในมัดใหบุตรชายคนละทอน เขาพูดวา “เอา ลองหักดูซิ” บุตรชายของเขาทุกคนสามารถหักไมนั้นไดอยางงายดาย ชายชราจึงบอกบุตรทุกคนวา “ไมแตละอันนี่นะเปราะ” แตถาเรารวมกันเปนมัดแลวมันแข็งแกรงมาก” “ถาลูกทุกคนรักใครซ่ึงกันและกันแลวก็จะสามารถทําการงานไดดีเชนเดียวกับไมมัดนี้” บุตรชายทุกคนเห็นดวยกับพอของเขา หลังจากนั้น พวกเขาก็ไมทะเลาะหรือชกตอยกันอีกเลย นิทานเรื่องนี้สอนใหรูวา “รวมกันเราอยูแยกกันเราตาย” (จากหนังสือนิทานอีสป ของ เทียมบุญ วงศวัชระ)

Page 199: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

185

ใบงาน เร่ือง เขียนแผนผังความคิด

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………...

คําชี้แจง จงเขียนแผนผังความคิดจากนทิานเรื่องความสามัคค ี

Page 200: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

186

ใบงาน เร่ือง เขียนสรปุความ

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่……...........

คําชี้แจง จงเขียนสรปุความนิทานเรื่องความสามัคค ี

……………………………….……………………….. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

Page 201: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

187

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคดิแบบขั้นบันได (Time ladder map)

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี ้ (ใชเกณฑการประเมินหนา 234)

การจับใจความสําคัญ การจัดลําดับความ การเขียนโครงราง รวม เลขที ่4 3 3 1 4 3 2 1 2 1 10

1 8 2 8 3 9 4 8 5 8 6 8 7 9 8 8 9 8 10 9 11 10 12 10 13 10 14 10 15 10 16 9 17 10 18 10 19 10 20 10 21 9 22 10 23 10 24 10 25 10 26 10 27 8 28 8 29 10 30 10

Page 202: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

188

แบบประเมินความสามารถในการเขียนสรุปความ

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการเขยีนสรุปความของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑการประเมินหนา 237)

การสรุปเนื้อเร่ือง เขียนประโยคไดถกูตอง การสะกดคํา รวม เลขที ่5 4 3 2 1 3 2 1 2 1 10

1 8 2 8 3 9 4 8 5 8 6 8 7 9 8 9 9 9

10 9 11 10 12 10 13 10 14 10 15 10 16 9 17 10 18 10 19 10 20 10 21 9 22 10 23 10 24 10 25 10 26 10 27 8 28 9 29 10 30 10

Page 203: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

189

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 4 สาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง เขียนสรุปความจากเรื่องสั้น ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เวลา 2 ชั่วโมง สาระสําคัญ เรื่องส้ันคือวรรณกรรมรอยแกวที่ถายทอดความคิดสรางสรรคออกมาเปนเรื่องราวดวยสถานการณอันเปนผลมาจากพฤติกรรมของตัวละครในเรื่อง มีการสรางปมปญหาหรือ ความขัดแยงเพื่อใหเร่ืองชวนอานมีการดําเนินเรื่องใหผูอานอยากรูวาจะเกิดอะไรขึ้นจนถึงจุดคลี่คลายและจบเรื่องในที่สุด การตอบคําถามจากเรื่องที่นักเรียนอาน แลวนําคําตอบนั้นไปเขียนแผนผังความคิดแลวเขียนสรุปความอีกครั้ง จะทําใหนักเรียนเกิดความรูความเขาใจและสามารถสรุปสาระสําคัญของเรื่องได ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เพื่อใหนักเรยีนมีความรู ความสามารถดังตอไปนี ้ 1. นักเรียนสามารถตอบคําถามจากเรื่องสั้นทีอ่านได 2. นักเรียนสามารถเขียนแผนผงัความคิดเรื่องส้ันที่อานได 3. นักเรียนสามารถเขียนสรุปความเรื่องสั้นทีอ่านได สาระการเรียนรู การเขียนสรุปความเรื่องสั้น กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน นักเรียนแบงกลุมจํานวน 4 กลุม กลุมละเทา ๆ กัน นักเรียนชวยกันเรียงแถบประโยคในใบงานเรื่องฉันเปนใคร ใหเปนเนื้อเร่ืองที่ถูกตองสมบูรณภายในเวลา 2 นาที จากนั้นจึงใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน แลวชวยกันพิจารณาความถูกตอง ขั้นสอน ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ 1. นักเรียนอานเรื่องสั้นจากใบงาน เร่ืองเปดนอยผูนารัก ภายในเวลา 10 นาที จากนัน้รวมกันอภิปรายภายในกลุมเพื่อเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับเรื่องที่อานซึ่งเปนแผนผังความคิดแบบขั้นบันได

Page 204: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

190

2. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเรื่องที่อานอีกครั้ง แลวใหนักเรียนเขียนชื่อเรื่องลงตรงกลางหนากระดาษหรือใบงานเรื่องเขียนแผนผังความคิดและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบชื่อเร่ือง 3. ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาใจความสําคัญของเรื่องที่อานโดยใชคําถาม ดังนี้ 3.1 ตัวละครสําคัญคือ (นองบูมและพอ) 3.2 ทําอะไร (พอช้ือเปดมาจํานวนหนึ่ง) 3.3 อยางไร (พออนุญาตใหนองบูมเลี้ยงเปดในเวลาที่พอไมอยูบาน) 3.4 ผลเปนอยางไร (เปดออกไขมาจํานวนหนึ่ง นองบูมจึงนําไขเปดไปเปนอาหาร นําไปฟกและนําไปขายไดดังที่ตั้งใจไว) 4. เมื่อนักเรียนไดคําตอบซึ่งเปนใจความสําคัญของเรื่องแลว จึงเขียนลงในกระดาษโดยเขียนตอจากชื่อเร่ืองเปนแผนผังความคิด(แบบขั้นบันได)และเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบใจความสําคัญนั้นแลวโยงเสนจากชื่อเร่ืองมายังใจความสําคัญตามลําดับ 5. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนเขียนใจความสนับสนุนและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบขอความนั้นและโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุน โดยครูคอยให ความชวยเหลือหรือแนะนําเพิ่มเติม 6. นักเรียนและครูชวยกันทบทวนแผนผังความคิดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อแกไขหรือเพิ่มเติมแผนผังความคิดใหสมบูรณ จากนั้นจึงเขียนสรุปความลงในใบงานเรื่องเขียนสรุปความดวยสํานวนภาษาของตนเองพรอมทั้งตกแตงแผนผังใหสวยงาม ขั้นสรุป นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน สําหรับกลุมอ่ืน ๆ ใหชวยกันแสดงความคิดเห็น จากนั้นจึงรวมกันสรุปสาระสําคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่ง สื่อการเรียนรู 1. ใบงาน เร่ือง ฉันเปนใคร 2. ใบงาน เร่ือง เปดนอยนารัก 3. ใบงาน เรื่อง เขียนแผนผังความคิด 4. ใบงาน เร่ือง เขียนสรุปความ การประเมินผล 1. ตรวจผลงาน 2. ประเมินการเขียนสรุปความ 3. ประเมินการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได

Page 205: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

191

ขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ใหนักเรียนสรุปขอคิด คติธรรมที่ไดเพื่อเปนการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหกับผูเรียน

(นายสัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา) ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนวดัหนองพันเทา

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู นักเรียนสวนใหญเขียนแผนผังความคิดไดถูกตอง สวยงามและเขียนสรุปความไดใจความสมบูรณดวยสํานวนภาษาของตนเอง

ลงชื่อ ผูบันทึก (นางสาวกณัหา คําหอมกุล)

ครู คศ. 1 โรงเรียนวัดหนองพันเทา

Page 206: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

192

ใบงาน เร่ือง ฉันเปนใคร

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………...

คําชี้แจง จัดลําดับแถบประโยคตอไปนี้แลวเขยีนเปนเนื้อเร่ืองที่สมบูรณ ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

สองวันตอมา เจาเมล็ดกลมสีขาวก็มีรอยราวแตกออกจากกัน และมีส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ออกมาจากไขใบนั้น

นุมนิ่มโตขึ้นมาเรื่อย ๆ จนแข็งแรงพอที่จะคลานจากใบไมอีกใบหนึ่งไปสูใบหนึ่งได และเริ่มใชปากเล็ก ๆ แทะกนิใบไมไปเรื่อย ๆ จนอิ่มแลวหลับไป

แมลงปอสีเขียวบอกกับแมลงปอสีน้ําเงินวา มันพบของสิ่งหนึ่งมีลักษณะกลม ๆ มีสีขาวอยู ใตใบไม แตแมลงปอสีน้ําเงินไมสนใจ

ลักษณะของเจาตัวนี้มีลําตัวเปนขอปลอง ๆ นิ่ม ๆ สัตวทุกตัวบริเวณนั้นจึงพรอมใจกันตั้งชื่อใหมันวา เจานุมนิ่ม

Page 207: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

193

ใบงาน เร่ือง เปดนอยผูนารกั คําชี้แจง อานเรื่องสั้นตอไปนี้แลวเขียนแผนผังความคิดและสรุปความ

เปดนอยผูนารัก

“กิ๊บ กิ๊บ กิ๊บ” เสียงดังมาจากกลองขนาดใหญกวางประมาณ 1 ฟุต ยาวประมาณ 1 ฟุตครึ่ง ทําใหนองบูมสงสัยวามันเปนเสียงสัตวอะไรกันแน อยากจะเปดแตก็ไมกลา ในขณะเดียวกันนั้น คุณพอของนองบูมกลับมาจากที่ทํางาน คุณพอเลาใหฟงวา “วันนี้คุณพอไปตลาดมาซื้อลูกเปดมา50 ตัว” ทําใหนองบูมรูวา เสียงที่อยูในกลองนั้นเปนเสียงลูกเปดนอย บูมบอกพอวา “บูมจะเอาลูกเปดไปปลอยในเลา” พออนุญาตใหบูมเอาลูกเปดไปปลอยในเลา บูมเห็นลูกเปดออกจากกลอง บูมเห็นลูกเปดกระโดดดีใจที่ไดออกจากกลอง พอปลอยลูกเปดไปอยูในเลาแลวบูมจึงเดินออกจากเลา บูมเดินไปหาพอ แลวพูดวา “บูมจะเลี้ยงลูกเปดเอง” “พอใหบูมเลี้ยงลูกเปดในเวลาที่พอไมอยูบาน” พอเวลาพอไปธุระที่กรุงเทพฯ บูมไดเล้ียงลูกเปดแทนพอ บูมสังเกตเห็นวาลูกเปดมีขนปุยสีขาวปนสีน้ําตาล บูมเล้ียงเปดมาเปนเวลา 3 เดือน บูมเริ่มสังเกตเห็นวาลูกเปดมีจํานวนนอยลง เชาวันหนึ่ง บูมไดยินเสียงของพอตะโกนบอกวา “เร็วมาชวยจับงูเหลือม มันจะมาขโมยเปดไปกิน” บูมจึงรีบลงมาจากบันไดเพื่อจะไปดูพอจับงูเหลือม แตพอไปถึงที่เลาเปด ปรากฏวางูเหลือมหนีไปแลว บูมจึงรูสาเหตุที่ทําใหลูกเปดเหลือจํานวนนอยลง เพราะถูกงูเหลือมขโมยไปกิน แตตอนนี้เหลือลูกเปดนอยเพียง 21 ตัว พอจึงทําเลาเปดใหดีขึ้น หลังจากนั้นก็ไมมีงูเหลือมมาขโมย ลูกเปดไปกินอีกเลย

Page 208: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

194

บูมไดพูดกับพอวา “ถาลูกเปดออกไข บูมจะเก็บไขไปขาย เก็บไปกิน แลวบางฟองก็เก็บไวฟกตัว เพื่อจะทําใหมีจํานวนเปดมากขึ้น” ตอมาไมนานลูกเปดคอยๆ โตขึ้นเพราะบูมก็เล้ียงเปดเปนอยางดี เชาวันรุงขึ้น บูมก็ตองแปลกใจ เมื่อเขาไปในเลาเปด บูมเห็นไขเปดมีจํานวน 6 ฟอง จึงตะโกนเรียกพอ “พอ เปดออกไขแลว” พอรีบวิ่งมาดูแลวเก็บไขไปไวในตู บูมบอกพอวา “ถาเปดออกไขมาก บูมจะเก็บไขไปขาย” พอถึงตอนเย็น พอเขาไปในเลาเปดอีก พอพอออกมาจากเลาเปดพอไดถือไขเปดออกมาจากเลา บูมจึงพูดวา “ถาพรุงนี้เปดออกไขบูมจะเก็บไปขาย” วันรุงขึ้นเปดออกไขแลวก็เก็บไขไปขาย บางฟองก็ฟกเปนตัว ทําใหจํานวนลูกเปดมากขึ้น แลวลูกเปดเหลานั้นก็โตมาเปนเปดตัวใหญ แลวก็ใหไขเก็บไปขายไปกิน

(จากหนังสือรวมเรื่องสั้น เรียวรุงเหนือทุงกวาง วรรณกรรมเยาวชนรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ของ เด็กชายวิทวัส ปรีชา)

Page 209: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

195

ใบงาน เร่ือง เขียนแผนผังความคิด

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………...

คําชี้แจง จงเขียนแผนผงัความคิดเรื่อง เปดนอยผูนารัก

Page 210: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

196

ใบงาน เร่ือง เขียนสรปุความ

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………...

คําชี้แจง จงเขียนสรุปความเรื่อง เปดนอยผูนารัก

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 211: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

197

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคดิแบบขั้นบันได (Time ladder map)

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑประเมินหนา 234)

การจับใจความสําคัญ การจัดลําดับความ การเขียนโครงราง รวม เลขที ่4 3 2 1 4 3 2 1 2 1 10

1 9 2 9 3 9 4 9 5 9 6 9 7 9 8 9 9 9 10 9 11 10 12 10 13 10 14 10 15 10 16 9 17 10 18 10 19 10 20 10 21 9 22 10 23 10 24 10 25 10 26 10 27 9 28 9 29 10 30 10

Page 212: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

198

แบบประเมินความสามารถในการเขียนสรุปความ

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการเขยีนสรุปความของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑประเมินหนา 237)

การสรุปเนื้อเร่ือง เขียนประโยคไดถกูตอง การสะกดคํา รวม เลขที ่5 4 3 2 1 3 2 1 2 1 10

1 9 2 9 3 9 4 9 5 9 6 9 7 9 8 9 9 9

10 9 11 10 12 10 13 10 14 10 15 10 16 9 17 10 18 10 19 10 20 10 21 9 22 10 23 10 24 10 25 10 26 10 27 9 28 9 29 10 30 10

Page 213: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

199

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 5

สาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง การเขียนสรปุความจากสารคดีเก่ียวกับสุขภาพ ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เวลา 2 ชั่วโมง สาระสําคัญ สารคดีเกี่ยวกับสุขภาพ เปนเรื่องราวที่ใหความรูเกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพรางกาย เชน โรคตาง ๆ การใชยา การเลือกรับประทานอาหาร การรักษาความงามของผิวพรรณ เปนตน การตอบคําถามจากเรื่องที่นักเรียนอานแลว นําคําตอบนั้นไปเขียนแผนผังความคิดแลวเขียนสรุปความอีกครั้ง จะทําใหนักเรียนไดรับความรูซ่ึงเปนสาระสําคัญของเรื่องและสามารถนําความรูนั้นไปใชในชีวิตประจําวันได ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เพื่อใหนักเรยีนมีความรู ความสามารถดังตอไปนี ้ 1. นักเรียนสามารถตอบคําถามจากสารคดีเกีย่วกับสุขภาพได 2. นักเรียนสามารถเขียนแผนผงัความคิดเรื่องสาเหตุของการเกิดสิวได 3. นักเรียนสามารถเขียนสรุปความเรื่องสาเหตุของการเกิดสิวได สาระการเรียนรู การเขียนสรุปความจากสารคดีเกี่ยวกับสุขภาพ กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน ครูถือกลองพลาสติกทึบภายในกลองบรรจุยาชนิดตางๆ เชน พาราเซตามอน ยาธาตุน้ําแดง พลาสเตอรยา ยาแดง ทิงเจอรไอโอดีน ยาธาตุน้ําขาว คาราไมน ยาหมอง จากนั้นจึงหยิบยาขึ้นครั้งละชนิดพรอมทั้งถามวายาชนิดนั้นมีช่ือวาอะไร และมีสรรพคุณอยางไร แลวใหนักเรียนจําแนกประเภทของยา ขั้นสอน ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ 1. นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดสิว จากนั้นใหนกัเรียนอาน ใบความรูเร่ืองสาเหตุของการเกิดสิว ภายในเวลา 10 นาที จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปราย เพื่อเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับเรื่องที่อาน คือแผนผังความคดิแบบกางปลา

Page 214: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

200

2. ครูและนักเรยีนรวมกนัอภิปรายเร่ืองที่อานอีกครั้งหนึ่งเพือ่เขียนชื่อเร่ืองลงใน ใบงานเรื่องแผนผังความคิดและเปดโอกาสใหนกัเรียนเขยีนโครงรางรูปหัวปลา ลอมรอบชื่อเร่ือง 3. ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาใจความสําคัญของเรื่องที่อาน เชน 3.1 สิวที่เกิดขึ้นบนใบหนามีกี่ชนิด 3.2 แตละชนิดมีช่ือเรียกวาอะไรบาง 3.3 สิวแตละชนิดมีสาเหตุมาจากอะไร 4. นักเรียนเขียนใจความสําคัญของเรื่องหรือช่ือสิวแตละชนิดลงในแผนภูมิกางปลา แตละกางจนครบ 5. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนเขียนใจความสนับสนุนหรือสาเหตุของการเกิดสิวแตละชนิดลงในกางปลาจนครบทุกกาง 6. นักเรียนและครูชวยกันทบทวนใจความสําคัญของเรื่องจากแผนผังความคิดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อแกไขหรือเพิ่มเติมใหแผนผังความคิดสมบูรณยิ่งขึ้น แลวใหนักเรียนแตละคนเขียนสรุปความดวยสํานวนภาษาของตนเองพรอมทั้งตกแตงแผนผังความคิดใหสวยงาม ขั้นสรุป นักเรียนสรุปใจความสําคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่ง โดยสงตัวแทนออกมานําเสนอผลงานของตัวเองหนาชั้นเรียน สื่อการเรียนรู 1. ยาชนิดตาง ๆ 2. ใบความรู เร่ือง สาเหตุของการเกิดสิว 3. ใบงานเขียนแผนผังความคิด เร่ือง สาเหตุของการเกิดสวิ 4. ใบงานเขียนสรุปความ เร่ือง สาเหตุของการเกิดสิว การประเมินผล 1. ตรวจผลงาน 2. ประเมินการเขยีนสรุปความ 3. ประเมินการสรางแผนผังความคิดก างปลา

Page 215: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

201

ขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ครูไมควรเนนรูปแบบในการนําเสนอมากนัก และควรใหนักเรียนทําขอสรุปไปปฏิบัติในชีวิตประจําวันไดดวย

(นายสัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา) ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนวดัหนองพันเทา

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู ขณะที่อภิปรายเพื่อเลือกใชแผนผังความคิดนักเรียนสวนใหญยังสับสนระหวาง การเลือกใชแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภทกับแผนผังความคิดแบบกางปลา ครูจึงแนะนําใหนักเรียนอานคําชี้แจงในใบงานใหเขาใจวา คําชี้แจงนั้นตองการใหนักเรียนทําอะไร แลวอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจอีกวา การเลือกใชแผนผังความคิดนอกจากพิจารณาที่เนื้อหาของเรื่องแลวควรดูวัตถุประสงคของการนําเสนอดวย

ลงชื่อ ผูบันทึก

(นางสาวกณัหา คําหอมกุล) ครู คศ. 1 โรงเรียนวัดหนองพันเทา

Page 216: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

202

ใบความรู เร่ือง สาเหตุของการเกิดสิว

คําชี้แจง จงอานขอความตอไปนี้แลวเขียนแผนผังความคิดและสรุปความ

สิวเปนเรื่องธรรมชาติที่เกิดขึ้นไดกับทุกคนทั้งหนุมสาว รวมไปถึงผูใหญ ก็เปนสิวได เพราะสาเหตุของการเกิดสิวนั้นมีมากมาย ดังนี้คะ

สิวเสี้ยน มักพบมากบริเวณจมูก ลักษณะเปนจุดดํา ๆ หรือเห็นเปนหนามแหลมสีขาว เปนสิวที่เกิดจากการอุดตันของไขมันที่จับตัวเขากับเยื่อรูขุมขนที่หลุด ลอกออก และขนออนที่ที่ตกคางในรูขุมขน สิวผด หรือสิวเทียม เปนผดหรือสิวเม็ดเล็กๆ ที่เกิดขึ้นแถวหนาผากและแกม ลักษณะไมเปนสิวชัดเจน แพทยบางทานเรียกวา สิวเทียม เพราะไมมีคอรมิโดนหรือไมเกี่ยวกับตอมไขมัน สิวอุดตัน หรือสิวหัวขาว เกิดจากการที่รางกายไมสามารถขับถายไขมันบริเวณรูขุมขน ออกมาได จึงเกิดการสะสมเปนกอนอุดตันอยูภายใน สิวอักเสบ เกิดจากสิวอุดตันหรือสิวหัวขาวที่มีการติดเชื้อแบคทีเรีย ทําใหเกิดการอักเสบ เห็นเปนรอยนูนแดงไดอยางชัดเจน สิวหัวเปด หรือสิวหัวดํา คือสิวที่รูเปดออกบริเวณผิวภายนอก ทําใหบริเวณที่เปน สิวสัมผัสกับแสงแดดและฝุนละออง ซ่ึงสังเกตเห็นเปนจุดดําๆ อยูบริเวณหัวสิว.. (จากหนังสือวารสารหญิงไทย ฉบับประจํา เดือนกันยายน 2548)

Page 217: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

203

ใบงาน เร่ือง เขียนแผนผังความคิด

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่………....

คําชี้แจง จงเขียนแผนผงัความคิดเพื่อบอกสาเหตุของการเกิดสิวจาก เร่ืองสาเหตุของการเกิดสิว

Page 218: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

204

ใบงาน เร่ือง เขียนสรปุความ

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………...

คําชี้แจง จงเขยีนสรุปความเรื่อง สาเหตุของการเกิดสิว

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………

………………………………………………

………….…………………………… ………………………………

Page 219: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

205

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคดิแบบกางปลา

คําชี้แจง : ใหผูประเมินเขียนเครื่องหมาย แสดงความความคิดเกีย่วกับระดับความสามารถของ นักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑการประเมินหนา 236)

การกําหนดสาเหตุของผลหรือปญหา การเขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหา รวม เลขที ่5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 10

1 9 2 8 3 8 4 9 5 9 6 8 7 8 8 8 9 8

10 9 11 10 12 10 13 10 14 10 15 10 16 10 17 10 18 10 19 10 20 10 21 10 22 9 23 9 24 10 25 8 26 8 27 8 28 9 29 10 30 10

Page 220: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

206

แบบประเมินความสามารถในการเขียนสรุปความ

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการเขยีนสรุปความของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑประเมินหนา 237)

การสรุปเนื้อเร่ือง เขียนประโยคไดถกูตอง การสะกดคํา รวม เลขที ่5 4 3 2 1 3 2 1 2 1 10

1 9 2 8 3 8 4 9 5 9 6 8 7 8 8 8 9 8

10 9 11 10 12 10 13 10 14 10 15 10 16 10 17 10 18 10 19 10 20 10 21 10 22 9 23 9 24 10 25 8 26 8 27 8 28 9 29 10 30 10

Page 221: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

207

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 6 สาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง การเขียนสรุปความจากขาว ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เวลา 2 ชั่วโมง สาระสําคัญ ขาว คือการรายงานขอเท็จจริงของเหตุการณที่เกิดขึ้น ตลอดจนความคิดเห็นของบุคคลสําคัญ ซ่ึงเปนเรื่องราวที่นาสนใจและประชาชนใหความสนใจเปนจํานวนมาก การเขียนสรุปความจากขาวจึงควรเขียนใหไดใจความสําคัญและขอเท็จจริงของขาว การตอบคําถามจากขาวที่นักเรียนอาน แลวนําคําตอบนั้นไปเขียนแผนผังความคิดแลวเขียนสรุปความอีกครั้ง จะทําใหนักเรียนสรุปสาระสําคัญของขาวและไดรับขาวสารที่ถูกตอง ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เพื่อใหนักเรยีนมีความรู ความสามารถดังตอไปนี ้ 1. นักเรียนสามารถตอบคําถามจากขาวที่อานได 2. นักเรียนสามารถเขียนแผนผงัความคิดจากขาวที่อานได 3. นักเรียนสามารถเขียนสรุปความจากขาวทีอ่านได สาระการเรียนรู การเขียนสรุปความจากขาว กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน นักเรียนดูขาวจากเครื่องเลน VCD ที่ครูเตรียมมา จากนั้นชวยกันสรุปสาระสําคัญของขาวใหไดใจความที่สมบูรณ ขั้นสอน ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ 1. ครูและนักเรียนรวมกันจัดบรรยากาศในหองเรียนใหเปนหองสงสําหรับถายทอดสดการอานขาวทางโทรทัศน จากนั้นจึงรวมกันคัดเลือกตัวแทนนักเรียน 2 – 3 คน เพื่ออานขาวที่ครู เตรียมมา 2. สําหรับนักเรียนที่เหลือใหแบงกลุม 4 กลุม สมมติใหเปนครอบครัวซ่ึงประกอบไปดวยสมาชิกในครอบครัวเพื่อชมขาวที่เพื่อนอาน

Page 222: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

208

3. หลังจากฟงขาวจบ ครูแจกใบงานเรื่อง ขาว ใหกับทุกกลุมอานทําความเขาใจอีกคร้ังหนึ่ง จากนั้นจึงรวมกันอภิปรายเพื่อเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสมกับขาวที่อานแลวเร่ิมเขียนแผนผังความคิดลงในกระดาษแผนใหญ 4. ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนในกลุมหาใจความสําคัญของขาวดวยคําถาม เชน 4.1 ใคร (นางสาวดวงพร คุณากรวงษ จบปริญญาตรีรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) 4.2 ทําอะไร (สอบแขงขัน) 4.3 ที่ไหน (กรมการปกครอง) 4.4 ผลเปนอยางไร (สอบไดลําดับที่ 1) 5. เมื่อนักเรียนไดคําตอบซึ่งเปนใจความสําคัญของเรื่องแลวจึงเขียนลงในกระดาษและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบ แลวโยงเสนจากชื่อเรื่องมายังใจความสําคัญ จากนั้นจึง เปดโอกาสใหแตละกลุมระดมความคิดและเขียนใจความสนับสนุนและเขียนโครงรางรูปแบบ ตาง ๆ ลอมรอบขอความนั้น พรอมทั้งโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุนตามลําดับ โดยครูคอยใหความชวยเหลือหรือแนะนําเพิ่มเติม 6. สุมตัวอยาง 2 – 3 กลุม ใหออกมาเลาขาวตามแผนผังความคิดที่ทํา จากนั้นใหสมาชิกในกลุมเขียนแผนผังความคิดของตนเองลงในใบงานเรื่องเขียนแผนผังความคิด พรอมทั้งเขียนสรุปใจความสําคัญดวยสํานวนภาษาของตนเองลงในใบงานเรื่องเขียนสรุปความ ขั้นสรุป นักเรียนนําผลงานของตนเองติดบนกระดานดํา แลวชวยกันสรุปสาระสําคัญอีกครั้งหนึ่ง สื่อการเรียนรู 1. VCD ขาว 2. ใบงาน เร่ือง ขาว 3. ใบงาน เร่ือง เขียนแผนผังความคิด 4. ใบงาน เร่ือง เขียนสรุปความ 5. กระดาษแผนใหญ การประเมินผล 1. ตรวจผลงาน 2. ประเมินการเขียนสรุปความ 3. ประเมินการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได

Page 223: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

209

ขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ควรใหนักเรียนไดวิเคราะหขอเท็จจริงจากขาวดวยเพื่อทีจ่ะไดนําความคิดที่ไดไปเลือกรับขอมูลขาวสาร ขาวใดบางที่มีผลกระทบตอนักเรียนในชีวิตประจําวนั

(นายสัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา) ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนวดัหนองพันเทา

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู นักเรียนสวนใหญสามารถสรางแผนผังความคิดไดสวยงามถูกตองและเขียนสรุปความไดดี

ลงชื่อ ผูบันทึก (นางสาวกณัหา คําหอมกุล)

ครู คศ. 1 โรงเรียนวัดหนองพันเทา

Page 224: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

210

ใบงาน เร่ือง ขาว

คําชี้แจง จงอานขาวตอไปนี้แลวเขียนแผนผังความคดิ

สาวจุฬาฯ สอบปลัดอําเภอติดท่ี 1 คร้ังแรกของ มท. – เจาตัวสุดปลื้ม รายงานขาวจากกรมการปกครองแจงวา กรมการปกครองไดประกาศรายชื่อผูสอบแขงขัน

ไดและขึ้นบัญชีผูสอบแขงขันไดในตําแหนงเจาพนักงานปกครอง 3 (ปลัดอําเภอ) พ.ศ. 2548 ซ่ึงมี จํานวน 1,576 คน จากผูสมัครจํานวน 60,000 คน ปรากฏวาผูสอบไดลําดับที่ 1 ไดแก นางสาวดวงพร คุณากรวงษ อายุ 26 ป ซ่ึงถือวาเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรที่ผูหญิงสอบไดลําดับที่ 1 ซ่ึงตามปกติสัดสวนของปลัดอําเภอจะใหผูหญิงประมาณ 20% เทานั้น เนือ่งจากสวนใหญตองทํางานในพื้นที่หางไกล และความเปนผูหญิงจะลําบากในการไปทํางานในพื้นที่ทุรกันดาร

สําหรับนางสาวดวงพร เปนชาว จังหวัดสุพรรณบุรี เกิดเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2522 จบปริญญาตรีรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (สิงหดํา) คะแนนสะสมเฉลี่ย 3.12 สําหรับผูผานการคัดเลือกลําดับที่ 1- 60 คน เปนผูชาย 49 คน ผูหญิง 11 คน

นางสาวดวงพรใหสัมภาษณภายหลังทราบผลวารูสึกช็อค เพราะไมคิดวาจะสอบไดลําดับที่หนึ่งเนื่องจากมีเวลาเตรียมตัวเพียง 1 เดือน พอทราบผลรูสึกดีใจและภูมิใจ เพราะไดถือวาเปนตัวแทนของผูหญิง ปจจุบันทํางานอยูบริษัท รถไฟฟากรุงเทพมหานคร จํากัด (มหาชน) ทําใหมีเวลาเตรียมตัวนอยเพราะตองทํางานดวย สวนสาเหตุที่ตัดสินใจมาสอบ รับราชการเพราะตั้งใจตั้งแตเรียนรัฐศาสตรวาจะสอบปลัดอําเภอ เลือกบรรจุราชการในพื้นที่ภาคกลาง เพราะเปนคน จ. สุพรรณบุรี อีกทั้งพื้นที่ดังกลาวเปนพื้นที่เกษตรกรรมทําใหเขาใจสภาพพื้นที่เปนอยางดี

ดานนายศิวะ แสงมณี อธิบดีกรมการปกครอง กลาววา ผูที่สอบผานทั้งหมดจํานวน 1,576 คน นั้น ลําดับที่ 1-60 ใหไปรายงานตัวเพื่อบรรจุเขารับราชการในวันที่ 28 กันยายนนี้ สําหรับลําดับที่ 61-400 จะมีหนังสือแจงกําหนดวันเวลารายงานตัว เพื่อเขารับราชการตามลําดับอีกครั้งหนึ่ง สวนลําดับที่ 401 เปนตนไปจะบรรจุเขารับราชการเมื่อมีอัตราวางในตําแหนงที่สอบแขงขัน ( จากหนังสือพิมพมติชน ฉบับวันที่ 28 กันยายน 2548)

Page 225: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

211

ใบงาน เร่ือง เขียนแผนผังความคิด

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่……...........

คําชี้แจง จงเขียนแผนผงัความคิดจากขาวที่อาน

Page 226: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

212

ใบงาน เร่ือง เขียนสรปุความ

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………

คําชี้แจง จงเขียนสรุปความจากขาวทีอ่าน ……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………….

Page 227: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

213

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคดิแบบขั้นบันได (Time ladder map)

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑประเมินหนา 234)

การจับใจความสําคัญ การจัดลําดับความ การเขียนโครงราง รวม เลขที ่4 3 2 1 4 3 2 1 2 1 10

1 9 2 9 3 8 4 9 5 9 6 9 7 9 8 10 9 9 10 9 11 10 12 10 13 10 14 10 15 10 16 9 17 10 18 10 19 10 20 10 21 9 22 10 23 10 24 10 25 10 26 10 27 9 28 9 29 9 30 10

Page 228: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

214

แบบประเมินความสามารถในการเขียนสรุปความ

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการเขยีนสรุปความของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑประเมินหนา 237)

การสรุปเนื้อเร่ือง เขียนประโยคไดถกูตอง การสะกดคํา รวม เลขที ่5 4 3 2 1 3 2 1 2 1 10

1 9 2 9 3 10 4 9 5 9 6 9 7 9 8 10 9 9

10 9 11 10 12 10 13 10 14 10 15 10 16 9 17 10 18 10 19 10 20 10 21 9 22 10 23 10 24 10 25 10 26 10 27 9 28 9 29 10 30 10

Page 229: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

215

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 7 สาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง การเขียนสรุปความจากกลอนสุภาพชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เวลา 2 ชั่วโมง สาระสําคัญ กลอนสุภาพ เรียกอีกอยางหนึ่งวา กลอนแปดหรือกลอนตลาด เปนกลอนที่นิยมแตงกันมากที่สุด และมีผูสนใจอานกันมาก ถือวาเปนตนเคาของกลอนประเภทตาง ๆ แบงไดหลายประเภท เชน กลอนสี่ กลอนหก กลอนแปด หรือกลอนเกา การตอบคําถามจากกลอนสุภาพที่นักเรียนอานแลวนําคําตอบนั้นไปเขียนแผนผังความคิดแลวเขียนสรุปความอีกครั้ง จะทําใหนักเรียนเกิดความรูและความเขาใจในเรื่องนั้น ๆ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เพื่อใหนักเรยีนมีความรู ความสามารถดังตอไปนี ้ 1. นักเรียนสามารถตอบคําถามจากกลอนสุภาพเร่ือง รูรักสามัคคีได 2. นักเรียนสามารถเขียนแผนผงัความคิดจากกลอนสุภาพเรือ่ง รูรักสามัคคีได 3. นักเรียนสามารถเขียนสรุปความจากกลอนสุภาพเรื่อง รูรักสามัคคีได สาระการเรียนรู การเขียนสรุปความจากกลอนสุภาพ กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน นักเรียนอานแผนภูมิกลอนสุภาพพรอมกัน แลวเติมคําในชองวางในใบงานเรื่องเติมคําในบทกลอนใหสมบูรณ (รายละเอียดทายแผน) ขั้นสอน ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ 1. นักเรียนอานกลอนสุภาพเรื่องหมากับเงาจากใบงาน โดยพรอมเพรียงกัน จากนั้นนักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเรื่องที่อานแลวเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสม 2. ครูและนักเรยีนรวมกนัอภิปรายเร่ืองที่อานอีกครั้งหนึ่งเพือ่ใหนกัเรียนเขียนชื่อเร่ืองลงในใบงานเขียนแผนผังความคิดพรอมทั้งเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบช่ือเร่ือง 3. ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาใจความสําคัญของเรื่องที่อาน เชน

Page 230: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

216

3.1 ใคร (สุนัข) 3.2 ทําอะไร (ขโมยเนื้อ) 3.3 ที่ไหน (ตลาด) 3.4 อยางไร (พบเงาตนเองขณะขามสะพานและอยากไดเนื้อกอนที่เห็น) 3.5 ผลที่เกิดขึ้น (สุนัขทิ้งกอนเนื้อที่ตนเองคาบมา) 4. เมื่อนักเรียนไดคําตอบซึ่งเปนใจความสําคัญของเรื่อง จึงเขียนลงในกระดาษและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบใจความสําคัญแลวโยงเสนจากชื่อเร่ืองมายังใจความสําคัญ 5. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนเขียนใจความสนับสนุนและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ พรอมทั้งโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุนตามลําดับดวยตนเอง โดยครูคอยใหคําแนะนําเพิ่มเติม 6. นักเรียนชวยกันทบทวนแผนผังความคิดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อเพิ่มเติมหรือแกไขใหแผนผังความคิดสมบูรณยิ่งขึ้น จากนั้นจึงเขียนสรุปความลงในใบงานเขียนสรุปความดวยสํานวนภาษาของตนเองพรอมทั้งตกแตงแผนผังความคิดใหสวยงาม ขั้นสรุป นักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญของเรื่องอีกครั้งหนึ่ง โดยสงตัวแทนออกมานําเสนอผลงานของตนเองหนาชั้นเรียน สื่อการเรียนรู 1. ใบงานเติมคําในบทกลอน 2. ใบงานเรื่อง หมากับเงา 3. ใบงานเขียนแผนผังความคิด 4. ใบงานเขียนสรุปความ การประเมินผล 1. ตรวจผลงาน 2. ประเมินผลการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได 3. ประเมินผลการเขียนสรุปความ

Page 231: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

217

ขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ควรเนนเนื้อหาใจความทีไ่ดจากบทกลอนมากวาฉันทลกัษณ

(นายสัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา) ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนวดัหนองพันเทา

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมดวยความสนใจและมีสมาธิในการทํางาน สงผลใหนักเรียนไดช้ินงานที่ถูกตองสวยงามและสมบูรณ

ลงชื่อ ผูบันทึก (นางสาวกณัหา คําหอมกุล)

ครู คศ. 1 โรงเรียนวัดหนองพันเทา

Page 232: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

218

ใบงาน เติมคําในบทกลอน ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………... คําชี้แจง อานบทกลอนตอไปนี้แลวเตมิคําลงในชองวางเพื่อใหบทกลอนสมบูรณ

เพื่อนของฉนั

เพื่อนของฉันนั้นมีอยูมากมาย ทั้งหญิง…..(1)…..ลวนคนดทีี่มีอยู ทุกคนตางเชื่อฟงคําส่ัง.....(2)….. หาความ…..(3)…..ใสตนมีผลงาน

สําลี รักสุธี ประพันธ

สุขอาจไดตามใจหวัง

เกิดเปนคนตองหมั่นขยนัหา เรียน…..(1)…..ความรูอยูเสมอ ไมเกียจครานการใดคงได…..(2)….. สุข…..(3)…..มาใหตามใจหวัง

สําลี รักสุธี ประพันธ

หมากับเงา

หมาตัวหนึ่งขีข้โมยโดยเชื้อชาติ เขา.....(1)…..ลักเนื้อววัวิ่งถลา ขามสะพานแลลงใน…..(2)….. เกิดแตตาตนเห็นเปนเงาโต กอนเนื้อในน้ํานั้นดูใหญยิ่ง จึงสู…..(3)…..ช้ินที่คาบดวยยโส หวังจะแยงชิ้นใหญจากหมา…..(4)….. ดวยความ…..(5)…..คร้ันทิ้งกอนเนื้อลง ในน้ําแลวเนื้อเงาก็หายไป จมน้ํา.....(6)…..ทั้งสองสิ่งประสงค คือของตัวและที่หวังดังจํานง ทําลาย…..(7)…..เพราะโลภหลงงมงาย

Page 233: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

219

(เฉลย)

เพื่อนของฉนั

เพื่อนของฉันนั้นมีอยูมากมาย ทั้งหญิงชายลวนคนดทีี่มีอยู ทุกคนตางเชื่อฟงคําส่ังคร ู หาความรูใสตนมีผลงาน

สุขอาจไดตามใจหวัง เกิดเปนคนตองหมั่นขยนัหา เรียนวิชา ความรูอยูเสมอ ไมเกียจครานการใดคงไดเจอ สุขเสมอมาใหตามใจหวัง

สําลี รักสุธี ประพันธ

หมากับเงา

หมาตัวหนึ่งขีข้โมยโดยเชื้อชาติ เขา ตลาด ลักเนื้อวัววิ่งถลา ขามสะพานแลลงในคงคา เกิดแตตาตนเห็นเปนเงาโต กอนเนื้อในน้ํานั้นดูใหญยิ่ง จึงสูทิ้งช้ินที่คาบดวยยโส หวังจะแยงชิ้นใหญจากหมาโซ ดวยความโงคร้ันทิ้งกอนเนือ้ลง ในน้ําแลวเนื้อเงาก็หายไป จมน้ําใสทั้งสองสิ่งประสงค คือของตัวและที่หวังดังจํานง ทําลายลงเพราะโลภหลงงมงาย

วลีรัตน ปานเพียร

Page 234: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

220

ใบงาน เร่ือง กลอนสุภาพ

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………...

คําชี้แจง อานกลอนสุภาพตอไปนี้แลวเขียนแผนผังความคิดและสรุปความ

หมากับเงา

หมาตัวหนึ่งขีข้โมยโดยเชื้อชาติ เขาตลาดลักเนือ้วัววิ่งถลา ขามสะพานแลลงในคงคา เกิดแตตาตนเห็นเปนเงาโต กอนเนื้อในน้ํานั้นดูใหญยิ่ง จึงสูทิ้งชิ้นที่คาบดวยยโส หวังจะแยงชิ้นใหญจากหมาโซ ดวยความโงคร้ันทิ้งกอนเนือ้ลง ในน้ําแลวเนื้อเงาก็หายไป จมน้ําใสทั้งสองสิ่งประสงค คือของตัวและที่หวังดังจํานง ทําลายลงเพราะโลภหลงงมงาย

วลีรัตน ปานเพียร

Page 235: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

221

ใบงาน เร่ือง เขียนแผนผังความคิด

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………...

คําชี้แจง จงเขียนแผนผงัความคิดจากบทรอยกรองเรื่อง หมากับเงา

Page 236: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

222

ใบงาน เร่ือง เขียนสรปุความ

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………

คําชี้แจง จงเขียนสรุปความบทรอยกรอง เร่ือง หมากับเงา

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

Page 237: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

223

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคดิแบบขั้นบันได (Time ladder map)

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี ้ (ใชเกณฑประเมินหนา 234 )

การจับใจความสําคัญ การจัดลําดับความ การเขียนโครงราง รวม เลขที ่4 3 2 1 4 3 2 1 2 1 10

1 9 2 10 3 9 4 9 5 10 6 9 7 9 8 10 9 9 10 9 11 10 12 10 13 10 14 10 15 10 16 9 17 10 18 10 19 10 20 10 21 9 22 10 23 10 24 10 25 10 26 10 27 10 28 10 29 9 30 10

Page 238: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

224

แบบประเมินความสามารถในการเขียนสรุปความ

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการเขยีนสรุปความของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑประเมินหนา 237)

การสรุปเนื้อเร่ือง เขียนประโยคไดถกูตอง การสะกดคํา รวม เลขที ่5 4 3 2 1 3 2 1 2 1 10

1 9 2 10 3 10 4 9 5 10 6 9 7 9 8 10 9 9

10 9 11 10 12 10 13 10 14 10 15 10 16 9 17 10 18 10 19 10 20 10 21 9 22 10 23 10 24 10 25 10 26 10 27 10 28 10 29 10 30 10

Page 239: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

225

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 8 สาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ือง การเขียนสรุปความจากกลอนบทละคร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 เวลา 2 ชั่วโมง สาระสําคัญ กลอนบทละคร มีลักษณะการแตงเหมือนกลอนสุภาพ แตมีสวนที่แตกตางตรงที่วรรคแรกของแตละบทจะมีจํานวนคําไมครบอาจมีแคสองคําหรือมากกวานั้น เชน คําวา เมื่อนั้น บัดนั้น มาจะกลาวบทไป การตอบคําถามจากกลอนบทละคร ที่นักเรียนอานแลวนําคําตอบนั้นไปเขียนแผนผังความคิดแลวเขียนสรุปความอีกครั้ง จะทําใหนักเรียนไดรับความรูและสรุปใจความสําคัญของเรื่องได ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง เพื่อใหนักเรยีนมีความรู ความสามารถดังตอไปนี ้ 1. นักเรียนสามารถตอบคําถามจากกลอนบทละครที่อานได 2. นักเรียนสามารถเขียนแผนผงัความคิดจากกลอนบทละครที่อานได 3. นักเรียนสามารถเขียนสรุปความจากกลอนบทละครที่อานได สาระการเรียนรู การเขียนสรุปความจากกลอนบทละคร กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน ตัวแทนนักเรียน 5 คน ออกมาแสดงละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนกุมภกรรณทดน้ํา ชวงที่หนุมานแปลงกายเปนนกเหยี่ยวไปสืบเรื่อง กุมภกรรณ ขั้นสอน ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังใหนักเรยีนทราบ 1. นักเรียนอานกลอนบทละคร เรื่องรามเกียรติ์ตอนกุมภกรรณทดน้ํา จากใบงานภายในเวลา 10 นาที ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเรื่องที่อานเพื่อเลือกแผนผังความคิดใหเหมาะสม 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับเนื้อเร่ืองอีกครั้งหนึ่ง เพื่อเขียนชื่อเร่ืองแลวใหนักเรียนเขียนลงกลางดานบนของใบงานเขียนแผนผังความคิด แลวเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบชื่อเร่ือง

Page 240: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

226

3. ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาใจความสําคัญของเรื่องที่อาน เชน 3.1 ใคร (หนุมาน) 3.2 ทําอะไร (สืบเรื่องราวของฝายทศกัณฑ) 3.3 อยางไร (โดยแปลงกายเปนนกเหยี่ยวไปยังเมืองยักษ เมื่อพบนางกํานัลจึงบินลงแลวแปลงกายเปนนางกํานัลเขาไปพูดคุยเพื่อสอบถามเรื่องราวของกุมภกรรณ) 3.4 ผลเปนอยางไร (หนุมานทราบความจริงวา กุมภกรรณกําลังไปทําพิธีทดน้ําเพื่อใหกองทัพของพระรามอดน้ําตาย) 4. เมื่อนักเรียนไดคําตอบซึ่งเปนใจความสําคัญของเรื่อง จึงเขียนคําตอบนั้นลงในกระดาษและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ ลอมรอบ แลวโยงเสนจากชื่อเร่ืองมายังใจความสําคัญตามลําดับ 5. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนเขียนใจความสนับสนุนและเขียนโครงรางรูปแบบตาง ๆ พรอมทั้งโยงเสนจากใจความสําคัญมายังใจความสนับสนุน โดยครูคอยใหคําแนะนําเพิ่มเติมในสวนที่นักเรียนไมเขาใจ 6. นักเรียนชวยกันทบทวนใจความสําคัญของเรื่องจากแผนผังความคิดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อแกไขหรือเพิ่มเติมแผนผังใหสมบูรณแลวเขียนสรุปความดวยสํานวนภาษาของตนเองในใบงานเขียนสรุปความ ขั้นสรุป นักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญของเรื่อง โดยสงตัวแทนออกมานําเสนอผลงานของตนเองหนาชั้นเรียน สื่อการเรียนรู 1. ใบงานกลอนบทละคร เร่ือง รามเกียรติ์ ตอน กุมภกรรณทดน้ํา 2. ใบงานเขียนแผนผังความคิด 3. ใบงานเขียนสรุปความ การประเมินผล 1. ตรวจผลงาน 2. ประเมินผลการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได 3. ประเมินการเขยีนสรุปความ

Page 241: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

227

ขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา ผูสอนอาจจัดใหนักเรยีนไดแสดงละครและนํามาสรุปเพื่อใหเกดิความสนุกสนานยิ่งขึน้

(นายสัมฤทธิ์ ผิวบัวคํา) ผูอํานวยการสถานศึกษาโรงเรียนวดัหนองพันเทา

บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู

นักเรียนเลือกแผนผังความคดิไดเหมาะสมกับเรื่องที่อานและสรางไดถูกตองสวยงามแลวเขียนสรุปความไดดีมาก

ลงชื่อ ผูบันทึก (นางสาวกณัหา คําหอมกุล)

ครู คศ. 1 โรงเรียนวัดหนองพันเทา

Page 242: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

228

ใบงาน เร่ือง รามเกียรติ์ ตอน กุมภกรรณทดน้ํา

คําชี้แจง อานกลอนบทละครตอไปนีแ้ลวเขียนแผนผังความคิดและเขียนสรุปความ บัดนั้น จึ่งศรีหนุมานชาญสมร รับส่ังพระนารายณฤทธิรอน ชุลีกรแลวคลานออกมา จึ่งนบนิว้ขึ้นถวายบังคม พระสยมภวูนาถนาถา โอมอานพระเวทวิทยา วานรนิมิตอินทรีย กายนัน้ก็กลับเปนเหยี่ยว เร่ียวแรงดังราชปกษ ี ถลารารอนดวยฤทธี ไปวังอสุรีกุมภกรรณ เล่ือนลอยอยูบนอากาศ ตรงปราสาทแกวฉายฉนั แลเห็นฝูงนางกํานัล สรวลสันตเลนอยูที่ชาลา มีความชื่นชมดวยสมคิด ในจิตแสนโสมนัสสา จึ่งรอนเวยีงวงลงมา ริมมหาปราสาทรูจี แอบอยูยังบานทวาเรศ ใหลับเนตรกํานัลสาวศรี จึ่งอานพระเวทดวยฤทธ ี นิมิตอินทรียวานร กลับกลายเปนนางกํานัล ผิวพรรณเปนที่สโมสร ออนแอนแนงนอยอรชร กรายกรดําเนนิออกมา นั่งลงกลางฝูงนางทั้งหลาย ทําสรวลสันตทักทายทัว่หนา แลวเสแสรงแกลงถามดวยมารยา ตัวขานี้คิดหลากใจ อันองคพระยากุมภกรรณ จะออกไปโรมรันก็หาไม วันนี้เสด็จหนแหงใด หรืออยูในปราสาทรูจี บัดนั้น นวลนางกํานัลสาวศรี ไดฟงจึงตอบวาที เจานี้ใชการอยาเจรจา อันองคมหาอปุราช ทรงธรรมธิราชนาถา ไปตั้งพิธีกิจวทิยา ที่ในมหาคงคาลัย นอนขวางอยูกลางกระแสชล อานมนตทดน้าํมิใหไหล อันมนุษยกับวานรไพร จะมวยบรรลัยดวยฤทธ ี

Page 243: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

229

บัดนั้น หนุมานซึ่งเปนนางสาวศร ี ไดฟงคํานางอสุรี ทําเปนยินดีแลวตอบไป ตัวขาปวยอยูหลายวัน อนิจจาหารูไม ทีนี้ไพรีจะบรรลัย เราจะไดเปนสขุทุกเวลา กลัวแตพิเภกศตัรู จะลวงรูในกลยกัษา บอกแกพระลักษมณพระรามา ใหลางวิทยาพธีิกรรม บัดนั้น นวลนางอสุรีสาวสรรค คิดวาเปนเพื่อนนางกํานัล ไมสําคัญวาพวกไพริน ยิ้มแลวก็กลาววาจา อันคําเจาวานีค้วรสิ้น ถึงใครใครทั้งในแผนดิน จะลวงไดยนิเราพาที มาตรจะเทีย่วหาพระยายกัษ ไหนจกัรูแหงตําแหนงที ่ เวนแตนางคันธมาลี กับสี่นางซึ่งเกบ็ดอกไมไป สงพระยาอสุรีทุกเวลา นอกนั้นใครหารูไม ถึงพิเภกผูปรีชาไว จะบอกไพรีไดอยาสําคัญ (จาก เร่ืองรามเกียรติ ์ ตอน กุมภกรรณทดน้ํา)

Page 244: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

230

ใบงานเขยีนแผนผังความคดิ

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………...

คําชี้แจง เขียนแผนผังความคิดจากกลอนบทละครที่อาน

Page 245: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

231

ใบงาน เร่ือง เขียนสรปุความ

ช่ือ……………………………………….นามสกุล……………………………….เลขที่…………..

คําชี้แจง จงเขียนสรุปความจากกลอนบทละคร ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

Page 246: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

232

แบบประเมินความสามารถในการสรางแผนผังความคดิแบบขั้นบันได (Time ladder map)

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเห็นเกีย่วกับความสามารถ ในการสรางแผนผังความคิดของนักเรียนตามประเด็นตอไปนี ้ (ใชเกณฑประเมินหนา 234)

การจับใจความสําคัญ การจัดลําดับความ การเขียนโครงราง รวม เลขที ่4 3 2 1 4 3 2 1 2 1 10

1 9 2 10 3 9 4 8 5 10 6 8 7 8 8 10 9 9 10 9 11 10 12 8 13 8 14 8 15 8 16 8 17 8 18 8 19 10 20 10 21 8 22 8 23 8 24 8 25 10 26 8 27 10 28 10 29 8 30 10

Page 247: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

233

แบบประเมินความสามารถในการเขียนสรุปความ

คําชี้แจง : ใหผูประเมนิเขียนเครื่องหมาย แสดงความคิดเหน็เกี่ยวกับระดับความสามารถ ในการเขยีนสรุปความของนักเรียนตามประเด็นดังตอไปนี้ (ใชเกณฑประเมินหนา 237)

การสรุปเนื้อเร่ือง เขียนประโยคไดถกูตอง การสะกดคํา รวม เลขที ่5 4 3 2 1 3 2 1 2 1 10

1 9 2 9 3 9 4 8 5 8 6 9 7 9 8 9 9 9

10 9 11 10 12 8 13 8 14 8 15 8 16 9 17 10 18 10 19 10 20 10 21 9 22 9 23 9 24 9 25 9 26 9 27 9 28 9 29 9 30 9

Page 248: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

234

เกณฑประเมินความสามารถการสรางแผนผังความคิดแบบแผนผังรปูขัน้บันได

คําอธิบายคะแนน องคประกอบที่ประเมิน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

การจับใจความสําคัญ (4 คะแนน)

สรุปใจความสําคัญของเรื่องครบทุกประเดน็

สรุปใจความสําคัญของเรื่องขาด 1 ประเด็น

สรุปใจความสําคัญของเรื่องขาด 2 ประเด็น

สรุปใจความสําคัญของเรื่องขาด 3 ประเด็น

การลําดับความ (4 คะแนน)

เรียงลําดับเนื้อหาถูกตองจากลําดับแรกถึงลําดับสุดทาย

เรียงลําดับเนื้อหาสลับที่ 2 ตําแหนง

เรียงลําดับเนื้อหาสลับที่ 4 ตําแหนง

ลําดับเนื้อหาสลับที่ 6 ตําแหนง

การเขียน โครงราง (2 คะแนน)

เขียนโครงรางลอมรอบขอความ โดยใชรูปทรงที่หลากหลาย

เขียนโครงรางลอมรอบขอความดวยรูปทรงซ้ําๆ

กําหนดเกณฑการประเมิน 8 – 10 คะแนน อยูในระดับดมีาก 7 คะแนน อยูในระดับด ี6 คะแนน อยูในระดับพอใช 5 คะแนน อยูในระดับตองปรับปรุง

Page 249: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

235

เกณฑประเมินความสามารถการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท (Classification Map)

คําอธิบายคะแนน องคประกอบที่ประเมิน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

การจําแนกความสําคัญของเนื้อเร่ือง (4 คะแนน)

จําแนกใจความสําคัญของเนื้อเร่ืองถูกตองครบทุกประเด็น

จําแนกใจความสําคัญของเนื้อเร่ือง ขาดไป 1 ประเด็น

จําแนกใจความสําคัญของเนื้อเร่ือง ขาดไป 2 ประเด็น

จําแนกใจความสําคัญของเนื้อเร่ือง ขาดมากกวา 2 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุน (4 คะแนน)

เขียนใจความสนับสนุนใจ ความสําคัญถูกตองครบทุกประเดน็

เขียนใจความสนับสนุนใจความสําคัญไมถูกตอง 1 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนใจความสําคัญไมถูกตอง 2-3 ประเดน็

เขียนใจความสนับสนุนใจความสําคัญไมถูกตองมากกวา 3 ประเด็น

การเขียน โครงราง (2 คะแนน)

เขียนโครงรางลอมรอบขอความ โดยใชรูปทรงที่หลากหลาย

เขียนโครงรางลอมรอบขอความดวยรูปทรงซ้ําๆ

กําหนดเกณฑการประเมิน 8 – 10 คะแนน อยูในระดับดมีาก 7 คะแนน อยูในระดับด ี6 คะแนน อยูในระดับพอใช 5 คะแนน อยูในระดับตองปรับปรุง

Page 250: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

236

เกณฑประเมินความสามารถการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา คําอธิบายคะแนน องคประกอบ

ที่ประเมิน 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน การกําหนดสาเหตุของผลหรือปญหา (5 คะแนน)

กําหนดสาเหตุของผลหรือปญหา ของเรื่องไดถูกตองครบทุกประเด็น

กําหนดสาเหตุของผลหรือปญหาขาด 1 ประเด็น

กําหนดสาเหตุของผลหรือปญหาของเรื่องขาดไป 2 ประเด็น

กําหนดสาเหตุของผลหรือปญหาของเรื่องขาดไป 3 ประเด็น

กําหนดสาเหตุของผลหรือปญหาของเรื่องขาดมากกวา 3 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหา (5 คะแนน)

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหาถูกตองทุกประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือไมถูกตอง 1 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหาไมถูกตอง 2 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหาไมถูกตอง 3 ประเด็น

เขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผล หรือปญหาไมถูกตองมากกวา 3 ประเด็น

กําหนดเกณฑการประเมิน 8 – 10 คะแนน อยูในระดับดมีาก 7 คะแนน อยูในระดับด ี6 คะแนน อยูในระดับพอใช 5 คะแนน อยูในระดับตองปรับปรุง

Page 251: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

237

เกณฑการประเมินความสามารถการเขียนสรุปความของนักเรียน คําอธิบายคะแนน องคประกอบที่

ประเมิน 5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน การสรุปใจความสําคัญ (5 คะแนน)

เขียนเนื้อหาสําคัญของเรื่องไดใจความสมบูรณดวยสํานวนภาษาของตนเอง

เขียนเนื้อหาสําคัญไดใจความสมบูรณโดยใชสํานวนภาษาเดิมของเรื่อง ที่อาน

เขียนเนื้อหาสําคัญของเรื่องไดสามในสี่สวนโดยใชสํานวนภาษาเดิมของเรื่อง ที่อาน

เขียนเนื้อหาสําคัญของเรื่องไดสองในสี่สวนโดยใชสํานวนภาษาเดิมของเรื่อง ที่อาน

เขียนเนื้อหาสําคัญไดบางโดยคัดลอกจากขอความเดิมของเรื่อง ที่อาน

เขียนประโยคไดถูกตอง (4 คะแนน)

เขียนประโยคถูกตองตามหลักไวยากรณทุกประโยค

เขียนประโยคผิดหลักไวยากรณ 1 ประโยค

เขียนประโยคผิดหลักไวยากรณ มากกวา 2 ประโยคขึ้นไป

การสะกดคํา (2 คะแนน)

เขียนสะกดคําและวางวรรณยกุตถูกตองตามหลักไวยากรณทุกคํา

เขียนสะกดคําและวางวรรณยกุต ผิดหลัก ไวยากรณมากกวา 1 คํา

กําหนดเกณฑการประเมิน 8 – 10 คะแนน อยูในระดับดมีาก 7 คะแนน อยูในระดับด ี6 คะแนน อยูในระดับพอใช 5 คะแนน อยูในระดับตองปรับปรุง

Page 252: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

238

สําหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่ 6

เรื่อง การพฒันาความสามารถในการเขียนสรุปความของนกัเรยีนชั้นประถมศึกษาปที ่6 ดวยการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด

คําชี้แจง

แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิด มีจํานวน 2 ตอน ตอนที่ 1 เขียนแผนผังความคิดเห็นตามประเด็นที่กําหนด ตอนที่ 2 เขียนพรรณนาความคิดเห็นตามแผนผังความคิดในตอนที่ 1

แบบสอบถามความคิดเห็น

Page 253: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

239

ตอนที่ 1 เขียนแผนผังความคิดตามประเด็นที่กําหนด คําชี้แจง ใหนกัเรียนเขยีนแผนผังความคิด เพื่อแสดงความคิดเหน็ที่มีตอการจัดการเรียนรู แบบแผนผังความคิดตามประเด็นตอไปนี้ 1. การจัดการเรียนรู 2. บรรยากาศในการเรยีนรู 3. ประโยชนที่ไดรับ

Page 254: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

240

ตอนที่ 2 เขียนพรรณนาความคิดเห็นตามแผนผังความคิดในตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหนกัเรียนเขยีนพรรณนาความคิดเห็นตามแผนผังความคิดในตอนที่ 1 การจัดการเรยีนรู ………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… บรรยากาศในการเรียนรู ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ประโยชนที่ไดรับ ………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

Page 255: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

241

ภาคผนวก ง การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ

Page 256: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

242

ตารางที่ 22 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความสอดคลองขององคประกอบของ แผนการจัดการเรียนรู จากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน

ความคิดเห็นของ ผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3

รวม

ความ หมาย

1. แผนการเรียนรูที่ 1 1.1 สาระสําคัญ

- เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม 1.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

- เหมาะสมและสอดคลองกับการจัดกิจกรรมการ เรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับสื่อ วิธีวัดและ ประเมินผล

+1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

1.3 สาระการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระสําคัญ

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมกับระดับความรูของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล การเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

1.4 กิจกรรมการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับวิธีวัดและประเมินผล +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมกับเวลา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

1.5 สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับ กิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

1.6 การวัดและประเมินผลผลการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่ คาดหวัง

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับกับกิจกรรม การเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 257: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

243

ตารางที่ 22 (ตอ)

ความคิดเห็นของ ผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3 รวม

ความ หมาย

2. แผนการเรียนรูที่ 2 2.1 สาระสําคัญ

- เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม 2.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

- เหมาะสมและสอดคลองกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับสื่อ วิธีวัดและ ประเมินผล

+1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

2.3 สาระการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระสําคัญ

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมกับระดับความรูของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล การเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

2.4 กิจกรรมการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับวิธีวัดและประเมินผล +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมกับเวลา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

2.5 สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับ กิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

2.6 การวัดและประเมินผลผลการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่ คาดหวัง

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับกับกิจกรรม การเรียนรู

+1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 258: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

244

ตารางที่ 22 (ตอ)

ความคิดเห็นของ ผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3 รวม

ความ หมาย

3. แผนการเรียนรูที่ 3 3.1 สาระสําคัญ

- เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม 3.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

- เหมาะสมและสอดคลองกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับสื่อ วิธีวัดและ ประเมินผล

+1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

3.3 สาระการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระสําคัญ

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมกับระดับความรูของนักเรียน +1 0 +1 0.67 เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล การเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

3.4 กิจกรรมการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับวิธีวัดและประเมินผล +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมกับเวลา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 3.5 สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

- เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับ กิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

3.6 การวัดและประเมินผลผลการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่ คาดหวัง

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับกับกิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 259: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

245

ตารางที่ 22 (ตอ)

ความคิดเห็นของ ผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3 รวม

ความ หมาย

4. แผนการเรียนรูที่ 4 4.1 สาระสําคัญ

- เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม 4.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

- เหมาะสมและสอดคลองกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับสื่อ วิธีวัดและ ประเมินผล

+1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

4.3 สาระการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระสําคัญ

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมกับระดับความรูของนักเรียน +1 0 +1 0.67 เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล การเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

4.4 กิจกรรมการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับวิธีวัดและประเมินผล +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมกับเวลา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 4.5 สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

- เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับ กิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

4.6 การวัดและประเมินผลผลการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่ คาดหวัง

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับกับกิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 260: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

246

ตารางที่ 22 (ตอ)

ความคิดเห็นของ ผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3 รวม

ความ หมาย

5. แผนการเรียนรูที่ 5 5.1 สาระสําคัญ

- เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม 5.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

- เหมาะสมและสอดคลองกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับสื่อ วิธีวัดและ ประเมินผล

+1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

5.3 สาระการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระสําคัญ

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมกับระดับความรูของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม -เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล การเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

5.4 กิจกรรมการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับวิธีวัดและประเมินผล +1 +1 0 0.67 เหมาะสม - เหมาะสมกับเวลา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 5.5 สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

- เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับ กิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

5.6 การวัดและประเมินผลผลการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่ คาดหวัง

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับกับกิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 261: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

247

ตารางที่ 22 (ตอ)

ความคิดเห็นของ ผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3 รวม

ความ หมาย

6. แผนการเรียนรูที่ 6 6.1 สาระสําคัญ

- เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม 6.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

- เหมาะสมและสอดคลองกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับสื่อ วิธีวัดและ ประเมินผล

+1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

6.3 สาระการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระสําคัญ

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมกับระดับความรูของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล การเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

6.4 กิจกรรมการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับวิธีวัดและประเมินผล +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมกับเวลา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 6.5 สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

- เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับ กิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

6.6 การวัดและประเมินผลผลการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่ คาดหวัง

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับกับกิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 262: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

248

ตารางที่ 22 (ตอ)

ความคิดเห็นของ ผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3 รวม

ความ หมาย

7. แผนการเรียนรูที่ 7 7.1 สาระสําคัญ

- เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม 7.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

- เหมาะสมและสอดคลองกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับสื่อ วิธีวัดและ ประเมินผล

+1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

7.3 สาระการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระสําคัญ

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมกับระดับความรูของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล การเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

7.4 กิจกรรมการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับวิธีวัดและประเมินผล +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมกับเวลา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 7.5 สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

- เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับ กิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

7.6 การวัดและประเมินผลผลการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่ คาดหวัง

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับกับกิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 263: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

249

ตารางที่ 22 (ตอ)

ความคิดเห็นของ ผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3 รวม

ความ หมาย

8. แผนการเรียนรูที่ 8 8.1 สาระสําคัญ

- เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม 8.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

- เหมาะสมและสอดคลองกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับสื่อ วิธีวัดและ ประเมินผล

+1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

8.3 สาระการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระสําคัญ

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมกับระดับความรูของนักเรียน +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล การเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

8.4 กิจกรรมการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับวิธีวัดและประเมินผล +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม - เหมาะสมกับเวลา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 8.5 สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู

- เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม - เหมาะสมและสอดคลองกับ กิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

8.6 การวัดและประเมินผลผลการเรียนรู - เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่

คาดหวัง

+1

+1

+1

1.00

เหมาะสม

- เหมาะสมและสอดคลองกับกับกิจกรรมการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 264: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

250

ตารางที่ 23 ผลรวมคาดัชนคีวามสอดคลองที่ไดจากการประเมินความเหมาะสมและความสอดคลอง ขององคประกอบของแผนการจัดการเรียนรู จํานวน 8 แผน จากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน

แผนการจัดการเรียนรู คาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ความหมาย แผนที่ 1 เทากับ 1.00 เหมาะสม แผนที่ 2 เทากับ 1.00 เหมาะสม แผนที่ 3 เทากับ 0.97 เหมาะสม แผนที่ 4 เทากับ 1.00 เหมาะสม แผนที่ 5 เทากับ 0.97 เหมาะสม แผนที่ 6 เทากับ 1.00 เหมาะสม แผนที่ 7 เทากับ 1.00 เหมาะสม แผนที่ 8 เทากับ 1.00 เหมาะสม

Page 265: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

251

ตารางที่ 24 คาดัชนีความสอดคลอง ที่ไดจากการประเมินความความสอดคลองของแบบทดสอบ กอน - หลังเรียน แบบปรนยั จากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน

ความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3

รวม ความหมาย

1. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 1 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 2. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 2 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 3. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 3 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 4. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 4 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 5. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 5 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 6. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 6 +1 +1 0 0.67 เหมาะสม 7. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 7 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 8. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 8 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 9. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 9 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 10. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 10 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 11. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 11 +1 0 +1 0.67 เหมาะสม 12. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 12 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 13. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 13 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 14. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 14 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 15. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 15 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 16. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 16 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 17. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 17 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 18. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 18 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 19. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 19 +1 +1 0 0.67 เหมาะสม 20. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 20 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 266: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

252

ตารางที่ 25 คาดัชนีความสอดคลอง ที่ไดจากการประเมินความสอดคลองของแบบทดสอบ กอน - หลังเรียน แบบอัตนยั จากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน

ความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3

รวม ความหมาย

1. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 1 +1 0 +1 0.67 เหมาะสม 2. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 2 +1 +1 0 0.67 เหมาะสม 3. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 3 +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 4. ความเหมาะสมและสอดคลองของแบบทดสอบขอ 4 0 +1 +1 0.67 เหมาะสม

ตารางที่ 26 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความสอดคลองของ แบบสอบถามความคิดเหน็ จากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน

ความคิดเห็น ของผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3

รวม

ความหมาย

1. สอดคลองกับวัตถุประสงค +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 2. เนื้อหารายละเอียดครอบคลุม +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 3. จํานวนขอมีความเหมาะสม +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 4. ภาษาเขาใจงายเหมาะสมกับระดับของนักเรียน +1 +1 0 0.67 เหมาะสม 5. ความถูกตองของการใชภาษา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 267: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

253

ตารางที่ 27 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความสอดคลองของ แบบประเมินการเขียนสรุปความ จากผูเชีย่วชาญ จํานวน 3 คน

ความคิดเห็น ของผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3

รวม ความหมาย

1. เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 2. เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 3. เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 4. เกณฑการประเมินมีความถูกตองเหมาะสม +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 5. เกณฑการประเมินครอบคลุมเนื้อหา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 6. เกณฑการประเมินมีความเหมาะสมกับระดับของผูเรียน +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 7. เกณฑการประเมินมีจํานวนเหมาะสม +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

ตารางที่ 28 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความสอดคลองของแบบประเมิน การสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท จากผูเชีย่วชาญ จํานวน 3 คน

ความคิดเห็น ของผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3

รวม ความหมาย

1. เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 2. เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 3. เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 4. เกณฑการประเมินมีความถูกตองเหมาะสม +1 0 +1 0.67 เหมาะสม 5. เกณฑการประเมินครอบคลุมเนื้อหา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 6. เกณฑการประเมินมีความเหมาะสมกับระดับของผูเรียน +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 7. เกณฑการประเมินมีจํานวนเหมาะสม +1 +1 0 0.67 เหมาะสม

Page 268: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

254

ตารางที่ 29 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความสอดคลองของแบบประเมิน การสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได จากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน

ความคิดเห็น ของผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3

รวม ความหมาย

1. เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 2. เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู +1 0 +1 0.67 เหมาะสม 3. เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 4. เกณฑการประเมินมีความถูกตองเหมาะสม +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 5. เกณฑการประเมินครอบคลุมเนื้อหา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 6. เกณฑการประเมินมีความเหมาะสมกับระดับของผูเรียน +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 7. เกณฑการประเมินมีจํานวนเหมาะสม +1 +1 0 0.67 เหมาะสม

ตารางที่ 30 คาดัชนีความสอดคลองที่ไดจากการประเมินความสอดคลองของแบบประเมิน การสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา จากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน

ความคิดเห็น ของผูเช่ียวชาญ

รายการประเมิน

1 2 3

รวม ความหมาย

1. เหมาะสมและสอดคลองกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 2. เหมาะสมและสอดคลองกับสาระการเรียนรู +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 3. เหมาะสมและสอดคลองกับการวัดผลประเมินผล +1 +1 0 0.67 เหมาะสม 4. เกณฑการประเมินมีความถูกตองเหมาะสม +1 0 +1 0.67 เหมาะสม 5. เกณฑการประเมินครอบคลุมเนื้อหา +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 6. เกณฑการประเมินมีความเหมาะสมกับระดับของผูเรียน +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม 7. เกณฑการประเมินมีจํานวนเหมาะสม +1 +1 +1 1.00 เหมาะสม

Page 269: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

255

ตารางที่ 31 คาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยดานการเขียนสรุปความ

ขอ p r 1 0.57 0.27 2 0.70 0.27 3 0.67 0.27 4 0.73 0.20 5 0.77 0.20 6 0.63 0.20 7 0.63 0.27 8 0.63 0.20 9* 0.67 0 10* 0.40 -0.13 11 0.67 0.27 12* 0.13 -0.13 13 0.60 0.27 14 0.67 0.20 15* 0.37 0.06 16* 0.23 0.06 17 0.67 0.20 18* 0.53 0 19 0.67 0.27 20 0.63 0.20 21 0.67 0.27 22* 0.23 -0.06 23* 0.67 0.13 24 0.60 0.20 25 0.50 0.20 26 0.63 0.27 27 0.73 0.20 28 0.77 0.20 29* 0.63 0.20 30* 0.37 0.20

Page 270: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

256

หมายเหต ุ การเลือกขอสอบผูวิจัยเลือก ดังนี ้ 1. จํานวนขอสอบในแตละจุดประสงคใกลเคียงกันและกระจายใหครบทุกจุดประสงค 2. ขอสอบที่มีคาความยากงาย (p) ระหวาง 0.20-0.80 3. ขอสอบที่มีคาอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต 0.20 ขึ้นไป ดังนั้นขอสอบที่ไมถูกเลือก ไดแก ขอ 9, 10, 12, 15, 16, 18, 22, 23, 29, 30, ตารางที่ 32 ผลการคํานวณหาคา ความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบแบบปรนัย

คาที่คํานวณ ผลการคํานวณ ความยากงาย (p) 0.67 0.37-0.77 คาอํานาจจําแนก (r) 0.67 0.20-0.27

1. การคํานวณหาคาความเชื่อมัน่ของแบบทดสอบ (ปรนัย) การหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบการเขียนสรุปความ กอน-หลังเรียน โดยใชคอมพิวเตอร ไดคาความเชื่อมั่น KR 20 = 0.80 Alpha = 0.80

Page 271: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

257

ตารางที่ 33 ผลการนําแบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนสรุปความและสรางแผนผัง ความคิดไปทดลองใช (Try Out)

คนที่ ขอที่ 1 ขอที่2 ขอที่ 3 ขอที่ 4 1 8 8 9 9 2 9 8 8 8 3 8 8 9 9 4 9 9 10 10 5 8 9 9 9 6 9 8 8 8 7 8 8 8 8 8 8 8 8 8 9 8 9 9 9 10 9 9 10 10 11 9 9 10 10 12 8 8 9 9 13 8 9 9 9 14 8 9 9 9 15 9 9 10 10 16 8 10 10 10 17 8 10 10 9 18 9 9 9 10 19 9 8 8 8 20 9 8 9 8 21 8 10 9 9 22 9 9 10 10 23 9 10 10 10 24 8 8 9 9 25 9 9 9 9 26 9 10 9 10 27 8 9 9 9 28 8 8 8 8 29 9 10 10 10 30 8 9 10 10

Page 272: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

258

การคํานวณหาคาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบ(อัตนัย) Reliability Analysis-Scale (Alpha)

Reliability Coefficient N of Cases = 30 N of Items = 4 Alpha = 0.8073 Alpha = 0.80

สูตรคํานวณ

1. การหาคาความยากงาย (Difficulty) ของแบบทดสอบแบบปรนัย คือสัดสวนระหวางจํานวนผูตอบถูกในแตละขอตอจํานวนผูเขาสอบทั้งหมด โดยใชเกณฑความยากงายของขอสอบที่ดีระหวาง 0.20 – 0.80 (พวงรัตน ทวีรัตน 2543:129) สูตร P =

NR

เมื่อ P หมายถึง คาความยากงายของคําถามแตละขอ R หมายถึง จํานวนผูตอบถูกในแตละขอ N หมายถึง จํานวนผูเขาสอบทั้งหมด

Page 273: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

259

2. การหาคาอํานาจจําแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบแบบปรนัยใหไดคาตามเกณฑที่กําหนดคือมีคาตั้งแต 0.20 ขึ้นไป (พวงรัตน ทวีรัตน 2543:130) สูตร

2/NRRr eu −=

เมื่อ r หมายถึง คาอํานาจจําแนกเปนรายขอ Ru หมายถึง จาํนวนผูที่ตอบถูกในรายขอนัน้ในกลุมเกง Re หมายถึง จาํนวนผูที่ตอบถูกในขอนั้นในกลุมออน N หมายถึง จาํนวนคนในกลุมตัวอยางทั้งหมด 3. การหาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแบบปรนัย แบบคูเดอร – ริชารดสัน (Kuder-Richardson) พวงรตัน ทวีรัตน (2543 : 123) ดวยสูตร K.R. 20 rtt =

1−nn { −1 2St

pq∑ } เมื่อ n หมายถึง จํานวนขอ P หมายถึง สัดสวนของคนทําถูกในแตละขอ q หมายถึง สัดสวนของคนทําผิดในแตละขอ = 1- p S2

t หมายถึง ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ

Page 274: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

260

4. การหาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแบอัตนัยโดยใชสูตร Alpha efficient ของ Cronbach (พวงรัตน ทวีรัตน, 2543 : 125-126) โดยกําหนดความเชื่อมั่น 0.80 ขึ้นไปแสดงวา แบบประเมินความสามารถมีความเชื่อมั่นสามารถนําไปใชกับกลุมตวัอยางได α =

1−nn { ∑ 2s }

2s α หมายถึง สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น n หมายถึง จํานวนขอ is 2 หมายถึง คะแนนความแปรปรวนแตละขอ ts 2 หมายถึง คะแนนความแปรปรวนทั้งฉบับ

Page 275: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

261

ภาคผนวก จ การตรวจสอบสมมุติฐาน

Page 276: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

262

ตารางที่ 34 คาความตางของคะแนนทดสอบความสามารถในการเขยีนสรุปความของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 กอนและหลังวิธีการจัดการเรียนรูแบบแผนผังความคิด

คนที่ ทดสอบกอนเรียน ทดสอบหลังเรียน คาความตาง

1 14 25 11 2 13 25 12 3 15 27 12 4 16 26 10 5 16 28 12 6 13 25 12 7 14 26 12 8 16 26 10 9 16 24 8 10 12 25 13 11 11 27 16 12 12 28 16 13 16 26 10 14 12 28 16 15 14 27 13 16 13 28 15 17 15 28 13 18 13 28 15 19 14 27 13 20 12 28 16 21 13 29 16 22 11 27 16 23 10 28 18 24 15 26 11 25 14 26 12 26 13 25 12 27 13 25 12 28 12 24 12 29 13 26 13 30 15 28 13 รวม 406 796 - X 13.53 26.33 -

รอยละ(%) 45.11 87.77 - S.D. 1.16 1.13

Page 277: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

263

ตารางที่ 35 การเปรยีบเทยีบความสามารถในการเขยีนสรุปความ ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที ่6 ดวยวิธีการจดัการเรียนรูแบบแผนผังความคิด โดยใช t–test Dependent t–test

Paired Samples Statistics Mean N Std.Deviation Std.Error Mean

Pair 1 Pretest Posttest

13.53 26.47

30 30

1.66 1.36

.30

.25

Paired Samples Correlations N Correlation Sig

Pair 1 Pretest & Posttest 30 -.237 .207

Paired Sample Test Paired Differences

95% Confidence Interval of the

Differences

Mean Std. Deviation

Std.Error Mean

Lower Upper

t df Sig (2-tailed)

Pair 1 Pretest

& Posttest

-12.93

2.38

0.4340

-13.82

-12.05

-29.801

29

.000

Page 278: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

264

ตารางที่ 36 ความสามารถในการเขยีนสรุปความจากงานเขียนประเภทตาง ๆ ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6

คนที่ บันเทิงคด ี(7 คะแนน)

สารคดี (17 คะแนน)

บทรอยกรอง (6 คะแนน)

รวม (30 คะแนน)

1 7 15 4 26 2 7 14 4 25 3 7 15 5 27 4 7 14 5 26 5 7 16 5 28 6 7 14 4 25 7 7 15 4 26 8 7 15 5 27 9 7 14 4 25

10 6 14 5 25 11 7 15 5 27 12 7 16 5 28 13 6 15 5 26 14 7 15 6 26 15 7 14 6 27 16 6 17 6 29 17 7 15 6 28 18 7 15 6 28 19 7 16 4 27 20 7 15 5 27 21 7 16 6 29 22 7 15 4 26 23 7 16 2 25 24 6 14 5 25 25 6 14 6 26 26 6 14 5 25 27 7 13 4 24 28 6 14 5 25 29 6 14 6 26 30 7 16 5 28 รวม 202 445 147 794 X 6.73 14.84 4.9 26.47

รอยละ(%) 96.19 87.29 81.66 82.22

Page 279: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

265

ตารางที่ 37 ผลการทดสอบความสามารถในการสรางแผนผังความคดิ ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6

คนที่ แผนผังความคิดแบบขั้นบันได

แผนผังความคิด แบบจําแนกประเภท

แผนผังความคิด แบบกางปลา รวม

1 8 7 7 22 2 8 7 7 22 3 8 8 7 23 4 9 8 7 24 5 10 9 9 28 6 8 9 8 25 7 9 7 9 25 8 9 7 7 23 9 9 7 7 23

10 8 9 7 24 11 8 9 8 25 12 10 9 10 29 13 10 9 10 29 14 10 9 9 28 15 10 9 9 28 16 10 9 9 28 17 10 9 9 28 18 10 10 8 28 19 10 8 8 26 20 10 8 8 26 21 10 9 10 29 22 8 10 10 28 23 10 10 10 30 24 9 8 8 25 25 8 9 8 25 26 8 9 7 24 27 8 7 7 22 28 10 7 7 24 29 10 9 9 28 30 10 9 9 28 รวม 275 254 248 777 X 9.17 8.46 8.26 25.89

รอยละ(%) 91.66 84.66 82.66 86.33

Page 280: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

266

ตารางที่ 38 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบขั้นบันได (Time ladder map) ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6

การจับใจความสําคัญ การจัดลําดับความ การเขียนโครงราง รวม คนที่ 4 3 2 1 4 3 2 1 2 1 10

1 8 2 8 3 8 4 9 5 10 6 8 7 9 8 9 9 9 10 8 11 8 12 10 13 10 14 10 15 10 16 10 17 10 18 10 19 10 20 10 21 10 22 8 23 10 24 9 25 8 26 8 27 8 28 10 29 10 30 10 รวม 84 27 72 36 52 4 275

Page 281: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

267

ตารางที่ 39 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบจําแนกประเภท ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6

การจําแนกความสําคัญของเนื้อเร่ือง การเขียนใจความสนับสนุน การเขียนโครงราง รวม คนที่ 4 3 2 1 4 3 2 1 2 1 10

1 7 2 7 3 8 4 8 5 9 6 9 7 7 8 7 9 7

10 9 11 9 12 9 13 9 14 9 15 9 16 9 17 9 18 10 19 8 20 8 21 9 22 10 23 10 24 8 25 9 26 9 27 7 28 7 29 9 30 9 รวม 76 33 28 69 36 12 254

Page 282: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

268

ตารางที่ 40 ความสามารถในการสรางแผนผังความคิดแบบกางปลา ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6

การกําหนดสาเหตุของผลหรือปญหา การเขียนใจความสนับสนุนสาเหตุของผลหรือปญหา รวม คนที่ 5 4 3 2 1 5 4 3 2 1 10

1 7 2 7 3 7 4 7 5 9 6 8 7 9 8 7 9 7

10 7 11 8 12 10 13 10 14 9 15 9 16 9 17 9 18 8 19 8 20 8 21 10 22 10 23 10 24 8 25 8 26 7 27 7 28 7 29 9 30 9 รวม 65 68 25 60 30 248

Page 283: การพัฒนาความสามารถในการเขียน ......ค บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน

269

ประวัติผูวิจัย ช่ือ – นามสกุล นางสาวกณัหา คําหอมกุล ที่อยู 202 หมู 9 ตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพีน่อง จังหวัดสพุรรณบุรี สถานที่ทํางาน โรงเรียนวัดหนองพันเทา ตาํบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ประวัติการศกึษา พ.ศ.2536 สําเร็จการศึกษาครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย

วิทยาลัยครูนครปฐม จังหวดันครปฐม พ.ศ. 2546 ศึกษาตอระดบัปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการนิเทศ

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2542 อาจารย 1 ระดับ 3 โรงเรียนบานดินโส อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2545 อาจารย 1 ระดับ 4 โรงเรียนบานหนองเจริญสุข อําเภอหวยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2547 อาจารย 1 ระดับ 5 โรงเรียนบานหนองเจริญสุข อําเภอหวยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2548 – ปจจุบัน ครู คศ.1 โรงเรียนวดัหนองพันเทา

อําเภอสองพี่นอง จังหวดัสุพรรณบุรี