75
ระเบียบหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับระบบ ICAS และความคืบหน้าในการดาเนินการ ฝ่ายการชาระเงินและตราสารหนีธนาคารแห่งประเทศไทย

ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

ระเบียบหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับระบบ ICAS

และความคืบหน้าในการด าเนินการ

ฝ่ายการช าระเงินและตราสารหนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทย

Page 2: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

หัวข้อการบรรยาย

1. ภาพรวมระบบ ICAS

2. กฎหมายที่เกี่ยวข้องและระเบียบ ธปท.

3. ปัญหาที่พบในการปฏิบัตงิาน

4. การปรับตวัของผู้ใช้เช็ค

5. การใช้งานระบบ ICAS ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

6. แนวทางการขยายระบบ ICAS ในภูมิภาค

7. การประชาสมัพันธ์

2

Page 3: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

3

Page 4: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

Imaged Cheque Clearing and Archive System

2

Interbank Settlement via

BAHTNET

Image Archive System

(IAS)

Sending Bank

Paying Bank

Imaged Cheque Clearing System

(ICS)

Page 5: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

ขอบเขตงานเกี่ยวกับ ICAS

3

ตรวจสอบคุณภาพของภาพเช็ค (IQA)

ก าหนดนโยบายและระเบียบหลักเกณฑ์ Imaged Cheque

Clearing and Archive System

(ICAS) ดูแลการจัดเก็บข้อมูลในระบบ

IAS

ดูแลการ หักบัญชีเช็ค ในระบบ ICS

ฝ่ายการช าระเงินและตราสารหนี้

Page 6: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

6

ภาพรวมของระบบ ICAS ICAS เป็นระบบที่ใช้ภาพเช็ค ในการเรียกเก็บเงินตามเช็ค แทนการจัดส่งเช็คต้นฉบับ

Sending Bank Paying Bank ICS

IAS

NOC NIC

ROC RIC

กระบวนการจัดท าภาพเช็คต้องมีความมั่นคงปลอดภัย ภาพเช็คสามารถอ่านได้ มีความคมชัด และผ่านการตรวจสอบ Image Quality Assurance (IQA)

เช็ค

ใบแจ้งผลเช็คคืน

เอกสารแจ้งหักบัญช ี

1

2

3

Page 7: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

7

ระบบปัจจบุัน ICAS 1. เช็ค 1. เช็ค 2. ใบคืนเช็ค (ธนาคารผู้จ่ายเป็นผู้ท า)

2. ใบแจ้งผลเช็คคืน (ธนาคารผู้ส่งเรียกเก็บเป็นผู้จัดท าตามข้อมูลที่ธนาคารผู้สั่งจ่ายส่งมาให้) 3. เอกสารแจ้งหักบัญชี (ธนาคารผู้ส่งเรียกเก็บเป็นผู้จัดท า)

เปรียบเทียบเอกสารคืนเช็คในระบบ ECS และ ICAS

Page 8: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

8

1. เช็ค 2. ใบแจ้งผลเช็คคืน

3. เอกสารแจ้งหักบัญชี

เอกสารที่ลูกค้าจะได้รับจาก ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ เมื่อเช็คคืน

Page 9: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

9

ข้อมูลที่รับและส่งในระบบ ICAS และรอบการช าระดุลหักบัญชี

ส่งข้อมูลเช็คเรียกเก็บ (Normal Out – clearing: NOC)

ส่งข้อมูลเช็คคืน (Return Out – clearing: ROC)

รับข้อมูลเช็คเรียกเก็บ (Normal In – clearing: NIC)

รับข้อมูลเช็คคืน (Return In – clearing: RIC)

1. ข้อมูลที่รับและส่งในระบบ ICAS

ธนาคาร

ส่ง

รับ

Page 10: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

10

ข้อมูลที่รับและส่งในระบบ ICAS และรอบการช าระดุลหักบัญชี

2. รอบการช าระดุลหักบัญชี มี 2 รอบ

รอบการช าระดุลหักบัญชีในวันที่ส่งเรียกเก็บ (Same-day Settlement)

รอบการช าระดุลหักบัญชีในวันท าการถัดไป (Next-day Settlement)

เวลา 17.00 น. ของวันที่ส่งเรียกเก็บ

เวลา 11.30 น. ของวันท าการถัดไป

Page 11: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

11

เวลาเปิด - ปิดรอบ ICAS

วันที่ส่งเรียกเก็บ (T + 0) วันท าการถัดไป (T + 1)

10.15 NOC

Same-day 10.30-16.00

NOC Next-day 16.00-17.00

ROC Same-day

10.30-16.05

ROC Next-day

16.05-10.15

16.00 16.05

17.00

10.30 ROC Next-day

16.05-10.15

17.00 ช าระดุลรอบ Same-day

11.30 ช าระดุลรอบ Next-day

Same-day Settlement NIC และ RIC : ตั้งแต่ 10.30 เป็นต้นไป Next-day Settlement NIC และ RIC : ตั้งแต่ 16.05 เป็นต้นไป

Page 12: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

12

เวลาเปิด - ปิดรอบ ICAS ส าหรับ จ.สุพรรณบุรี

• ระบบ ICAS คงเวลา เปิด-ปิด ตามกรุงเทพมหานคร • เวลาการสง่ข้อมูลเรียกเก็บ ก าหนดระหว่าง 10.30 – 15.15 น.

Page 13: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

13

• เช็คนอกมาตรฐาน • เช็คช ารุดที่ไม่สามารถกราดภาพได้ เช็คที่มีสิ่งอื่นติดมา

เช็คที่มีรอยฉีกขาด/รอยยับ เช็คที่ปรุจ านวนเงินตัวเลขพิมพ์ด้วยหมึกสีที่ไม่สามารถมองเห็นจากภาพได้

• เช็คที่ตก IQA

ประเภทเช็คในระบบ ICAS

เช็คปกต ิ

เช็คกลุ่มพิเศษ

ประมาณ 92% ของระบบ โดยส่งเฉพาะภาพเช็คเพื่อเรียกเก็บผ่านระบบ ICAS

ประมาณ 8% ของระบบ โดยส่งภาพใบแทนหรือภาพเช็คเพ่ือเรียกเก็บผ่านระบบ ICAS และส่งเช็คต้นฉบับให้ ธ.ผู้จ่าย

ภาพใบแทน + เช็ค ภาพเช็ค + เช็ค

• เช็คมูลค่าสูง (ตั้งแต่ 10 ลบ.ขึ้นไป) *

• เช็คที่มีตราประทับ

• เช็คที่มีการแก้ไขข้อความ

• เช็คสงสัยจะปลอม

* ปรับจาก 1 ลบ. เป็น 10 ลบ. เมื่อ 2 ก.ค.55

Page 14: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

14

Page 15: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

• ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • ประมวลกฎหมายอาญา • พ.ร.บ. เช็ค

• พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ • พ.ร.ก. ก าหนดประเภทธุรกรรมในทางแพ่งและพาณิชย์ที่ยกเว้น

ให้น ากฎหมายว่าดว้ยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้บังคับ • ประกาศคณะกรรมการธรุกรรมทางอิเล็ทรอนิกส์ เรื่อง

หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดท าหรือแปลงเอกสารและข้อความให้อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2553

Page 16: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

16

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 990 ผู้ทรงเช็คต้องยื่นเชค็แก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน

คือว่าถ้าเป็นเช็คใหใ้ช้เงินในเมืองเดียวกันกับที่ออกเช็คต้องยื่นภายใน

เดือนหนึ่งนับแต่วันออกเช็คนั้น ถ้าเป็นเช็คให้ใชเ้งินทีอ่ื่นต้องยื่นภายใน

3 เดือน ถ้ามิฉะนั้นท่านว่าผู้ทรงสิ้นสิทธิที่จะไลเ่บี้ยเอาแก่ผู้สลักหลัง

ทั้งปวง ทั้งเสียสิทธิอันมีต่อผู้สั่งจ่ายด้วยเพียงเท่าที่จะเกิดความเสียหาย

อย่างหนึ่งอย่างใดแก่ผู้สั่งจ่ายเพราะการที่ละเลยเสียไม่ยื่นเช็คนั้น

Page 17: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

17

กระบวนการยื่นเช็คแก่ธนาคารเพื่อให้ใช้เงิน

ในอดีตช่วงที่ไม่มีระบบอิเล็กทรอนิกส์ - 2539

ธนาคารผู้รับฝากเช็คต่างธนาคารจะยื่นเช็คที่รับฝาก โดยการส่งเช็คอย่างเดียว ไปที่ส านักหักบัญชี เรียกว่าระบบ Manual

เมื่อมีการน าระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้แล้ว

ธนาคารผู้รับฝากเช็คต่างธนาคารจะส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านศูนย์หักบัญชอีิเล็กทรอนิกส์ ไปยังธนาคารผู้จ่ายก่อน หลังจากนั้น ตอนเย็นจึงส่งตัวเช็คกลับไปที่ธนาคารผู้จ่ายเพื่อตรวจสอบ เรียกว่าระบบ Electronic Cheque Clearing System หรือ ECS

Page 18: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

เจตนารมณ์ของกฎหมาย รองรับผลทางกฎหมายของ

ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และ

ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

พ.ร.บ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544

Page 19: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

กฎหมายรองรับให้ หลักความเท่าเทียมกัน (Functional – equivalent approach)

ม.7 ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีสถานะและผลทางกฎหมายเทียบเท่า เอกสารที่เป็นกระดาษ

ม.8 ในกรณีที่กฎหมายก าหนดให้การใดต้องท าเป็นหนังสือ มีหลักฐาน เป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดง ถ้าได้มีการจัดท าข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงและน ากลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง ให้ถือว่าข้อความนั้นได้ท าเป็นหนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดงแล้ว

หลักการของ พ.ร.บ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

Page 20: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

ม.9 ในกรณีที่บุคคลพึงลงลายมือชื่อในหนังสือ ให้ถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นมีการลงลายมือชื่อแล้ว ถ้า

(1) ใช้วิธีการที่สามารถระบุตัวเจ้าของลายมือชื่อ และสามารถแสดงได้ว่าเจ้าของลายมือชื่อรับรองข้อความในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นว่าเป็นของตน และ

(2) วิธีการดังกล่าวเป็นวิธีการที่เชื่อถือได้โดยเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการสร้างหรือส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยค านึงถึงพฤติการณ์แวดล้อมหรือข้อตกลงของคู่กรณี

หลักการของ พ.ร.บ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ)

Page 21: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

ม.10 ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้น าเสนอหรือเก็บรักษาตามหลักเกณฑ์ ที่กฎหมายก าหนด ให้ถือว่าได้มีการน าเสนอหรือเก็บรักษาเป็นเอกสารต้นฉบับตามกฎหมายแล้ว

ม.11 ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐานในกระบวนการพิจารณาตามกฎหมายทั้งในคดีแพ่ง คดีอาญา หรือคดีอื่นใด

ม.12 ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้มีการเก็บรักษาตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายก าหนด เป็นการเก็บเอกสารหรือข้อความตามที่กฎหมายต้องการแล้ว

หลักการของ พ.ร.บ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ)

Page 22: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

22

พ.ร.บ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (แก้ไขเพิ่มเติม)โดยพระราชบัญญตัิว่าดว้ยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 2)

พ.ศ. 2551

มาตรา 12/1 ให้น าบทบัญญัติในมาตรา 10 มาตรา 11 และมาตรา 12 มาใช้บังคับกับเอกสารหรือข้อความที่ได้มีการจัดท าหรือแปลงให้อยู่ ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในภายหลังด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ และการเก็บรักษาเอกสารและข้อความดังกล่าวด้วยโดยอนุโลม

การจัดท าหรือแปลงเอกสารและข้อความให้อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการก าหนด

Page 23: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

หลักเกณฑ์และวิธีการการจัดท าหรือแปลงเอกสารและข้อความฯ พ.ร.บ ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.2551)

มาตรา 12/1 “ การจัดท าหรือแปลงเอกสารและข้อความให้อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นไป

ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการก าหนด”

ประกาศคณะกรรมการฯ เร่ืองหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดท าหรือแปลงฯ พ.ศ. 2553

ฉบับที่ 2 ว่าด้วยข้อก าหนดวิธีปฏิบัติในการจัดท า หรือแปลงเอกสารและข้อความให้อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ส าหรับระบบการหักบัญชีเช็คด้วยภาพเช็คและระบบการจัดเก็บภาพเช็ค ใช้กับการแปลงกระดาษเช็คเป็นภาพเช็ค

ฉบับที่ 1 ว่าด้วยข้อก าหนดวิธีปฏิบัติในการจัดท าหรือแปลงเอกสารและข้อความให้อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ใช้กับการแปลงเอกสารทั่วไป

ออกโดยอาศัยอ านาจมาตรา 12/1 ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 26 ตุลาคม 2553

มีผลใช้บังคับ วันที่ 27 ตุลาคม 2553

Page 24: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

24

ภาพรวมของระเบียบ ICAS ธปท. ได้ก าหนดระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ ตลอดจนเอกสารต่าง ๆ

เพื่อรองรับกระบวนการหักบัญชีเช็ครูปแบบใหม่ที่ใช้ภาพเช็ค ทดแทนการส่งเช็คต้นฉบับ

สาระส าคัญ

สิทธิ หน้าที่ และความรบัผิดชอบของ ธปท. และธนาคารสมาชิก

กรอบการปฏิบัติงาน และมาตรฐานตา่ง ๆ

บทเฉพาะกาล

Page 25: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

25

ระเบียบ ธปท.

ประกาศ (9 ฉบับ)

หลักเกณฑ์

แบบฟอร์ม แนบท้ายระเบียบ

(9 ฉบับ)

แบบฟอร์ม แนบท้ายประกาศ

(5 ฉบับ)

ข้อปฏิบัติ การจัดเก็บเช็ค

เอกสารด้านเทคนิค

- มาตรฐานอุปกรณแ์ละโปรแกรม

- Interface Specification - คู่มือการปฏิบัติงาน

ภาพรวมของระเบียบ ICAS

Page 26: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

(1) มาตรฐานเช็ค Image Friendly

ใช้กระดาษ CBS1 (London Clearing Banks Paper Specification No. 1) ประเภท Laser Grade ซึ่งหากมีการแก้ไขโดยใช้น้ ายาเคมี หรือการขูดขีดจะสามารถตรวจพบได้

มีลายน้ ากลาง ICS

มีกล่องวันที่ส าหรับใส่วันเดือนปีที่สั่งจ่าย

26

มาตรฐานเช็คและภาพเช็ค

เช็คที่น าเข้าเรียกเก็บในระบบ ICAS ต้องเป็นเช็คตามมาตรฐาน Image Friendly ที่ได้ประกาศใช้ตั้งแต่ปี 2552

Page 27: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

27

ตัวอย่างเช็คมาตรฐานใหม่

MICR Code Line

Page 28: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

(2) มาตรฐานภาพเช็ค

28

• มาตรฐานคุณสมบัติของภาพเช็ค

ประเภทของ ภาพเช็ค

ด้านหน้า/ด้านหลัง ความละเอียดของภาพ

File Format จ านวนภาพ

1. Grayscale เฉพาะด้านหน้า 100 dpi JPEG 1 2. Black & White ด้านหน้าและหลัง 200 dpi TIFF 2

รวมจ านวนภาพทั้งสิ้น 3

Page 29: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

Black & White ใช้ส าหรับการตรวจสอบข้อความที่เขียน ด้วยลายมือรวมถึงลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย

มาตรฐานภาพเช็ค (Imaged Cheque Specification)

Grayscale ใช้ตรวจสอบความเปลีย่นแปลงระดับสี ของภาพเช็ค เช่น รอ่งรอยการแก้ไข ข้อความบนเช็ค

29

Page 30: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

(2) มาตรฐานภาพเช็ค

30

• การตรวจสอบคุณภาพของภาพเช็ค

หัวข้อการตรวจสอบคุณภาพ ของภาพเช็ค

Grayscale ด้านหน้า

Black & White ด้านหน้า

Black & White ด้านหลัง

1 Folded or Torn Document Corners

2 Folded or Torn Document Edges

3 Image Too Dark

4 Image Too Light

5 Excessive Document Skew

Page 31: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

การตรวจสอบคุณภาพของภาพเช็ค (IQA)

Image Quality Assurance (IQA) ของระบบ ICAS ประกอบด้วย 5 ลักษณะ ดังนี้

1. Folded or Torn Document Corners (มุมขาด/ถูกพับ)

2. Folded or Torn Document Edges (ขอบขาด/ถูกพับ)

3. Image Too Dark (ภาพมืดเกินไป)

4. Image Too Light (ภาพสว่างเกินไป)

5. Excessive Document Skew (ภาพเอียงเกินไป)

31

หมายเหตุ: การตรวจ IQA เป็นเพียงการตรวจคณุลกัษณะต่างๆ ของภาพเช็ค โดยใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยกรองในเบื้องต้น หลังจากนั้น เจ้าหน้าที่ของธนาคารจะตรวจสอบความชัดเจนของภาพอกีครั้งหน่ึง

Page 32: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

วิธีปฏิบตัิส าหรับการแลกเปลี่ยนเช็คกลุ่มพิเศษใน จ.สุพรรณบุร ี(1) ประเภทของเช็คกลุ่มพิเศษ

• กลุ่มที่จัดท าภาพใบแทน • กลุ่มที่จัดท าภาพเช็ค

(2) รอบการแลกเปลี่ยนเช็คกลุ่มพิเศษ • รอบเช็คที่ส่งเรียกเก็บ

- แลกเปลี่ยนเช็คที่ส านักหักบัญชีเวลา 15.30 น. • รอบเช็คคืน

- แลกเปลี่ยนเช็คที่ส านักหักบัญชี ก่อนเวลา 11.00 น. ของวันท าการถัดไป

(3) การด าเนินการในการแลกเปลีย่นเช็คกลุ่มพิเศษ • การจัดกลุ่มเช็คเป็น 3 กลุ่ม • การจัดท ารายงาน • การแลกเปลี่ยนเช็คกลุ่มพิเศษที่ส่งเรียกเก็บ

(4) การคืนเช็คกลุ่มพิเศษ 32

Page 33: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

การส่งข้อมูล กลุ่มพิเศษ Physical Condition Tag

• เช็คนอกมาตรฐาน • เช็คช ารุดที่ไม่สามารถกราดภาพได้ เช็คที่

มีสิ่งอื่นติดมา เช็คท่ีมีรอยฉีกขาด/รอยยับ เช็คท่ีปรุจ านวนเงินตัวเลขพิมพ์ด้วยหมึกสีที่ไม่สามารถมองเห็นจากภาพได้

• เช็คที่ตก IQA

ภาพใบแทน + ตัวเช็ค

ภาพเช็ค + ตัวเช็ค

• เช็คมูลค่าสูง (ตั้งแต่ 10 ลบ.ขึ้นไป) —PCT 00

• เช็คท่ีมีตราประทับ —PCT 03

• เช็คที่มีการแก้ไขข้อความ —PCT 04

• เช็คสงสัยจะปลอม —PCT 05

• PCT 02

• PCT 00 • PCT 03 • PCT 04 • PCT 05

รายละเอียดการจัดส่งเช็คกลุ่มพิเศษ

33

Page 34: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

34

Sending Bank Paying Bank

ส านักหักบัญชี

แลกเปลี่ยนเช็ค เช็คกลุ่ม PCT 02 เช็คกลุ่ม PCT

03,04,05 เช็คกลุ่ม มูลค่าสูง

1) ส่งข้อมูล + ภาพใบแทน / ภาพเช็ค

2) ส่งเช็ค 3 กลุ่ม

1) รับข้อมูล + ภาพใบแทน / ภาพเช็ค

2) รับเช็ค 3 กลุ่ม

• เวลา 15.30 น.

ส านักหักบัญชี

แลกเปลี่ยนเช็ค

• ก่อนเวลา 11.00 น.

1) ส่งข้อมูลเช็คคืน

2) ส่งเช็คคืนพร้อมรายงาน

1) รับข้อมูลเช็คคืน + ภาพใบแทน / ภาพเช็ค

2) รับเช็คคืนและจัดท าเอกสารเพื่อคืนลูกค้า

Flow การเรียกเก็บและการคืนเช็คกลุ่มพิเศษ

Page 35: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

35

หลักเกณฑ์การปฏิบัติของธนาคารสมาชิก (1) การตรวจสอบเช็คปลอม ให้ ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ ด าเนินการตรวจสอบเช็คปลอม โดยมีแนวทางอย่างน้อย ดังนี้

เน้ือกระดาษ

MICR

ลายน้ ากลาง ICS

เช็คปลอมจะสะท้อนแสงภายใต้รังสีเหนือม่วง (Black light)

หากระบบการกราดภาพเช็คอ่านไม่ได้ทุกต าแหน่ง ให้สงสัยว่าเป็นเช็คปลอม

เช็คตามมาตรฐานเช็คที่ ธปท. ประกาศก าหนด จะมีลายน้ ากลาง ICS

Page 36: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

36

หลักเกณฑ์การปฏิบัติของธนาคารสมาชิก

(2) การแจ้งผลเช็คคืนแก่ลูกค้า ให้ ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ เป็นผู้แจ้งผลเช็คคืนแก่ลูกค้า โดยมีเอกสารประกอบ ดังนี้ • เช็คต้นฉบับ • ใบแจ้งผลเช็คคืน (ไม่ต้องลงนาม) • เอกสารแจ้งหักบัญชีซึ่งจะต้องลงนามโดยเจ้าหน้าที่ของ ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ

เช็ค

ใบแจ้งผลเช็คคืน

เอกสารแจ้งหักบัญชี

1

2

3

Page 37: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

37

หลักเกณฑ์การปฏิบัติของธนาคารสมาชิก

(3) การเก็บรักษาเช็คที่ผ่านการเรียกเก็บแล้ว • ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ ต้องจัดเก็บเช็ค โดยมีมาตรฐานไม่ต่ ากว่าข้อปฏิบัติ

เกี่ยวกับการจัดเก็บเช็คที่ ธปท. ก าหนด • ในกรณีที่มีการฟ้องร้องซึ่งจ าเป็นต้องน าเช็คมาใช้เป็นพยานหลักฐานโดย

ไม่อาจใช้ภาพเช็คได้ หาก ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ ไม่สามารถจัดส่งเช็คดังกล่าวได้ ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ ที่เป็นผู้เก็บรักษาเช็คต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น

• ในกรณีที่ ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ ไม่ได้ด าเนินการตามที่ก าหนดและเป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ จะต้องรับผิดชอบต่อ ธ.ผู้จ่ายตามความเสียหายที่แท้จริง แต่ทั้งนี้ไม่เกินกว่าจ านวนเงินที่ระบุไว้ตามหน้าเช็ค

Page 38: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

38

หลักเกณฑ์การปฏิบัติของธนาคารสมาชิก

(4) การใช้ความระมัดระวังในการด าเนินการจัดท าและตรวจภาพเช็ค • ธ.สมาชิก จะต้องใช้ความระมัดระวังในการด าเนินการจัดท าภาพเช็คให้

เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์และใช้ความระมัดระวังในการพิจารณาภาพเช็คเพื่อจ่ายเงินตามเช็ค

• ในกรณีที่ ธ.ผู้จ่าย ไม่สามารถพิจารณาจ่ายเงินจากการดูภาพเช็คที่ ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บส่งมาได้ ให้ ธ.ผู้จ่าย และ ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ ร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างดีที่สุด (Best Effort) เพือ่รักษาประโยชน์ของลูกค้า

• ธ.ผู้จ่าย อาจเรียกให้ ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ จัดส่งเช็คมาให้พิจารณาจ่ายเงินตามเช็ค และลูกค้าจะทราบผลการเรียกเก็บในวันท าการถัดจากวันที่ ธ.ผู้ส่งเรียกเก็บ จัดส่งเช็คให้กับ ธ.ผู้จ่าย

Page 39: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

39

หลักเกณฑ์การปฏิบัติของธนาคารสมาชิก การร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างดีที่สุด (Best Effort) ข้อสรุปจาก ICAS Workshop Paying Bank ติดต่อลูกค้าเพ่ือยืนยันการสั่งจ่าย

ติดต่อ SB (ผ่านผู้ประสานงาน) เพื่อสอบถามข้อมูลเช็ค โดยอาจขอให้ส่ง Fax

หรือส่งเช็คให้ PB ตรวจสอบ

Sending Bank – Paying Bank การส่งเช็คหรือยืนยัน ควรกระท าโดยเร็ว ภายในเวลา 10.00 น. ของวัน T+1

เช็คที่จัดส่งให้ PB ให้ SB บันทึกไว้ในทะเบียนว่าได้ถูกส่งให้ PB แล้ว พร้อมเก็บส าเนาเช็คน้ันไว้อ้างองิ

พยายามอย่างถึงที่สุด ก่อนพิจารณาคืนเช็คด้วยเหตุผลข้อ 50

Page 40: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

40

Page 41: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

41

ปัญหาที่พบในการปฏิบัติงาน

1. การกรอกตัวเลขและข้อความในใบแทน 2. การจัดเตรียม Detail Record ของใบแทน 3. วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการติด PCT ผิด

Page 42: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

ธ. สมาชิก จะต้อง กรอกขอ้มูลในใบแทนให้ครบถว้นและตรงกับ ตราสารต้นฉบับ ซึ่งประกอบด้วย

1. วันที่สั่งจ่ายเงินตามเช็ค (กล่องวันที่ มุมบนขวา) : วันที่สั่งจ่ายเงิน

2. ธนาคาร/สาขา ผู้ส่งเรียกเก็บ (ระบุเป็นรหัสหรือชื่อธนาคาร/สาขาก็ได้)

3. จ านวนเงินที่เป็นตัวเลข

4. ลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ผู้รับมอบอ านาจของธนาคารผู้ส่งเรียกเก็บประเภทตราสาร

5. วันที่ออกตราสาร : ใส่วันที่ออกตราสาร ซึ่งหากเป็นเช็ค คือ วันที่สั่งจ่ายเงิน หากเป็น ตั๋วแลกเงินวันที่ออกตราสารอาจต่างจากวันที่สั่งจ่ายเงิน

6. ประเภทตราสาร (ต้นฉบับ) :ให้ใส่เป็นรหัสตามต้นฉบบั เช่น เช็ค 00 หรือ 01 และ จะใสร่หัส หรือตัวหนังสือก็ได้

7. รหัสธนาคาร/สาขา ผู้จ่ายเงินตามตราสาร

8. รหัสธนาคาร/สาขา ผู้จ่ายเงินตามตราสาร

9. อื่นๆ : ตามขอ้ตกลง Field นี้เป็น Optional ดังนั้น จะไม่ใส่ข้อมูลใด ๆ หรือใส่เลขที่บัญชีก็ได้ ดังนั้น หากผิดก็ไม่ท า Data Correction

42

1. การกรอกตัวเลขและข้อความในใบแทน

Page 43: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

1. การกรอกตัวเลขและขอ้ความในใบแทน

43

แบบฟอร์มใบแทน

1.

2.

3.

4.

Page 44: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

2. การจัดเตรียม Detail Record ของใบแทน

ตามมาตรฐานเช็ค และ Interface specification 1. Check Digit ใส่ 99 2. Document Type ใส ่11

44

Page 45: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

45

เพื่อแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานอันเนื่องจากการใส่ PCT ผิด และการขอเช็คต้นฉบับ ธปท. ได้ออกหนังสือเวียน เรื่อง แจ้งวิธีปฏิบัติกรณีใส่ค่า PCT ผิด ลงวันที่ 30 ส.ค. 55 ดังนี้

3. วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการติด PCT ผิด

การท าหนังสือยืนยันข้อผิดพลาด SB เป็นผู้จัดท าหนังสือฯ โดยระบุ PCT ที่ถูกต้อง

กรณีเช็คปกตทิี่ใส่ PCT ผิดเป็นเช็คกลุ่มพิเศษ

PB ไม่ต้องส่งคืนตัวเช็ค โดยให้ SB บันทึกในหนังสือฯ ว่าตัวเช็คอยู่ที่ PB

กรณีเช็คกลุ่มพิเศษที่ใส่ PCT ผิดเป็นเช็คปกติ

PB พิจารณาว่าต้องการขอตัวเช็คหรือไม่ หากต้องการ ให้ PB ด าเนินการขอภายใน 3 วันท าการนับจากวันทีส่่งเรียกเก็บ และ SB ต้องส่งให้ภายใน 5 วันท าการนับจากวันทีไ่ด้รับการขอ

Page 46: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

46

Page 47: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

1. เช็คตราประทับ

47

ขอความร่วมมือให้ยกเลกิการใช้ตราประทับ เนื่องจากอาจบดบังข้อมูลส าคัญบนเชค็ ซึ่งจะมองเห็นได้ยากจากภาพเช็ค

หากยังคงใชอ้ยู่ ควรประทับตราในที่ว่าง

ภาพ Grayscale ภาพ Black & White

Page 48: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

2. เช็คมูลค่าตั้งแต่ 1,000 ล้านบาท

48

ธปท. มีนโยบายลดความเสี่ยงในการช าระดุลของระบบการหักบัญชีเช็ค

ธปท. ส่งเสรมิให้มีการช าระเงินมูลค่าสูงตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ระบบบาทเนต แทนการใช้เช็ค

2: รัฐวิสาหกิจ, 585 , 39%

1: เอกชน, 778 , 52%

3: รัฐบาล, 138 , 9%

ปริมาณเช็คมูลค่าสูงแยกตามประเภทผู้สั่งจ่าย (ฉบับ)

Page 49: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

49

Page 50: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

50

ร้อยละ

เร่ิมใช้งาน 3 ก.พ. 55 และโอนย้ายครบ 3,252 สาขา เมื่อ 5 เม.ย. 55

วัน 0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

3-ก.พ.

6-ก.พ.

7-ก.พ.

8-ก.พ.

9-ก.พ.

10

-ก.พ.

13

-ก.พ.

14

-ก.พ.

15

-ก.พ.

16

-ก.พ.

17

-ก.พ.

20

-ก.พ.

21

-ก.พ.

22

-ก.พ.

23

-ก.พ.

24

-ก.พ.

27

-ก.พ.

28

-ก.พ.

29

-ก.พ.

1-มี.ค.

2-มี.ค.

5-มี.ค.

6-มี.ค.

8-มี.ค.

9-มี.ค.

12

-มี.ค.

13

-มี.ค.

14

-มี.ค.

15

-มี.ค.

16

-มี.ค.

19

-มี.ค.

20

-มี.ค.

21

-มี.ค.

22

-มี.ค.

23

-มี.ค.

26

-มี.ค.

27

-มี.ค.

28

-มี.ค.

29

-มี.ค.

30

-มี.ค.

2-เม.ย.

3-เม.ย.

4-เม.ย.

5-เม.ย.

จ ำนวนสำขำ

ตำมแผนโอนย้ำย

โอนย้ำยจริง

วันที่

1. การโอนย้ายเข้าระบบ ICAS (ตามจ านวนสาขา)

Page 51: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

51

ข้อมูล ปริมาณ (ฉบับ)

มูลค่า (ล้านบาท)

ก.พ. – ก.ย. 55 (เฉลี่ยต่อวัน) 189,053 126,668

30 เม.ย. 55 477,396 268,196

ตั้งแต่เดือน ก.พ. – ก.ย. 55 ระบบ ICAS มีปริมาณเช็คเรียกเก็บสูงสุด ในวันที่ 30 เม.ย. 55 โดยมีปริมาณและมูลค่าเช็คเรียกเก็บ ดังนี้

2. ปริมาณและมูลค่าเช็คเรียกเก็บ

Page 52: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

52

ปริมาณเช็คกลุ่มพิเศษ จ านวนฉบับ ร้อยละ

1. กลุ่ม PCT 02 ใบแทน 552 0.3 2. กลุ่ม PCT 03 เช็คตราประทับ 9,645 4.7 3. กลุ่ม PCT 04 เช็คที่มีการแก้ไข 5,515 2.7 4. กลุ่ม PCT 05 เช็คสงสัยว่าจะปลอม 12 0.0 5. เช็คมูลค่าตั้งแต่ 10 ล้านบาท 1,682 0.8 รวม 17,406 8.5 จ านวนเช็คที่ส่งเรียกเก็บทั้งหมด 205,099 100.00

ข้อมูลเฉลี่ยต่อวันในเดือน ก.ย. 55

3. ปริมาณเช็คกลุ่มพิเศษ

Page 53: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

53

ปริมาณเช็คตราประทับในระบบ ICAS

ปริมาณเช็คตราประทับยังคงทรงตัว

สัดส่วนเช็คตราประทับต่อเช็คเรียกเก็บ เฉล่ียอยู่ที่ 4.7% (10,537 ฉบบั/วัน*/) และค่อนข้างทรงตัว เน่ืองจากลูกค้าที่ยังคงใช้ตราประทบัอยูใ่นปัจจบุัน เป็นกลุ่มที่ไม่ยินยอมยกเลิก

หมายเหตุ: */ เป็นค่าเฉลี่ยในช่วงเดือน เม.ย. – ก.ย. 55 ซึ่งเป็นช่วงที่โอนย้ายเข้าระบบ ICAS ครบทุกสาขาในกทม. และปริมณฑลแล้ว

% ต่อเช็คเรียกเก็บ ฉบับ/วัน

4.9% 4.8% 4.7% 5%

4.8% 4.4%

4.8% 4.7%

0

2

4

6

-

2,000

4,000

6,000

8,000

10,000

12,000

14,000

ก.พ.-55 ม.ีค.-55 เม.ย.-55 พ.ค.-55 ม.ิย.-55 ก.ค.-55 ส.ค.-55 ก.ย.-55

ปริมาณเชค็ตราประทับในระบบ ICAS สัดสว่นเช็คตราประทบัตอ่เชค็เรียกเกบ็

Page 54: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

54

Page 55: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

สรุปการใช้งานระบบ ICAS ใน Phase 1 - Phase 3

55 55

รูปแบบการขยาย : เริ่มใช้กับเช็คเรียกเก็บภายในส านักหักบัญชีก่อน แล้วจึงขยายไปเช็คข้ามเขตฯ ขั้นตอนการขยาย : แบ่งเป็น 3 Phase ดังนี้

Phase 1 Pilot

Phase 2 Transition

Phase 3 Full

Implementation

ก าหนดเวลา ไตรมาส 4 ปี 55 ใช้กับจังหวัดน าร่อง

(สุพรรณบุรี 15 พ.ย. 55)

ป ี 56 เมื่อเช็คกลุ่มพิเศษลดลง

ขอบเขตการใชร้ะบบ ICAS

เช็คเรียกเก็บภายในส านัก หักบัญชี

เช็คเรียกเก็บภายในส านัก หักบัญชีและเช็คข้ามเขตฯ

เช็คเรียกเก็บภายในส านัก หักบัญชีและเช็คข้ามเขตฯ

การเรียกเก็บ เช็คกลุ่มพิเศษ

ส านักหักบัญช ี - ส านักหักบัญชี (มี PBในสนห.) - กทม. (ไม่มี PBในสนห.)

กทม.

ระยะเวลาทราบผลการเรียกเก็บ

คงเดิม 1 วันท าการ ยกเว้น เช็คกลุ่มพิเศษที่ไม่มี PBในสนห. ภายใน 3 วนัท าการ

1 วันท าการ ยกเว้น เช็คกลุ่มพิเศษภายใน 3 วันท าการ 55

Page 56: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

ภาพรวมแผน Migration

56

Q1 - 56 Q2 - 56 Q3 – 56 เป็นต้นไป

Phase 1 Phase 2 Phase 2

สุพรรณบุรี ระยอง

ขอนแก่น

สุพรรณบุรี ระยอง ขอนแก่น

ขยายไปยังจังหวัดอื่นๆ โดย ธปท. หารือ

แผนงานกับ ธ.สมาชิก

ยังไม่ก าหนด

Phase 3

พิจารณาตามความเหมาะสม

หมายเหตุ จะมีการจัด Roadshow เพื่อให้ความรู้ระบบ ICAS ตามภาคต่างๆ ด้วย

Page 57: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

รายละเอียดการปฏิบัติงานระบบ ICAS ในภูมภิาค

57

Phase 1

Phase 2

เช็คในวงจังหวัด

เช็คข้ามเขต

เข้าระบบ ICAS

ระบบ B/C-3D

เช็คปกติ

เช็คกลุ่มพิเศษ แลกเปลี่ยนที่ส านักหักบัญช ี

เช็คในวงจังหวัด

เช็คข้ามเขต ที่มี PB

เช็คข้ามเขต ที่ไม่มี PB

เช็คปกติ

เช็คกลุ่มพิเศษที่ต้องส่งเข้ากระบวนการเรียกเก็บใน กทม.

เข้าระบบ ICAS เช็คปกติ

เช็คกลุ่มพิเศษ แลกเปลี่ยนที่ส านักหักบัญช ี

Page 58: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

รายละเอียดการปฏิบัติงานระบบ ICAS ในภูมภิาค

58

Phase 3

เช็คในวงจังหวัด

เช็คข้ามเขต ที่มี PB

เช็คข้ามเขต ที่ไม่มี PB

เช็คกลุ่มพิเศษทุกฉบบัต้องส่งเข้ากระบวนการเรียกเก็บใน กทม.

เข้าระบบ ICAS เช็คปกต ิ

Page 59: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

Transition Period

59

รายละเอียดการปฏิบัติงานระบบ ICAS ในภูมภิาค

Q2 – 56 เป็นต้นไป

Phase 2

• เมื่อปิดระบบ B/C-3D ที่ กทม. • ธ.สมาชิก ในจังหวัดที่ยังไม่ได้ใช้ ICAS ให้ปฏิบัติดังนี้

• เช็คในวงจังหวัด: ใช้ระบบ PCS • เช็คข้ามเขต: ส่งเข้า กทม. เพื่อเข้าระบบ ICAS (แทนระบบ B/C-3D) หรือเรียกเก็บปลายทาง

Page 60: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

60

รายละเอียดการปฏิบัติงานระบบ ICAS ในภูมภิาค

จุดแลกเปลี่ยนเช็คกลุ่มพิเศษ

รายงานดุลหักบัญชี (รายธนาคาร / ราย Clearing Area)

ก าหนดตาม Clearing House No. 1 ของ Sending Branch

การค านวณค่าธรรมเนียมระหว่างธนาคาร

ระบบใช้หลักการคิดว่า Sending Branch และ Paying Branch อยู่ส านักหักบัญชีเดียวกันหรือไม่ ถ้าไม่ ถือเป็นเช็คข้ามเขต และค านวณค่าธรรมเนียมตาม

หลักเกณฑ์ปัจจุบนั

Page 61: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

การขยายระบบ ICAS ที่จังหวัดสุพรรณบุร ี

61

Pre-Migration ก.ค. – ต.ค.

Migration Period พ.ย.

Post-Implementation ธ.ค. เป็นต้นไป

ภาพรวมการ Migration วันเริ่มต้นและวิธีการ Migrate

หลักเกณฑ์ การปฏบิัติงาน

-ทุกธนาคารเขา้ระบบ ICAS ได้ในวันที่ 15 พ.ย. 55 (อย่างน้อยคือสาขาหลกั)

- ไม่ใชร้ะบบ ICAS ควบคู่กับระบบ PCS (ยกเว้นเช็คคืนของวันที่ 14 พ.ย. 55) โดยจะเก็บระบบ PCS ไว้เปน็ระบบส ารองช่วง Migration

- สาขาย่อยที่ยังไม่ได้เข้าระบบ ICAS ฝากสาขาหลกัของตนเองเรียกเก็บ

- Phase 1 ส่งเฉพาะเช็คในวงจังหวัดเรียกเก็บใน ICAS - เวลาส่งข้อมลูเรียกเก็บ: 10.30 – 15.15 น. (เพ่ือแลกเช็คกลุ่มพิเศษที่เวลา 15.30 น.)

- การคืนเช็ค: 10.30 – 10.15 ของวันท าการถัดไป - การรับข้อมูล NIC และ RIC: 10.30 เป็นต้นไป - รถ Pool ออก 11.00 น. กลับ 14.00 น. (สายเหนือ/สายใต้) - แลกเปลี่ยนเช็คกลุ่มพิเศษที่ส านักหักบัญชี เวลา 15.30 น.

ระบบงาน IT

- ธปท. จัดท า - Clearing House Master และดูแลข้อมูล - Branch Master โดย ธ.สมาชิก เป็นผู้ดูแลข้อมูล - รายงาน NCP แยกตามพื้นที่หักบัญชี

- ธ.สมาชิก จัดท ารายงานเช็คกลุ่มพิเศษ

- ติดตามผลการใช้งาน และน ามาประกอบการพิจารณาขยายระบบ ICAS ต่อไป

Page 62: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

62

รูปแบบการส่งขอ้มูล : ส่งผ่าน สนญ.

BOT

ICMG

Member Bank Center

การจัดท าระบบงาน

รูปแบบการท างาน

Centralized Model Capture และ Data Entry

ที่ Center/Hub

Distributed Model Capture และ Data

Entry ที่สาขา

Hybrid Model Remote Capture แต่

Data Entry ที่ Center/Hub

Page 63: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

ปัจจุบัน Phase 1 Phase 2

1. เวลาการรับฝากเช็ค * คงตามปกติ ขยายเวลา

2. ระยะเวลาทราบผลเรียกเก็บ

เช็คในจังหวัด 1 วันท าการ

เช็คข้ามเขต 5 วันท าการ 1 วันท าการ

เช็คไม่มีสาขา PB

เช็คในจังหวัด 1 วันท าการ

เช็คข้ามเขต (มี PB) 5 วันท าการ

1 วันท าการ

เช็คไม่มีสาขา PB 3 วันท าการ

63

เช็คปกต ิ

เช็คกลุ่มพิเศษ

* ในช่วงแรก เวลาการรับฝากเช็คยังคงตามปกติ แต่เมื่อใช้ ICAS ไประยะหนึ่ง จะขยายเวลาได้อีก 1 - 2 ชั่วโมง

ผลกระทบต่อลูกค้าและธุรกิจ

Page 64: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

64

การเตรียมความพร้อมของ ธ.สมาชิก ส าหรับการขยายไปภูมิภาค

- การก าหนดรูปแบบการวางระบบงานและอุปกรณ์

- การให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงาน

- การให้ความรู้แก่ลูกค้าในการเขียนเช็ค เพื่อลดการแก้ไข ข้อความบนเช็ค การยกเลิกตราประทับเป็นเงื่อนไขการ สั่งจ่ายเช็ค และส่งเสริมการโอนเงินมูลค่าสูงผ่านบาทเนต

- การเตรียมเช็คให้ได้มาตรฐาน Image Friendly

Page 65: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

65

Page 66: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

การด าเนินการที่ผ่านมา • จัดประชุมชี้แจง

– ข้าราชการส านักงานศาลยุติธรรม – ข้าราชการส านักงานอัยการสูงสุด – สภาทนายความ – บุคลากรภาคกฎหมาย – คณะกรรมการหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย

• เผยแพร่ข้อมูลของระบบ ICAS – Website – รายการโทรทัศน์ – หนังสือพิมพ์, วารสารทางการเงิน – แถลงข่าวการเริ่มใช้ระบบ ICAS เมื่อวันท่ี 16 ม.ค. 55

66

Page 67: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

67

ประชาสัมพันธ์การเริ่มใช้งานระบบ ICAS

ท่านผูว้า่การ ประสาร ไตรรัตน์วรกุล แถลงขา่วเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 55 ถึงการเริ่มใช้งานระบบ ICAS

Page 68: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

68

ท่านผู้ว่าการ ประสาร ไตรรัตน์วรกุล ร่วมถ่ายภาพกับผูบ้ริหารระดับสูงของ ธปท. และของธนาคารสมาชิกในงานแถลงข่าวการเริ่มใช้งานระบบ ICAS

Page 69: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

69

Page 70: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

70

ชี้แจงท าความเข้าใจ

การชีแ้จงระบบ ICAS ให้กับข้าราชการกองบัญชาการต ารวจนครบาล วันที่ 27 ก.พ. 55

Page 71: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

การชีแ้จงระบบ ICAS ให้กับภาคกฎหมาย วันที่ 21 เมษายน 2555

Page 72: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

72

ติดตามผลการใช้และแผนการใช้ ICAS ในภูมิภาค

รายการ Business Focus ออกอากาศ ณ สถานี TNN วันที่ 20 มีนาคม 2555

รายการ Smart Money ออกอากาศ ช่อง Money Channel วันที่ 10 เมษายน 2555

รายการ ทิศทางไทย ออกอากาศ ณ สถานี TNN วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2555

Page 73: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

73

ผอส. วันทนา เฮงสกุล ให้สัมภาษณ์ วารสารการเงินการธนาคาร ฉบับเดือน ก.ค. 2555

Page 74: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

สรุปประเด็นส าคัญ

• การตรวจสอบเช็คต้นฉบับ

• การใส่ค่า PCT

• การจัดการเช็คกลุ่มพิเศษ

• การแจ้งผลเช็คคืนแก่ลูกค้า

74

Page 75: ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ ......ห วข อการบรรยาย 1. ภาพรวมระบบ ICAS 2. กฎหมายท เก ยวข

ฝ่ายการช าระเงินและตราสารหนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทย

E-mail address: [email protected]

โทรสาร 0-2282-7718

โทร. 0-2283-5034, 0-2283-6420, 0-2283-5083

ICS Help Desk: 0 – 2283 - 6142 – 50

โทรสาร 0 – 2283 - 6140 75