17
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ กลุ มสาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใชภาษาไทย ผูเรียบเรียง สุระ ดามาพงษ กศ.บ., กศ.ม. ทัศนีย ลวนสละ ศศ.บ. ทิพยโชค ไชยวิศิษฎกุล กศ.บ., ศศ.ม. ผูตรวจ แสงเดือน ประพันธ กศ.บ., ศษ,ม. โสภณ นิไชยโยค ศศ.บ., ศศ.ม. นันทวัลย ศรีปญจพร ศศ.บ., ศศ.ม. บรรณาธิการ สุมาลี มีปลอด ศศ.บ. (เกียรตินิยม) ปทมา ดําประสิทธิ์ ศศ.บ., ศศ.ม.

หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย

หลักการใชภาษาไทย

ผูเรียบเรียง

สุระ ดามาพงษ กศ.บ., กศ.ม.

ทัศนีย ลวนสละ ศศ.บ.

ทิพย โชค ไชยวิศิษฎกุล กศ.บ., ศศ.ม.

ผูตรวจ

แสงเดือน ประพันธ กศ.บ., ศษ,ม.

โสภณ นิไชยโยค ศศ.บ., ศศ.ม.

นันทวัลย ศรีปญจพร ศศ.บ., ศศ.ม.

บรรณาธิการ

สุมาลี มีปลอด ศศ.บ. (เกียรตินิยม)

ปทมา ดําประสิทธิ์ ศศ.บ., ศศ.ม.

Page 2: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมายหามละเมิด ทำ ซ้ำ ดัดแปลง เผยแพร สวนหนึ่งสวนใด เวนแตจะไดรับอนุญาต

B

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒กลุ‹มสาระการเรียนรูŒภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย

หลักการใชภาษาไทย

ISBN 978-974-18-6122-4พิมพ�ที่ บริษัท โรงพิมพ�วัฒนาพานิช จำ กัด นายเริงชัย จงพิพัฒนสุข กรรมการผูจัดการ

ผูเรียบเรียง

สุระ ดามาพงษ

ทัศนีย ลวนสละ

ทิพย โชค ไชยวิศิษฎกุล

ผูตรวจ

แสงเดือน ประพันธ

โสภณ นิไชยโยค

นันทวัลย ศรีปญจพร

บรรณาธิการ

สุมาลี มีปลอด

ปทมา ดําประสิทธิ์

Page 3: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

คํานําคํานํา

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใชŒภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ เล มนี้

จัดทำ ขึ้นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีเปาหมายใหนักเรียน

และครูผูสอนใชเปนส่ือในการจัดการเรียนรู เพ่ือพัฒนานักเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู

ตวัช้ีวดัช้ันป และสาระการเรยีนรูแกนกลางทีห่ลกัสตูรกำ หนด พฒันานกัเรยีนใหมสีมรรถนะสำ คญั

ทั้งดานการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชทักษะชีวิต และการใชเทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนา

นักเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงคเพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไทยและสังคมโลก

ไดอยางมีความสุข

ในการจัดทำ หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย หลักการใชŒภาษาไทย เลมน้ี คณะผูจัดทำ

ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาและการพัฒนาสื่อการเรียนรูไดศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อยางลึกซึ้ง ทั้งดานวิสัยทัศน หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสำ คัญ

ของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค สาระและมาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัดช้ันป สาระการเรียนรู

แกนกลาง แนวทางการจัดการเรียนรู การวัดและประเมินผลการเรียนรู แลวจึงนำ องคความรูที่ได

มาออกแบบหนวยการเรียนรู ซึ่งองคประกอบตาง ๆ ในแตละหนวยการเรียนรูจะชวยสงเสริม

ใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางครบถวนตามหลักสูตร

การเสนอเนื้อหา กิจกรรม และองคประกอบอื่น ๆ ในหนังสือเรียนเลมนี้มุงเนนผูเรียน

เปนสำ คัญ โดยคำ นึงถึงศักยภาพของนักเรียน เนนการเรียนรูแบบองครวมบนพื้นฐานของการ

บูรณาการแนวคิดทางการเรียนรูอยางหลากหลาย จัดการเรียนรูแบบบูรณาการ เนนใหนักเรียน

สรางองคความรูดวยตนเอง มุงพัฒนาการคิด และพัฒนาการเรียนรูที่สอดคลองกับพัฒนาการ

ทางสมองของนักเรียน อันจะชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางสมบูรณและสามารถนําไป

ประยุกตใชในชีวิตประจำ วันได

จึงหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใชŒภาษาไทย

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๒ เลมน้ีจะสนับสนุนใหนักเรียนไดพัฒนาการเรียนรูดานภาษาไทยไดเปนอยางดี

คณะผูŒจัดทำ

Page 4: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

คําชี้แจงคําชี้แจง

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใชŒภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ ไดออกแบบ

เปนหนวยการเรียนรู แตละหนวยการเรียนรูประกอบดวย

๑. ตัวชี้วัดชั้นป ระบุตัวชี้วัดซึ่งเปนเปาหมายในการพัฒนานักเรียนที่สอดคลองกับเนื้อหา

ในหนวยการเรียนรู

๒. ผังมโนทัศน�สาระการเรียนรูŒ เปนการรวบรวมเนื้อหาแตละหนวยการเรียนรูมาจัดระเบียบ

แสดงความเชื่อมโยงของเนื้อหาในหนวยการเรียนรูนั้น ๆ

๓. ประโยชน�จากการเรียนรูŒ นำ เสนอไวเพื่อกระตุนใหนักเรียนนำ ความรูและทักษะจากการเรียน

ไปใชในชีวิตประจำ วัน

๔. ชวนคิด ชวนตอบ เปนคำ ถามหรือสถานการณที่กระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจ ตองการ

ที่จะคนหาคำ ตอบ

๕. เนื้อหา ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป และสาระการเรียนรูแกนกลาง

๖. ความรูŒเสริม/เกร็ดควรรูŒ เปนความรูเพื่อเพิ่มพูนใหนักเรียนมีความรูกวางขวางขึ้น

๗. แหล‹งสืบคŒนขŒอมูล เปนแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน เว็บไซต หนังสือ สถานที่ บุคคล เพื่อให

นักเรียนศึกษาคนควาเนื้อหาที่สอดคลองกับเรื่องที่เรียน

๘. กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูŒ เปนกิจกรรมที่กำ หนดไวเม่ือจบเน้ือหาแตละชวง แตละตอนเพ่ือให

นักเรียนไดปฏิบัติใหเกิดการเรียนรู เปนกิจกรรมท่ีหลากหลาย ใชแนวคิดทฤษฎีตาง ๆ ใหสอดคลองกับ

เน้ือหา เหมาะสมกับวัย สะดวกในการปฏิบัติ กระตุนใหนักเรียนไดคิด และสงเสริมการศึกษาคนควา

เพิ่มเติม

๙. สรุป ไดสรุปเนื้อหาไวหลายรูปแบบ เพื่อเปนการทบทวนความรูหรือการเรียนรูกวาง ๆ อยาง

รวดเร็ว

๑๐. กจิกรรมเสนอแนะ เปนขอเสนอแนะใหนักเรยีนไดปฏบิตั ิเพือ่พฒันาทกัษะการคดิ การวางแผน

และการแกปญหาของนักเรียน

๑๑. โครงงาน เปนการใหนักเรียนปฏิบัติโครงงาน โดยเสนอแนะหัวขอโครงงานและแนวทาง

การปฏิบัติ

๑๒. การประยุกต�ใชŒในชีวิตประจำ วัน เปนกิจกรรมที่เสนอแนะใหนักเรียนไดนำ ความรู ทักษะ

ไปประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน

๑๓. คำ ถามทบทวน เปนคำ ถามเพื่อทบทวนผลการเรียนรูของนักเรียน

๑๔. บรรณานุกรม เปนรายชื่อหนังสือ เอกสาร เว็บไซต ที่ใชประกอบการเขียน

๑๕. อภิธานศพัท� เปนคำ สำ คัญทีแ่ทรกอยูในเนือ้หาซึง่พิมพดวยสชีมพู และนำ มาจัดเรียงตามลำ ดบั

ตัวอักษรและอธิบายความหมาย

Page 5: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

สารบัญสารบัญ

หน‹วยการเรียนรูŒที่ ๑ การสรŒางคำ ตาม หลักเกณฑ�ของภาษา........ ๑ v ตัวชี้วัดชั้นป ........................................ ๑ v ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู .................. ๑ v ประโยชนจากการเรียนรู ....................... ๑ v ชวนคิด ชวนตอบ ............................... ๑ H พยางคและคำ ในภาษาไทย ..............๒ ๑. พยางค ....................................๒ ๒. คำ ..........................................๓ H การสรางคำ ในภาษาไทย ................. ๔ ๑. คำ สมาส .................................. ๔ ๒. คำ แผลง ..................................๙ v สรุป ................................................๑๐ v กิจกรรมบูรณาการ ............................๑๐ กิจกรรมเสนอแนะ .......................๑๐ โครงงาน ....................................๑๑ การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ....๑๑ คำ ถามทบทวน ............................๑๑

หน‹วยการเรียนรูŒที่ ๒ ประโยคเพื่อการสื่อสาร ...๑๒ v ตัวชี้วัดชั้นป ......................................๑๒ v ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู ................๑๒ v ประโยชนจากการเรียนรู .....................๑๒ v ชวนคิด ชวนตอบ .............................๑๒ H ประโยคและสวนประกอบ ของประโยค ................................๑๓ ๑. ความหมายของประโยค ..........๑๓ ๒. สวนประกอบของประโยค ........๑๓ ๓. ชนิดของประโยค ....................๑๕ H ประโยคสามัญ ............................๑๕ ๑. ประโยคจำ แนกตามบทกริยา ....๑๖ ๒. ประโยคจำ แนกตามจุดประสงค ของผูสงสาร .......................... ๑๗

๓. ประโยคจำ แนกตามลำ ดับ องคประกอบ .........................๑๘ H ประโยครวม ................................๒๐ ๑. ลักษณะของประโยครวม ..........๒๐ ๒. ชนิดของประโยครวม .............๒๒ H ประโยคซอน ...............................๒๔ ๑. นามานุประโยค ......................๒๔ ๒. คุณานุประโยค .......................๒๕ ๓. วิเศษณานุประโยค ..................๒๖ H การขยายสวนตาง ๆ ของประโยค ..๒๗ ๑. การขยายสวนตาง ๆ ของ ประโยคดวยคำ ..................... ๒๘ ๒. การขยายสวนตาง ๆ ของ ประโยคดวยกลุมคำ ..............๒๙ ๓. การขยายสวนตาง ๆ ของ ประโยคดวยประโยค ..............๓๐ v สรุป ................................................๓๓ v กิจกรรมบูรณาการ ............................๓๓ กิจกรรมเสนอแนะ .......................๓๓ โครงงาน ....................................๓๓ การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ....๓๔ คำ ถามทบทวน ............................๓๔

หน‹วยการเรียนรูŒที่ ๓ คำ ราชาศัพท� ...............๓๕ v ตัวชี้วัดชั้นป ......................................๓๕ v ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู ................๓๕ v ประโยชนจากการเรียนรู .....................๓๕ v ชวนคิด ชวนตอบ .............................๓๕ H ความหมายของคำ ราชาศัพท .........๓๖ H คำ ราชาศัพทที่ใชกับ พระมหากษัตริย ..........................๓๖ ๑. คำ นามราชาศัพท ....................๓๖ ๒. คำ กริยาราชาศัพท ...................๔๒

Page 6: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

๓. คำ สรรพนามราชาศัพท ...........๔๗

๔. คำ วิเศษณราชาศัพท ............... ๔๙

H คำ ศัพทที่ใชกับพระสงฆ ................๕๐

๑. คำ นาม ..................................๕๐

๒. คำ สรรพนาม ..........................๕๑

๓. คำ กริยา.................................๕๒

H คำ สุภาพ .....................................๕๒

v สรุป ................................................๕๔

v กิจกรรมบูรณาการ ............................๕๔

กิจกรรมเสนอแนะ .......................๕๔ โครงงาน ....................................๕๕ การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ....๕๕ คำ ถามทบทวน ............................๕๕

หน‹วยการเรียนรูŒที่ ๔ คำ ไทยแทŒและคำ ที่มาจาก

ภาษาต‹างประเทศ ......... ๕๖

v ตัวชี้วัดชั้นป ......................................๕๖

v ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู ................๕๖

v ประโยชนจากการเรียนรู .....................๕๖

v ชวนคิด ชวนตอบ .............................๕๖

H ลักษณะของคำ ไทยแท ................. ๕๗

คำ ไทยแทที่มีลักษณะคลาย

คำ ที่มาจากภาษาอื่น ................ ๖๑

H ลักษณะของคำ ที่มาจาก

ภาษาตางประเทศ .........................๖๓

๑. คำ ที่มาจากภาษาบาลี ...............๖๓

๒. คำ ที่มาจากภาษาสันสกฤต .......๖๔

๓. คำ ที่มาจากภาษาเขมร ............. ๖๗

๔. คำ ที่มาจากภาษาจีน ............... ๗๐

๕. คำ ท่ีมาจากภาษาอังกฤษ .......... ๗๐

v สรุป ...............................................๗๒

v กิจกรรมบูรณาการ ...........................๗๓

กิจกรรมเสนอแนะ ......................๗๓

โครงงาน ...................................๗๓

การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ...๗๔

คำ ถามทบทวน ...........................๗๔

หน‹วยการเรียนรูŒที่ ๕ การแต‹งคำ ประพันธ� ..... ๗๕

v ตัวชี้วัดชั้นป .....................................๗๕

v ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู ...............๗๕

v ประโยชนจากการเรียนรู ....................๗๕

v ชวนคิด ชวนตอบ ............................๗๕

H ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ

การแตงกลอน ............................ ๗๖

H การแตงกลอน ............................๗๘

๑. กลอนหก ..............................๗๘

๒. กลอนแปด ...........................๗๙

๓. กลอนสักวา ...........................๘๑

๔. กลอนดอกสรอย ................... ๘๒

๕. กลอนเสภา ............................๘๓

๖. กลอนบทละคร .......................๘๔

v สรุป ................................................๘๕

v กิจกรรมบูรณาการ ............................๘๕

กิจกรรมเสนอแนะ .......................๘๕

โครงงาน ....................................๘๖

การประยุกตใชในชีวิตประจำ วัน ......๘๖

คำ ถามทบทวน ...........................๘๗

G บรรณานุกรม ..............................๘๘

G อภิธานศัพท� ............................... ๙๐

Page 7: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

๑๑๑๑หนวยการเรียนรูที่

ประโยชนจากการเรียนรูระโยชนจากการเรียนรูระโยชนจากการเรียนรูระโยชนจากการเรียนรู ชวนคิด ชวนตอบ

การสรางคําตามหลักเกณฑของภาษา

พยางค คำ

คำสมาสคำแผลง

พยางค�และคำ�ในภาษาไทย

การสรางคำ�ในภาษาไทย

ตัวชี้วัดชั้นป

ผังมโนทัศนสาระการเรียนรูผังมโนทัศนสาระการเรียนรูผังมโนทัศนสาระการเรียนรูผังมโนทัศนสาระการเรียนรู

58010047 U1 03/03/73 10:25:09 1/10/56 58010047 U1 03/03/73 10:25:09 1/10/56

การสรางคําตามหลักเกณฑของภาษา

สรางคำในภาษาไทยท๔.๑(ม.๒/๑)

๑.บอกลักษณะของพยางคและคำได๒.รูจักคำสมาสและสามารถบอกวิธีการ สรางคำสมาสได

๑.พยางคและคำตางกันอยางไร๒.คำสมาสมีวิธีการสรางจากคำชนิดใด

Page 8: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

พยางค�และคำ�ในภาษาไทย

๑.�พยางค�

ลักษณะของพยางค�ในภาษาไทย

2 หนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย ม. ๒

เสียงพูดในภาษาไทยประกอบดวยเสียงสระเสียงพยัญชนะและเสียงวรรณยุกตเสียงดังกลาว

แตละเสียงหากอยูตามลำพังจะยังไมมีความหมายในภาษาแตเม่ือมีการเปลงเสียงสระเสียงพยัญชนะ

และเสียงวรรณยุกตพรอมๆ กัน หรือในเวลากระชั้นชิดกัน จนฟงดูเหมือนเสียงออกมาใน

คราวเดียวกัน การเปลงเสียงนั้นอาจจะเปลงเพียงครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ไดจึงจะมีความหมาย

เกิดเปนพยางคหรือคำขึ้นในภาษาไทย

พยางค�� คือ กลุมเสียงสระ เสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกตที่เปลงออกมาพรอมกัน

ครั้งหนึ่งๆจะมีความหมายหรือไมมีความหมายก็ได

พยางคมีองคประกอบอยางใดอยางหนึ่งดังนี้

๑.ประกอบดวยเสียงอยางนอยที่สุด๓เสียงคือเสียงพยัญชนะตนเสียงสระและเสียง

วรรณยุกตพยางคลักษณะนี้จัดอยูในแมกกาเชนมือหูหนาตา

๒.ประกอบดวยเสียงพยัญชนะตนเสียงสระเสียงวรรณยุกตและเสียงพยัญชนะทายหรือ

ตัวสะกดซึ่งมี๘แมตามเสียงพยัญชนะทายเชนนกขลังพูดผลลาภเทียมเลยกาว

พยางคในภาษาไทยแบงออกเปน๔ประเภทคือ

๑.�พยางค�หนัก คือ พยางคที่ออกเสียงไดโดยลำพัง หรือเปนพยางคที่สมบูรณ เชน ชก

เสือปารั้วเหลือเคลาคิดรักครบไหว

๒.�พยางค�เบา�คือพยางคที่ออกเสียงไมลงน้ำหนัก โดยปกติจะออกเสียงตามลำพังไมได

จะตองมีพยางคหนักมารับขางทายเสมอมี๒ลักษณะคือ

๑)พยางคหนาของคำ๒พยางคเชนคณิตมะยมสนองพยัก

๒)พยางคหนาของคำยืมที่มาจากภาษาอื่นเชนนิยมวิชาฤดีสุภาพกุหลาบวจีสวัสดี

สมาคม

๓.�พยางค�ลดน้ำ�หนัก คือ พยางคที่ออกเสียงเบาและเสียงที่ประกอบกันเปนพยางคนั้น

อาจแปรเสียงไปหรือเปนพยางคหนักที่แปรเสียงซึ่งมีสวนประกอบเชนเดียวกับพยางคหนักแตถา

มีพยางคหนักมาตอทายจะทำใหพยางคนั้นออกเสียงเบาหรือแปรเสียงไปเชน

เธอทำอยางนี้ไดอยางไรชางไมรักษาน้ำใจกันเลย

ประโยคนี้มักออกเสียงวาเธอทำยังงี้ไดยังไง ชั่งไมรักษาน้ำ ใจกันเลย

Page 9: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

เกร็ดควรรู

๒.�คำ�

ลักษณะของคำ�

องค�ประกอบของคำ�

หนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย ม. ๒ 3

บางทีฉันก็เลนดนตรีบางทีฉันก็เลนกีฬา ประโยคนี้มักออกเสียงวาบังทีชั้นก็เลนดนตรีบังทีชั้นก็เลนกีฬา จะเห็นวาพยางคที่มีตัวหนาจะออกเสียงแบบลดน้ำหนักพยางคเธอจะออกเสียงไมเต็มเสียงพยางค ยังงี้ ยังไง ชั่ง น้ำ ใจบางทีชั้น จะแปรเสียงจากพยางคหนักใหออกเสียงสั้นลง ๔.�พยางค�เนนหนักคือพยางคที่ตองการเนนเปนพิเศษดวยความจงใจหรือตั้งใจเพื่อแยงเปรียบเทียบหรือเนนความสนใจในพยางคนั้นเชน ผมสั่งกาแฟไมใชชา ฉันบอกใหไปเดี๋ยวนี้ แมฝากซื้อผักไมใชเนื้อ ประโยคดังกลาวเนนคำวา กาแฟ เด๋ียวนี้� ผัก เพ่ือใหเกิดความสนใจเปนพิเศษ เพ่ือใหผูฟงเขาใจวาผูพูดตองการสิ่งนั้นในการออกเสียงตองออกเสียงสูงเปนพิเศษ

คำ�คือเสียงที่เปลงออกมาแลวมีความหมายโดยการนำเสียงสระเสียงพยัญชนะและเสียงวรรณยุกตมาประสมกันทำใหเกิดเปนพยางคที่มีความหมาย

คําในภาษาไทย สวนใหญเปนคาํพยางคเดยีวแตหลงัจากรบัคาํภาษาอืน่มาใช ในภาษาไทย เช น ภาษาบาลีภาษาสันสกฤต ทําใหมีคําหลายพยางคใชมากขึ้น

บาดเสียง บาดความหมาย ทำใหเปนรอยหรือเปนแผลเพราะของมีคม

คำอาจประกอบดวยคำพยางคเดียวหรือคำหลายพยางคก็ไดเชน คำพยางคเดียว เชนพอแมพี่นองเพื่อนเดินมองดูชาเร็วกลัวดุรายบาดเหลือง คำสองพยางค เชน หนังสือ อาหาร รองเทาสะดุดกอนหินวายน้ำโรงเรียนพิมพดีด คำสามพยางค เชน อันตรายหมอหุงขาวเตาไฟฟากะละมังสถาบันปฏิบัติ คำสี่พยางค เชน สมุหนามพัฒนาการมรณภาพพงศาวดารสนุกสนาน คำหาพยางค เชน ประชาธิปไตยคุณลักษณะสภากาชาดไทยปฏิกิริยาสัมพันธไมตรี คำหกพยางค เชน สุริยุปราคาโทรคมนาคมมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร

องคประกอบที่สำคัญของคำคือเสียงและความหมายเชน

Page 10: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

ลองคิดดู

การสรางคำ�ในภาษาไทย

๑.�คำ�สมาส

4 หนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย ม. ๒

� คำในภาษาไทยเปนคำดั้งเดิมที่ใชกันมาตั้งแตอดีต ตอมาเมื่อมนุษยมีความสามารถในการ

คิดคนพัฒนาสรางสรรคสังคมและวัฒนธรรมใหมีความเจริญกาวหนามีการผลิตเคร่ืองมือเคร่ืองใช

วัสดุอุปกรณสิ่งของตางๆมากขึ้นคำดั้งเดิมที่เคยใชอยูไมเพียงพอที่จะใชเรียกแทนสิ่งเหลานั้น

จึงสรางคำขึ้นใหมเพื่อใหเพียงพอตอความตองการใช การสรางคำขึ้นใหมในภาษาไทยถาพิจารณา

จากวิธีการสรางแบงไดเปน๒ลักษณะคือการสรางคำตามวิธีการของไทยไดแกคำซ้ำคำซอน

คำประสม และการสรางคำตามวิธีการของตางประเทศ ไดแก คำสมาส คำแผลง การสรางคำ

ทั้ง ๒ ลักษณะนี้จะทำใหมีคำใหม ๆ ในภาษาใชมากขึ้น และการศึกษาเรื่องลักษณะและวิธีการ

สรางคำ นอกจากจะทำใหนักเรียนไดรูจักคำใหมๆ ในภาษาแลว นักเรียนยังจะสามารถนำคำ

แตละชนิดไปใชในการสื่อสารไดอยางถูกตองและเหมาะสมดวย ในระดับชั้นนี้จะไดเรียนเรื่อง

การสรางคำสมาสและคำแผลง

๑.ชวยกนัยกตวัอยางคำพยางคเดยีวคำสองพยางคคำสามพยางคคำสีพ่ยางคคำหาพยางค คำหกพยางคและคำหลายพยางคอยางละ๕คำพรอมบอกคำอานและความหมาย๒.ชวยกันบอกลักษณะของพยางคแตละชนิดพรอมยกตัวอยาง๓.ชวยกันยกตัวอยางพยางคที่มีความหมายและไมมีความหมายใหไดมากที่สุด

พิมพ�ดีด

อันตราย

เสียง พิม–ดีดความหมาย เครื่องสำหรับพิมพเอกสาร

เสียง อัน–ตะ–รายความหมาย เหตุที่ทำใหบาดเจ็บหรือถึงแกความตาย

� สมาส คือ วิธีการสรางคำข้ึนใหมตามหลักไวยากรณบาลีและสันสกฤต โดยการนำคำมูล

ต้ังแต๒คำข้ึนไปมารวมกันโดยไมมีการกลมกลืนเสียงเกิดเปนคำใหมท่ีมีความหมายเก่ียวเน่ืองกัน

คำที่เกิดขึ้นมานี้เรียกวาคำ�สมาส

Page 11: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

ลักษณะของคำ�สมาส

หนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย ม. ๒ 5

คำ�สมาส คำ�ขยาย คำ�ตั้ง คำ�แปล

วาตภัย วาต ภัย ภัยที่เกิดจากลม

พุทธศาสนา พุทธ ศาสนา ศาสนาของพระพุทธเจา

ธุรกิจ ธุระ กิจ งานที่เกี่ยวกับการคาขายและบริการ

คำสมาสบางคำเรยีงคำตัง้ไวหนาคำขยายไวหลงัแปลจากคำหนาไปยงัคำหลงัอยางคำประสมหรอืคำซอนแตมหีลกัสงัเกตคอืพยางคทายของคำต้ังจะตองไมประวิสรรชนยีหรอืไมเปนตัวการนัตและจะตองออกเสียงพยางคทายของคำตั้งเชน

คำสมาสมีลักษณะสำคัญดังนี้ ๑.เกดิจากคำมลูตัง้แต๒คำขึน้ไปมารวมกนัและตองเปนคำทีม่าจากภาษาบาลีหรอืสันสกฤตเทานั้นเชน บาลี+บาลี Þ รัฐบาลจิตรกร บาลี+สันสกฤต Þ วัฒนธรรมรัฐมนตรี สันสกฤต+บาลี Þ ไตรรัตนศักดานุภาพ สันสกฤต+สันสกฤต Þ ศิลปศาสตรวิทยาศาสตร ๒.พยางคสุดทายของคำหนาประวิสรรชนียหรือเปนตัวการันตไมไดเชน รัตนะ+ตรัย = รัตนตรัย พละ+ศึกษา = พลศึกษา สาธารณะ+กุศล = สาธารณกุศล วาทะ+ศิลป = วาทศิลป ๓.เกิดจากคำที่มีความหมายหลักหรือที่เรียกวาคำตั้งอยูหลัง คำขยายอยูหนา การแปลความหมายจะตองแปลจากคำหลังไปยังคำหนาเชน

คำ�สมาส คำ�อาน คำ�ซอนหรือวลี คำ�อาน

บุตรธิดา บุด–ตระ–ทิ–ดา บุตรธิดา บุด–ทิ–ดา

บุตรภรรยา บุด–ตระ–พัน–ระ–ยา บุตรภรรยา บุด–พัน–ระ–ยา

ทาสกรรมกร ทาด–สะ–กำ–มะ–กอน ทาสกรรมกร ทาด–กำ–มะ–กอน

ฤทธิเดช ริด–ทิ–เดด ฤทธิ์เดช* ริด–เดด

สวัสดิมงคล สะ–หวัด–ดิ–มง–คน สวัสดิ์มงคล* สะ–หวัด–มง–คน

คำ�ที่มีเครื่องหมาย�*เปนคำซอน

Page 12: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

คำ�ประสมและกลุมคำ�ที่มีลักษณะคลายคำ�สมาส

6 หนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย ม. ๒

๔.สวนมากออกเสยีงพยางคทายของคำหนาถงึแมไมมรีปูสระกำกบักจ็ะตองออกเสียงสระเชน เทพบุตร อานวา เทบ–พะ–บุด โพธิบัลลังก อานวา โพ–ทิ–บัน–ลังหมายเหตุ�� คำสมาสบางคำอาจจะออกเสยีงได๒แบบคอืออกเสยีงพยางคทายของคำหนาหรอื ไมออกเสียงพยางคทายของคำหนาก็ไดเชน ถาวรวัตถุ อานวา ถา–วอ–ระ–วัด–ถุ,ถา–วอน–วัด–ถุ อุดมคติ อานวา อุ–ดม–มะ–คะ–ติ,อุ–ดม–คะ–ติ คำสมาสบางคำไมออกเสียงสระตรงพยางคทายของคำหนาเชน มงคลกาล อานวา มง–คน–กาน สมัยนิยม อานวา สะ–ไหฺม–นิ–ยม ๕.คำบาลีสันสกฤตที่มีคำพระซึ่งกลายเสียงมาจากคำบาลีสันสกฤตวรประกอบขางหนาถึงแมคำพระจะประวิสรรชนียก็เปนคำสมาสดวยเชน พระ+กรรณ Þ พระกรรณ พระ+คทา Þ พระคทา พระ+ขรรค Þ พระขรรค พระ+จันทร Þ พระจันทร ๖.คำที่ลงทายดวยศาสตรภาพภัยกรรมกิจศึกษาวิทยาแพทยจัดเปนคำสมาสดวยเชน คณิตศาสตร ชีวภาพ วาตภัย กิจกรรม เศรษฐกิจ สังคมศึกษา ชีววิทยา ทันตแพทย

คำประสมหรอืกลุมคำบางทมีลีกัษณะคลายคำสมาสเชนเรยีงคำขยายไวหนาคำตัง้ออกเสยีงพยางคทายของคำขยายมีคำพระประกอบขางหนาหรือไมก็ประกอบคำขึ้นจากหนวยคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตทั้งหมด แตอยางไรก็ดี คำหรือกลุมคำเหลานี้ไมจัดเปนคำสมาส เพราะขาดคุณสมบัติสำคัญบางประการของคำสมาสคือ� ๑.�ไมใชคำ�ที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตทั้งหมด เทพเจา เจา เปนคำไทย ราชสำนัก สำนัก เปนคำไทย พระธำมรงค ธำมรงค เปนคำเขมร พระสลา สลา เปนคำเขมร พระโธรน โธรน เปนคำอังกฤษ� ๒.�คำ�ตั้งอยูหนาคำ�ขยาย�ถึงแมจะเป็นคำ�ที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต การแพทย การยุทธ ผลบุญ ผลผลิต คดีโลก คดีธรรม นายกสภา นายกสมาคม

Page 13: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

คำ�สมาสมีสนธิ

หลักการสนธิ

หนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย ม. ๒ 7

สนธ�ิคือคำสมาสทีม่กีารเชือ่มหรอืกลมกลนืเสยีงสระหรอืพยญัชนะระหวางพยางคทายของคำหนากับพยางคตนของคำหลัง ตามหลักไวยากรณบาลีสันสกฤต สนธิที่นำมาใชในภาษาไทยสวนมากเปนการเชื่อมหรือกลมกลืนเสียงสระ คำสมาสที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกลาว เรียกวาคำสมาสมีสนธิสวนคำสมาสที่ไมมีสนธิเปนคำสมาสธรรมดา

การสนธิมี๓ชนิดคือ ๑.�พยัญชนะสนธิ� คือ การเชื่อมคำระหวางพยัญชนะกับพยัญชนะ โดยการเปลี่ยนเสียงพยัญชนะกอนที่จะนำมาสนธิกันภาษาไทยนำมาใชเพียงบางคำเชน รหสฺ+ฐาน Þ รโหฐาน ทุสฺ+ชน Þ ทุรชน มนสฺ+มย Þ มโนมัย นิสฺ+ภย Þ นิรภัย คำสมาสมีสนธิที่เปลี่ยนแปลงรูปศัพทดวยวิธีนี้ ใชเฉพาะศัพทในภาษาสันสกฤตเทานั้น ในภาษาบาลีไมมีใช ๒.�สระสนธิ�คือการเชื่อมคำระหวางคำที่ลงทายดวยสระกับคำที่ขึ้นตนดวยสระ เมื่อสนธิแลวจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระเพื่อใหคำกลมกลืนเปนเสียงเดียวกัน การสนธิสระมีวิธีการ�ดังนี้ ๑)พยางคตนของคำหลังตองมีตัวอเปนพยัญชนะตน ๒)ตัดสระพยางคทายของคำหนาและใชสระพยางคตนของคำหลังเชน

คำ�มูล คำ�สมาสธรรมดา คำ�สมาสมีสนธิ

ราช+อธิราช ราชาอธิราช ราชาธิราช

จุฬา+อลงกรณ จุฬาอลงกรณ จุฬาลงกรณ

มหา+อานุภาพ มหาอานุภาพ มหานุภาพ

นร+อินทร นรอินทร นรินทร

นิล+อุบล นิลอุบล นิลุบลนิโลบล

คำ�หนา คำ�หลัง คำ�สมาสมีสนธิ

นิร อันดร นิรันดร

ภย อันตราย ภยันตราย

มหา อัศจรรย มหัศจรรย

ทรัพย อากร ทรัพยากร

เดช อานุภาพ เดชานุภาพ

Page 14: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

8 หนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย ม. ๒

คำ�หนา คำ�หลัง คำ�สมาสมีสนธิ

พุทธ อังกูร พุทธางกูร

นร อิศวร นเรศวร

ราช อุปถัมภ ราชูปถัมภ

สุข อุทัย สุโขทัย

๓)ตัดสระพยางคทายของคำหนาและใชสระพยางคตนของคำหลัง โดยเปล่ียนสระ

พยางคตนของคำหลังอะเปนอา,อิเปนเอ,อุเปนอูหรือโอเชน

คำ�หนา คำ�หลัง คำ�สมาสมีสนธิ

กิตติ อากร กิตติยากร

มาลี อาภรณ มาลยาภรณ

สินธุ อานนท สินธวานนท

ธนู อาคม ธันวาคม

๔)เปลี่ยนสระพยางคทายของคำหนาเปนพยัญชนะคือ อิ, อี เปนยอุ, อู เปน ว

ใชสระพยางคตนของคำหลังซึ่งอาจเปลี่ยนรูปหรือไมเปลี่ยนรูปก็ได ในกรณีที่สระพยางคตนของ

คำหลังไมใชอิ,อีหรืออุ,อูอยางสระตรงพยางคทายของคำหนาเชน

คำ�หนา คำ�หลัง คำ�สมาสมีสนธิ

ราชินี อุปถัมภ ราชินูปถัมภ

ศักดิ อานุภาพ ศักดานุภาพ

หัสดี อาภรณ หัสดาภรณ

๕) สมาสมีสนธิบางคำไมเปล่ียนสระอิ, อี ทายพยางคหนาเปน ย แตตัดสระอิ, อี

ทิ้งไปถึงแมสระตรงพยางคตนของคำหลังไมใชอิ,อีดวยกันเชน

๓.�นิคหิตสนธิ�คือการเชื่อมคำระหวางคำที่ลงทายดวยนิคหิตกับคำที่ขึ้นตนดวยพยัญชนะ

หรือสระก็ไดมีหลักเกณฑดังนี้

๑)นิคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรคเชน

สํ+คีต Þ สังคีต สํ+ญา Þ สัญญา

สํ+ฐาน Þ สัณฐาน สํ+โตษ Þ สันโดษ

Page 15: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

๒.�คำ�แผลง

ลองคิดดู

หนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย ม. ๒ 9

๒)นิคหิตสนธิกับคำที่ขึ้นตนดวยพยัญชนะเศษวรรค(ยรลวศษสหฬ)จะแปลงนิคหิตเปนตัวงแลวจึงสนธิกันเชน สํ+วร Þ สังวร ปุ+ลิงฺค Þ ปุงลิงค สํ+วาส Þ สังวาส ๓)นิคหิตสนธิกับสระใหเปลี่ยนนิคหิตเปนมกอนแลวจึงสนธิเชน สํ+อาคม Þ สมาคม สํ+โอสร Þ สโมสร

๑.อภิปรายกลุมยอยเกี่ยวกับคำสมาสและคำสมาสมีสนธิวามีลักษณะรวมกันหรือไม อยางไร และมีประโยชนตอการใชภาษาไทยอยางไร๒.ยกตัวอยางคำสมาสและคำสมาสมีสนธิใหไดมากที่สุดแลวฝกอานจนคลอง๓.เลือกบทความสั้นๆ จากวารสารหรือหนังสือพิมพแลวนำมาเขียนตารางจัดกลุมคำสมาส และคำสมาสมีสนธิที่พบในบทความ๔.สรางคำสมาสจากคำที่กำหนดใหโดยหาคำมาสมาสกับคำที่กำหนดให ๑)กรรม๒)กร๓)ภัย๔)ภาพ๕)ศาสตร๖)วิทยา

คำ�แผลง�เปนคำทีส่รางขึน้ใชในภาษาไทยโดยเปล่ียนรปูหรือเสียงตวัอกัษรใหตางไปจากเดมิ

บางทีก็เพิ่มพยัญชนะหรือรูปวรรณยุกตลงไปใหเสียงเพี้ยนไปจากเดิม

การแผลงคำเปนวิธีที่ไทยไดรับรูปแบบมาจากเขมรและอินเดียซึ่งมีอยู๔ประเภทไดแก

๑.�แผลงสระโดยการเปลี่ยนรูปสระเดิมใหเปนรูปสระอื่นเชน

ชย Þ ชัย อปลักษณ Þ อัปลักษณ

อสัญ Þ อาสัญ พฤกษชาติ Þ พฤกษาชาติ

๒.�แผลงพยญัชนะ�โดยการเปลีย่นรปูพยญัชนะหรอืเพิม่พยญัชนะลงไปใหเสยีงเพีย้นหรอื

มีพยางคมากกวาเดิมเชน

เกิด Þ กำเนิด บวช Þ ผนวช

แผก Þ แผนก แข็ง Þ กำแหง

๓.�แผลงวรรณยุกต�� โดยการเปลี่ยนรูปหรือเสียงวรรณยุกต หรือเพ่ิมรูปวรรณยุกตลงไป

เพื่อใหเสียงหรือรูปวรรณยุกตเพี้ยนไปจากเดิมเชน

ถา Þ ทา สอน Þ ซอน

หนา Þ นา เหลน Þ เลน

Page 16: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

สรุป

กิจกรรมบูรณาการ

กิจกรรมเสนอแนะ

ชวยกันคิด ชวยกันสราง

10 หนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย ม. ๒

๑.บอกลักษณะของการแผลงคำวิธีตางๆพรอมยกตัวอยาง๒.จับคูชวยกันรวบรวมคำแผลงใหไดมากที่สุดแลวฝกอานจนคลอง๓.ฝกสรางคำแผลงคนละ๑คำแลวใหเพื่อนชวยกันวิเคราะหวามีวิธีการแผลงแบบใด

๔.�แผลงคำ� โดยการเปลี่ยนรูปและเสียงของคำใหเพ้ียนไปจากเดิม เปนการแผลงทั้งคำไมแผลงเฉพาะสระพยัญชนะหรือวรรณยุกตคำชนิดนี้ในภาษาไทยมีใชอยูมากซึ่งสวนใหญเปนคำที่มาจากภาษาอื่น ที่เรานำมาแผลงใหมใหสะดวกแกการออกเสียงของคนไทย บางคำก็ใชตามความนิยมของกวีเชน กีรฺติ(สันสกฤต) ไทยใช กฤตยา ติกิจฺฉา(บาลี) ไทยใช ไตรกิศยา จั๊ก(อังกฤษ) ไทยใช เหยือก กุญจิกา(บาลี,สันสกฤต)ไทยใช กุญแจ

คำท่ีใชในภาษาไทยมีลักษณะและวิธีการสรางคำหลายแบบเชนคำท่ีสรางตามวิธีการของไทยไดแก การซ้ำคำ การซอนคำ การประสมคำ และคำท่ีสรางตามวิธีการของตางประเทศ ไดแกการสมาสคำการแผลงคำการสรางคำแตละวิธีทำใหมีคำใชในภาษาเพิ่มขึ้น

๑.แบงนกัเรยีนออกเปนกลุมอภปิรายถงึลกัษณะเฉพาะของคำและพยางคพรอมยกตวัอยาง ประกอบ ๒.แบงนักเรียนออกเปน๓กลุมแตละกลุมศึกษาคนควาและทำรายงานเรื่องวิธีการสราง คำในภาษาไทยดังนี้ กลุมที่๑คำสมาส กลุมที่๒คำสมาสมีสนธิ กลุมที่๓คำแผลง ๓.นักเรียนจับคูหาคำสมาสทีพ่บเหน็ในชวีติประจำวนัใหไดมากทีส่ดุแลวนำมาจำแนกเปน คำสมาสธรรมดาหรือคำสมาสมีสนธิและนำมาฝกอานกับเพื่อนในชั้นเรียน ๔.นกัเรียนแตละคนดโูฆษณาทางโทรทศันหรอืจากแผนปายโฆษณาขางทางและเขยีนบนัทึก ขอความโฆษณานั้นใหไดมากที่สุด แลวนำมาวิเคราะหวาโฆษณานั้นใชคำชนิดใด เชน คำมูล คำซ้ำ คำซอน คำประสม คำสมาส หรือคำแผลง เพื่อเปนการทบทวนเรื่อง การสรางคำในภาษาไทย

Page 17: หลักการใช ภาษาไทยacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1457426451...หล กการใช ภาษาไทยหน งส อเร ยน

โครงงาน

การประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน

คําถามทบทวน

หนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย หลักการใช้ภาษาไทย ม. ๒ 11

นักเรียนเลือกทำโครงงานตอไปนี้ ๑ หัวขอ หรืออาจเลือกทำโครงงานอื่นตามความสนใจตามรูปแบบที่ครูกำหนดโดยใหเกี่ยวของกับเนื้อหาที่เรียน ๑.โครงงานรวบรวมคำสมาสจากสื่อตางๆ รอบตัวนักเรียน รวมถึงการพูดคุยสนทนาใน ชีวิตประจำวันเปนเวลา๒สัปดาหพรอมหาความหมายและทำพจนานุกรมคำสมาส ๒.โครงงานรวบรวมและอานออกเสยีงคำทีม่พียางคลกัษณะตางๆ แลวฝกอานคำเหลานัน้ จนคลองโดยหมุนเวียนแลกเปลี่ยนจนครบทุกคนในหองเรียน ๓.โครงงานศึกษาวิธีการสรางคำในภาษาไทยวิธีการอื่นๆ เพื่อใหมีคำใชในภาษามากขึ้น

๑.นักเรียนสามารถบอกความแตกตางของคำและพยางค และยกตัวอยางคำพยางคเดียว

คำสองพยางค คำสามพยางค คำสี่พยางค คำหาพยางค คำหกพยางค และคำหลาย

พยางคได

๒.นกัเรยีนอานขอความแลวสามารถบอกไดวาคำใดเปนคำสมาสและแยกไดวาเปนคำสมาส

ที่มีการสมาสหรือการสนธิ

๓.นักเรียนอานขอความแลวสามารถบอกไดวาคำใดเปนคำแผลงและแผลงมาจากคำใด

๑.คำและพยางคตางกันอยางไร

๒.เพราะเหตุใดเราจึงตองสรางคำขึ้นใหมเพื่อใชในภาษาไทย

๓.หลักการสมาสกับหลักการสนธิแตกตางกันอยางไร

๔.การอานคำสมาสกับคำสมาสมีสนธิเหมือนหรือตางกันอยางไร

๕.ยกตัวอยางคำแผลงและอธิบายวิธีการแผลงคำ

๖.ยกตัวอยางคำสมาสที่เกี่ยวกับการเรียนมา๕คำพรอมทั้งแยกคำใหถูกตอง

๗.การสรางคำขึ้นใชในภาษาไทยมีผลดีหรือไมอยางไร

๘.การสรางคำสมาสมีหลักการสรางเหมือนการสรางคำประสมหรือไมอยางไร