15
เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ .. 2560 แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards) ประเภท รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลพัฒนาคุณภาพการบริการอย่างต่อเนื่อง ชื่อผลงาน : ……………เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค…………….….………..……….. ชื่อส่วนราชการ : ………..กรมควบคุมโรค........................................................... ……….………… หน่วยงานที่รับผิดชอบผลงาน : .สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา……… ชื่อผู้ประสานงาน……….. นางสุนันทา พันขุนคีรี ………………….. ตาแหน่ง..นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ.. สานัก/กอง..ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนาโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์ .. เบอร์โทรศัพท์ …….044-513946……………..… เบอร์โทรศัพท์มือถือ……089-722 3118……………………….…… เบอร์โทรสาร………044-513946……………..… e Mail…………[email protected]………….….ชื่อผู้ประสานงาน………..นายสุบรรณ กิ่งแก้ว…………………….… ตาแหน่ง..พนักงานปฏิบัติการชันสูตรโรค ส.2.. สานัก/กอง..ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนาโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์ .. เบอร์โทรศัพท์ …….044-513946……………...… เบอร์โทรศัพท์มือถือ……088-580 5450………………………..…… เบอร์โทรสาร………044-513946……………...... e Mail………….................. -………….………………………………….

แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ

(Thailand Public Service Awards)

ประเภท รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ

รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ

รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ

รางวัลพัฒนาคุณภาพการบริการอย่างต่อเนื่อง

ชื่อผลงาน : ……………เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค…………….….………..………..

ชื่อส่วนราชการ : ………..กรมควบคุมโรค...........................................................……….…………

หน่วยงานที่รับผิดชอบผลงาน : ….ส านักงานป้องกนัควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา………

ชื่อผู้ประสานงาน………..นางสุนันทา พันขุนคีรี………………….. ต าแหน่ง..นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ..

ส านัก/กอง..ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์.. เบอร์โทรศัพท์…….044-513946……………..…

เบอร์โทรศัพท์มือถือ……089-722 3118……………………….…… เบอร์โทรสาร………044-513946……………..…

e – Mail…………[email protected]………….….…

ชื่อผู้ประสานงาน………..นายสุบรรณ กิ่งแก้ว…………………….… ต าแหน่ง..พนักงานปฏิบัติการชันสูตรโรค ส.2..

ส านัก/กอง..ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์.. เบอร์โทรศัพท์…….044-513946……………...…

เบอร์โทรศัพท์มือถือ……088-580 5450………………………..…… เบอร์โทรสาร………044-513946……………......

e – Mail…………..................-………….………………………………….

Page 2: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

แบบฟอร์มที่ 2 ประเมินลกัษณะของผลงานที่สมัครขอรับรางวัลเบื้องต้น

รางวลันวัตกรรมการบรกิาร

ค าอธิบาย : กรณีหน่วยงานที่ส่งสมัครขอรับรางวัลประเภทรางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ และรางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ โปรดกรอกแบบฟอร์มนี้ตามประเภทรางวัลที่ส่งสมัคร

ชื่อผลงาน : ………เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค………………………………………….……

ชือ่หน่วยงาน : ………ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา…………………………………

โปรดท าเครื่องหมาย ในคุณสมบัติดังต่อไปนี้ที่ตรงกับผลงานของท่าน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)

เป็นผลงานที่มีการจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร/จดลิขสิทธิ์ เป็นผลงานที่คิดค้นมาไม่เกิน 3 ปี เป็นผลงานที่มีการน าผลงานไปใช้แล้วจริงเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี และได้รับการ ยอมรับจากสาธารณะ เป็นผลงานมีผลต่อประสิทธิภาพและคุณภาพของระบบการบริหารจัดการและการให้บริการ ประชาชน เป็นผลงานสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ที่ไม่เคยมีในเมืองไทยมาก่อน

Page 3: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

บทสรุปสาระส าคัญของผลงานท่ีเสนอขอรับรางวัล (Executive Summary)

แบบฟอร์มที่ 3 รายงานผลการด าเนินการ

ประเภทรางวัล : ……………รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ……………………………………….………

ชื่อผลงาน : ……………เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค…………………………….………..

ชื่อหน่วยงาน : ……………ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา……………….………. สรุปผลงานโดยย่อ : โปรดสรุปเนื้อหาของผลงาน โดยมีความยาวไม่เกิน 3 หน้ากระดาษ A 4 ตัวอักษร TH SarabunPSK ขนาด 16 โดยครอบคลุมหัวข้อ ดังนี้ 1.1 สภาพการปฏิบัติงานเดิม

โรคติดต่อน าโดยแมลง ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไวรัสซิก้า โรคชิคุนกุนยา โรคไข้สมองอักเสบ โรคมาลาเรีย สามารถเกิดได้ทุกเพศ ทุกวัย ทุกพ้ืนที่ แต่ละปีมีผู้ป่วยเป็นจ านวนมากและมีผู้ป่วยเสียชีวิตหลายราย สร้างความสูญเสียมากมายต่อเศรษฐกิจและสังคม ส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อสุขภาพอนามัยของผู้ป่วย ปัจจัยส าคัญที่ก่อให้เกิดอุบัติการณ์ของโรคคือ ความหนาแน่นของยุงและความชุกชุมของเชื้อโรคในยุง มาตรการที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคจึงมุ่งเน้นไปที่การควบคุมยุงพาหะ โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์และก าจัดยุงตัวเต็มวัย แต่ปัจจุบันไม่สามารถด าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท าให้ยังพบลูกน้ ายุงลายและยุงตัวเต็มวัยในทุกพื้นที่ท่ีท าการส ารวจ ดังนั้น เมื่อมีผู้ป่วยเกิดขึ้นในชุมชนจึงหลีกเลี่ยงการพ่นสารเคมีไม่ได้ โดยต้องท าการพ่นสารเคมีในบ้านผู้ป่วยและพ้ืนที่รอบบ้านผู้ป่วยอย่างน้อยรัศมี 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง แต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากมีผู้มีป่วยกระจายทั่วชุมชนต้องพ่นทุกหลังคาเรือน เพ่ือควบคุมการระบาดของโรค

เครื่องมือที่ใชล้ดความหนาแน่นของยุงในเวลาอันรวดเร็วคือ เครื่องพ่นสารเคมี จากการส ารวจในพ้ืนที่เขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์ พบว่าเป็นเครื่องพ่นหมอกควันถึงร้อยละ 96.93 จากการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการป้องกันควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ผ่านมา และการให้บริการซ่อมบ ารุงเครื่องพ่น พบว่า เครื่องพ่นหมอกควันมักจะประสบปัญหาต่างๆ ที่ท าให้การพ่นสารเคมีก าจัดยุงไม่ได้มาตรฐาน ได้แก่ (1) เครื่องพ่นมีความร้อนสูง ท าให้ต้องพักเครื่องบ่อยหรือเครื่องไม่ท างาน ส่งผลให้การควบคุมโรคล่าช้า รวมทั้งเป็นอันตรายต่อร่างกายและทรัพย์สินของผู้พ่นและประชาชนด้วย (2) เครื่องยนต์สตาร์ทติดยาก ท าให้เสียเวลาในการควบคุมโรค (3) ค่าซ่อมแพง อะไหล่แพง หายาก ต้องสั่งซื้อ รออะไหล่นาน บางรุ่นหายากและเลิกผลิต ดังนั้น ส านักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 9 จังหวัดนครราชสีมา โดยศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์ จึงมีแนวคิดท่ีจะสร้างเครื่องพ่นหมอกควันที่ทนต่ออากาศร้อน สตาร์ทติดง่ายและต้นทุนต่ าขึ้น ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาความร้อนของเครื่องพ่น สร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดความเสียหายของอุปกรณ์ ลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อและการซ่อมเครื่องพ่นหมอกควัน เพ่ือประโยชน์สูงสุดในการลดโรคติดต่อน าโดยแมลงอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 4: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

1.2 แนวทางในการปรับปรุงบริการ จากสภาพปัญหาที่พบในการใช้งานเครื่องพ่นหมอกควัน จึงเกิดแนวคิดที่จะสร้าง “เครื่องพ่นหมอก

ควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” โดยอาศัยความรู้ประสบการณ์ในการท างานโรคติดต่อน าโดยแมลงและการท างานร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายต่างๆ มาพัฒนาเพื่อให้ได้เครื่องพ่นที่สามารถใช้งานได้ดีเหมาะกับอากาศร้อนของประเทศไทย ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ ารุง ดังนั้นจึงจัดท าโครงการพัฒนาเทคโนโลยีป้องกันควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงขึ้น โดยมีการพัฒนาตามกระบวนการสร้างนวัตกรรมของ ADDIE Model 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย (1) A: Analysis ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการสร้างเครื่องพ่นหมอกควัน (2) D: Design ออกแบบเครื่องพ่นหมอกควัน (3) D: Development สร้างต้นแบบเครื่องพ่นหมอกควัน (4) I: Implement ทดลองใช้งานเครื่องพ่นหมอกควัน (5) E: Evaluation ประเมินมาตรฐานเครื่องพ่นหมอกควัน ประเมินอัตราตายของยุง ประเมินการควบคุมโรคในพ้ืนที่ ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานและประชาชนที่ได้รับบริการพ่นสารเคมีก าจัดยุง นอกจากนี้ยังมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนินงาน ถ่ายทอดความรูแ้ก่ผู้อื่นและสรุปบทเรียน เพ่ือน าผลไปปรับปรุงพัฒนาและขยายผลการบริการต่อไป 1.3 สภาพการปฏิบัติงานหลังการปรับปรุงบริการ เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค มีการปรับปรุงพัฒนามาอย่างต่อเนื่องจนผ่านเกณฑ์มาตรฐานเครื่องพ่นหมอกควันของกรมควบคุมโรค สามารถก าจัดยุงได้อย่างมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ขององค์การอนามัยโลก และเมื่อน าไปใช้ควบคุมโรคในพ้ืนที่พบว่า สามารถควบคุมโรคได้ ไม่มีผู้ป่วยระลอกใหม่เกิดขึ้น ท าให้ลดปัญหาจากการใช้งานเครื่องพ่น ลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อและซ่อมบ ารุง ลดต้นทุนในการป้องกันควบคุมโรค นอกจากนี้ การสร้างและพัฒนาเครื่องพ่นหมอกควัน : ลดร้อน ลดยุง ลดโรค ยังสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งทีมงานภายในส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา และหน่วยงานเครือข่ายภายนอก ได้แก่ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล เทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานจนส าเร็จ เกิดการพัฒนางานโดยการท างานอย่างเป็นระบบและได้ความรู้ใหม่ตลอดระยะเวลาที่ด าเนินการ เก็บเป็นคลังความรู้เพ่ือถ่ายทอด พัฒนานวัตกรรม และขยายผลบริการต่อไป 1.4 ประโยชน์ที่ได้รับ

(1) ประชาชนลดความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคติดต่อน าโดยแมลง เนื่องจากยุงพาหะน าโรคถูกก าจัดหมดไปอย่างรวดเร็ว เป็นไปตามมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ

(2) ผู้ใช้งานและประชาชนผู้รับบริการ มีความปลอดภัยต่อร่างกายและทรัพย์สิน เนื่องจากเครื่องพ่นหมอกควันผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านอุณหภูมิความร้อน ความดังของเสียง และน้ าหนักของตัวเครื่อง

(3) หน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลง ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อและซ่อมบ ารุงเครื่องพ่นหมอกควัน เนื่องจาก “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” มีราคาถูก อะไหล่หาง่าย ไม่แพง และสามารถซ่อมได้ด้วยตัวเอง

(4) ลดค่าใช้จ่ายในการวินิจฉัยโรค การรักษา การสูญเสียรายได้ของผู้ป่วยและญาติ (5) มีองค์ความรู้เกี่ยวกับการสร้าง “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” เก็บไว้ในคลัง

ความรู้ เพื่อการถ่ายทอดและพัฒนานวัตกรรมต่อไป

Page 5: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

1.5 จุดเด่นของผลงาน และปัจจัยความส าเร็จ “เครื่องพ่นหมอกควัน : ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ที่ผลิตขึ้น ใช้ต้นทุนต่ า สามารถใช้งานได้จริง ผ่าน

เกณฑ์มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพในการควบคุมโรค มีจุดเด่นดังนี้ (1) ตัวเครื่องไม่ร้อน เครื่องพ่นยี่ห้ออ่ืนมีอุณหภูมติัวเครื่องประมาณ 63 องศาเซลเซียส แต่เครื่องพ่นที่ผลิตขึ้นเองมีอุณหภูมิตัวเครื่องเพียง 36.2 องศาเซลเซียส สามารถสัมผัสได้ ไม่เป็นอันตราย (2) ประหยัดพลังงาน เครื่องพ่นยี่ห้ออ่ืนมีอัตราการสิ้นเปลืองน้ ามันเชื้อเพลิงประมาณ 2.28 ลิตรต่อชั่วโมง ส่วนเครื่องพ่นที่ผลิตขึ้นเองมีอัตราการสิ้นเปลืองน้ ามันเชื้อเพลิงเพียง 1.5 ลิตรต่อชั่วโมง (3) ราคาถูก เครื่องพ่นหมอกควันที่จ าหน่ายตามท้องตลาดมีราคาเครื่องละประมาณ 70,000 - 80,000 บาท แต่เครื่องพ่นที่ผลิตขึ้นเองมีต้นทุนการผลิตเพียง 15,000 - 20,000 บาท ซ่ึงต่ ากวา่เคร่ืองพ่นตามท้องตลาดถึง 4 เท่า (4) ใช้เวลาในการพ่นควบคุมโรคน้อย เนื่องจากเครื่องยนต์สตาร์ทติดง่าย เครื่องไม่ร้อน สามารถท างานได้ต่อเนื่อง จึงช่วยลดระยะเวลาในการพ่นสารเคมีเฉลี่ยครั้งละ 30 - 45 นาท ี(5) ตอบสนองความต้องการ เนื่องจากผู้ใช้งานและประชาชนที่ได้รับบริการพ่นสารเคมีก าจัดยุงมีความพึงพอใจต่อเครื่องพ่นที่ผลิตขึ้นเองในระดับมาก

ปัจจัยความส าเร็จมาจากใจของทีมงาน ใจของเครือข่าย ใจของประชาชน ที่มีเป้าหมายเดียวกันคือ ปกป้องสุขภาพประชาชนจากโรคติดต่อน าโดยแมลง จึงเกิดความร่วมมือและสนับสนุนการด าเนินงานเป็นอย่างดี มีการใช้ข้อมูลและความรู้ที่ชัดแจ้งเป็นจริงเป็นจุดเริ่ม ผลักดันงานด้วยกระบวนการ PDCA อย่างเป็นระบบ พัฒนานวัตกรรมด้วย ADDIE Model เสริมพลังด้วยการสนับสนุนและให้ก าลังใจ ติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปบทเรียน และขยายผลบริการต่อไป

Page 6: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

แบบฟอร์มรายงานผลการด าเนินการ

1. ปัญหา และสภาพการปฏิบัติงานเดิมก่อนที่จะริเริ่มการปรับปรุง วิกฤตการณ์โลกร้อนที่ค่อยๆ ทวีความรุนแรงพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ส่งผลกระทบต่อ

มนุษย์และสัตว์เป็นอย่างมาก ไม่เว้นแม้แต่ “ยุง” สัตว์ตัวเล็กๆ ที่เป็นพาหะน าโรค เช่น โรคไข้เลือดออก โรคไวรัสซิก้า โรคชิคุนกุนยา โรคไข้สมองอักเสบ โรคมาลาเรีย เป็นต้น ที่ต้องปรับตัวและเปลี่ยนแปลงวงจรชีวิตเพ่ือการอยู่รอด ได้แก่ ลูกน้ ายุงฟักตัวเร็วขึ้น ถ่ายทอดเชื้อโรคจากรุ่นสู่รุ่นได้ ใช้เวลาออกหากินยาวนานขึ้น มีอายุยืนยาว ฯลฯ ท าให้มีโอกาสแพร่โรคได้มากขึ้น เห็นได้จากสถานการณ์โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ า ที่เกิดขึ้นในหลายประเทศ ส าหรับประเทศไทยก็ประสบปัญหาโรคติดต่อน าโดยแมลงเช่นกัน แต่ละปีมีผู้ป่วยจ านวนมากและมีผู้ป่วยเสียชีวิตหลายราย หากพิจารณาความรุนแรงและผลกระทบรายโรค พบว่า โรคไข้เลือดออกมีผู้ป่วยปีละประมาณ 87,000 คน คิดเป็นร้อยละ 43.50 ของผู้ป่วยทั้งหมดในแถบประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีผู้เสียชีวิตประมาณปีละ 90 คน ส่งผลกระทบทางด้านเศรษฐศาสตร์อย่างยิ่ง กล่าวคือ มีต้นทุนค่ารักษาพยาบาลและค่าเสียโอกาสจากการสูญเสียรายได้ประมาณ 2,601 บาทต่อคน ส าหรับผู้ป่วยในชนบท และประมาณ 3,631 บาทต่อคน ส าหรับผู้ป่วยในเขตกรุงเทพมหานคร นี่คือต้นทุนเมื่อปี พ.ศ. 2545 ที่อัตราค่าจ้างขั้นต่ าวันละ 160 บาท แต่ปัจจุบันค่าจ้างขั้นต่ าอยู่ที่วันละ 300 บาท ต้นทุนจึงเพ่ิมข้ึนเป็นทวีคูณ ส่วนโรคไวรัสซิก้าถือเป็นโรคอุบัติซ้ าที่ต้องเฝ้าระวังเป็นอย่างมากในปีที่ผ่านมา เนื่องจากองค์การอนามัยโลกได้ประกาศเป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ต้องเฝ้าระวังอย่างยิ่งในหญิงตั้งครรภ์ เพราะหากติดเชื้อจะท าให้ทารกมีศีรษะเล็ก ส่งผลต่อพัฒนาการและการเติบโตของเด็กในอนาคตได ้ โรคซิคุนกุนยาและโรคมาลาเรียนั้น มักพบในผู้ป่วยวัยแรงงาน ท าให้เกิดผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคมเช่นกัน มาตรการที่ใช้ในการป้องกันควบคุมโรคในปัจจุบันมุ่งเน้นไปที่การควบคุมยุงพาหะ โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์และก าจัดยุงตัวเต็มวัย แต่ไม่สามารถด าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท าให้พบลูกน้ ายุงลายและยุงตัวเต็มวัยในทุกพื้นที่ที่ส ารวจ ดังนั้น เมื่อมีผู้ป่วยเกิดขึ้นในชุมชน จึงต้องท าการพ่นสารเคมีในบ้านผู้ป่วยและพ้ืนที่รอบบ้านผู้ป่วยอย่างน้อยรัศมี 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง แต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน และหากมีผู้มีป่วยกระจายทั่วชุมชนต้องพ่นทุกหลังคาเรือน เพ่ือควบคุมการระบาดของโรค เครื่องมือที่ใชล้ดความหนาแน่นของยุงในเวลาอันรวดเร็ว คือ เครื่องพ่นสารเคมี ซึ่งจากการส ารวจในพ้ืนที่เขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์ พบเป็นเครื่องพ่นหมอกควันถึงร้อยละ 96.93 จากการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการป้องกันควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ผ่านมา และการให้บริการซ่อมบ ารุงเครื่องพ่น พบว่า เครื่องพ่นหมอกควันมักจะประสบปัญหาต่างๆ ที่ท าให้การพ่นสารเคมีก าจัดยุงไม่ได้มาตรฐาน ได้แก่ (1) เครื่องพ่นมีความร้อนสูง ท าให้ต้องพักเครื่องบ่อยหรือเครื่องไม่ท างาน ส่งผลให้การควบคุมโรคล่าช้า รวมทั้งเป็นอันตรายต่อร่างกายและทรัพย์สินของผู้พ่นและประชาชนด้วย (2) เครื่องยนต์สตาร์ทติดยาก ท าให้เสียเวลาในการควบคุมโรค (3) ค่าซ่อมแพง อะไหล่แพง หายาก ต้องสั่งซื้อ รออะไหล่นาน บางรุ่นหายากและเลิกผลิต ดังนั้น ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา โดยศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์ จึงมีแนวคิดที่จะสร้าง เครื่องพ่นหมอกควันที่ทนต่ออากาศร้อน สตาร์ทติดง่าย และต้นทุนต่ าขึ้น ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาความร้อนของเครื่องพ่น สร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดความเสียหายของอุปกรณ์ ลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อและการซ่อมเครื่องพ่นหมอกควัน เพ่ือประโยชน์สูงสุดในการลดโรคติดต่อน าโดยแมลงอย่างมีประสิทธิภาพ

Page 7: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

ภาพที่ 1 แผนผังการพ่นสารเคมีก าจัดยุงเพ่ือควบคุมโรคแบบเดิม 2. ผู้น าเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ผู้ด าเนินการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ

ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา กรมควบคุมโรค รับผิดชอบพ้ืนที่ 4 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ มีพันธกิจคือ การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การศึกษาวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่ายน าผลิตภัณฑ์ไปใช้ การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี การส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานร่วมกับเครือข่าย การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และการก ากับติดตามประเมินผล จึงได้น าปัญหาจากการท างาน มาวิเคราะห์และแก้ไขด้วยกระบวนการ PDCA โดยคิดค้นนวัตกรรม “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” เพ่ือแก้ไขปัญหาเครื่องพ่นสารเคมีก าจัดยุงในพ้ืนที่ ซึ่งมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

1. ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์ โดยทีมบุคลากรศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องพ่นสารเคมีก าจัดยุงเป็นผู้คิดค้นและสร้าง “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ที่ใช้ความรู้และประสบการณ์ท่ียาวนานกว่า 30 ปี

2. ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา สนับสนุนงบประมาณ บุคลากร ข้อมูลทางวิชาการประเมินประสิทธิภาพเครื่องพ่น และทดสอบอัตราตายของยุง

3. ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล เทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาเครื่องพ่น และทดลองใช้งานเครื่องมือนี้จริงในพื้นที ่และประเมินความพึงพอใจที่มีต่อเครื่องพ่น

4. ประชาชน ซึ่งได้รับบริการจาก “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” เป็นผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ เพ่ือปรับปรุงและพัฒนา

Page 8: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

3. ผลงานที่เป็นความคิดริเริ่มในการพัฒนาคุณภาพการบริการ จากปัญหาโรคติดต่อน าโดยแมลงของประเทศไทยและพ้ืนที่เขตสุขภาพที่ 9 ที่มีการระบาดของโรค ทุกปี

อัตราป่วยสูง และมีผู้เสียชีวิตทุกปีนั้น ท าให้สิ้นเปลืองงบประมาณอย่างมากในการรักษาและป้องกันควบคุมโรครวมทัง้บางโรค ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไวรัสซิกา โรคซิคุนกุนยา ยังไม่มียารักษาและไม่มีวัคซีนป้องกัน เมื่อเกิดโรคและมีการระบาด จึงส่งผลกระทบในวงกว้าง องค์ประกอบของการเกิดโรคดังกล่าว พบว่า มีปัจจัยมาจากจ านวนลูกน้ าที่สูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน และส ารวจพบยุงพาหะน าโรคในทุกพ้ืนที่ ดังนั้น หากลดจ านวนยุงได้ ก็สามารถลดการแพร่โรคได้เช่นกัน ปัจจุบันเครื่องมือที่น ามาใช้ลดความหนาแน่นของยุงในเวลาอันรวดเร็วคือ เครื่องพ่นสารเคมี แต่จากการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ผ่านมา และสอบถามจากผู้ใช้งานของหน่วยงานอื่น พบว่า เครื่องพ่นมีปัญหาหลายอย่างจนไม่สามารถท างานได้เต็มประสิทธิภาพ เช่น ตัวเครื่องพ่นมีความร้อนสูง ปลายท่อพ่นมีอุณหภูมิสูงมากจนท าให้ไฟลุกที่ปลายท่อ เครื่องน็อกไม่ท างาน เครื่องยนต์สตาร์ทติดยาก ค่าซ่อมและอะไหล่แพง รวมทั้งเกิดอันตรายต่อผู้ใช้งานและทรัพย์สินของประชาชนได้

ดังนั้น ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์ ซึ่งมีจุดแข็งด้านยุงและเครื่องพ่นสารเคมี เพราะมีศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีกีฏวิทยาและเครื่องพ่นสารเคมีก าจัดยุง ที่ให้บริการแก่หน่วยงานเครือข่ายในพ้ืนที่จังหวัดสุรินทร์ จึงได้คิดค้น “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” โดยใช้ความรู้และประสบการณ์จากการท างานที่ยาวนานกว่า 30 ปี รวมทั้งข้อมูลจากผู้ใช้เครื่องพ่นที่น ามาซ่อมบ ารุง มาคิดค้นพัฒนาด้วยรูปแบบ “ไทยคิด ไทยท า ไทยใช้” โดยใช้อุปกรณ์ที่หาง่าย ราคาไม่แพง ใช้งานได้จริง เหมาะกับอากาศร้อน ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพ เพ่ือช่วยลดปัญหาจากการใช้งาน ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ ารุง ลดต้นทุนในการป้องกันควบคุมโรค รวมทั้งเพ่ือถ่ายทอดความรู้จากพ่ีสู่น้อง โดยบุคลากรผู้เชี่ยวชาญที่ก าลังจะเกษียณอายุราชการไปสู่บุคลากรอื่นในส านักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 9 จังหวัดนครราชสีมา ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล เทศบาล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต่อไป

ภาพที่ 2 ส่วนประกอบทั้ง 2 ด้านของเครื่องพ่นหมอกควัน : ลดร้อน ลดยุง ลดโรค

Page 9: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

4. กลยุทธ์ที่น ามาใช้ให้การพัฒนาบริการประสบผลส าเร็จ

การสร้าง “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” มีวัตถุประสงค์หลักคือ เพ่ือสร้างเครื่องพ่นหมอกควันที่มีมาตรฐาน เหมาะกับการใช้งานในสภาพอากาศร้อน ก าจัดยุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้นทุนต่ า ดังนั้น ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา จึงได้จัดท าโครงการพัฒนาเทคโนโลยีป้องกันควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงขึ้น เพ่ือพัฒนาการบริการป้องกันควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงในพ้ืนที่เขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์ โดยได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและประชาชน ในการออกแบบ พัฒนาและประเมินผล ภายใต้กลยุทธ์ดังต่อไปนี้

1. การด าเนินการแบบมีส่วนร่วม ได้แก่ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล เทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้ระบุปัญหาและความต้องการ ทดลองใช้งานจริง ประเมินความพึงพอใจเพ่ือการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ท าให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงและตามความต้องการของผู้ใช้งาน

2. พัฒนากระบวนการสร้างนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ โดยก าหนดวิธีการ เครื่องมือที่ใช้ และผลลัพธ์ที่ชัดเจน วัดผลได้ เพ่ือให้เครื่องพ่นหมอกควันที่สร้างขึ้นสามารถใช้งานได้จริง เหมาะกับสภาพอากาศร้อน ต้นทุนต่ า ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพ และได้องค์ความรู้เพ่ือถ่ายทอดและพัฒนานวัตกรรมต่อไป

3. เผยแพร่ผลิตภัณฑ์ผ่านโซเชียลมีเดีย หน่วยงานเครือข่าย และศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องพ่นสารเคมีก าจัดแมลง ด้วยการน าเสนอผ่านเว็บไซต์ของส านักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 9 จังหวัดนครราชสีมา การประชุมวิชาการ การจัดอบรม และการให้บริการของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องพ่นสารเคมีก าจัดแมลง เป็นการสร้างคุณค่าให้ “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” เพ่ือความยั่งยืนต่อไป

ภาพที่ 3 แผนผังการพ่นสารเคมีก าจัดยุงเพ่ือควบคุมโรคแบบใหม่

Page 10: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

การสร้าง “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ใช้กระบวนการพัฒนานวัตกรรมของ ADDIE Model 5 ขั้นตอน ประกอบด้วย (1) A: Analysis ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการสร้างเครื่องพ่นหมอกควัน (2) D: Design ออกแบบเครื่องพ่นหมอกควัน (3) D: Development สร้างต้นแบบเครื่องพ่นหมอกควัน (4) I: Implement ทดลองใช้งานเครื่องพ่นหมอกควัน และ (5) E: Evaluation ประเมินผลเครื่องพ่นหมอกควันที่สร้างขึ้นตามมาตรฐานที่ก าหนด เพ่ือน าไปพัฒนาปรับปรุงและขยายผลต่อไป 5. ทรัพยากรที่ใช้ในการด าเนินการ

ด้านการเงิน ทีมผู้สร้างใช้งบประมาณส่วนตัวในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เพ่ือน ามาท าอะไหล่และชิ้นส่วนเครื่องพ่น ส่วนเครื่องมือช่าง ได้แก่ ตู้เชื่อม ปั๊มลม หินเจียร สว่าน ประแจ ไขควง ใช้ของหน่วยงานเอง ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา สนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุงอะไหล่ให้ได้มาตรฐาน การประชุมตดิตามความก้าวหน้า การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประเมินผล และการอบรมเผยแพร่

ด้านทรัพยากรบุคคล ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายเป็นอย่างดี โดยบุคลากรศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์ จัดท าต้นแบบ “เครื่องพ่นหมอกควัน : ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ทดลองใช้งาน ปรับปรุง และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลง ประเมินมาตรฐานเครื่องพ่นหมอกควันและทดสอบอัตราตายของยุง กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม วัดระดับความดังของเสียงขณะใช้เครื่องพ่นหมอกควันเพ่ือไม่ให้เกิดอันตรายต่อระบบการได้ยินของผู้ใช้งาน และอาจารย์ประจ าสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เป็นที่ปรึกษาในการผลิตเครื่องพ่นหมอกควันและการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์

ทรัพยากรด้านอ่ืนๆ ได้แก่ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างต้นแบบเครื่องพ่นหมอกควัน เครื่องมือประเมินมาตรฐานเครื่องพ่นหมอกควัน แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานเครื่องพ่นหมอกควัน และแบบประเมินความพึงพอใจของประชาชนที่ได้รับบริการพ่นสารเคมีก าจัดยุง

6. ขั้นตอนส าคัญในการพัฒนาการบริการและการน าไปปฏิบัติ 6.1 ล ำดับขั้นตอนในกำรพัฒนำ

ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล ในปี 2557 ได้ท าการส ารวจเครื่องพ่นสารเคมีก าจัดยุงในพ้ืนที่เขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเครื่องพ่นหมอกควัน ร้อยละ 96.93 ดังนั้นจึงรวบรวมปัญหาของเครื่องพ่นหมอกควัน ทั้งจากการปฏิบัติงานของหน่วยงานเองและจากหน่วยงานภายนอกที่น าเครื่องพ่นมารับบริการซ่อมบ ารุง น ามาจัดล าดับความส าคัญ แล้ววิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ท าให้ทราบว่าความร้อนที่เกิดขึ้นขณะเครื่องท างานเป็นปัจจัยหลักของปัญหาต่างๆ จากนั้นจึงตั้งทีมงานสร้างเครื่องพ่นขึ้นมา ท าการศึกษาส่วนประกอบและระบบการท างานของเครื่องพ่นหมอกควันให้ถ่องแท้ลึกซึ้ง เพ่ือหาทางแก้ไขปัญหาด้านความร้อนของเครื่องพ่น แนวคิด “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” จึงเกิดข้ึน ออกแบบเครื่องพ่น เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2558 ท าการศึกษามาตรฐานของเครื่องพ่นหมอกควันและความต้องการของผู้ใช้งาน เพ่ือน ามาเขียนแบบลงกระดาษ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในทีมงานสร้างเครื่องพ่นเพ่ือให้ได้ต้นแบบที่เหมาะสมและตรงความต้องการของผู้ใช้งานมากที่สุด จากนั้นพิจารณาคัดเลือกวัสดุที่จะน ามาประกอบเป็นชิ้นส่วนเครื่องพ่นหมอกควัน : ลดร้อน ลดยุง ลดโรค จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสม ในเดือนมีนาคม-มิถุนายน 2558 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ เหล็กเส้น แผ่นอลูมิเนียม ทองเหลือง ตะแกรง สายไฟ กาว ฯลฯ แล้วน ามาตัด ดัด ม้วน พับ เจาะ กลึง เชื่อม เพ่ือเป็นท าชิ้นส่วนของเครื่องพ่นหมอกควัน ทั้งนี้อะไหล่บางชิ้นสามารถน าวัสดุเหลือใช้มาทดแทนเพ่ือประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น วาล์วแก๊สท ำเป็นวาล์วเปิดปิดน้ ามัน กระป๋องน้ าอัดลมท ำเป็นแผ่นเพลทล่าง แผ่นอลูมิเนียมเหลือใช้ท ำเป็นแผ่นเพลทกลาง เหล็กวางเท้ารถจักรยานยนต์ท ำเป็นแผ่นเพลทบน เป็นต้น 6.2 ล ำดับขั้นตอนในกำรปฏิบัติ

Page 11: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

หลังจากได้ศึกษาวิเคราะห์ปัญหา ก าหนดแนวทางแก้ไข ออกแบบเครื่องพ่น จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว จึงเข้าสู่กระบวนการสร้างเครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค ดังนี้

ประกอบชิ้นส่วน เดือนกรกฎาคม 2558 ลงมือสร้างเครื่องพ่นตามแบบที่เขียนไว้ โดยประกอบชิ้นส่วนตามล าดับ ดังนี้ 1.เฟรมโครงเครื่องพ่น 2.ชุดสายไฟและสวิตซ์ 3.มอเตอร์ปั๊มลม 4.คอยล์ 5.แบตเตอรี่ 6.ท่อเผาไหม้ 7.ที่ครอบกันความร้อนท่อเผาไหม้ 8.คาร์บูเรเตอร์ 9.ตะแกรงกันความร้อนปลายท่อ 10.หัวหยดน้ ายา 11.ตะแกรงกันความร้อนชั้นนอก 12.ถังน้ ายาเคมี 13.ถังน้ ามันเชื้อเพลิง 14.ท่อส่งน้ ายาเคมี 15.ท่อแรงดันถังน้ ามัน 16.ท่อแรงดันเข้าคาร์บูเรเตอร์

ทดสอบและปรับปรุงแก้ไข เมื่อสตาร์ทเครื่องและทดสอบการท างาน พบว่า เครื่องพ่นที่ผลิตมีปัญหาหลายอย่าง แต่ได้ปรับปรุงแก้ไขจนสามารถใช้งานได้ดีและต่อเนื่อง ดังนี้

- ครั้งที ่1 เดือนกรกฎาคม 2558 พบปัญหาความร้อนสูงท่อพ่นละลาย แก้ไขโดย ท าคาบูเรเตอร์ชุดบนชุดล่างใหม่ ปรับหัวฉีดน้ ามันให้เล็กลง ปรับท่อสามทางรอยต่อท่ออากาศให้เล็กลง

- ครั้งที ่2 เดือนกันยายน 2558 ควันสารเคมีออกไม่ต่อเนื่อง แก้ไขโดย อุดรอยรั่วที่ถังน้ ายาเคมีและ ชุดสามทาง ปรับแรงดันให้เหมาะสม

- ครั้งที ่3 เดือนกุมภาพันธ์ 2559 ทดลองใช้งานจริงในพ้ืนที่ ยังพบปัญหาเมื่อน้ ามันลด ท าให้แรงดันใน ถังน้ ามันไม่พอและเครื่องดับ แก้ไขโดย การท าถังน้ ามันให้เล็กลงสมดุลกับถังน้ ายาสารเคมี และปัญหาแผ่นเพลทอ่อน ท าให้แผ่นไดอะแฟรมหัก แก้ไขโดย ใช้อะไหล่ของแท้

- ครั้งที่ 4 เดือนเมษายน 2559 ทดลองใช้งานจริงในพ้ืนที่ พบว่าสามารถท างานได้ต่อเนื่อง ประเมินผล ท าการประเมินผลการลดร้อน ลดยุง ลดโรค ซึ่งเป็นจุดเด่นของเครื่องพ่นที่ผลิตขึ้น

ตามมาตรฐานที่ก าหนด ดังนี้ (1) ประเมินมาตรฐานเครื่องพ่นหมอกควัน ประกอบด้วย วัดอุณหภูมิความร้อนปลายท่อ วัดอัตราไหล

ของน้ ายาเคมี และวัดขนาดเม็ดละอองน้ ายา ดังนี้ - ครั้งที่ 1 เมื่อ 28 ตุลาคม 2559 พบปัญหาได้แก่ ถังน้ ายารั่ว อัตราการไหลของน้ ายาน้อย ขนาดเม็ด

น้ ายายังไม่เหมาะสม แก้ไขโดยเปลี่ยนปะเก็นฝาถังน้ ามันและน้ ายาเคมี อุดรอยรั่วถังน้ ายาเคมี ท ากันกลับใหม่แบบปากเป็ด

- ครั้งที่ 2 เมื่อ 24 พฤศจิกายน 2559 พบปัญหาได้แก่ อัตราการไหลของน้ ายาเคมียังไม่เหมาะสม แก้ไขโดยท าหัวพ่นน้ ายาเคมีให้มีหลายขนาด สามารถเลือกใช้งานได้เหมาะสม

- ครั้งที่ 3 เมื่อ 6 มกราคม 2560 พบปัญหาแผ่นไดอะแฟรมหักท าให้เครื่องสตาร์ทไม่ติด แก้ไขโดยเปลี่ยนแผ่นไดอะแฟรมใหม่

- ครั้งที่ 4 เมื่อ 17 มกราคม 2560 พบว่าเครื่องพ่นหมอกควันใช้งานได้ดี และมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานที่ก าหนดไว้

(2) ประเมินอัตราตายของยุง เมื่อ 17 มกราคม 2560 พบว่า เครื่องพ่นที่ผลิตขึ้นมีประสิทธิภาพในการก าจัดยุงสูง สามารถฆ่ายุงตายทุกตัว (ร้อยละ 100) (3) ประเมินผลการควบคุมโรค ในเดือนมกราคม 2560 โดยพ่นหมอกควันก าจัดยุงในหมู่บ้านที่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกตามมาตรฐานที่ก าหนด จ านวน 2 หมู่บ้าน พบว่า สามารถควบคุมโรคได้ ไม่มีผู้ป่วยระลอกใหม่เกิดขึ้น (4) ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานเครื่องพ่นหมอกควัน และประชาชนที่ได้รับบริการพ่นสารเคมีก าจัดยุง ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2559 - มกราคม 2560 พบว่า ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจในระดับมาก และประชาชนที่ได้รับบริการพ่นสารเคมีก าจัดยุงก็มีความพึงใจในระดับมากเช่นกัน

6.3 ระบบกำรติดตำมและประเมินผลกำรพัฒนำบริกำร

Page 12: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

“เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” มีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ (1)ความรู้และประสบการณ์จากการท างานที่ยาวนานของทีมผู้สร้าง (2)ข้อเสนอแนะจากผู้ใช้งานของหน่วยงานอ่ืน (3)การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทีมผู้สร้างและผู้เกษียณอายุราชการ ผู้เชี่ยวชาญในหน่วยงาน ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงเจ้าของหลักสูตรการใช้และซ่อมบ ารุงเครื่องพ่น ผู้ใช้งานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (4)การประชุมติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลการพัฒนาทุกเดือน เมื่อเครื่องพ่นหมอกควันสามารถใช้งานได้ดีแล้ว จึงน ามาประเมินมาตรฐานก่อนน าไปใช้จริง เพ่ือยืนยันประสิทธิภาพ สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ใช้งาน และสร้างคุณค่าให้ผลิตภัณฑ์ ดังนี้

(1) ประเมินมาตรฐานเครื่องพ่นหมอกควัน เพ่ือประเมินผลการ “ลดร้อน” โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานของกรมควบคุมโรค ได้แก่ อุณหภูมิความร้อนปลายท่อ อัตราไหลของน้ ายาเคมี (Flow rate) และขนาดเม็ดละอองน้ ายา (Droplet size) พบว่าผ่านมาตรฐาน สามารถน าไปใช้งานจริงในพ้ืนที่ได้ ไม่เกิดปัญหาความร้อนของเครื่อง สามารถพ่นสารเคมีได้อย่างต่อเนื่อง รายละเอียดดังตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 ผลการประเมินมาตรฐานเครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค

รายการประเมิน มาตรฐานเครื่องพ่น เครื่องพ่นทีผ่ลิตเอง มาตรฐานเครื่องพ่นหมอกควัน 1. อุณหภูมิความร้อนปลายท่อ ไม่เกิน 800 องศาเซลเซียส 755 องศาเซลเซียส 2. อัตราไหลของน้ ายาเคมี (Flow rate) (หัวพ่นเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0 มิลลิเมตร)

17 ลิตร/ชั่วโมง

14.58 ลิตร/ชั่วโมง

3. ขนาดเม็ดละอองน้ ายา (Droplet size) เส้นผ่าศูนย์กลาง 5-27 ไมครอน 23.76 ไมครอน คุณสมบัติอ่ืนๆ ของเครื่องพ่นหมอกควัน 1. ราคา ทั่วไป 70,000 - 80,000 บาท ต้นแบบ 15,000-20,000 บาท 2. น้ าหนัก

- เครื่องเปล่า - เติมน้ ายาและน้ ามันพร้อมใช้งาน

ไม่เกิน 9 กิโลกรัม ไม่เกิน 15 กิโลกรัม

9 กิโลกรัม 14 กิโลกรัม

3. ความดังของเครื่องพ่น ไม่เกิน 90 เดซิเบล 88 เดซิเบล 4. อุณหภูมิความร้อนภายนอกตัวเครื่อง ที่ผู้ใช้งานต้องสัมผัส

เครื่องพ่นยี่ห้ออ่ืน 63 องศาเซลเซียส

36.2 องศาเซลเซียส

5. อัตราสิ้นเปลืองน้ ามันเชื้อเพลิง เครื่องพ่นยี่ห้ออ่ืน 2.28 ลิตรต่อชั่วโมง

1.5 ลิตรต่อชั่วโมง

(2) ประเมินอัตราตายของยุง เพ่ือประเมินผลการ “ลดยุง” ใช้วิธี Bio-assay Test ขององค์การอนามัยโลก โดยน ายุงที่เลี้ยงในห้องทดลองมาใส่ในกรงๆ ละ 25 ตัว จ านวน 4 กรง แขวนไว้ในบ้านที่ทดสอบ จากนั้นใช้สารเคม ีDeltamethrin 0.5%EC พ่นหมอกควันปิดอบทิ้งไว้ 30 นาที แล้วเปรียบเทียบการตายของยุงที่ 24 ชั่วโมง กับยุงในบ้านควบคุม พบว่า ยุงในบ้านทดสอบตายร้อยละ 100

(3) ประเมินการควบคุมโรค เพ่ือประเมินผลการ “ลดโรค” โดยเมื่อได้รับแจ้งจากโรงพยาบาลว่ามีผู้ป่วยไข้เลือดออกเกิดขึ้น มีการประสานพ้ืนที่และเตรียมชุมชน จากนั้นพ่นหมอกควันก าจัดยุงในหมู่บ้านตามมาตรการ 3-3-1 ที่กรมควบคุมโรคก าหนด พบว่า สามารถควบคุมโรคได้ ไม่มีผู้ป่วยระลอกใหม่เกิดขึ้น

(4) ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานเครื่องพ่นหมอกควันก าจัดยุง พบว่ามีความพึงพอใจระดับมาก (ร้อยละ 82.40) โดยมีความพึงพอใจต่อความหนาแน่นของหมอกควันมากที่สุด และประเมินความพึงพอใจของประชาชนที่ได้รับบริการพ่นสารเคมีก าจัดยุง พบว่ามีความพึงพอใจระดับมาก (ร้อยละ 80.60) โดยมีความพึงพอใจต่อความร้อนจากการพ่นและความสกปรกจากน้ ายาเคมีมากที่สุด นอกจากนี้เมื่อได้น าเสนอผลงาน

Page 13: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

“เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ในการอบรมหลักสูตรเทคนิคการพ่นและซ่อมเครื่องพ่นสารเคมีก าจัดยุงของส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา พบว่ามีผู้สนใจทดลองใช้งาน สั่งซื้อ และเสนอให้มีการเผยแพร่ขยายผลให้หน่วยงานอื่นๆ ได้ใช้ประโยชน์ด้วย 7. ปัญหา อุปสรรค รวมถึงวิธีการบริหารจัดการ

ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปบทเรียนการด าเนินงานพัฒนา “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ซึ่งยังพบปัญหาที่เกิดขึ้นและมีข้อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงและพัฒนา ดังนี้

1. เครื่องพ่นหมอกควันที่สร้างนี้เป็นเครื่องต้นแบบ จึงควรปรับปรุงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ให้มีความทนทานและเหมาะสมกับการใช้งาน ได้แก่

(1) แผ่นเพลท ควรท าจากอะลูมิเนียมผสมสแตนเลส ความหนาประมาณ 4-5 มิลลิเมตร จะท าให้แผ่นไดอะแฟรมกระพือแบบสมดุล ไม่หักง่าย (ต้นแบบใช้อลูมิเนียม 2 มิลลิเมตร)

(2) ถังน้ ามัน ควรใช้สแตนเลสผสมอะลูมิเนียม จะท าให้น้ าหนักเบา (ต้นแบบใช้สแตนเลส) (3) ฝาถังน้ ามันและฝาถังน้ ายา ควรใช้อะลูมิเนียมทีผ่่านการกลึงเป็นเกลียวจะท าให้ทนทาน

(ต้นแบบใช้พลาสติก) (4) ท่อส่งน้ ายาเคมี ควรใช้สแตนเลส จะท าให้มีความทนทานขึ้น (ต้นแบบใช้ทองเหลือง) (5) ท่อเผาไหม้ ควรใช้เหล็กไททาเนียม จะท าให้น้ าหนักเบาและทนความร้อนได้ดีกว่า (ต้นแบบ

ใช้สแตนเลส) ทั้งนี้ หากปรับปรุง “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ตามรายละเอียดข้างต้นแล้ว จะ

มีต้นทุนการผลิตประมาณ 25,000-30,000 บาทต่อเครื่อง 2. ควรน าต้นแบบ “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” เข้ากระบวนการผลิตชิ้นส่วนและ

อะไหล่ที่ได้มาตรฐาน จากนั้นทดลองใช้และประเมินมาตรฐานเครื่องพ่นหมอกควัน ก่อนน าไปใช้จริงในพ้ืนที่ 3. การประเมินมาตรฐานเครื่องพ่น ต้องใช้ความเชี่ยวชาญและเครื่องมือวัดเชิงเทคนิคหลายอย่าง

ดังนั้น จึงควรพัฒนาทักษะของบุคลากรให้สามารถท าการประเมินผลและน าไปใช้ได้ อีกทั้งต้องมีการทบทวนองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง

4. ผู้รู้/ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นแกนหลักในการพัฒนา “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” จะเกษียณอายุราชการในปีงบประมาณ 2560 จึงต้องมีการวางแผนถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้กับทีมงานในหน่วยงาน เพ่ือรักษาความเชี่ยวชาญของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีซ่อมเครื่องพ่นสารเคมี และวางแผนพัฒนายกระดับต่อไปในอนาคต

8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการด าเนินการพัฒนาบริการ

1. ผู้ป่วยและประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน ถูกยุงกัดน้อยลง เนื่องจากยุงถูกก าจัดโดยการใช้ “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ยืนยันได้จากผลการทดสอบอัตราตายของยุงที่ร้อยละ 100 จึงท าให้ลดความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคติดต่อน าโดยแมลง

2. ผู้ใช้เครื่องพ่นหมอกควันมีความปลอดภัยต่อร่างกายและทรัพย์สินมากขึ้น เนื่องจากขณะใช้งานตัวเครื่องพ่นไม่ร้อนและมีความดังน้อยกว่ามาตรฐาน ซึ่งผู้ใช้งานมีความพึงพอใจในระดับมาก

3. สามารถป้องกันควบคุมโรคได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ช่วยลดปัญหาจากการใช้งานเครื่องพ่นหมอกควัน ได้แก ่ ความร้อน เครื่องยนต์สตาร์ทติดยาก การพักเครื่องขณะพ่น เป็นต้น ซ่ึงแตกต่างจากเครื่องพ่นบางยี่ห้อท่ีเมื่อใช้งานไปแล้ว 30 นาท ีจ าเป็นต้องหยุด

Page 14: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

พักเครื่อง 15 นาท ีเนื่องจากเครื่องร้อนและหยุดท างาน โดยจากการทดลองในพ้ืนที่จริง พบว่าสามารถลดเวลาการปฏิบัติงานได้ครั้งละ 30-45 นาท ีซึ่งประชาชนที่ได้รับบริการพ่นสารเคมีก าจัดยุงมีความพึงพอใจในระดับมาก

4. หน่วยงานสาธารณสุข ได้แก่ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล เทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส านักงานป้องกันควบคุมโรคท่ี 9 จังหวัดนครราชสีมา ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควัน เนื่องจากต้นแบบ “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ที่ผลิตขึ้นเอง มีราคาเครื่องละ 15,000-20,000 บาท ถูกกว่าเครื่องพ่นหมอกควันที่จ าหน่ายตามท้องตลาดราคาเครื่องละ 70,000-80,000 บาท (ถูกกว่า 4 เท่า) รวมทั้งลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ ารุงเครื่องพ่น เนื่องจากมีความร้อนลดลง ลดการสึกหรอของอุปกรณ์ อะไหล่หาง่าย ราคาไม่แพงและสามารถซ่อมเองได้

5. ลดค่าใช้จ่ายในการวินิจฉัย รักษา การสูญเสียรายได้ของผู้ป่วยและญาติ เนื่องจากยุงลดลงท าให้การแพร่โรคลดลงตามไปด้วย ท าให้มีผู้ป่วยน้อยลง โดยหากพิจารณาเฉพาะโรคไข้เลือดออก พบว่ามีค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 9,458 บาท/คน/ครั้ง (ค่าวินิจฉัย 255 บาท/คน/ครั้ง ค่ารักษาพยาบาล 5,303 บาท/คน/ครั้ง ค่าสูญเสียรายได้ 1,800 บาท/คน/ครั้ง ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 2,100 บาท/คน/ครั้ง) ทั้งนี้แต่ละปีประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคติดต่อน าโดยแมลงเป็นจ านวนมาก ท าให้สูญเสียงบประมาณไปมากทีเดียว

6. บุคลากรได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถในการแก้ไขปัญหา การซ่อมบ ารุง การประเมินมาตรฐานเครื่องพ่นหมอกควัน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกัน 9. การสร้างความยั่งยืนและการขยายผลไปยังหน่วยงานอ่ืน ๆ

“เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” สร้างขึ้นโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมจากผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานสาธารณสุข มหาวิทยาลัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคประชาชน น ามาวิเคราะห์ ออกแบบ ผลิตและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพในการก าจัดยุงสูงขึ้น เพ่ือเป้าหมายเดียวกันคือ ปกป้องสุขภาพประชาชนจากโรคติดต่อน าโดยแมลง ส าหรับการสร้างความยั่งยืนและการขยายผลนั้น มุ่งเน้นการพัฒนา “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” อย่างต่อเนื่อง เพ่ือตอบสนองความต้องการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นเรียนรู้ต่อไป มีแผนในการด าเนินงานดังนี้

บทบาทของส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา ปี 2560 ยื่นขอจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” จากกรม

ทรัพย์สินทางปัญญา ปี 2560 ถอดบทเรียน “การสร้างเครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” เก็บไว้ในระบบคลัง

ความรู้ของกรมควบคุมโรค และเว็บไซต์ของส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งหน่วยงานอื่นหรือผู้สนใจสามารถศึกษาได้

ปี 2560 ก าหนดให้มีการอบรมถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์พัฒนา “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” การแก้ไขปัญหา การซ่อมบ ารุง และการประเมินมาตรฐานเครื่องพ่น ให้กับบุคลากรในหน่วยงานและหน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพ่ือสร้างนักประดิษฐ์และพัฒนานวัตกรรมให้มากขึ้น

บทบาทของศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์ ปี 2560 เผยแพร่ผลงานเครื่องพ่นที่ผลิตขึ้นในเวทีการประชุมวิชาการ การอบรม และการให้บริการ

ของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องพ่นสารเคมีก าจัดแมลง

Page 15: แบบฟอร์มที่ 1 ใบสมัครรางวัล ...1.2 แนวทางในการปร บปร งบร การ จากสภาพป ญหาท

เกณฑ์การพิจารณารางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ พ.ศ. 2560

ปี 2560-2565 ประเมินประสิทธิภาพเครื่องพ่นหมอกควันในระยะยาว เช่น การเดินเรียบของเครื่องยนต์ ความสึกหรอของเครื่อง อายุการใช้งานของชิ้นส่วนและตัวเครื่อง ชั่วโมงการท างาน เป็นต้น เพ่ือปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ปี 2561 ผลิตเครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค เพ่ิมอีก 2 เครื่อง เพ่ือตอบสนองความต้องการของหน่วยงานอ่ืน และเป็นการถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่น ซึ่งจะช่วยสร้างผู้ผลิตนวัตกรรมให้มีจ านวนมากขึ้นด้วย

ปี 2561 พัฒนาศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีเครื่องพ่นสารเคมีก าจัดยุงให้ได้มาตรฐาน สร้างความน่าเชื่อถือ และสามารถให้บริการหน่วยงานต่างๆ ได้อย่างทั่วถึง

ปี 2560-2565 น าแนวคิดการสร้างนวัตกรรมเครื่องพ่นหมอกควันไปประยุกต์ใช้กับเครื่องพ่นสารเคมีรุ่นอื่น รวมทั้งการสร้างสรรค์พัฒนานวัตกรรมและการบริการอ่ืนๆ ในอนาคต

10. บทเรียนที่ได้รับจากการด าเนินการพัฒนาบริการ จากปัญหาที่พบในการด าเนินงานเป็นประจ าและสภาพปัญหาเครื่องพ่นสารเคมีก าจัดแมลง จึงเกิด

แรงบันดาลใจในการสร้าง “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ตามสโลแกน “ไทยคิด ไทยท า ไทยใช้” Start Up อย่างตั้งใจ มีเป้าหมายทุกขั้นตอน และลงมือปฏิบัติจริง ลองผิดลองถูก ใช้สติ ความพยายาม การเรียนรู้ร่วมกัน จึงท าให้ผลงานประสบความส าเร็จ และได้บทเรียนจากการด าเนินการพัฒนาบริการ ดังนี้

1. ข้อมูลและความรู้เป็นสิ่งส าคัญในการสร้างต้นแบบ “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ใช้ข้อมูลจากผู้ใช้งานโดยตรงและประชาชนผู้รับบริการ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาเครื่องพ่นหมอกควันของหน่วยงานต่างๆ ที่น ามาซ่อมบ ารุง และประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานและประชาชนที่ได้รับบริการพ่นสารเคมีก าจัดยุง ท าให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริง จากนั้นน ามาวิเคราะห์และสรุปผล แล้วน าเข้าประมวลกับความรู้และประสบการณ์ในท างานเก่ียวกับเครื่องพ่นสารเคมีที่ยาวนาน สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงตามความต้องการ สามารถน าไปพัฒนางานให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน เครือข่าย และประชาชน

2. ความร่วมมือและการสนับสนุนจากทีมงานที่เกี่ยวข้องท าให้งานประสบความส าเร็จ ทั้งจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อน าโดยแมลงที่ 9.3 สุรินทร์ ส านักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล เทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชน ที่ร่วมคิด ร่วมท า ร่วมพัฒนา รวมทั้งได้รับข้อเสนอแนะและก าลังใจเป็นพลังในการสร้างสิ่งใหม่และปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น ไม่ท้อกลางคัน ใช้แรงกดดันเป็นแรงขับเคลื่อน

3. มีการด าเนินงานอย่างเป็นระบบ (PDCA) มีเป้าหมายให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เริ่มจากน าปัญหาเกี่ยวกับเครื่องพ่นหมอกควันที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์หาสาเหตุ ก าหนดแนวทางแก้ไข จากนั้นวางแผนการสร้างและพัฒนานวัตกรรมด้วย ADDIE Model ใช้การตรวจสอบโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประชุมกลุ่ม การประเมินมาตรฐานเครื่องพ่น การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานและประชาชนที่ได้รับบริการพ่นสารเคมีก าจัดยุง แล้วน าข้อมูลมาปรับปรุงพัฒนาเพ่ือยกระดับ “เครื่องพ่นหมอกควัน: ลดร้อน ลดยุง ลดโรค” ให้มีคุณภาพดีข้ึน

ทั้งนี้ความส าเร็จที่เกิดขึ้นมาจากใจของทีมงาน ใจของเครือข่าย และใจของประชาชน ที่เริ่มต้นด้วยใจ ร่วมท าด้วยใจ สานต่อด้วยใจ ถักทอร้อยเรียงเพ่ือเป้าหมายเดียวกันคือ “สุขภาพที่ดีของประชาชน” นั่นเอง