30
59 ภาคผนวก ภาคผนวก เครื่องมือวิจัย

ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

59

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัย

Page 2: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

60

แบบส ารวจข้อมูลพ้ืนฐานเชิงปริมาณ ความต้องการการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

โรงเรียน..................................................................................................................... .................... จ านวนนักเรียน...........................คน จ านวนครู...................................คน

กาเครื่องหมาย ( ) ขนาดพ้ืนที่โรงเรียน หมายเหตุ (ระบุตัวเลข

จริงโดยประมาณ) น้อยกว่า 5 ไร่ 5-10 ไร่ มากกว่า 10 ไร่

กาเครื่องหมาย ( ) ขนาดพ้ืนที่แปลงเกษตรที่ต้องการ หมายเหตุ (ระบุตัวเลข

จริงโดยประมาณ) น้อยกว่า 10 ตารางเมตร 10-20 ตารางเมตร 20-30 ตารางเมตร 30-50 ตารางเมตร มากกว่า 50 ตารางเมตร

กาเครื่องหมาย ( ) จ านวนนักเรียนต่อพ้ืนที่การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน หมายเหตุ 1 คน ต่อ น้อยกว่า 1 ตารางเมตร 1 คน ต่อ 1 ตารางเมตร 1 คน ต่อ 2 ตารางเมตร 1 คน ต่อ 3 ตารางเมตร 1 คน ต่อ มากกว่า 3 ตารางเมตร

กาเครื่องหมาย ( ) จ านวนครูที่สอน เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน หมายเหตุ ครู 1 คน ต่อ นักเรียนน้อยกว่า 5 คน คร ู1 คน ต่อ นักเรียน 5-10 คน คร ู1 คน ต่อ นักเรียน 10-15 คน คร ู1 คน ต่อ นักเรียน มากกว่า 10 คน

กาเครื่องหมาย ( ) จ านวนนักเรียนที่ได้เรียนเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ หมายเหตุ (ระบุตัวเลขจริง

โดยประมาณ) น้อยกว่า 10 คน 10-20 คน มากกว่า 20 คน

Page 3: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

61

แบบสัมภาษณ์ เรื่อง แบบสัมภาษณ์โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ส าหรับ

เยาวชน ค าชี้แจง แบบสอบสัมภาษณ์ ชุดนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือประกอบการวิจัย การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้เครือข่ายเกษตรอินทรีย์ส าหรับเยาวชน ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ในการสอบถามความคิดเห็นครั้งนี้ เพ่ือเป็นการส ารวจข้อมูลการจัดการเรียนรู้ และปัญหาการเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ของเยาวชนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่านสามารถเสนอความคิดเห็นได้โดยอิสระ โดยไม่มีผลกระทบต่อท่านประการใด จึงขอความอนุเคราะห์มายังท่านโปรดตอบแบบสัมภาษณ์ให้แก่ผู้วิจัยให้ครบถ้วน ดังนี้ แบบสัมภาษณ์แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนที่ 1 : แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป จานวน 3 ข้อ ส่วนที่ 2 : แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน จานวน 10 ข้อ ส่วนที่ 3 : ปัญหาการเรียนรู้ของเยาวชนเกี่ยวกับการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน 10 ข้อ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ 1.1 เพศ ( ) 1.ชาย ( ) 2.หญิง 1.2 อายุ ............... ปี

1.3 สถานะ ( ) นักเรียน ( ) ครู ( ) ผู้บริหารโรงเรียน

ส่วนที ่2 การจัดการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน

ค าถาม 1 น้อยที่สุด

2 น้อย

3 ปานกลาง

4 มาก

5 มากที่สุด

1. ในรายวิชาเรียน มีสาระวิชา เรื่องเกษตรอินทรีย์ส าหรับนักเรียนหรือไม่

2. นักเรียนได้เรียนเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์เป็นประจ าทุกวัน

3. ในโรงเรียนมีกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่องเกษตรอินทรีย์

4. ในโรงเรียนมีกิจกรรมเสริมเรื่องเกษตรอินทรีย์

5. นักเรียนมีความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ 6. นักเรียนสามารถท าเกษตรอินทรีย์ได้ด้วย

ตนเองในโรงเรียน

7. นักเรียนน าความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์กลับไปใช้ที่บ้าน

8. นักเรียนสามารถบอกผู้ปกครองให้ท าการเกษตรแบบอินทรีย์ได้

Page 4: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

62

ส่วนที่ 2 การจัดการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน (ต่อ)

ค าถาม 1 น้อยที่สุด

2 น้อย

3 ปานกลาง

4 มาก

5 มากที่สุด

9. นักเรียนมีความตระหนักต่อการบริโภคอาหารปลอดภัยจากเกษตรอินทรีย์

10. นักเรียนมีส่วนร่วมกับกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนเป็นประจ า

ส่วนที่ 3 : ปัญหาการเรียนรู้ของเยาวชนเกี่ยวกับการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน

ค าถาม 1 น้อยที่สุด

2 น้อย

3 ปานกลาง

4 มาก

5 มากที่สุด

1. โรงเรียนมีนโยบายสนับสนุนการเรียนการสอนเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน

2. โรงเรียนมีพ้ืนที่ ในการจัดท าเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน

3. โรงเรียนมีอุปกรณ์ ส าหรับการท าเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนอย่างเพียงพอ

4. สภาพของโรงเรียนเหมาะสมต่อการจัดท าพ้ืนที่เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน

5. โรงเรียนมีงบประมาณเพียงพอในการพานักเรียนท าเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน

6. โรงเรียนมีการบูรณาการอย่างดีในการเรียนการสอนกับการท าเกษตรอินทรีย์

7. โรงเรียนต้องการให้มีศูนย์ต้นแบบในน านักเรียนเข้าไปศึกษาเรียนรู้การท าเกษตรอินทรีย์ส าหรับนักเรียน

8. ครูทุกคนและนักเรียน มีความสนใจในการเรียนรู้เรื่องการท าเกษตรอินทรีย์

9. โรงเรียนมีตลาดรองรับผลผลิตจากการท าเกษตรอินทรีย์

10. ถ้าโรงเรียนสาธิต มมส. จัดท าศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์และตลาดโรงเรียน ทางโรงเรียนยินดีเป็นเครือข่ายและเข้าร่วมโครงการ

Page 5: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

63

แบบวัดทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ค าชี้แจง

1. แบบวัดทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมส าหรับเยาวชน ของศูนย์การเรียนรู้ เกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) แบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

มีข้อค าถาม 20 ข้อ ดังนี้ ให้ผู้ตอบแบบสอบถามอ่านแต่ละข้อให้เข้าใจและตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริงที่ได้ปฏิบัติเกี่ยวกับการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ครบทุกข้อและในแต่ละข้อให้เลือกเพียงค าตอบระดับเดียวเดียว ซึ่งในแต่ละระดับอธิบายได้ดังนี้

การให้ค่าคะแนน ตามระดับความเห็น ดังนี้ 5 คะแนน หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง

4 คะแนน หมายถึง เห็นด้วยมาก 3 คะแนน หมายถึง ไม่แน่ใจ

2 คะแนน หมายถึง ไม่เห็นด้วย 1 คะแนน หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

การแปลความ เห็นด้วยอย่างยิ่ง หมายถึง มีความคิดเห็นด้วยมากที่สุดหรือปฏิบัติสม่ าเสมอ เห็นด้วยมาก หมายถึง มีความคิดเห็นด้วยในระดับมากหรือปฏิบัติมาก ไม่แน่ใจ หมายถึง ไม่มีความคิดเห็นหรือไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย หมายถึง ไม่เห็นด้วยกับความคิดเห็นบางส่วน ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง หมายถึง ไม่เห็นด้วยกับความคิดเห็นทั้งหมด

Page 6: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

64

แบบสอบถาม

ค าชี้แจง กรุณาใส่เครื่องหมาย ลงใน ( ) หน้าข้อที่เลือกตามความเป็นจริง

1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง

2. สถานะผู้ตอบแบบสอบถาม ( ) เกษตรกร ( ) ครู

( ) นักเรียน

ตอนที่ 2 แบบวัดทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับเยาวชน ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น

1 2 3 4 5 1 ท่านคิดว่า การท าเกษตรอินทรีย์มีความส าคัญต่อเกษตรกร 2 ท่านคิดว่าสิ่งแวดล้อม ในโรงเรียนและชุมชนมีความส าคัญ

ต่อการด ารงชีวิตประจ าวันและสุขภาพของเรา

3 ท่านคิดว่าเกษตรกรควรมีความรู้เรื่องสารเคมี และความเข้าใจในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

4 แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ สระน้ า ในโรงเรียนและในชุมชน มีความ ส าคัญต่อสิ่งแวดล้อม

5 อาหารจากการท าเกษตรอินทรีย์เป็นอาหารที่ปลอดภัยและดีต่อสุขภาพ

6 การเรียนรู้เกี่ยวกับการท าเกษตรอินทรีย์ และการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันเป็นการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

7 ท่านคิดว่า การลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ท าให้ลดต้นทุนการผลิตได้

8 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน จะท าให้นักเรียนเข้าใจการท าเกษตรอินทรีย์และน ากลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านได้

9 ท่านคิดว่าท่านให้ความส าคัญ ต่อการท าเกษตรอินทรีย์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก

10 การใช้สารเคมีในแปลงเกษตร ท าให้ส่งผลต่อการท าลายสิ่งมีชีวิตอ่ืนในระบบนิเวศ

Page 7: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

65

ตาราง แบบวัดทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับเยาวชน

ข้อ รายการ

ระดับความคิดเห็น 1 2 3 4 5

11 การลด การใช้สารเคมีก าจัดแมลง สารก าจัดวัชพืช เพราะเป็นวิธีหนึ่งที่ป้องกันปัญหาโลกร้อนได้

12 ท่านคิดว่าการใช้สารเคมี ในการท าเกษตรเป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้เกษตรกรป่วยหรือเกิดโรคต่างๆได้ง่าย

13 การปลูกพืชผักในบ้านหรือตามรั้วบ้านเพื่อบริโภคเอง เป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

14 ท่านคิดว่าการกินพืชผัก สัตว์ และอาหารจากเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษจะท าให้มีสุขภาพที่ดี แข็งแรง

15 นักเรียนสามารถแนะน า พ่อแม่ ที่ใช้สารเคมี ให้ทราบถึงผลอันตรายจากสารเคมีต่อร่างกายและต่อสิ่งแวดล้อม

16 ท่านคิดว่า ตนเองใส่ใจต่อ การเลือกบริโภค ผลผลิตทางการเกษตร ที่ปลอดสารพิษเป็นประจ าทุกวัน

17 ท่านคิดว่า การปลูกผักสวนครัวในกระถาง และใช้ปุ๋ย คอกหรือปุ๋ยหมัก คือการท าเกษตรอินทรีย์อย่างง่ายได้ด้วยตนเอง

18 ท่านคิดว่า สามารถทดลองท าเกษตรอินทรีย์ได้ด้วยตนเอง ในโรงเรียนหรือในพ้ืนที่บ้านของตนเองได้

19 ท่านคิดว่า ตนเองสามารถชักชวนเพื่อนๆ ท าแปลงเกษตรอินทรีย์ ในโรงเรียนและขยายความรู้ให้คนอ่ืนๆเข้าใจได้

20 ท่านคิดว่า การลดปัญหาการ ใช้สารเคมี ในแปลงเกษตร ท าได้โดยท าน้ าหมักชีวภาพใช้เองในครัวเรือน

Page 8: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

66

แบบประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญต่อแบบวัดทัศนคติรายข้อ

ตาราง แบบวัดทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับเยาวชน ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น

เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ปรับปรุง (โปรดแก้ไข)

1 ท่านคิดว่า การท าเกษตรอินทรีย์มีความส าคัญต่อเกษตรกร

2 ท่านคิดว่าสิ่งแวดล้อม ในโรงเรียนและชุมชนมีความส าคัญต่อการด ารงชีวิตประจ าวันและสุขภาพของเรา

3 ท่านคิดว่าเกษตรกรควรมีความรู้เรื่องสารเคมี และความเข้าใจในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

4 แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ สระน้ า ในโรงเรียนและในชุมชน มีความ ส าคัญต่อสิ่งแวดล้อม

5 อาหารจากการท าเกษตรอินทรีย์เป็นอาหารที่ปลอดภัยและดีต่อสุขภาพ

6 การเรียนรู้เกี่ยวกับการท าเกษตรอินทรีย์ และการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันเป็นการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

7 ท่านคิดว่า การลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ท าให้ลดต้นทุนการผลิตได้

8 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ในโรงเรียน จะท าให้นักเรียนเข้าใจการท าเกษตรอินทรีย์และน ากลับไปใช้ประโยชน์ที่บ้านได้

9 ท่านคิดว่าท่านให้ความส าคัญ ต่อการท าเกษตรอินทรีย์และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก

10 การใช้สารเคมีในแปลงเกษตร ท าให้ส่งผลต่อการท าลายสิ่งมีชีวิตอ่ืนในระบบนิเวศ

Page 9: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

67

แบบวัดทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับเยาวชน

ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ปรับปรุง

(โปรดแก้ไข) 11 การลด การใช้สารเคมีก าจัดแมลง สารก าจัดวัชพืช เพราะ

เป็นวิธีหนึ่งที่ป้องกันปัญหาโลกร้อนได้

12 ท่านคิดว่าการใช้สารเคมี ในการท าเกษตรเป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้เกษตรกรป่วยหรือเกิดโรคต่างๆได้ง่าย

13 การปลูกพืชผักในบ้านหรือตามรั้วบ้านเพื่อบริโภคเอง เป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

14 ท่านคิดว่าการกินพืชผัก สัตว์ และอาหารจากเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษจะท าให้มีสุขภาพที่ดี แข็งแรง

15 นักเรียนสามารถแนะน า พ่อแม่ ที่ใช้สารเคมี ให้ทราบถึงผลอันตรายจากสารเคมีต่อร่างกายและต่อสิ่งแวดล้อม

16 ท่านคิดว่า ตนเองใส่ใจต่อ การเลือกบริโภค ผลผลิตทางการเกษตร ที่ปลอดสารพิษเป็นประจ าทุกวัน

17 ท่านคิดว่า การปลูกผักสวนครัวในกระถาง และใช้ปุ๋ย คอกหรือปุ๋ยหมัก คือการท าเกษตรอินทรีย์อย่างง่ายได้ด้วยตนเอง

18 ท่านคิดว่า สามารถทดลองท าเกษตรอินทรีย์ได้ด้วยตนเอง ในโรงเรียนหรือในพ้ืนที่บ้านของตนเองได้

19 ท่านคิดว่า ตนเองสามารถชักชวนเพื่อนๆ ท าแปลงเกษตรอินทรีย์ ในโรงเรียนและขยายความรู้ให้คนอ่ืนๆเข้าใจได้

20 ท่านคิดว่า การลดปัญหาการ ใช้สารเคมี ในแปลงเกษตร ท าได้โดยท าน้ าหมักชีวภาพใช้เองในครัวเรือน

Page 10: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

68

แบบขอความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ

เรื่อง แบบวัดทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส าหรับเยาวชน

ค าชี้แจง ขอความกรุณาท่านได้โปรดให้ข้อคิดเห็นตามความเป็นจริงต่อเครื่องมือในการประเมินทัศนคติการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมท่ีแนบมาพร้อมนี้ โดยใส่เครื่องหมาย ลงในช่องความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการน าไปพัฒนาเครื่องมือในการวัดประเมินความตระหนัก ให้มีคุณภาพต่อไป

ตารางที่ 2 การประเมินความเหมาะสมของแบบสอบถาม โดยผู้เชีย่วชาญ

รายการประเมิน

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เหมาะสม

อย่างยิ่ง

เหมาะสมมาก

เหมาะสมปานกลาง

เหมาะสมน้อย

เหมาะสมน้อยมาก

1.ความสอดคล้องของแบบสอบถามกับวัตถุประสงค์

2.แบบสอบถามมีความสอดคล้องกับรายด้านการวัด

3.ความเหมาะสมของจ านวนข้อในแบบสอบถาม

4.ความเหมาะสมของค าถามต่อเนื้อหา

5.เนื้อหาในแบบสอบถามครอบคลุมในเรื่องสิ่งแวดล้อม

6.ความเหมาะสมของภาษา

7.ความเหมาะสมโดยภาพรวม ของแบบสอบถาม

Page 11: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

69

แบบวัดความตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ค าชี้แจง

2. แบบวัดความตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ของศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) แบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

แบ่งออกเป็น 3 ด้าน มีข้อค าถาม 30 ข้อ ดังนี้ ด้านที่ 1 การยอมรับ 10 ข้อ ด้านที่ 2 การตอบสนอง 10 ข้อ ด้านที่ 3 การเห็นคุณค่า 10 ข้อ

3. ให้ผู้ตอบแบบสอบถามอ่านแต่ละข้อให้เข้าใจและตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริงที่ได้ปฏิบัติเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ครบทุกข้อและในแต่ละข้อให้เลือกเพียงค าตอบระดับเดียวเดียว ซึ่งในแต่ละระดับอธิบายได้ดังนี้

การให้ค่าคะแนน ตามระดับความเห็น ดังนี้ 5 คะแนน หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4 คะแนน หมายถึง เห็นด้วยมาก 3 คะแนน หมายถึง ไม่แน่ใจ 2 คะแนน หมายถึง ไม่เห็นด้วย

1 คะแนน หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง การแปลความ

เห็นด้วยอย่างยิ่ง หมายถึง มีความคิดเห็นด้วยมากที่สุดหรือปฏิบัติสม่ าเสมอ เห็นด้วยมาก หมายถึง มีความคิดเห็นด้วยในระดับมากหรือปฏิบัติมาก ไม่แน่ใจ หมายถึง ไม่มีความคิดเห็นหรือไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย หมายถึง ไม่เห็นด้วยกับความคิดเห็นบางส่วน ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง หมายถึง ไม่เห็นด้วยกับความคิดเห็นทั้งหมด

ด้านการยอมรับ (Receives phenomena) หมายถึง การแสดงออกถึงความรู้ ความสนใจ ความรู้สึก ที่เกิดขึ้นในจิตใจ ของตนเองด้วยความเต็มใจ การตอบสนอง (Responds to phenomena) หมายถึง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีความสนใจเป็นพิเศษโดยผลที่เกิดข้ึนจะเกิดจากความเต็มใจหรือความพึงพอใจที่ได้กระท า การเห็นคุณค่า (Values) หมายถึง ความรู้สึกทางจิตใจหรือพฤติกรรมส่วนบุคคลในการให้คุณค่าของวัตถุ โดยมีช่วงระหว่างการยอมรับไปจนถึงเกิดความรับผิดชอบ การเห็นคุณค่าเป็นพ้ืนฐานสากลที่แสดงถึงพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม

Page 12: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

70

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ค าชี้แจง กรุณาใส่เครื่องหมาย ลงใน ( ) หน้าข้อที่เลือกตามความเป็นจริง

3. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง

4. สถานะผู้ตอบแบบสอบถาม

( ) เกษตรกร ( ) ผู้บริโภคหรือผู้ปกครอง ( ) นักเรียน

ตอนที่ 2 ตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น ด้านที่ 1 การยอมรับ 1 2 3 4 5

1 พืช สัตว์ ที่ปลอดสารพิษ มีความส าคัญต่อมีส าคัญต่อสุขภาพของมนุษย์

2 การลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ควรเป็นหน้าที่ของคนทุกคน

3 การมีความรู้เรื่องสารเคมี จ าเป็นต่อความเข้าใจในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

4 น้ าเป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับสิ่งการท าเกษตรอินทรีย์ การช่วยกันรักษาแหล่งน้ าและการใช้น้ าอย่างประหยัดจึงเป็นสิ่งที่ทุกคนควรปฏิบัติ

5 ระบบนิเวศ และสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กัน และส าคัญต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์

6 การเรียนรู้เกี่ยวกับการท าเกษตรอินทร์ และการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันจะช่วยพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้ดีข้ึน

7 ถ้าเราทุกคน หันมาจัดท าน้ าหมักชีวภาพใช้ในทางการเกษตรจะช่วยลดปริมาณสารเคมีให้น้อยลง

8 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ในโรงเรียนและชุมชน มีส าคัญต่อการเรียนรู้และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

9 สารเคมีทางการเกษตรเป็นอันตรายต่อสุขภาพของทุกคน 10 การใช้สารเคมีในแปลงเกษตร ท าให้ส่งผลต่อการท าลาย

สิ่งมีชีวิตอ่ืนในระบบนิเวศ

Page 13: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

71

ตาราง แบบวัดตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น ด้านที่ 2 การตอบสนอง 1 2 3 4 5

11 การลด การใช้สารเคมีก าจัดแมลง สารก าจัดวัชพืช เพราะเป็นวิธีหนึ่งที่ท าให้ช่วยลดสภาวะโลกร้อน

12 นักเรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง หรือการท าการเกษตรอินทรีย์

13 การปลูกพืชผักในบ้านหรือตามรั้วบ้าน เป็นการส่งเสริมรักษาสิ่งแวดล้อม

14 นักเรียน มีความรับผิดชอบในการทิ้งขยะให้ถูกที่และมีการแยกขยะก่อนน าไปทิ้ง

15 นักเรียนสามารถแนะน า พ่อแม่ หรือคนในชุมชน ที่ใช้สารเคมี ให้รู้ถึงผลอันตรายจากสารเคมีต่อร่างกายและต่อสิ่งแวดล้อม

16 นักเรียนสามรถน าความรู้ไปท าเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนหรือในพ้ืนที่บ้านตนเองได้

17 นักเรียนสามารถบอกพ่อ แม่ ให้จัดท าน้ าหมักชีวภาพใช้เองได้หรือแนะน าเกษตรกรคนอื่นให้ท าได้

18 การท าแปลงปลูกปลูกพืชแบบผสมผสาน ในโรงเรียน สามารถลดปริมาณของแมลงศัตรูพืชและเพ่ิมความสมบูรณ์ของระบบนิเวศได้

19 การน าความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ ไปทดลองท าในโรงเรียน หรือในบ้าน จะท าให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดี ระบบนิเวศมีความสมดุลอย่างยั่งยืน

20 การลดปัญหาการ ใช้สารเคมี ในแปลงเกษตร ได้โดยการปลูกพืชที่ช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืช ใกล้กับพ้ืนที่แปลงเกษตรของตนเอง

Page 14: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

72

ตาราง ตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น ด้านที่ 3 ขั้นเห็นคุณค่า 1 2 3 4 5

21 การเลือกใช้ พันธุ์พืช พื้นบ้าน หรือพันธุ์พืชท้องถิ่น จะช่วยลดหรือป้องกัน การแพร่ระบาดของแมลงศัตรูพืชได้

22 ทุกคนควรต้องช่วยกันรักษาป่าหรือ ป้องกันไม่ให้เกิดน้ าท่วม เพื่อรักษาสมดุลระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม

23 ควรมีการอนุรักษ์ป่าไม้ชุมชนเพราะท าให้เกิดความชุ่มชื้นแก่อากาศและสามารถลดภาวะความแห้งแล้ง

24 ควรมีการให้ความรู้เกี่ยวกับ สารเคมีและอันตรายจากสารเคมี ในคนทุกระดับเพื่อส่งเสริมความตระหนักต่อการบริโภคและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

25 การสร้างเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ และการสร้างความร่วมมือในการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ จะท าให้เกิดความยั่งยืนของเศรษฐกิจในชุมชน

26 ควรมีการสร้างค าขวัญ หรือป้ายรณรงค์ เกี่ยวกับการปลูกพืชปลอดสารพิษ หรือ อันตรายของสารเคมี ติดในโรงเรียนและชุมชน

27 ควรมี ป้ายความรู้ ขั้นตอนกรรมวิธี การท าน้ าหมักชีวภาพ สูตรต่างๆ ในโรงเรียนและชุมชนเพื่อเป็นแหล่งความรู้ของนักเรียนและเกษตรกร

28 การท าเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนนอกจาก ท าให้นักเรียนได้เรียนรู้แล้วยังช่วยส่งเสริมความประหยัด และการรักษาสิ่งแวดล้อมด้วย

29 ควรมีการอนุรักษ์ และขยายพันธุ์เพ่ิมจ านวน พืช สัตว์ ท้องถิ่น ที่เป็นประโยชน์ต่อการด ารงชีวิตและภูมิปัญญาชาวบ้าน

30 ควรมีการปลูกพืชคลุมดิน หรือปลูกพืชแบบผสมผสาน เพราะเป็นวิธีการอนุรักษ์หน้าดิน

Page 15: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

73

แบบประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญต่อแบบวัดความตระหนักรายข้อ ตาราง ตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์

สิ่งแวดล้อม

ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ปรับปรุง

(โปรดแก้ไข) ด้านที่ 1 การยอมรับ 1 พืช สัตว์ ที่ปลอดสารพิษ มีความส าคัญต่อมีส าคัญต่อ

สุขภาพของมนุษย์

2 การลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ควรเป็นหน้าที่ของคนทุกคน

3 การมีความรู้เรื่องสารเคมี จ าเป็นต่อความเข้าใจในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

4 น้ าเป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับสิ่งการท าเกษตรอินทรีย์ การช่วยกันรักษาแหล่งน้ าและการใช้น้ าอย่างประหยัดจึงเป็นสิ่งที่ทุกคนควรปฏิบัติ

5 ระบบนิเวศ และสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กัน และส าคัญต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์

6 การเรียนรู้เกี่ยวกับการท าเกษตรอินทร์ และการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันจะช่วยพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น

7 ถ้าเราทุกคน หันมาจัดท าน้ าหมักชีวภาพใช้ในทางการเกษตรจะช่วยลดปริมาณสารเคมีให้น้อยลง

8 การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ ในโรงเรียนและชุมชน มีส าคัญต่อการเรียนรู้และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

9 สารเคมีทางการเกษตรเป็นอันตรายต่อสุขภาพของทุกคน

10 การใช้สารเคมีในแปลงเกษตร ท าให้ส่งผลต่อการท าลายสิ่งมีชีวิตอ่ืนในระบบนิเวศ

Page 16: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

74

ตาราง ตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ปรับปรุง

(โปรดแก้ไข) ด้านที่ 2 การตอบสนอง

11 การลด การใช้สารเคมีก าจัดแมลง สารก าจัดวัชพืช เพราะเป็นวิธีหนึ่งที่ท าให้ช่วยลดสภาวะโลกร้อน

12 นักเรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง หรือการท าการเกษตรอินทรีย์

13 การปลูกพืชผักในบ้านหรือตามรั้วบ้าน เป็นการส่งเสริมรักษาสิ่งแวดล้อม

14 นักเรียน มีความรับผิดชอบในการทิ้งขยะให้ถูกที่และมีการแยกขยะก่อนน าไปทิ้ง

15 นักเรียนสามารถแนะน า พ่อแม่ หรือคนในชุมชน ที่ใช้สารเคมี ให้รู้ถึงผลอันตรายจากสารเคมีต่อร่างกายและต่อสิ่งแวดล้อม

16 นักเรียนสามรถน าความรู้ไปท าเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนหรือในพ้ืนที่บ้านตนเองได้

17 นักเรียนสามารถบอกพ่อ แม่ ให้จัดท าน้ าหมักชีวภาพใช้เองได้หรือแนะน าเกษตรกรคนอ่ืนให้ท าได้

18 การท าแปลงปลูกปลูกพืชแบบผสมผสาน ในโรงเรียน สามารถลดปริมาณของแมลงศัตรูพืชและเพ่ิมความสมบูรณ์ของระบบนิเวศได้

19 การน าความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ ไปทดลองท าในโรงเรียน หรือในบ้าน จะท าให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดี ระบบนิเวศมีความสมดุลอย่างยั่งยืน

20 การลดปัญหาการ ใช้สารเคมี ในแปลงเกษตร ได้โดยการปลูกพืชที่ช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืช ใกล้กับพ้ืนที่แปลงเกษตรของตนเอง

Page 17: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

75

ตาราง ตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ข้อ รายการ ระดับความคิดเห็น

เห็นด้วย ไม่แนใจ ปรับปรุง (โปรดแก้ไข)

ด้านที่ 3 ขั้นเห็นคุณค่า 21 การเลือกใช้ พันธุ์พืช พื้นบ้าน หรือพันธุ์พืชท้องถิ่น จะช่วย

ลดหรือป้องกัน การแพร่ระบาดของแมลงศัตรูพืชได้

22 ทุกคนควรต้องช่วยกันรักษาป่าหรือ ป้องกันไม่ให้เกิดน้ าท่วม เพ่ือรักษาสมดุลระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม

23 ควรมีการอนุรักษ์ป่าไม้ชุมชนเพราะท าให้เกิดความชุ่มชื้นแก่อากาศและสามารถลดภาวะความแห้งแล้ง

24 ควรมีการให้ความรู้เกี่ยวกับ สารเคมีและอันตรายจากสารเคมี ในคนทุกระดับเพื่อส่งเสริมความตระหนักต่อการ

บริโภคและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

25 การสร้างเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ และการสร้างความร่วมมือในการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ จะท าให้เกิดความ

ยั่งยืนของเศรษฐกิจในชุมชน

26 ควรมีการสร้างค าขวัญ หรือป้ายรณรงค์ เกี่ยวกับการปลูกพืชปลอดสารพิษ หรือ อันตรายของสารเคมี ติดในโรงเรียน

และชุมชน

27 ควรมี ป้ายความรู้ ขั้นตอนกรรมวิธี การท าน้ าหมักชีวภาพ สูตรต่างๆ ในโรงเรียนและชุมชนเพื่อเป็นแหล่งความรู้ของ

นักเรียนและเกษตรกร

28 การท าเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนนอกจาก ท าให้นักเรียนได้เรียนรู้แล้วยังช่วยส่งเสริมความประหยัด และการรักษา

สิ่งแวดล้อมด้วย

29 ควรมีการอนุรักษ์ และขยายพันธุ์เพ่ิมจ านวน พืช สัตว์ ท้องถิ่น ที่เป็นประโยชน์ต่อการด ารงชีวิตและภูมิปัญญา

ชาวบ้าน

30 ควรมีการปลูกพืชคลุมดิน หรือปลูกพืชแบบผสมผสาน เพราะเป็นวิธีการอนุรักษ์หน้าดิน

Page 18: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

76

แบบขอความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ

เรื่อง ตาราง ตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ค าชี้แจง ขอความกรุณาท่านได้โปรดให้ข้อคิดเห็นตามความเป็นจริงต่อเครื่องมือในการประเมินตาราง ตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ที่แนบมาพร้อมนี้ โดยใส่เครื่องหมาย ลงในช่องความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการน าไปพัฒนาเครื่องมือในการวัดประเมินความตระหนัก ให้มีคุณภาพต่อไป

ตารางท่ี 2 การประเมินความเหมาะสมของแบบสอบถาม โดยผู้เชี่ยวชาญ

รายการประเมิน

ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เหมาะสม

อย่างยิ่ง

เหมาะสมมาก

เหมาะสมปานกลาง

เหมาะสมน้อย

เหมาะสมน้อยมาก

1.ความสอดคล้องของแบบสอบถามกับวัตถุประสงค์

2.แบบสอบถามมีความสอดคล้องกับรายด้านการวัด

3.ความเหมาะสมของจ านวนข้อในแบบสอบถาม

4.ความเหมาะสมของค าถามต่อเนื้อหา

5.เนื้อหาในแบบสอบถามครอบคลุมในเรื่องสิ่งแวดล้อม

6.ความเหมาะสมของภาษา

7.ความเหมาะสมโดยภาพรวม ของแบบสอบถาม

Page 19: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

77

ภาคผนวก ข

ผลการวิเคราะห์หาคุณภาพเครื่องมือวิจัย ผลการ Try out แบบวัดความตระหนัก

Reliability Statistics

Cronbach's

Alpha N of Items

.891 30

Item Statistics

Mean Std. Deviation N

a1 4.6000 .49827 30

a2 4.3667 .61495 30

a3 4.3333 .60648 30

a4 4.4667 .57135 30

a5 4.7000 .46609 30

a6 4.4333 .77385 30

a7 4.0000 .69481 30

a8 4.3667 .66868 30

a9 4.4000 .67466 30

a10 4.7000 .46609 30

a11 4.4000 .49827 30

a12 4.4333 .56832 30

a13 4.4333 .77385 30

a14 4.6667 .60648 30

a15 4.5000 .62972 30

a16 4.3667 .80872 30

a17 4.2333 .67891 30

a18 4.6333 .61495 30

a19 4.0333 .71840 30

a20 4.5000 .62972 30

a21 3.9667 .71840 30

a22 4.5333 .57135 30

a23 4.6000 .49827 30

a24 4.6333 .61495 30

a25 4.2333 .72793 30

a26 3.8333 .83391 30

a27 4.2667 .58329 30

a28 4.5000 .68229 30

a29 4.3333 .71116 30

Page 20: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

78

Item Statistics

Mean Std. Deviation N

a1 4.6000 .49827 30

a2 4.3667 .61495 30

a3 4.3333 .60648 30

a4 4.4667 .57135 30

a5 4.7000 .46609 30

a6 4.4333 .77385 30

a7 4.0000 .69481 30

a8 4.3667 .66868 30

a9 4.4000 .67466 30

a10 4.7000 .46609 30

a11 4.4000 .49827 30

a12 4.4333 .56832 30

a13 4.4333 .77385 30

a14 4.6667 .60648 30

a15 4.5000 .62972 30

a16 4.3667 .80872 30

a17 4.2333 .67891 30

a18 4.6333 .61495 30

a19 4.0333 .71840 30

a20 4.5000 .62972 30

a21 3.9667 .71840 30

a22 4.5333 .57135 30

a23 4.6000 .49827 30

a24 4.6333 .61495 30

a25 4.2333 .72793 30

a26 3.8333 .83391 30

a27 4.2667 .58329 30

a28 4.5000 .68229 30

a29 4.3333 .71116 30

a30 4.8333 .37905 30

Item-Total Statistics

Scale Mean if

Item Deleted

Scale Variance

if Item Deleted

Corrected Item-

Total

Correlation

Cronbach's

Alpha if Item

Deleted

a1 127.7000 87.528 .365 .894

a2 127.9333 87.099 .366 .895

a3 127.9667 81.137 .595 .884

a4 127.8333 85.730 .385 .892

a5 127.6000 84.386 .398 .888

a6 127.8667 79.223 .594 .884

Page 21: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

79

a7 128.3000 83.528 .375 .890

a8 127.9333 81.720 .483 .886

a9 127.9000 86.507 .384 .895

a10 127.6000 82.524 .622 .885

a11 127.9000 81.128 .739 .883

a12 127.8667 85.982 .362 .892

a13 127.8667 78.326 .663 .882

a14 127.6333 79.068 .795 .880

a15 127.8000 82.717 .427 .888

a16 127.9333 80.616 .464 .887

a17 128.0667 79.720 .646 .883

a18 127.6667 80.506 .646 .883

a19 128.2667 78.685 .691 .882

a20 127.8000 79.545 .718 .882

a21 128.3333 83.471 .386 .890

a22 127.7667 84.530 .370 .890

a23 127.7000 84.355 .372 .889

a24 127.6667 81.816 .523 .886

a25 128.0667 80.961 .498 .886

a26 128.4667 80.533 .453 .887

a27 128.0333 84.033 .390 .889

a28 127.8000 82.717 .389 .888

a29 127.9667 84.309 .445 .892

a30 127.4667 84.120 .539 .887

ผลการวิเคราะห์ค่าความสอดคล้อง (IOC) แบบวัดความตระหนัก หัวขอ้ คนที ่1 คนที ่2 คนที ่3 คนที ่4 คนที ่5 sum แปลผล

1 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

2 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

3 1.00 1.00 0.00 1.00 1.00 0.80 .ใชไ้ด ้

4 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

6 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

7 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

Page 22: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

80

8 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

9 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

10 1.00 0.00 1.00 1.00 1.00 0.80 .ใชไ้ด ้

11 1.00 1.00 0.00 1.00 1.00 0.80 .ใชไ้ด ้

12 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

13 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

14 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

15 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

16 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

17 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

18 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

19 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

20 1.00 1.00 0.00 1.00 1.00 0.80 .ใชไ้ด ้

21 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

22 1.00 0.00 1.00 1.00 1.00 0.80 .ใชไ้ด ้

23 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

24 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

25 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

26 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

27 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

28 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

29 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

30 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

Page 23: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

81

ผลการ Try out แบบวัดทัศนคติ

Reliability Statistics

Cronbach's

Alpha N of Items

.872 30

Item Statistics

Mean Std. Deviation N

a1 4.6000 .49827 30

a2 4.3667 .61495 30

a3 4.3333 .60648 30

a4 4.4667 .57135 30

a5 4.7000 .46609 30

a6 4.4333 .77385 30

a7 4.0000 .69481 30

a8 4.3667 .66868 30

a9 4.4000 .67466 30

a10 4.7000 .46609 30

a11 4.4000 .49827 30

a12 4.4333 .56832 30

a13 4.4333 .77385 30

a14 4.6667 .60648 30

a15 4.5000 .62972 30

a16 4.3667 .80872 30

a17 4.2333 .67891 30

a18 4.6333 .61495 30

a19 4.0333 .71840 30

a20 4.5000 .62972 30

Page 24: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

82

Item-Total Statistics

Scale Mean if

Item Deleted

Scale Variance

if Item Deleted

Corrected Item-

Total

Correlation

Cronbach's

Alpha if Item

Deleted

a1 127.7000 87.528 .385 .894

a2 127.9333 87.099 .466 .895

a3 127.9667 81.137 .595 .884

a4 127.8333 85.730 .385 .892

a5 127.6000 84.386 .398 .888

a6 127.8667 79.223 .594 .884

a7 128.3000 83.528 .375 .890

a8 127.9333 81.720 .483 .886

a9 127.9000 86.507 .384 .895

a10 127.6000 85.730 .622 .885

a11 127.9000 84.386 .595 .883

a12 127.8667 79.223 .462 .892

a13 127.7000 83.528 .563 .882

a14 127.9333 81.720 .795 .885

a15 127.9667 86.507 .427 .888

a16 127.8333 82.524 .464 .887

a17 127.6000 79.720 .746 .884

a18 127.8667 80.506 .546 .884

a19 128.3000 78.685 .691 .885

a20 127.8000 79.545 .618 .882

Page 25: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

83

ผลการวิเคราะห์ค่าความสอดคล้อง (IOC) แบบวัดทัศนคติ หัวขอ้ คนที ่1 คนที ่2 คนที ่3 คนที ่4 คนที ่5 sum แปลผล

1 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

2 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

3 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

4 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

6 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

7 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

8 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

9 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

10 1.00 0.00 1.00 1.00 1.00 0.80 .ใชไ้ด ้

11 1.00 1.00 0.00 1.00 1.00 0.80 .ใชไ้ด ้

12 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

13 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

14 1.00 0.00 1.00 1.00 1.00 0.80 .ใชไ้ด ้

15 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

16 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

17 1.00 1.00 0.00 1.00 1.00 0.80 .ใชไ้ด ้

18 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

19 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

20 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 .ใชไ้ด ้

Page 26: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

84

ผลการวิเคราะห์คุณภาพเครือ่งมือของผู้เชี่ยวชาญ เร่ือง ความตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ค าชี้แจง ขอความกรุณาท่านได้โปรดให้ข้อคิดเห็นตามความเป็นจริงต่อเครื่องมือในการประเมินความตระหนักต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ก าหนดเกณฑ์ในการให้คะแนน ดังนี้ คะแนน 5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากท่ีสุด คะแนน 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก คะแนน 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง คะแนน 2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย คะแนน 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด

1.ผลวิเคราะห์แบบประเมินค่าความตระหนักต่อต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กับวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยผู้เชี่ยวชาญ

รายการประเมิน คะแนนการประเมินผู้เชียวชาญ

S.D ระดับความเหมาะสม คนที่

1 คนที่

2 คนที่

3 คนที่

4 คนที่

5 1.ความสอดคล้องของแบบสอบถามกับวัตถุประสงค์

5 5 4 5 5 4.8 0.45 เหมาะสมมากที่สุด

2.แบบสอบถามมีความสอดคล้องกับรายด้านการวัด

5 5 4 5 5 4.8 0.45 เหมาะสมมากที่สุด

3.ความเหมาะสมของจ านวนข้อในแบบสอบถาม

5 5 4 5 5 4.8 0.45 เหมาะสมมากที่สุด

4.ความเหมาะสมของค าถามต่อเนื้อหา 5 5 5 5 5 5 0.00 เหมาะสมมากที่สุด 5.เนื้อหาในแบบสอบถามครอบคลุมในเรื่องสิ่งแวดล้อม

5 4 5 5 5 4.8 0.45 เหมาะสมมากที่สุด

6.ความเหมาะสมของภาษา 5 4 4 4 5 4.4 0.55 เหมาะสมมากที่สุด 7.ความเหมาะสมโดยภาพรวม ของแบบสอบถาม

5 5 5 5 5 5 0.00 เหมาะสมมากที่สุด

รวม 4.8 0.49 เหมาะสมมากที่สุด

X

Page 27: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

85

ผลการวิเคราะห์คุณภาพเครือ่งมือของผู้เชี่ยวชาญ เรื่อง แบบสอบถามวัดทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์

สิ่งแวดล้อม ค าชี้แจง ขอความกรุณาท่านได้โปรดให้ข้อคิดเห็นตามความเป็นจริงต่อเครื่องมือใน

การประเมินเกี่ยวกับแบบสอบถามวัดทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ก าหนดเกณฑ์ในการให้คะแนน ดังนี้

คะแนน 5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากท่ีสุด คะแนน 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก คะแนน 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง คะแนน 2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย คะแนน 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด

1.ผลวิเคราะห์แบบประเมินเกี่ยวกับแบบสอบถามวัดทัศนคติต่อการท าเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กับวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยผู้เชีย่วชาญ

รายการประเมิน คะแนนการประเมินผู้เชียวชาญ

S.D ระดับความเหมาะสม คนที่

1 คนที่

2 คนที่

3 คนที่

4 คนที่

5 1.ความสอดคล้องของแบบสอบถามกับวัตถุประสงค์

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 0.00 เหมาะสมมากที่สุด

2.แบบสอบถามมีความสอดคล้องกับรายด้านการวัด

4.00 4.00 5.00 5.00 5.00 4.60 0.55 เหมาะสมมากที่สุด

3.ความเหมาะสมของจ านวนข้อในแบบสอบถาม

4.00 4.00 4.00 5.00 5.00 4.40 0.55 เหมาะสมมากที่สุด

4.ความเหมาะสมของค าถามต่อเนื้อหา 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 0.00 เหมาะสมมากที่สุด 5.เนื้อหาในแบบสอบถามครอบคลุมในเรื่องเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ

5.00 4.00 5.00 5.00 4.00 4.60 0.55 เหมาะสมมากที่สุด

6.ความเหมาะสมของภาษา 4.00 5.00 4.00 4.00 5.00 4.40 0.55 เหมาะสมมากที่สุด 7.ความเหมาะสมโดยภาพรวม ของแบบสอบถาม

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 0.00 เหมาะสมมากที่สุด

รวม 4.72 0.55 เหมาะสมมากที่สุด

X

Page 28: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

86

ภาคผนวก ค.

ภาพกิจกรรม

กิจกรรมการอบรม

Page 29: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

87

กิจกรรมศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัติ

Page 30: ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือวิจัยbackoffice.thaiedresearch.org/uploads/paper/86647380cf44174e3bde606ddc2032ba.pdf65 ตาราง

88

กิจกรรมสัมภาษณ์และตอบแบบสอบถาม